The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนิสิตหลักสูตร 63 ปรับปรุงปี 63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by RxBuu, 2021-11-03 03:55:29

คู่มือนิสิตหลักสูตร 63 ปรับปรุงปี 63

คู่มือนิสิตหลักสูตร 63 ปรับปรุงปี 63

คู่มือนสิ ติ เภสชั ศาสตร์
หลักสตู รเภสัชศาสตรบัณฑติ (๖ ปี)

หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2563

คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา

ฉบบั พ.ศ. 2564

สารบัญ 1
1
มหาวทิ ยาลัยบรู พา 2
ประวัติคณะเภสัชศาสตร์ 2
การดารงตาแหนง่ คณบดคี ณะเภสชั ศาสตร์ 2
วิสยั ทศั น์ 2
พันธกจิ 3
คา่ นยิ ม/วฒั นธรรมองค์กร 3
อตั ลกั ษณ์ 3
เอกลกั ษณ์ 3
คณุ ลกั ษณะบัณฑติ ทีพ่ งึ ประสงค์ 3
แผนยุทธศาสตร์ 4
ต้นไม้ประจาคณะ 4
ตราสญั ลกั ษณค์ ณะเภสัชศาสตร์ 5
โครงสรา้ งการบริหารงาน 6
กรรมการประจาคณะเภสชั ศาสตร์ 11
สารผู้บรหิ าร 13
สารประธานสาขา 16
คณาจารย์ 16
สานกั งานคณบดี 17
สถานปฏบิ ัติการเภสัชกรรมชุมชน 17
สารนายกสโมสรนิสติ ประจาปีการศกึ ษา 2564 19
คณะกรรมการสโมสรนสิ ติ ประจาปีการศกึ ษา 2564 45
หลักสตู รเภสชั ศาสตรบณั ฑิต (6 ปี) หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2563 45
แนวทางการฝกึ ปฏบิ ัตงิ าน และการสอบใบประกอบวชิ าชีพเภสัชกรรม 45
รายวชิ าที่นิสติ ต้องผ่านกอ่ นการฝึกปฏิบตั ิงานวชิ าชีพเภสชั กรรม 48
ทนุ การศกึ ษา/แหลง่ กู้ยมื 48
หลกั สตู รอน่ื ๆ 49
ข้ันตอนการร้องทกุ ข์/ร้องเรียนโดยนิสติ เภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา 50
การแตง่ กายของนสิ ิต 50
เวบ็ ไซต์ท่ีเก่ียวขอ้ ง 51
เบอรต์ ิดต่อคณะเภสชั ศาสตร์ 51
อาคาร 10 ปี เภสัชศาสตรบ์ ูรพา 53
คาถามทพ่ี บบอ่ ย 56
ประมวลภาพกิจกรรม 66
ขอ้ บังคบั มหาวทิ ยาลัยบรู พา วา่ ด้วยวนิ ัยนิสติ พ.ศ. 2563
ขอ้ มลู นสิ ติ

คู่มือนสิ ิตเภสชั ศาสตร์ หลักสูตรเภสชั ศาสตรบัณฑิต (6 ปี) หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2563

มหาวทิ ยาลยั บูรพา 1

ปรัชญา : สรา้ งเสรมิ ปัญญา ใฝห่ าความรู้ คคู่ ณุ ธรรม ช้นี าสังคม
คาขวญั : สุโข ปญฺญาปฏิลาโภ - ความได้ปัญญา ให้เกดิ สขุ
วิสัยทศั น์ : มหาวทิ ยาลัยบูรพา ขมุ ปญั ญาตะวันออก

W.E. (Wisdom of the East) BURAPHA
อตั ลกั ษณข์ องมหาวิทยาลัยบรู พา : ใฝเ่ รยี นรู้ จติ อาสา พฒั นาสงั คม
เอกลักษณ์ของมหาวทิ ยาลัยบรู พา : เป็นแหลง่ เรียนรู้ศาสตร์ทางทะเลของประชาคมอาเซียน

ประวัติคณะเภสชั ศาสตร์

ด้วยศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ อุปถัมภ์ (อธิการบดีมหาวิทยาลัยบูรพา) มีความคิดรเิ ร่ิม
ทีจ่ ะใหม้ หาวิทยาลยั บูรพามีคณะเภสชั ศาสตรเ์ พ่ือเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ให้กบั กลุ่มคณะทางด้าน
วิทยาศาสตร์สุขภาพของมหาวิทยาลัยบูรพา โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการจัดตั้งคณะ
เภสัชศาสตร์ และรา่ งหลักสูตรเภสัชศาสตรบณั ฑิตข้ึน ในวนั ท่ี 24 มิถนุ ายน 2552 ซงึ่ มีเภสัชกร
รองศาสตราจารย์ ดร.มณฑล สงวนเสริมศรี (อดีตคณบดีคณะเภสัชศาสตร์ และอธิการบดี
มหาวิทยาลัยนเรศวร) เป็นประธานกรรมการ และรองศาสตราจารย์ ดร.เรณา พงษ์เรืองพันธ์ุ
(รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพา) เป็นรองประธานกรรมการ พรอ้ มด้วยคณาจารย์
จากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และบุคลากรของมหาวิทยาลัยบูรพาเป็นกรรมการ
จากน้ัน สภามหาวิทยาลัยบูรพาได้อนุมัติการจัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์ เม่ือวันท่ี 25 กันยายน
2552 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันที่ 26 ตุลาคม 2552 โดยมีเจ้าหน้าที่จัด
การศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา วจิ ัย และบริการวิชาการด้านเภสชั ศาสตร์ มีคณบดี
เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในช่วงแรกของการก่อต้ัง มหาวิทยาลัยได้มอบหมายให้ ศาสตราจารย์
ดร.สมศักดิ์ พันธุวัฒนา (รองอธกิ ารบดีฝ่ายวิจัยมหาวทิ ยาลัยบูรพา) รักษาการในตาแหน่งคณบดี
จนกระท่ัง วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2553 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ วัฒนาธร ดารงตาแหน่ง
คณบดีตามมติของสภามหาวิทยาลัย

การดารงตาแหน่งคณบดีคณะเภสัชศาสตร์ 2

1. เภสัชกร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ วัฒนาธร ดารงตาแหน่ง คณบดีคณะเภสัชศาสตร์
ตั้งแต่วนั ที่ 1 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ถึง วนั ที่ 30 กนั ยายน พ.ศ. 2553

2. อาจารย์ เภสัชกรวิศิษฎ์ ตันหยง ดารงตาแหน่ง ผู้รักษาการแทนคณบดีคณะเภสัชศาสตร์
ต้งั แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ถึง 16 มีนาคม พ.ศ. 2554

3. เภสัชกร รองศาสตราจารย์ ดร.สินธุ์ชัย แก้วกิติชัย ดารงตาแหน่ง คณบดีคณะเภสัชศาสตร์
ตั้งแต่วนั ท่ี 17 มนี าคม พ.ศ. 2554 ถงึ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2559

4. อาจารย์ เภสัชกรวิศิษฎ์ ตันหยง ดารงตาแหน่ง ผู้รักษาการแทนคณบดีคณะเภสัชศาสตร์
ตัง้ แต่วนั ที่ 9 สงิ หาคม พ.ศ. 2559 ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2559

5. เภสัชกร รองศาสตราจารย์ ดร.เอกรินทร์ สายฟ้า ดารงตาแหน่ง คณบดีคณะเภสัชศาสตร์
ตั้งแตว่ นั ที่ 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2559 ถึง 2 มถิ ุนายน พ.ศ. 2561

6. เภสัชกรหญิง รองศาสตราจารย์ ดร.มยุรี ตันติสิระ ดารงตาแหน่ง คณบดีคณะเภสัชศาสตร์
ต้ังแตว่ ันท่ี 3 มิถนุ ายน พ.ศ. 2561 ถงึ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2563

7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ทวีลาภ ต๊ันสวัสดิ์ ดารงตาแหน่ง ผู้รักษาการแทนคณบดี
คณะเภสัชศาสตร์ ตั้งแต่วนั ท่ี 9 ตุลาคม พ.ศ. 2563 ถงึ 30 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563

8. เภสัชกรหญิง ดร.ณั ฎฐิณี ธีรกุลกิตติพงศ์ ดารงตาแหน่ง คณบดีคณะเภสัชศาสตร์
ตงั้ แตว่ ันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2563 จนถึงปัจจุบนั

วิสัยทศั น์

เภสัชศาสตร์ บรู พา ขุมปัญญาตะวนั ออกทมี่ มี าตรฐานสากล

พันธกิจ

๑. ผลติ บณั ฑติ ที่มคี ณุ ธรรม จรรยาบรรณ และคณุ ภาพระดับสากล
๒. ผลิตและเผยแพร่ผลงานวจิ ยั และนวตั กรรมทม่ี คี ุณภาพ
๓. สรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมอื กับองคก์ รท้ังในและตา่ งประเทศ
๔. พฒั นาศกั ยภาพวิชาชพี เภสชั กรรม
๕. ส่งเสริมศลิ ปวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ และอนรุ ักษส์ ิง่ แวดล้อม

คา่ นิยม/วฒั นธรรมองค์กร

ABC
Attitude ทศั นคตดิ ี Behavior พฤตกิ รรมเดน่ Competency สมรรถนะเลศิ

คู่มอื นสิ ติ เภสัชศาสตร์ หลักสูตรเภสชั ศาสตรบัณฑิต (6 ปี) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563

อตั ลักษณ์ 3

ปรับตัว ทางานรว่ มกบั ผอู้ ่ืน เรยี นรู้ตลอดชีวิต

เอกลักษณ์

คลงั ปญั ญา เภสัชศาสตร์แหง่ อนาคต

คณุ ลักษณะบณั ฑิตทพี่ ึงประสงค์

ดี เด่น เลิศ

แผนยุทธศาสตร์

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ออกแบบนโยบายและยุทธศาสตร์ เพื่อให้
ผู้มีส่วนเก่ียวข้องสามารถมีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนการดาเนินงาน ในลักษณะแพลตฟอร์ม
(Platform) ความรว่ มมอื ตามเปา้ ประสงคข์ องการพัฒนาใน ๓ แพลตฟอรม์ ได้แก่

แพลตฟอรม์ ๑. การยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากล และการสรา้ งบุคลากรคุณภาพ
สนองตอ่ ความตอ้ งการของพ้นื ทีภ่ าคตะวันออก

แพลตฟอรม์ ๒. การเป็นกลไกในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเป้าหมายและเป็นที่พึ่งในการพัฒนา
พื้นท่ีภาคตะวันออกอยา่ งย่ังยืน

แพลตฟอร์ม ๓. การพัฒนาสู่องคก์ รประสิทธภิ าพสงู เพื่อการเติบโตอยา่ งยงั่ ยืน
17

ตน้ ไมป้ ระจาคณะ

ตน้ พญายา

ค่มู ือนิสิตเภสัชศาสตร์ หลกั สูตรเภสชั ศาสตรบัณฑิต (6 ปี) หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563

ตราสญั ลกั ษณ์คณะเภสชั ศาสตร์ 4

โครงสรา้ งการบริหารงาน

คณบดี

คณะกรรมการประจาคณะฯ

คณะกรรมการบริหารคณะฯ

รองคณบดี สาขาวิชา สานกั งานคณบดี หนว่ ยงาน
- ฝา่ ยบริหาร ประธานสาขาวิชา รกั ษาการแทนหวั หนา้ สานักงานคณบดี รกั ษาการผจู้ ัดการ/หัวหนา้
- ฝา่ ยวิชาการ - สาขาวิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม - กลมุ่ งานบริหารงานทัว่ ไป - สถานปฏิบัตกิ ารเภสัชกรรมชุมชน

- ฝ่ายวิจยั และบริการวิชาการ - สาขาวชิ าเภสชั กรรมปฏิบัติ - กลุม่ งานวชิ าการ - ศูนย์นวัตกรรมทางเภสัชศาสตร์
- ฝา่ ยคลังและทรพั ยส์ ิน และการบริบาล - กลุ่มงานการเงิน บญั ชี และพสั ดุ
- ฝา่ ยพัฒนานสิ ิตและเช่อื มโยงสงั คม - สาขาวิชาเภสัชกรรมสงั คม - กลุ่มงานนักวทิ ยาศาสตร์

- ฝ่ายวางแผนพฒั นาและกจิ การพเิ ศษ และบรหิ ารเภสชั กจิ - กลุ่มงานอาคารสถานท่ี
- สาขาวิชาเภสชั วิทยา และโสตทัศนูปกรณ์
และเภสัชศาสตร์ชวี ภาพ

- สาขาวชิ าเภสชั เวทและเภสชั เคมี

คูม่ ือนสิ ิตเภสัชศาสตร์ หลกั สูตรเภสชั ศาสตรบัณฑิต (6 ปี) หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2563

กรรมการประจาคณะเภสัชศาสตร์ 5

1. เภสชั กรหญงิ ดร.ณฎั ฐิณี ธีรกุลกติ ตพิ งศ์ ประธานกรรมการ
กรรมการ
2. เภสชั กร ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ณฐั ธัญ เจรญิ ศรวี ไิ ลวฒั น์
(รองคณบดีฝ่ายบรหิ าร) กรรมการ

3. เภสัชกร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญดิศย์ วงศ์ศักดิ์ กรรมการ
(รองคณบดีฝา่ ยวิจยั และบรกิ ารวิชาการ)
กรรมการ
4. เภสัชกร รองศาสตราจารย์ ดร.กมั ปนาท หวลบตุ ตา
(รองคณบดีฝา่ ยวชิ าการ) กรรมการ

5. เภสชั กร ดร.ยุทธภูมิ มปี ระดิษฐ์ กรรมการ
(รองคณบดีฝ่ายพัฒนานสิ ิตและเชือ่ มโยงสงั คม)
กรรมการ
6. เภสัชกรหญิง ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมาวดี เปลี่ยนวงษ์
(รองคณบดฝี า่ ยคลงั และทรัพย)์ กรรมการ

7. เภสัชกรหญงิ ดร.ชามิภา ภาณุดลุ กติ ติ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ
(ประธานสาขาวชิ าเภสัชกรรมสังคมและบริหารเภสชั กจิ ) ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ
ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ
8. เภสชั กรหญงิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนิกานต์ แสงนม่ิ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ
(ประธานสาขาวิชาเทคโนโลยีเภสชั กรรม) ผู้ทรงคุณวุฒิ
ผู้แทนคณาจารย์
9. เภสชั กร ดร.อนสุ รณ์ ธรรมพทิ กั ษ์ ผ้แู ทนคณาจารย์
(ประธานสาขาวชิ าเภสัชวทิ ยาและเภสชั ศาสตรช์ วี ภาพ) กรรมการและเลขานกุ าร

10. เภสชั กร ศาสตราจารย์ ดร.พรศักด์ิ ศรอี มรศกั ด์ิ

11. เภสชั กรหญิง รองศาสตราจารย์ ดร.มยุรี ตันตสิ ริ ะ

12. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พิชาญ สวา่ งวงศ์

13. อาจารยว์ ิรัช คารวะพทิ ยากลุ

14. ดร.เกรียงศกั ด์ิ เทพผดุงพร

15. เภสชั กรหญงิ ดร.เนตรชนก เจียงสบื ชาติวีระ

16. เภสชั กร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณฐั วฒุ ิ ลลี ากนก

17. เภสชั กร ดร.วัชรพงษ์ แจม่ สวา่ ง
(รองคณบดีฝา่ ยวางแผนพฒั นาและกิจการพิเศษ)

คู่มอื นสิ ิตเภสัชศาสตร์ หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (6 ปี) หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563

สารผ้บู รหิ าร 6

เภสัชกรหญงิ ดร.ณฎั ฐิณี ธรี กลุ กติ ติพงศ์
คณบดคี ณะเภสชั ศาสตร์

ขอแสดงความยินดีและต้อนรับนิสิตใหม่ทุกคนสู่บ้านเขียวมะกอก และรั้วเทา-ทอง
ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา ปจั จุบันคณะเภสัชศาสตร์ได้ผ่านการรับรองสถาบันเป็น
ระยะเวลา 5 ปี และหลักสูตรเภสัชศาสตร์ หลกั สูตรปรับปรงุ 2563 ได้รบั การรับรอง 7 ปี จาก
สภาเภสชั กรรมเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว ปี 2564 เป็นกา้ วย่างสู่ปที ี่ 12 กบั วสิ ยั ทัศน์ “ขุมปญั ญาดา้ น
เภสัชศาสตรแ์ ห่งอนาคตของภูมิภาคตะวันออก” ที่สามารถแสดงถึงศักยภาพและขดี ความสามารถ
ที่คณะเภสัชศาสตร์ได้ทาหน้าที่ในการผลิตบัณฑิตเภสัชกรที่สามารถนาความรู้ทางเภสัชกรรม
การผลิตยาท่ีมีเทคโนโลยีท่ีทันสมัยและทักษะเภสัชกรรมด้านการบริบาล รวมถึงด้านชุมชนมาใช้
ในการทางานร่วมกับสหสาขาวิชาชีพในดูแลและส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและรักษาโรค การใช้ยา
อย่างมีประสิทธิภาพและสมเหตุสมผลเพ่ือคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน สังคมและประเทศชาติ
ด้วยความรู้ความสามารถของคณาจารย์และความทุ่มเทเอาใจใส่ในการดูแลนิสิตและสิ่งสนับสนุน
การเรียนรู้ต่าง ๆ ที่เพียงพอและทันสมัย ตลอดจนบรรยากาศของมหาวิทยาลัย นาไปสู่
ความสาเร็จในการผลิตบัณฑิตเภสัชศาสตร์ที่มีผลการสอบใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมเพ่ิม
จานวนสูงขึ้นทุกปีและบัณฑิตทุกคนมีงานทาหลังสาเร็จการศึกษา โดยเป็นที่ยอมรับของ
ผปู้ ระกอบการท้ังในระดับภูมภิ าคและในระดับชาติ นอกจากน้ีทางคณะได้รบั เลือกให้เป็นที่ตั้งของ
ศูนย์ทดสอบทางการแพทย์จีโนมิกส์ ประเทศไทยซ่ึงเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมทางการแพทย์
ครบวงจรของประเทศในพื้นท่ีของเขตอุตสาหกรรมภาคตะวันออก (EEC) สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้นามา
ซ่ึงความภาคภูมิใจต่อคณะฯ และมหาวิทยาลยั เป็นอยา่ งย่ิง

ในนามของคณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา ดิฉันขออวยพรให้นิสิตใหมข่ องคณะ
ทุกคนประสบผลสาเร็จในการเรียนและการใช้ชีวิตในร้ัวมหาวิทยาลัย การจะเป็นเภสัชกรท่ีดีใน
อนาคตน้ันทุกคนตอ้ งเริ่มกา้ วแรกจากการเป็นนสิ ติ ใหม่ท่ีตอ้ งแสวงหาความรู้ทง้ั จากห้องเรียน และ
ห้องปฏิบัติการ ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด และฝึกทางานร่วมกันกับเพ่ือน ๆ
รวมทั้งฝึกฝนพัฒนาตนเองในทุก ๆ ด้านท่ีคณะวิชาได้เตรียมพร้อมให้นิสิต ขอให้นิสิตสนุกกบั การ
เรียนรู้ เปิดใจรับสิ่งใหม่ ๆ และปรับตัวได้อย่างมีความสุขในการใช้ชีวิตในอีก 6 ปี ข้างหน้าของ
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และสามารถจบการศึกษาในระยะเวลาท่ีกาหนดพร้อม
ความรู้ความสามารถอย่างเต็มเป่ียมท่ีจะออกไปทางานเป็นเภสัชกรท่ีมีบทบาทสาคัญวิชาชีพหนึ่ง

คู่มอื นิสติ เภสัชศาสตร์ หลักสูตรเภสชั ศาสตรบัณฑิต (6 ปี) หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563

ในการดูแลสุขภาพของประชาชน ดั่งปณิธานของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ว่า 7
"สร้างเสริมปัญญา พัฒนาวิชาชีพและวิชาการด้านเภสัชศาสตร์ สร้างเสริมความรู้และเสริมสร้าง
คณุ ธรรมสบู่ ัณฑิต สร้างเสริมและผลิตเภสัชกรทมี่ ีมาตรฐานสู่สังคม”

เภสชั กร ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐธญั เจริญศรีวไิ ลวฒั น์
รองคณบดฝี ่ายบริหาร

“ยนิ ดตี อ้ นรบั นิสติ ช้นั ปีท่ี 1 ของคณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา ในปีการศึกษานี้ อาจารย์เช่ือในศักยภาพ
ของนิสิตใหม่ การเรียนในหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต
ของคณะฯ จะหลอ่ หลอมใหน้ ิสติ กลายเปน็ เภสัชกร ท่เี ป็นคนดี
เก่ง และมีผลการเรียนท่ีเป็นเลิศ ตลอนจนเป็นเภสัชกร
คุณภาพสูง รักษาไว้ซึ่งจรรยาบรรณวิชาชีพ เป็นผู้นาทางด้านเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในโลกอนาคต
มที กั ษะในโลกศตวรรษที่ 21 และสามารถเรยี นรู้ตลอดชีวิต ในระหว่างการศกึ ษา 6 ปี ขอใหน้ สิ ิต
คิดว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของคณะเภสัชศาสตร์แห่งน้ี มีความเชื่อมั่น ความรัก ความผูกพัน
กบั คณะฯ และเราจะเตบิ โตไปดว้ ยกนั ”

เภสัชกร รองศาสตราจารย์ ดร.กมั ปนาท หวลบุตตา
รองคณบดฝี ่ายวชิ าการ

นิสติ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ท่รี ัก
การท่ีนิสิตสามารถสอบผ่านเข้ามาเรียนในคณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพาแปลว่านิสิตมีคุณสมบัติและมีความพร้อม
ที่จะเรียนในหลักสูตรแล้ว อย่างไรก็ตามระยะเวลา 6 ปี
ของการเรียนในหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต นิสิตจาเป็น
จะต้องใช้ความพยายามความต้ังใจเสียสละเวลาในการพักผ่อนเพ่ือมุ่งม่ันในการเรียนและฝึกฝน
ทักษะที่จาเป็นจะต้องใช้ในการประกอบวชิ าชีพในอนาคต เพ่อื ให้นิสติ สามารถประสบความสาเร็จ
ในการเรียนในหลกั สูตรนี้ อาจารยจ์ ึงขอสรปุ เคล็ดลบั 5 ข้อดงั ต่อไปน้ี
1. วินัย วนิ ัยถือเป็นลักษณะนิสัยสาคัญที่จาเป็นจะต้องใช้ในการเรียนและดาเนินชีวิต
ตลอดระยะเวลา 6 ปีในรัว้ มหาวิทยาลัยในคณะเภสัชศาสตร์ เน่ืองด้วยรูปแบบการเรียนในระดับ
มหาวิทยาลัยจะเป็นรูปแบบคล้ายการทางานในชีวิตจริง นิสิตจะต้องรับผิดชอบตารางเรียน การ
ทบทวนเน้ือหา รวมถึงงานที่ได้รับมอบหมายจากอาจารย์ผู้สอน ซึ่งจะแตกต่างจากรูปแบบการ
เรียนในระดับมัธยมศึกษา การมีวินัยในการเข้าเรียน ทบทวนการเรียน และทางานที่ได้รับ
มอบหมายใหเ้ สร็จตรงเวลาจึงเปน็ ปัจจยั สาคญั ท่จี ะช่วยให้ นิสติ สามารถเรยี นได้ตามแผนการศกึ ษา
ทหี่ ลักสูตรกาหนด
2. ทักษะการจับประเดน็ สาคัญและสรปุ การเรยี นการสอนในหลกั สูตร เภสัชศาสตร์มี
เนื้อหาค่อนข้างมาก ส่ิงจาเป็นที่ผู้เรียนจะต้องเข้าใจหลักการและสามารถจับประเด็นสาคัญของ

คู่มอื นสิ ิตเภสชั ศาสตร์ หลกั สูตรเภสัชศาสตรบณั ฑติ (6 ปี) หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2563

การเรียนในแต่ละวิชารวมท้ังสามารถสรุปเพอ่ื ทบทวนก่อนทจ่ี ะสอบได้ การท่ผี เู้ รียนไม่สามารถจับ 8
ประเด็นสาคญั ได้ผเู้ รยี นจะไมส่ ามารถบรหิ ารจัดการเวลาในการทบทวนความรู้ไดท้ ัน

3. การทา time boxing ตลอดระยะในการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย นิสิตจะต้องมี
กิจกรรมมากมายทั้งการเรียนการสอน กิจกรรมของคณะ และกิจกรรมส่วนตัวของนิสิต การทา
time boxing หรือการกาหนดกิจกรรมในช่วงเวลาต่างๆของวันจะช่วยให้นิสิตสามารถบริหาร
จัดการเวลาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ โดยนิสติ ควรแบง่ เวลาสาหรับการเรยี น การทากิจกรรมสนั ทนา
การ การทบทวนเนอื้ หาการเรยี น รวมถึงการออกกาลังกายและการพักผ่อนอยา่ งเหมาะสมและไม่
เครยี ดจนเกนิ ไป

4. การทากิจกรรมต่างๆของทางคณะ หลักสูตรไม่ได้มุ่งหวังให้นิสิตมีเพียงแค่ความรู้
เมื่อจบออกไป นิสิตควรจะต้องมีประสบการณ์ในการใช้ชวี ิตในรว้ั มหาวิทยาลัย ดังนั้นหลักสูตรจึง
สนบั สนุนให้นิสิตทากจิ กรรมต่างๆของทางคณะและทางมหาวทิ ยาลยั เพ่ือใหน้ ิสิตมีทกั ษะในการใช้
ชีวิต รู้จักการทางานเป็นกลุ่ม รู้จักทักษะการติดต่อประสานงาน รู้จักทักษะการเป็นผู้นาและผู้
ตามท่ีดี รวมถึงสามารถวางแผนการทาโครงการหรือกจิ กรรมตา่ งๆได้ อาจารยจ์ งึ อยากให้นสิ ิตแบ่ง
เวลาบางส่วนจากการเรียน ร่วมกิจกรรมที่นิสติ ถนดั และอยากมสี ่วนรว่ ม

5. บริหารจัดการความเครียด ตลอดการเรียนในหลักสูตรเภสัชศาสตร์ผู้เรียนมักมี
ความเครียดและกดดันสูงเน่ืองด้วยเนื้อหารายวิชาท่ีเข้มข้น และจานวนงานท่ีได้รับมอบหมายท่ี
มาก การบริหารจัดการความเครียด และการปล่อยวางถือเป็นอีกทักษะท่ีนิสิตตอ้ งฝึกและปรับใช้
ตลอดการเรียน ท้ังนี้นิสิตสามารถปรึกษาอาจารย์ท่ีปรึกษาหรืออาจารย์ในคณะได้ทุกท่าน โดย
อาจารยพ์ ร้อมทีจ่ ะให้คาแนะนาและชว่ ยดว้ ยนสิ ติ ในทกุ ดา้ น

สุดท้ายขอให้นิสิตรักษาสุขภาพ ต้ังเป้าหมายในชีวิตและการเรียนเพ่ือที่จะได้มี
แรงผลักดนั ในการเรยี นใหส้ าเร็จลลุ ว่ งตามทีน่ ิสิตและครอบครวั ต้งั ไว้

เภสัชกร ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญดิศย์ วงศ์ศกั ดิ์
รองคณบดฝี ่ายวจิ ยั และบริการวชิ าการ

ขอแสดงความยินดีต้อนรับนิสิตทกุ คนที่เข้ามาศึกษาหาความรู้
ในร้วั เขียวมะกอก มหาวิทยาลัยบูรพาแห่งน้ี คณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา เป็นคณะเภสัชแห่งแรกและแห่งเดียว
ในภาคตะวันออก เร่ิมมีการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี
มามากกว่า 10 ปี โดยต้องการให้นิสิตท่ีจบออกไปเป็นคนที่
เพยี บพรอ้ มดว้ ยคุณธรรมจริยธรรม มีความสามารถท้ังด้านวิชาการและวิชาชพี ท่ีสมบูรณ์ สามารถ
ปรับตัวทางานร่วมกับผู้อ่ืน และมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต หรอื สรุปสั้น ๆ ว่า “ทัศนคติดี พฤติกรรม
เด่น สมรรถนะเลิศ” ในช่วงเวลา 6 ปีน้ี ถือเป็นช่วงเวลาส้ัน ๆ แต่ก็มีความหมายที่สาคัญในชีวิต
ที่นสิ ติ จะไดเ้ รียนรู้ ส่งั สมประสบการณต์ ่าง ๆ เพ่ือสาเรจ็ เปน็ เภสัชกรที่มีคณุ ภาพของสังคม พร้อม
ช่วยเหลือสังคมไทยและโลกได้ อาจารย์จึงจะขอฝากข้อคิดในการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยไว้ว่า
ขอให้นิสิตให้ความสาคัญกับทุกส่ิงท่ีได้พบ ท้ังด้านการเรียน หรือกิจกรรมต่าง ๆ เพราะส่ิงต่าง ๆ
จะอยู่ให้เราเรียนรู้ได้ไม่นาน และยากท่ีจะย้อนกลับมาเหมือนเดิมอีก คาว่าไม่ประมาทยังใช้ได้

คมู่ อื นสิ ติ เภสชั ศาสตร์ หลักสูตรเภสชั ศาสตรบัณฑิต (6 ปี) หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563

ดีเสมอ ทั้งด้านการเรียน และการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย ขอให้ต้ังสติ มีสมาธิ ทบทวน พิจารณา 9
ในสิ่งต่าง ๆ ให้ดี หกปีนี้คือโลกใบเล็ก สิ่งท่ีจะได้พบเจอคือการจาลองการปฏิบัติงานวิชาชีพและ
การใชช้ ีวติ ในสงั คม ก่อนที่นิสิตจะสาเร็จก้าวสโู่ ลกใบใหญ่ตอ่ ไป

สดุ ท้ายน้อี าจารยข์ ออาราธนาส่งิ ศกั ดส์ิ ิทธิต่าง ๆ ช่วยอานวยพรใหน้ สิ ติ ทกุ คนเตม็ เปี่ยม
ไปด้วยพลงั กาย พลังใจ และพลังสติปัญญา ในการฟันฝ่าส่ิงท้าทายต่าง ๆ จนประสบความสาเร็จ
ในการศกึ ษาและใช้ชีวติ ในร้วั มหาวิทยาลยั บรู พา อยา่ งมีความสขุ ตลอดไป

เภสชั กรหญิง ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมาวดี เปลยี่ นวงษ์
รองคณบดีฝา่ ยคลังและทรพั ย์สิน

ข อ ต้ อ น รั บ นิ สิ ต ให ม่ ทุ ก ค น เข้ า สู่ รั้ ว ข อ ง ค ณ ะ เภ สั ช ศ า ส ต ร์
มหาวิทยาลัยบูรพา ด้วยความยินดีเป็นอย่างย่ิง คณะเภสัช
ศาสตร์ ของเรามีความต้ังใจ พร้อมท่ีจะเป็นทั้งสถานที่ให้
ความรู้ การฝึกปฏิบัติวิชาชีพทางด้านเภสัชศาสตร์ และเป็น
บ้านอีกหลงั หนึ่งของนสิ ติ ทกุ คน การเดินทางในระยะเวลา 6 ปี
ตอ่ จากน้ี อาจจะทาให้นิสิตเหนื่อย และเครียดบ้าง แต่อาจารย์เช่ือว่า นิสิตทุกคนจะมีความตั้งใจ
และสามารถประสบความสาเร็จได้ อาจารย์และบุคลากรทุกท่านในคณะยินดีช่วยเหลือ และให้
คาปรึกษาแก่นิสิตเสมอ อาจารย์หวงั เป็นอยา่ งยิ่งว่า นิสิตใหม่ทุกคน จะสาเร็จการศึกษาจากคณะ
เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาแห่งนี้ เป็นเภสัชกรท่ีดี มีความรู้ ความสามารถ พร้อมท้ัง
จรรยาบรรณแหง่ วิชาชีพเภสชั กรรม

เภสัชกร ดร.ยทุ ธภมู ิ มปี ระดิษฐ์
รองคณบดีฝ่ายพัฒนานิสติ และเชอื่ มโยงสังคม

ขอแสดงความยินดี และขอต้อนรับนิสิตใหม่ที่เข้ามาสู่ คณะ
เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ด้วยความชื่นชม การที่นิสิต
สนใจเลือกเรียนเภสัชศาสตร์ ก็เป็นนิมิตหมาย อันดีของ
ประเทศ เพราะยาถอื วา่ เป็นหนงึ่ ในปจั จัย 4 ที่มคี วามสาคัญต่อ
การดารงชีวติ ของมนุษย์ การศึกษาเกย่ี วกับศาสตร์ทางดา้ นยา
จึงจะเป็นประโยชน์ตอ่ มวลมนุษยชาติ ได้ใช้ความรู้ในการคิดค้น และรักษาคน ให้พ้นจากโรคร้าย
ต่าง ๆ อนึ่งในช่วงระหว่างการศึกษา ขอเตือนให้นิสิตดูแล ป้องกันตนเอง อย่าลุ่มหลงไปใน
อบายมุขซ่ึงอาจแฝงมาในรูปแบบของเกมส์คอมพิวเตอร์ การพนัน สิ่งมอมเมาทั้งหลาย อันจะทา
ให้นิสิตหลงทางและเสียการเรียนได้ สุดท้ายนี้ขออานาจคุณพระศรีรัตนตรัยและส่ิงศักดิ์สิทธ์ิอวย
พรให้นิสิตทุกคนให้ต้ังใจเรียน และเรียนสาเร็จ มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ตลอดจน
มีความเจริญรุ่งเรืองในวิชาชีพสืบไป

คู่มอื นิสิตเภสชั ศาสตร์ หลกั สูตรเภสัชศาสตรบณั ฑติ (6 ปี) หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2563

เภสชั กร ดร.วชั รพงษ์ แจม่ สว่าง 10
รองคณบดฝี า่ ยวางแผนพฒั นาและกจิ การพิเศษ

ขอแสดงความยินดีกับนิสิตใหม่ ของคณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา ท่ีจะเข้ามาร่วมเป็นครอบครัวรั้วเขียว
มะกอกท่ีอบอุ่น ซ่ึงจะเป็นเสมือนบ้านอีกหลังให้กับทุกคน
ตลอ ดก ารใช้ชีวิต 6 ปี ใน ร้ัวแ ห่ งน้ี นิ สิตจะได้รับ ทั้ ง
ประสบการณ์การเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ในวิชาชีพนี้ ซ่ึงทาง
คณะเภสัชศาสตร์ได้พยายามพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนและเทคโนโลยีต่าง ๆ รวมถึง
กิจกรรมให้มีความทันสมัยมีองค์ความรู้ที่ครบถ้วน เพื่อให้นิสิตทุกคนมีความรู้ความสามารถ
และประสบการณ์ที่สามารถนาไปใช้ได้จริง ซึ่งตลอดเวลา 6 ปี จากนี้ไป จะเป็นช่วงเวลา
ท่ีมีความสุขสนุกสนานไปกับกิจกรรมต่าง ๆ การเรียนการสอนท้ังในภาคบรรยายและภาคปฏิบัติ
การรวมไปถึงประสบการณ์ในการออกฝึกปฏิบัติงานทางวิชาชีพ ถึงแม้บางคร้ังอาจจะรู้สึก
เหนื่อยล้าแต่ทุกคนจะสามารถไปได้ ดังนั้นขอให้นิสิตทุกคนฝ่าฟันความฝันท่ีตั้งใจเอาไว้
ก่อนท่จี ะเข้าเรยี นในคณะน้ี และขอให้ประสบความสาเรจ็ ตามทีต่ ้งั ใจหวังเอาไว้ทกุ คน

ยิน เสียงสาดคลนื่ น้า สดใส
ดี เดน่ เรง่ เรยี นไกล แจม่ จา้
ต้อน รับย่งิ น้องใหม่ เภสัช บูรพา
รบั คู่สขู่ วัญขา้ เร่งรู้ เรียนเอย

คู่มือนิสิตเภสัชศาสตร์ หลกั สูตรเภสชั ศาสตรบัณฑติ (6 ปี) หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563

สารประธานสาขา 11

เภสัชกรหญงิ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนิกานต์ แสงนมิ่
สาขาวชิ าเทคโนโลยีเภสชั กรรม

ขอแสดงความยินดีและขอต้อนรับนิสิตทุกคนเข้าสู่คณะเภสัช
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ส่ิงที่อาจารย์อยากบอกนิสิตทุกคน
คอื ขอให้ทกุ คนขยัน มุ่งม่ัน และอดทน เพราะการเรยี นตลอด
6 ปี เป็นส่ิงที่ยากลาบาก และต้องใช้ความพยายามเป็นอย่าง
มาก เด็กเภสัชฯ เรียนหนัก เวลานอนแทบจะไม่มี แต่ในเม่ือนิสิตตัดสินใจเลือกท่ีจะเรียนแล้ว
ขอให้ต้งั ใจให้เต็มที่ อาจารยท์ ุกทา่ นจะคอยสนบั สนนุ และชว่ ยเหลือพวกเราอย่างเตม็ ความสามารถ
อย่างไรกต็ ามการที่จะเปน็ เภสชั กรทีส่ มบูรณแ์ บบ มภี าวะความเปน็ ผ้นู า และทางานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ ได้
น้ัน การทากิจกรรมต่าง ๆ ในระหว่างการเรียนเป็นสิ่งจาเป็นมาก อาจารย์อยากให้พวกเราแบ่ง
เวลาและได้เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของทางคณะและมหาวิทยาลัยด้วยนะคะ สุดท้ายขอให้นิสิต
ตระหนักถึงคุณธรรม จริยธรรม ซึง่ จะเป็นพน้ื ฐานสาคญั ของจรรยาบรรณวชิ าชพี ตลอดชว่ งทศี่ กึ ษา
ในคณะเภสชั ฯ รวมถงึ เมือ่ จบไปเป็นเภสชั กรเตม็ ตัวแลว้

เภสชั กร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐวุฒิ ลีลากนก
สาขาวชิ าเภสชั กรรมปฏบิ ัตแิ ละการบริบาล

ขออนุญาตเป็นตัวแทนสาขาวิชาเภสัชกรรมปฏิบัติและการ
บ ริบ าล ต้อ น รับ นิ สิตเข้ าสู่ก ารเป็ น นั ก เรีย น เภ สัชก ร
เม่ือจบไปแล้วนิสิตจะรับผิดชอบชีวิตผู้ป่วย ไม่ว่าจะทางตรง
หรือทางอ้อม ความรู้ที่ได้จากการเรียนในทุกรายวิชาจะถูก
นาไปบูรณาการเพื่อใช้ในการผลิตยา หรอื ดูแลผู้ป่วย ขอใหน้ ิสติ เรียนเพ่อื นาไปใช้ประกอบวิชาชีพ
ไม่ใช่ท่องจาเพื่อสอบ ต้ังใจเรียนในห้องเรียน กลับบ้านอ่านทบทวนทุกวัน จะได้สอบผ่านท้ังใน
คณะและใบประกอบครบั

เภสชั กรหญงิ ดร.ชามิภา ภาณุดุลกติ ติ
สาขาวชิ าเภสัชกรรมสังคมและบรหิ ารเภสัชกิจ

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาบูรพา ขอแสดงความยินดี
และขอต้อนรับนิสิตใหม่ทุกทา่ นจากใจจริง การที่นิสติ สามารถ
ผ่านการคัดเลือกเข้ามาศึกษาต่อ ณ คณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพาได้นั้น แสดงให้เห็นถึงความมุ่งม่ัน ต้ังใจ
และความพยายามของให้นิสิตในระดับท่ีดีมาก อาจารย์จึงอยากแนะนาให้นิสิตคงความมุ่งมั่น
ต้ังใจนี้ไว้ใหค้ งอยตู่ ลอด 6 ปีของการเรียนหลักสูตรเภสชั ศาสตรบณั ฑิต สิ่งที่อยากแนะนาเพมิ่ เติม

คู่มอื นสิ ิตเภสัชศาสตร์ หลกั สูตรเภสัชศาสตรบณั ฑิต (6 ปี) หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563

คือ ขอให้นิสิตแบ่งเวลาเพื่อทบทวนตัวเองต้ังเป้าหมายในชีวิต วางแผนการเรียนและการร่วม 12
กิจกรรมต่าง ๆ ในรั้วมหาวิทยาลัย เพื่อให้ 6 ปี ต่อไปน้ี เป็น 6 ปีที่นิสิตจะได้รับความรู้ ทักษะ
วิชาชพี และประสบการณ์ทที่ รงคุณคา่ และเมื่อนึกยอ้ นกลบั มาก็จะมีแตค่ วามทรงจาดี ๆ ใหอ้ มยิ้ม
ได้ทกุ ครงั้ นะคะ // รกั

เภสชั กร ดร.อนสุ รณ์ ธรรมพิทกั ษ์
สาขาวชิ าเภสชั วิทยาและเภสัชศาสตร์ชวี ภาพ

ขอแสดงความยนิ ดแี ละยินดีตอ้ นรับนอ้ ง ๆ รนุ่ ท่ี 12 ทุกคนต่อ
ก้าวสาคัญของชีวิตสู่ระดับอุดมศึกษาในคณะเภสัชศาสตร์ สี
เขียวมะกอก แห่งร้ัวเทาทอง มหาวิทยาลัยบูรพา วิชาชีพ
เภสัชกรรม เป็นวิชาชีพที่เก่ียวข้องกับเร่ืองของยาท่ีเป็นหน่ึง
ในปัจจัยส่ีซึ่งเป็นความจาเป็นพ้ืนฐานของมนุษย์ ดังนั้นผู้ที่จะมาประกอบวิชาชีพน้ีจะต้องเป็น
ผ้ทู ี่รับผิดชอบกับชีวิตมนุษย์อย่างสูง ยาจงึ เป็นส่ิงสาคัญที่ตอ้ งรวมคุณธรรมอยู่ด้วย เราเป็นผู้หน่ึง
ที่ประชาชนมอบหมายความรับผิดชอบและไว้วางใจด้านยา ดังน้ันเราจึงต้องมีความรู้ด้านยารวม
กับจริยธรรมด้วยเสมอ หกปีนับจากน้ีขอให้น้อง ๆ ทุกคนจงเก็บเกี่ยวประสบการณ์ต่าง ๆ ไม่ว่า
จะเป็นด้านการเรยี น การทากิจกรรม และการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยให้ได้มากท่ีสุด สุดท้ายนี้
ขออาราธนาคุณพระไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาตถาคตเจ้าจงปกป้องคุ้มครองให้น้อง ๆ สาเร็จ
สมั ฤทธ์ผิ ลในการศึกษาเปน็ เภสัชกรตามทมี่ ุ่งหวัง มสี ุขภาพพลานามัยหา่ งไกลจากโรคาพยาธิ และ
ภยันตรายทั้งปวง และขอฝากประโยคสุดท้ายนี้ให้แก่น้อง ๆ ทุกคน ดังว่า "ปริญญาทาให้คนมี
งานทา กจิ กรรมทาให้คนทางานเปน็ "

เภสชั กรหญิง ดร.เนตรชนก เจยี งสืบชาติวีระ
สาขาวชิ าเภสชั เวทและเภสัชเคมี

ขอแสดงความยินดี และยินดีต้อนรับนิสิตใหม่เข้าสู่คณะเภสัช
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ตลอดระยะเวลา 6 ปีต่อจากน้ีจะ
เป็นช่วงเวลาท่ีนิสิตจะได้มีโอกาสศึกษาความรู้ต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพเภสัชกรรม ได้รับประสบการณ์
ที่แปลกใหม่แตกต่างไปจากการเรียนช้ันมัธยมศึกษา ได้สร้างปฏิสัมพันธ์กับเพ่ือน รุ่นพ่ี และ
คณาจารย์ในสังคมใหม่ อีกท้ังยังได้รับการฝึกปฏิบัติงานวิชาเภสัชกรรมก่อนจบการศึกษา
ไปเป็นเภสัชกรท่ีดีในอนาคต ซ่ึงความขยันหม่ันเพียร ใฝ่เรียนรู้ ความอดทน ความรับผิดชอบ
ความซ่ือสัตย์ จิตสาธารณะ และความอ่อนน้อมถ่อมตนก็ยังคงเป็นคุณลักษณะสาคัญท่ีพึงมี
ของนิสติ เพื่อให้ตนเองประสบความสาเรจ็ ในการศึกษา แม้ว่านิสิตจะมาจากคนละท่ี แต่เม่อื มาอยู่
ท่ีน่ีนิสิตทุกคนคือครอบครัวเดียวกัน ทุกปัญหาท่ีนิสิตพบเจอ เราจะร่วมกันแก้ไขแล้วผ่านพ้นไป
ด้วยกัน ท้ายน้ีขอให้นิสิตทุกคนมีสุขภาพท่ีแขง็ แรงท้ังกายและใจ มีแรงพลงั ในการฝ่าฟันอปุ สรรค
ต่าง ๆ เพือ่ ใหป้ ระสบความสาเรจ็ ดงั ท่ีปรารถนาไว้ทกุ ประการ

คมู่ ือนิสติ เภสัชศาสตร์ หลักสูตรเภสชั ศาสตรบณั ฑติ (6 ปี) หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563

คณาจารย์ 13

ผบู้ รหิ ารและประธานสาขาวชิ า
เบอร์ติดต่อ 038 - 390401 ต่อดว้ ยหมายเลขภายใน 4 หลกั

สานกั งานจดั การศึกษา

ภญ.ดร.ณัฎฐณิ ี ธีรกุลกิตตพิ งศ์ คณบดี 5001

ภก.ผศ.ดร.ณัฐธญั เจรญิ ศรวี ไิ ลวฒั น์ รองคณบดีฝา่ ยบรหิ าร 5008

ภก.รศ.ดร.กมั ปนาท หวลบุตตา รองคณบดฝี า่ ยวชิ าการ 5003

ภก.ผศ.ดร.บญุ ดศิ ย์ วงศ์ศักด์ิ รองคณบดฝี า่ ยวิจัย 5002
และบริการวชิ าการ

ภญ.ผศ.ดร.สมาวดี เปล่ียนวงษ์ รองคณบดีฝา่ ยคลัง 5007
และทรพั ย์สนิ

ภก.ดร.ยทุ ธภมู ิ มปี ระดิษฐ์ รองคณบดฝี ่ายพัฒนานสิ ติ 5005
และเชือ่ มโยงสังคม

ภก.ดร.วชั รพงษ์ แจ่มสวา่ ง รองคณบดีฝา่ ยวางแผนพัฒนา 5004
และกิจการพิเศษ

สาขาวชิ าเทคโนโลยีเภสัชกรรม

ประธานสาขาฯ : ภญ.ผศ.ดร.ธนิกานต์ แสงนิ่ม 5134
ภก.ผศ.ดร.ณัฐธัญ เจริญศรวี ไิ ลวฒั น์ 5008
ภก.รศ.ดร.กมั ปนาท หวลบตุ ตา 5053
ภก.ดร.วชั รพงษ์ แจม่ สวา่ ง 5031
ภญ.ดร.อาภา เพชรสัมฤทธิ์ 5103
ภญ.ดร.นปภัช รัตนะชติ ธวัช 5059
ภก.ผศ.ดร.ยศนนั ท์ วีระพล 5126
ภญ.ดร.สกุ รรณิการ์ ทับทิมศรี 5139
ภก.ผศ.ดร.ถริ พิทย์ สุบงกช 5138

ค่มู ือนิสติ เภสัชศาสตร์ หลกั สูตรเภสัชศาสตรบณั ฑติ (6 ปี) หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563

สาขาวชิ าเภสชั กรรมปฏิบัติและการบรบิ าล 14

ประธานสาขาฯ : ภก.ผศ.ดร.ณฐั วฒุ ิ ลีลากนก 5144
ภญ.อ.สุธาบดี มว่ งมี 5071
ภญ.ดร.จาฏพจั น์ เหมพรรณไพเราะ 5138
ภญ.ดร.สุพรรณกิ าร์ พรวัฒนกวี 5069
ภก.อ.ศิริพงศ์ ธนาพัฒนภ์ าคนิ 5128
ภญ.ดร.พรทพิ ย์ พามนตรี 5177
ภญ.อ.ฐยิ าภา วีรยาชาญกุล 5071
ภญ.อ.มารสิ า เสนงาม 5138
ภญ.อ.สุพิชา อินทรชมุ นมุ 5108
ภญ.อ.วรรณวรชั ญ์ อารีย์ 5096
ภญ.อ.สพุ ตั รา กิจเจรญิ ปญั ญา 5069
ภก.อ.ศุภกิต ป่ินทอง 5131
ภก.อ.บรรณวชิ ญ์ สภาพทรัพย์ 5131
ภก.อ.กันตศ์ กั ด์ิ บญุ ภัทรฐติ ิ 5051

สาขาวชิ าเภสัชกรรมสงั คมและบรหิ ารเภสัชกิจ 5113
5080
ประธานสาขาฯ : ภญ.ดร.ชามภิ า ภาณดุ ลุ กิตติ 5177
ภก.ดร.ยุทธภูมิ มปี ระดษิ ฐ์ 5053
ภก.ดร.กฤตภาส กังวานรตั นกลุ 5108
ภก.อ.ภาสกร ออ่ นนม่ิ 5080
ภญ.ดร.ณัฏฐณชิ ชา กลุ ธนชยั โรจน์ 5128
อ.ภักดี สขุ พรสวรรค์
ภก.อ.พงศ์พนั ธ์ุ สุรยิ งค์

สาขาวชิ าเภสัชวทิ ยาและเภสชั ศาสตรช์ ีวภาพ

ประธานสาขาฯ : ภก.ดร.อนสุ รณ์ ธรรมพทิ ักษ์ 5065
ภญ.ดร.ณัฎฐณิ ี ธีรกุลกิตติพงศ์ 5132
อ.วนิดา โอฬารกจิ อนันต์ 5101
อ.ทอแสง วรี ะกุล 5113
อ.ทศพล จิระสมประเสรฐิ 5089
ภญ.ดร.ภทั รวดี ศรคี ุณ 5120

ค่มู ือนสิ ิตเภสัชศาสตร์ หลกั สูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (6 ปี) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563

อ.ดร.สุดารัตน์ หาดเพชร 5104 15
ภญ.ดร.ณัฐธยาน์ เชาวน์ธนาพฒั น์
ภก.ดร.ฤทธิณรงค์ มพี งษ์ 5136
อ.สุวิศษิ ฏิ์ แม้นเหมอื น
ภญ.ผศ.ดร.วภิ าวรรณ ศริ กิ ลุ พาณิชย์ 5090
อ.ดร.ยศวีร์ ดวงจติ ต์เจริญ
อ.ดร.ฐิติมา เกษมสขุ 5145
อ.ดร.ณฐั สลลิ พงษธ์ นรชั ต์
ภญ.อ.อัมพิกา เกษรสทิ ธิ์ 5110
ภญ.อ.สมณัฐทัย แย้มเมน่
ภก.อ.พรรษพล เกิดทรพั ย์ 5132

สาขาวชิ าเภสชั เวทและเภสชั เคมี 5110

ประธานสาขาฯ : ภญ.ดร.เนตรชนก เจยี งสืบชาตวิ รี ะ 5096
ภก.ผศ.ดร.บญุ ดศิ ย์ วงศศ์ ักด์ิ
ภญ.ผศ.ดร.สมาวดี เปลย่ี นวงษ์ 5104
ภญ.ดร.ชฎาพร พรมปญั ญา
ภญ.ดร.ขวญั ชญานวศิ มาชะนา 5066
อ.ดร.นพิ ฒั ธา อิสโร
ภญ.ดร.พทุ ธิพร คงแกว้ 5051
อ.ดร.สนุ ันต์ ใจสมุทร
ผศ.ดร.ณิชกานต์ ภีระคา 5052
ภญ.ดร.นภัสสร ฉันทธารงศริ ิ 5002
ภญ.ดร.ธันยช์ นก ศิรริ ักษ์ 5034
ภก.อ.กันตวฒั น์ ฤทธิเ์ ต็ม 5103
5114
5078
5031
5090
5114
5034
5052
5057

คู่มอื นสิ ติ เภสชั ศาสตร์ หลักสูตรเภสชั ศาสตรบัณฑติ (6 ปี) หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563

สานักงานคณบดี 16

ฝ่ายบุคคล นางสาวพลอยนิศา สกลุ คุณสนอง

เจ้าหน้าทบ่ี รหิ ารงานทั่วไป นายณรงค์ ขาวเหลือง นางพชรวรรณ คชั มาตย์

นางสาวสริลรัชญ์ สาราญทรพั ย์

นกั วิชาการศึกษา นางจตุพร กง่ิ แกว้ นางสาวปริยาภา เกตุกูล
นายกชกร ผดุงรชั ดากจิ นายสุบณั ฑติ พมุ่ เจริญ
นางสาวจฑุ ามาศ อนิ ตรา

นักวิชาการพัสดุ นางวราภรณ์ ชวนะ นางสาวจิราภรณ์ ศรผี อ่ ง

นกั วิชาการเงนิ และบัญชี นางสาวกญั ณฐั ฎ์ คงเกษม นางสาวเบญ็ จพร สีสนั
นางสาวจิรภรณ์ คูหะมณี

นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน นางสาวกนกอร ชานาญกลุ

นักวชิ าการคอมพวิ เตอร์ นายวิศรุจ พวงแก้ว

นักวทิ ยาศาสตร์ นายสมเกียรติ ทองอ่วมใหญ่ นางสาวณฐั สุดา อนิ สอน
นางสาวอลิษา กุลจนั ทะ นางสาวจติ รา ชามาดา
นางสาวพุทธชา สอนจนั ทร์ นางสาวอรอนงค์ สงิ หแ์ อด

นักวชิ าการโสตทศั นศึกษา นายจาตรุ นต์ ยงั ใหผ้ ล นางสาวศศิธร จว๋ิ ประเสริฐ
และอาคารสถานที่ นายสทุ ธพิ งษ์ ประเสริฐดี

ผปู้ ฏิบัตงิ านบริหาร นายสดใส แก่นจันทร์

ผู้ปฏิบัตงิ านชา่ ง นายบญั ชา พุทธมิลนิ ประทีป

นักการภารโรง นางสาวจติ ิมา วรวัตร

พนักงานขับรถยนต์ นายทรงวฒุ ิ สุมาลี

สถานปฏบิ ัตกิ ารเภสัชกรรมชมุ ชน

ผจู้ ัดการ เภสชั กรพรี วิชญ์ สมุ ารนิ ทร์
เจ้าหนา้ ที่บรหิ ารงานทั่วไป นางสาวรชั นก สุขพรรณ์
ผู้ช่วยปฏิบัติงานบรหิ าร นางสาวรดาสา จนุ กลาง

คู่มอื นสิ ติ เภสัชศาสตร์ หลกั สูตรเภสัชศาสตรบณั ฑิต (6 ปี) หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2563

สารนายกสโมสรนสิ ติ ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 17

สวัสดีครับน้อง RxBUU12 พ่ีขอเป็นตัวแทนพ่ี ๆ ในคณะทุกช้ันปี มาต้อนรับและ

แสดงความยินดีกับน้อง ๆ ท่ีได้เข้ามาสู่ครอบครัวเขียวมะกอก ครอบครัวท่ีมแี ต่ส่ิงดี ๆ รอน้องอยู่
จากการก้าวข้ามผ่านชีวติ วยั มอปลาย เขา้ มาสูช่ ีวิตวัยมหาวทิ ยาลยั มักจะมอี ะไรท่ตี ้องปรบั ตวั เยอะ
ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเรียน เรื่องสังคม เร่ืองกิจกรรม แต่น้อง ๆ ไม่ต้องเป็นกังวลใจไป เพราะว่าพวก
พี่ ๆ พร้อมรับฟัง ให้คาปรึกษา และเป็นกาลังใจในทุก ๆ เรื่อง หกปีนับจากน้ีมีอะไรให้เรียนรู้
มากมายรอน้อง ๆ อยู่ ขอให้น้อง ๆ ใช้ความอดทน พยายาม กับการเรียนรู้ที่จะได้เจอสู้ไปกับมัน
ระหว่างทางอาจจะท้อบ้าง แต่ขอให้น้อง ๆ รู้ว่ามีคนรอบข้างรอ support น้อง ๆ เสมอ และ
ที่สาคัญ การจัดสรรเวลา และลาดับความสาคัญระหว่างกิจกรรม และการเรียน ท่ีดีน้ันจะทาให้
มีความสุข ขอใหน้ อ้ ง ๆ สนุกไปกับการใช้ชวี ิต ในรั้วมหาวิทยาลยั นะครับ

คณะกรรมการสโมสรนิสิต ประจาปกี ารศกึ ษา 2564

1. นายชยพล ใสสะอาด ตาแหนง่ นายกสโมสรนสิ ิต
2. นายธัชธรรม ฉัตรชยั พันธ์ ตาแหน่ง อปุ นายกฝา่ ยใน
3. นางสาวชชั ชยา มงคล ตาแหนง่ อุปนายกฝา่ ยนอก
4. นางสาวกวิตา คงคาหลวง ตาแหน่ง อุปนายกฝ่ายกจิ กรรม สนภท.
5. นางสาวปาณิศา เทพรตั น์ ตาแหน่ง เลขานกุ ารฯ
6. นางสาวปรยี าพร กาศลงั กา ตาแหน่ง เลขานุการฯ
7. นางสาวสพุ รรณวนารี ฉายะโคตร ตาแหน่ง เหรญั ญกิ
8. นางสาวศิโรรัตน์ ห้องแซง ตาแหนง่ นันทนาการ
9. นางสาววนิศรา เกียรตวิ รศรีกลุ ตาแหนง่ พัสดุ
10. นางสาวธนชั พร ชมุ นยุ้ ตาแหนง่ จดั หารายได้
11. นางสาวชญานิศ พงษเ์ สวลักษณ์ ตาแหนง่ ประชาสมั พันธ์
12. นางสาวธนิดา จินดากลุ ตาแหน่ง อาคารและสถานที่
13. นายเศรษฐวชิ ญ์ เอื้อวงษ์ประเสริฐ ตาแหนง่ กีฬา
14. นางสาวสิรินยา ภูกระบลิ ตาแหน่ง วิชาการ
15. นางสาววรพร สุธาบัณฑิตพงศ์ ตาแหนง่ สวัสดกิ าร
16. นายวรชาติ สนพะเนาว์ ตาแหน่ง ศิลปะและวัฒนธรรม

คู่มอื นสิ ิตเภสชั ศาสตร์ หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑติ (6 ปี) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563

18

17. นางสาวธวัลรตั น์ องั คณาวศิ ลั ย์ ตาแหนง่ เทคโนโลยีสารสนเทศ
18. นางสาวอาภารัตน์ มสิ า ตาแหนง่ สรปุ และประเมินผล
19. นางสาวสริ กิ ร ศริ ศิ ักดิ์ภิญโญ ตาแหนง่ วเิ ทศสมั พันธ์
20. นายวสนั ชยั เทพพทิ กั ษ์ ตาแหนง่ โสตทัศนศึกษา
21. นางสาวกรรวี จงึ ศิรกลุ วิทย์ ตาแหนง่ ถา่ ยภาพ

คมู่ ือนสิ ติ เภสัชศาสตร์ หลักสูตรเภสชั ศาสตรบัณฑติ (6 ปี) หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2563

หลักสูตรเภสชั ศาสตรบัณฑิต (6 ปี) 19
หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2563

ช่ือปริญญาและสาขาวชิ า

ช่อื ปริญญาภาษาไทย : เภสชั ศาสตรบัณฑิต
Doctor of Pharmacy
ชื่อปริญญาภาษาอังกฤษ : ภ.บ.
Pharm.D
อักษรย่อ (อภไิ ธย) ภาษาไทย :

อกั ษรยอ่ (อภไิ ธย) ภาษาอังกฤษ :

จานวนหน่วยกติ ท่ีเรยี นตลอดหลกั สตู ร
ไมน่ อ้ ยกวา่ 220 หนว่ ยกิต

รปู แบบของหลกั สูตร
- เป็นหลักสูตรระดบั ปรญิ ญาบณั ฑิต หลักสูตรศึกษา 6 ปี
- สาหรับกรณีท่ีอาจมีการเทียบโอนรายวิชา จะต้องใช้เวลาการศึกษาอีกไม่น้อยกว่า

8 - 10 ภาคการศึกษา อย่างมากไม่เกิน 10 ปีการศึกษา ผู้สาเร็จการศกึ ษาจากสาขาอ่ืนก็อยู่ใน
อนุโลมขอ้ น้ีโดยหลักการ

- รูปแบบของการจัดการศึกษานิสิตต้องมีการฝึกประสบการณ์และปฏิบัติการวิชาชีพ
ทางเภสัชศาสตร์ ท้ังภาคบังคับและภาคเลือกสาขาเน้น รวมแล้วไม่น้อยกว่า 2,000 ช่ัวโมง
ทาการ/ปฏิบตั ิการ

- กรณีนอกเหนือจากกาหนดนี้ ให้เสนอคณะกรรมการประจาคณะเภสัชศาสตร์
เพ่ือพิจารณา

ปรัชญาของหลักสูตร
หลักสูตรน้ีมุ่งสร้างบณั ฑิตที่มคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบวชิ าชีพ

ด้านเภสัช กรรมตามมาตรฐานวิชาชีพ มีความรับผิดชอบ มีทักษะในการเรียนรู้ตลอดชีพ
มีคุณธรรมจริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี ตระหนักในหน้าท่ีต่อสังคม
และประเทศชาติ

วัตถุประสงค์ของหลักสตู ร
1) เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณและเจตคติที่ดี เหมาะสมต่อการ

ประกอบ วชิ าชพี เภสชั กรรม ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ และข้อบงั คับตา่ ง ๆ อทุ ิศตน เสียสละ เคารพ
สิทธิความเป็น มนษุ ย์ และมคี วามรบั ผิดชอบตอ่ สังคม

2) เพ่ือให้บัณฑิตมีความรอบรู้ สามารถประยุกต์ใช้ความรู้จากทฤษฎีสู่การประกอบ
วิชาชีพเภสัชกรรม โดยผู้ท่ีเรียนสาขาเน้นการบริบาลทางเภสัชกรรมต้องมีองค์ความรู้เฉพาะด้าน
การบริบาลทางเภสัช กรรมที่สามารถนาไปใช้ได้จริงอย่างชานาญ ส่วนผู้ที่เรียนสาขาเน้นเภสัช
กรรมอุตสาหการตอ้ งมีองคค์ วามรู้ เฉพาะด้านเภสัชกรรมอตุ สาหการท่ีสามารถนาไปใชไ้ ดจ้ รงิ อยา่ ง
ชานาญ

คู่มือนิสติ เภสชั ศาสตร์ หลกั สูตรเภสชั ศาสตรบณั ฑติ (6 ปี) หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2563

3) เพื่อให้บณั ฑิตสามารถคดิ วิเคราะห์ บูรณาการความร้ตู ่าง ๆ และแก้ไขปัญหาอย่าง 20
เป็นระบบ มวี ิจารณญาณบนหลักฐานทางวิชาการ รวมท้ังมีความสามารถด้านการวิจยั และสร้าง
นวัตกรรมเพื่อ ตอบสนองตอ่ สังคมและวิชาชีพ

4) เพ่ือให้บัณฑิตมีจิตสาธารณะ เป็นพลเมืองที่ดี เป็นท่ีพึ่งของสังคมทางด้านยา
และสุขภาพ

5) เพื่อให้บัณฑิตมีภาวะผู้นา สามารถทางานเป็นทีม ให้ร่วมมือเพ่ือสร้างสรรค์
และพฒั นาสงั คม

6) เพื่อให้บัณฑิตมีความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลข ประยุกต์ใช้เทคนิค
ทางสถิติ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งร้เู ทา่ ทนั มคี วามใฝ่รแู้ ละสามารถเรยี นร้ตู ลอดชีวิต

7) เพ่ือให้บัณฑิตสามารถปฏิบัติงานและแก้ไขปัญหาในสถานการณ์จริง โดยผู้ที่เรยี น
สาขาเน้นการ บริบาลทางเภสัชกรรมต้องสามารถปฏิบัติงานด้านการบริบาลทางเภสัชกรรม
และแก้ไขปัญหาใน สถานการณ์จริง ส่วนผู้ที่เรียนสาขาเน้นเภสัชกรรมอุตสาหการต้องสามารถ
ปฏบิ ตั งิ านด้านเภสัชกรรม อตุ สาหการและแก้ไขปัญหาในสถานการณ์จริง

คุณลักษณะของบัณฑิตทีพ่ ึงประสงค์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
คุณภาพของเภสัชศาสตรบัณฑิต เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐานคุณวุฒิระดับ

ปริญญาตรี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ. 2558 (หลักสูตร 6 ปี) ซ่ึงสอดคล้องกับกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒริ ะดับอดุ มศกึ ษา แหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 โดยมีผลลัพธก์ ารเรียนร้ทู ัง้ 6 ด้าน ดังนี้

1. คุณธรรม จริยธรรม
(1) มีคุณธรรมจริยธรรมในการดาเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มี จรรยาบรรณวชิ าชพี เสยี สละ มจี ติ อาสา ซื่อสตั ยส์ ุจรติ มรี ะเบยี บ และตรงต่อเวลา
(2) มีวินัย เป็นแบบอย่างท่ีดีต่อผู้อ่ืน เคารพสิทธิ คุณค่าและศักด์ิศรีของตนเอง ผู้อื่น
สงั คม ศิลปวัฒนธรรม และธรรมชาติ รบั ฟังความคดิ เหน็ ของผู้อน่ื
(3) เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ภายในหลักธรรมาภิบาล
ขององค์กรและสงั คม
2. ความรู้
(1) มคี วามรอบรู้ เขา้ ใจหลกั การและทฤษฎพี ื้นฐานทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ
(2) สามารถประยกุ ต์ความรู้จากทฤษฎสี ู่การปฏบิ ัติ
(3) มคี วามรูด้ ้านเภสชั กรรมอุตสาหการ (วทิ ยาศาสตร์เภสัชกรรม) เก่ียวกับเคมีทางยา
การผลิต การควบคุมและประกันคุณภาพ การวจิ ยั และพฒั นา ยา ชวี วตั ถุ สมนุ ไพร และผลติ ภัณฑ์
สุขภาพอ่ืน ๆ โดยสาขาเภสชั กรรมอตุ สาหการจะต้องนาความรไู้ ปประยุกตใ์ ชใ้ นสถานการณ์จริงได้
อย่างชานาญ
(4) มีความรูด้ ้านการบรบิ าลทางเภสัชกรรมเกย่ี วกับการวางแผนการรกั ษาด้วยยา การ
ใช้ ยา การประเมินปญั หาดา้ นยาและสุขภาพ ความปลอดภัยในการใช้ยา และการบริหารจัดการ
เร่ืองยา โดย สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรมจะต้องนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์
จริงไดอ้ ยา่ งชานาญ
(5) มีความรู้เก่ียวกับระบบบริหารคุณภาพในด้านการบริหารจัดการความเสี่ยง
และการ ปรับปรงุ คณุ ภาพอย่างต่อเน่ือง

ค่มู ือนสิ ิตเภสัชศาสตร์ หลกั สูตรเภสชั ศาสตรบัณฑติ (6 ปี) หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563

(6) มคี วามรู้ในระบบสุขภาพ ระบบยา การคุ้มครองผู้บรโิ ภค กฎหมายหรือข้อตกลงที่ 21
เกีย่ วขอ้ งกบั วชิ าชีพและการบริหารจัดการสาหรับการประกอบการดา้ นยาเบ้ืองตน้

3. ทกั ษะทางปัญญา
(1) มีทักษะการแสวงหาความรู้ ประยุกต์ เพือ่ พฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนื่อง
(2) มีทักษะการคิดแบบองค์รวม สามารถบูรณาการความรู้ต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหาได้
อย่างมีประสิทธภิ าพ และสอดคล้องกับสถานการณ์
(3) สามารถคิด วิเคราะห์ ป้องกัน และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลและ
เป็นระบบ
(4) มที ักษะการสรุปความคดิ รวบยอด
(5) มคี วามคิดริเร่มิ สร้างสรรคใ์ นการปฏิบตั ิงาน
(6) มีทักษะในการรูส้ ารสนเทศ
4. ทักษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคคล และความรับผิดชอบ
(1) มีจิตสาธารณะ มีความรับผิดชอบ สานึกในความเป็นพลเมืองท่ีมีคุณค่าต่อสังคม
และมีความเป็นไทย
(2) มภี าวะผนู้ า สามารถทางานเป็นทีม แสดงและรับฟังความคิดเหน็ ของผอู้ ่นื ได้อยา่ ง
เหมาะสม
(3) สามารถใชค้ วามร้ใู นวชิ าชีพมาบริการสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
(4) มที กั ษะการบริหารงานบุคคล มมี นุษยสัมพนั ธ์ สามารถปรับตัวเข้ากบั สังคมได้
5. ทักษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การส่ือสาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) สามารถใช้ข้อมูลเชิงตัวเลข เลือกและประยุกต์เทคนิคทางสถิติ และเทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างร้เู ท่าทนั ในการแกป้ ญั หาทางวิชาชพี
(2) สามารถใช้ภาษาในการส่อื สารทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และถ่ายทอดความรู้
อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
(3) มีทักษะในการเขียนรายงานและการนาเสนอ โดยเลือกใช้รูปแบบและวิธีการ
อยา่ งเหมาะสม
6. ทกั ษะเชงิ วชิ าชพี
(1) สามารถปฏิบัติงานเกี่ยวกับการผลิต การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย
และพัฒนายา ชวี วัตถุ สมุนไพร และผลติ ภณั ฑ์สุขภาพอื่น ๆ โดยสาขาวชิ าเภสชั กรรมอุตสาหการ
จะต้องมี ทกั ษะในการแกไ้ ขปัญหาในสถานการณจ์ รงิ
(2) สามารถปฏิบัติงานเกี่ยวกับการให้การบริบาลทางเภสัชกรรม และบริหารจัดการ
เรื่อง ยา โดยสาขาวิชาการบรบิ าลทางเภสัชกรรมจะต้องมีทักษะในการแกไ้ ขปัญหาในสถานการณ์
จรงิ
(3) สามารถปฏิบตั งิ านเก่ียวกับระบบสขุ ภาพ ระบบยา และการคมุ้ ครองผ้บู ริโภค
มีการเก็บข้อมูลบัณฑิตที่จบการศึกษาจากหลักสูตร ในด้านต่างๆ เพ่ือนามาวิเคราะห์
ผลการดาเนินการของหลักสูตร การเทียบเคียงมาตรฐานเพื่อการพัฒนา และใช้ในการปรับปรุง
กระบวนการ จดั การหลกั สูตรในปกี ารศกึ ษาต่อไป ดังนี้
- จานวนบัณฑิตที่การสาเร็จการศกึ ษาจากหลกั สูตร และจานวนนิสติ ทตี่ กออกในแต่ละ
ปกี ารศกึ ษา

คู่มือนิสิตเภสชั ศาสตร์ หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑติ (6 ปี) หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2563

- จานวนบัณฑิตท่ีจบการศึกษาภายในระยะเวลา 6 ปี (ตามระยะเวลาที่หลักสูตร 22
กาหนด) รวมถงึ จานวนนสิ ติ ที่จบการศกึ ษาก่อนและหลงั จากเวลา 6 ปี

- การได้งานทาของบัณฑิตที่จบการศึกษา โดยแบ่งเป็นการได้งานทาท่ีเกี่ยวข้องกับ
วิชาชีพเภสัชกร และการได้งานทาท่ีไม่เก่ียวข้องกับวิชาชีพเภสัชกร ภายในระยะเวลา 1 ปี
หลงั จากการจบ การศึกษา

- ประเภทและจานวนงานวิจยั ทเี่ กิดจากบัณฑติ ทจี่ บการศกึ ษาจากหลกั สูตร
- ความพึงพอใจของผูใ้ ชบ้ ณั ฑิตท่ีมีตอ่ บณั ฑิตใหม่ หลงั การทางานอย่างนอ้ ย 1 ปี

การประกนั คณุ ภาพหลักสูตร
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑติ (หลกั สตู ร 6 ป)ี หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2563 ไดม้ กี าร

บริหาร จัดการหลักสูตร โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จานวน 5 ท่าน ดาเนินการบริหาร
จัดการ วางแผน กากับดูแล ติดตามผล และปรับปรุงหลักสูตร ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานที่
กาหนดตลอดระยะเวลาทม่ี ี การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรดังกลา่ วทกุ ประการ ไดแ้ ก่ เกณฑ์
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ. 2558 (หลักลูตร 6 ปี) และได้มีการ
จัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) และตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ด้วยระบบ
CUPT QA ตามเกณฑ์ ASEAN University Network-Quality Assurance (AUN-QA) ในทุกปี
การศกึ ษา

คมู่ ือนิสิตเภสัชศาสตร์ หลักสูตรเภสชั ศาสตรบัณฑิต (6 ปี) หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2563

แผนการศกึ ษาของนิสิตในหลกั สตู รเภสชั ศาสตรบัณฑิตในแตล่ ะภาคเรียน 23
จานวนรวมทง้ั หมด 220 หน่วยกติ

1) หมวดวิชาศึกษาทวั่ ไป 30 หนว่ ยกติ
1.1) กลมุ่ วชิ าภาษาเพ่ือการสอ่ื สาร 12 หนว่ ยกติ
1.2) กลมุ่ วิชาอตั ลักษณแ์ ละคุณภาพชวี ติ บัณฑิตบูรพา 4 หนว่ ยกติ
1.3) กลุ่มวิชาทกั ษะชวี ิตและความรับผดิ ชอบต่อสังคมและส่งิ แวดลอ้ ม 7 หน่วยกติ
1.4) กลมุ่ วชิ านวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ 4 หนว่ ยกติ
1.5) วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 หนว่ ยกติ

2) หมวดวชิ าเฉพาะด้าน 184 หนว่ ยกติ
2.1) กลมุ่ วิชาบงั คบั พืน้ ฐาน 40 หน่วยกติ
2.1.1) กลมุ่ วชิ าพืน้ ฐานวชิ าชีพ 22 หนว่ ยกติ
2.1.2) กลุ่มวิชาวทิ ยาการพรีคลนิ ิก 18 หนว่ ยกติ
2.2) กลุ่มวิชาบงั คบั แกนวิชาชพี 144 หนว่ ยกิต
2.2.1) กลุ่มวชิ าดา้ นผู้ป่วย 37 หน่วยกิต
2.2.2) กลมุ่ วชิ าดา้ นผลิตภัณฑ์ 37 หนว่ ยกิต
2.2.3) กลุม่ วชิ าเภสัชศาสตร์สงั คมและการบริหารเภสชั กิจ 17 หน่วยกติ
2.2.4) การฝกึ ปฏิบัติงานวิชาชพี ภาคบังคับ 6 หน่วยกติ
2.2.5) การฝกึ ปฏิบัตงิ าน Clerkships ไมน่ อ้ ยกวา่ 28 หนว่ ยกิต
2.2.6) จุลนิพนธ์ 4 หนว่ ยกิต
2.3) กลุ่มวชิ าเลอื กวิชาชพี สาขาเน้นไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต

3) หมวดวชิ าเลือกเสรี ไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ

คมู่ ือนิสิตเภสัชศาสตร์ หลกั สูตรเภสัชศาสตรบัณฑติ (6 ปี) หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2563

แผนการศกึ ษาของนสิ ติ ช้นั ปีที่ 1 24

ปีที่ 1 ภาคการศกึ ษาตน้ (First Semester)

หนว่ ยกติ

หมวด รหสั และชอื่ รายวชิ า (ทฤษฎี-
วชิ า ปฏบิ ตั ิ-
ศึกษาด้วย

ตนเอง)

ศึกษา 99920159 การเขยี นภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่อื สาร 3 (3-0-6)

ทั่วไป English Writing for Communication

30910359 วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล 2 (2-0-4)

Marine Science

88510159 ก้าวทนั สงั คมดิจิทลั ด้วยไอซที ี 3 (2-2-5)

Moving Forward in a Digital Society with ICT

85111059 การออกกาลังกายเพ่อื คุณภาพชวี ิต 2 (1-2-3)

Exercise for Quality of Life

30210159 คณิตคิดทนั โลก 2 (2-0-4)

Contemporary Mathematics

วชิ า 30211463 แคลคูลัสสาหรับวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ 3 (3-0-6)

เฉพาะ Calculus for Health Science

30310563 เคมีท่ัวไป* 3 (3-0-6)

General Chemistry

30310663 ปฏิบตั กิ ารเคมที ัว่ ไป 1 (0-3-1)

General Chemistry Laboratory

79116163 พ้นื ฐานชวี วิทยาทางเภสชั ศาสตร์ 2 (2-0-4)

Basic Biology in Pharmacy

79114163 บทนาสวู่ ิชาชพี เภสชั กรรม 1 (1-0-2)

Introduction to Pharmacy Profession

รวม (Total) 22

คู่มือนสิ ิตเภสัชศาสตร์ หลกั สูตรเภสัชศาสตรบัณฑติ (6 ปี) หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2563

ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester) 25

หมวด 99910159 รหัสและชอ่ื รายวิชา หนว่ ยกติ
วชิ า 22810159 (ทฤษฎี-
ศกึ ษา 24110159 ภาษาอังกฤษเพ่อื การสอ่ื สาร ปฏิบตั ิ-
ทั่วไป 30610659 English for Communication ศึกษาดว้ ย
30312263 ทกั ษะการใชภ้ าษาไทยเพือ่ การสอื่ สาร ตนเอง)
วิชา 30312363 Thai Language Skills for Communication 3 (3-0-6)
เฉพาะ 30810863 จติ วิทยาในการดาเนนิ ชีวติ และการปรบั ตวั
30810963 Psychology for Living and Adjustment 3 (3-0-6)
วิชาเลอื ก ความหลากหลายทางชีวภาพและการอนรุ ักษ์
เสรี XXXXXX Biodiversity and Conservation 3 (3-0-6)
เคมีอนิ ทรยี ์ 1*
Organic Chemistry I 2 (2-0-4)
ปฏิบัตกิ ารเคมอี ินทรยี ์ 1
Organic Chemistry Laboratory I 3 (3-0-6)
ฟิสิกส์ทางการแพทย*์
Medical Physics 1 (0-3-1)
ปฏิบตั กิ ารฟสิ กิ ส์ทางการแพทย์
Medical Physics Laboratory 3 (3-0-6)
หมวดวิชาเลือกเสรี
1 (0-3-1)
รวม (Total)
2 หนว่ ยกิต

21

คู่มือนิสติ เภสัชศาสตร์ หลักสูตรเภสชั ศาสตรบัณฑิต (6 ปี) หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563

แผนการศกึ ษาของนิสิต ชน้ั ปที ่ี 2 26

ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาตน้ (First Semester)

หนว่ ยกติ

หมวด รหัสและชอ่ื รายวิชา (ทฤษฎี-
วิชา ปฏิบตั ิ-
ศกึ ษาดว้ ย

ตนเอง)

ศึกษา 99910259 ภาษาองั กฤษระดับมหาวทิ ยาลยั 3 (3-0-6)

ท่วั ไป Collegiate English

วชิ า 30322463 เคมีอินทรีย์ 2* 3 (3-0-6)

เฉพาะ Organic Chemistry II

30322563 ปฏิบตั ิการเคมอี ินทรีย์ 2 1 (0-3-1)

Organic Chemistry Laboratory II

30323063 เคมฟี ิสิกัล 3 (3-0-6)

Physical Chemistry

68022363 จุลชีววิทยาทางการแพทย์* 4 (3-3-6)

Medical Microbiology

79126263 ชวี เคมกี ารแพทย์สาหรับเภสัชศาสตร์* 4 (4-0-8)

Medical Biochemistry for Pharmacy

79126363 ปฏิบัตกิ ารชีวเคมกี ารแพทย์สาหรับเภสชั ศาสตร์ 1 (0-3-1)

Medical Biochemistry Laboratory for

Pharmacy

79126563 กายวภิ าคสรรี วทิ ยาทางเภสชั ศาสตร์ 1* 3 (3-0-6)

Anatomy and Physiology in Pharmacy I

รวม (Total) 22

ค่มู ือนสิ ติ เภสชั ศาสตร์ หลกั สูตรเภสชั ศาสตรบณั ฑิต (6 ปี) หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563

ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาปลาย (Second Semester) 27

หน่วยกิต

หมวด รหัสและช่อื รายวชิ า (ทฤษฎี-
วชิ า ปฏบิ ัติ-
ศึกษาด้วย

ตนเอง)

ศึกษา 25710259 เศรษฐศาสตรใ์ นชวี ติ ประจาวนั 2 (2-0-4)

ทัว่ ไป Economics of Everyday Life

77037959 ศลิ ปะและการคดิ สร้างสรรค์ 2 (2-0-4)

Arts and Creativity

วิชา 79126663 กายวิภาคสรรี วทิ ยาทางเภสัชศาสตร์ 2* 2 (2-0-4)

เฉพาะ Anatomy and Physiology in Pharmacy II

79126763 ปฏิบตั กิ ารกายวภิ าคสรีรวิทยาทาง 1 (0-3-1)

เภสชั ศาสตร์

Anatomy and Physiology Laboratory in

Pharmacy

79126863 หลักการของโรค 4 (3-3-7)

Principle of Diseases

79126463 ภูมคิ ุม้ กันวิทยาสาหรบั เภสัชศาสตร์* 1 (1-0-2)

Immunology for Pharmacy

79120163 การควบคมุ เภสชั ภณั ฑ์ 1* 2 (2-0-4)

Pharmaceutical Control I

79120263 ปฏิบตั กิ ารการควบคุมเภสัชภัณฑ์ 1 1 (0-3-1)

Pharmaceutical Control Laboratory I

79121163 เภสชั พฤกษศาสตร์* 2 (1-3-3)

Pharmaceutical Botany

79122163 บทนาสเู่ ทคนิคทางเภสัชกรรม* 2 (2-0-4)

Introduction to Pharmaceutical

Technology

รวม (Total) 19

ค่มู อื นิสิตเภสัชศาสตร์ หลกั สูตรเภสชั ศาสตรบณั ฑติ (6 ปี) หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2563

แผนการศกึ ษาของนสิ ติ ชั้นปีท่ี 3 28

ปีที่ 3 ภาคการศึกษาต้น (First Semester)

หน่วยกติ

หมวด รหสั และช่อื รายวชิ า (ทฤษฎี-
วิชา ปฏิบตั ิ-
ศกึ ษาด้วย

ตนเอง)

วิชา 79130463 การควบคุมเภสชั ภัณฑ์ 2* 3 (3-0-6)

เฉพาะ Pharmaceutical Control II

79130563 ปฏบิ ัตกิ ารการควบคุมเภสัชภัณฑ์ 2* 1 (0-3-1)

Pharmaceutical Control Laboratory II

79131263 เภสัชเวท 1* 2 (2-0-4)

Pharmacognosy I

79131363 ปฏบิ ัติการเภสชั เวท 1* 1 (0-3-1)

Pharmacognosy Laboratory I

79133163 เภสัชวทิ ยา 1* 4 (4-0-8)

Pharmacology I

79133263 ปฏบิ ัตกิ ารเภสัชวทิ ยา 1 1 (0-3-1)

Pharmacology Laboratory I

79132263 เภสชั กรรม 1* 2 (2-0-4)

Pharmaceutics I

79132363 ปฏิบัติการเภสชั กรรม 1 1 (0-3-1)

Pharmaceutics Laboratory I

79134063 สถติ ิเพ่ือการวจิ ยั ทางเภสัชศาสตร์ 2 (2-0-4)

Statistics in Pharmacy research

79134763 เภสชั ระบาดวิทยา 1 (1-0-2)

Pharmacoepidemiology

79134663 การส่อื สารเชงิ วชิ าชีพ 1 (0-3-1)

Professional Communication

รวม (Total) 19

คูม่ ือนิสิตเภสชั ศาสตร์ หลักสูตรเภสชั ศาสตรบณั ฑติ (6 ปี) หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2563

ปีท่ี 3 ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester) 29

หน่วยกติ

หมวด รหสั และช่อื รายวชิ า (ทฤษฎี-
วชิ า ปฏบิ ตั ิ-
ศึกษาด้วย

ตนเอง)

วชิ า 79130363 เคมขี องยา 1* 3 (3-0-6)

เฉพาะ Medicinal Chemistry I

79131463 เภสัชเวท 2* 2 (2-0-4)

Pharmacognosy II

79131563 ปฏิบตั กิ ารเภสชั เวท 2 1 (0-3-1)

Pharmacognosy Laboratory II

79132463 เภสชั กรรม 2 3 (3-0-6)

Pharmaceutics II

79132563 ปฏบิ ตั ิการเภสัชกรรม 2 1 (0-3-1)

Pharmaceutics Laboratory II

79133363 เภสชั วิทยา 2 4 (4-0-8)

Pharmacology II

79133463 ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนศาสตร์ 3 (3-0-6)

Biopharmaceutics and Pharmacokinetics

79134263 ระบบยาและเภสชั สาธารณสขุ 3 (3-0-6)

Drug System and Public Health Pharmacy

รวม (Total) 20

คู่มอื นสิ ติ เภสัชศาสตร์ หลกั สูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (6 ปี) หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2563

แผนการศึกษาของนิสติ ชั้นปีที่ 4 30

ปีที่ 4 ภาคการศึกษาตน้ (First Semester)

หนว่ ยกิต

หมวด รหสั และชอ่ื รายวิชา (ทฤษฎี-
วิชา ปฏบิ ัติ-
ศึกษาดว้ ย

ตนเอง)

วิชา 79140663 เคมขี องยา 2* 3 (3-0-6)

เฉพาะ Medicinal Chemistry II

79142663 เภสชั กรรม 3* 3 (3-0-6)

Pharmaceutics III

79142763 ปฏบิ ตั กิ ารเภสชั กรรม 3 1 (0-3-1)

Pharmaceutics Laboratory III

79145163 เภสัชบาบัด 1* 3 (3-0-6)

Pharmacotherapeutics I

79145263 ปฏบิ ตั กิ ารเภสชั บาบัด 1 1 (0-3-1)

Pharmacotherapeutics Laboratory I

79145763 หลักการจา่ ยยาในโรคทพี่ บบ่อย * 2 (2-0-4)

Dispensing in Common Diseases

79145863 ปฏบิ ตั กิ ารหลกั การจ่ายยาในโรคทพ่ี บบอ่ ย 1 (0-3-1)

Dispensing in Common Diseases

Laboratory

79145963 เภสัชสนเทศ* 1 (1-0-2)

Pharmacoinformatics

79145063 ปฏบิ ตั ิการเภสชั สนเทศ 1 (0-3-1)

Pharmacoinformatics Laboratory

79144963 เภสัชเศรษฐศาสตร์ 2 (2-0-4)

Pharmacoeconomics

79144863 เภสชั ศาสตรส์ งั คมและพฤตกิ รรม 1 (1-0-2)

Social and Behavioural Aspects

in Pharmacy

รวม (Total) 19

คู่มอื นิสติ เภสัชศาสตร์ หลักสูตรเภสชั ศาสตรบัณฑติ (6 ปี) หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2563

ปที ี่ 4 ภาคการศกึ ษาปลาย (Second Semester) 31

หน่วยกติ

หมวด รหัสและชอ่ื รายวิชา (ทฤษฎี-
วิชา ปฏิบัติ-
ศกึ ษาดว้ ย

ตนเอง)

วชิ า 79142863 เภสชั กรรม 4* 2 (2-0-4)

เฉพาะ Pharmaceutics IV

79142963 ปฏิบตั กิ ารเภสชั กรรม 4 1 (0-3-1)

Pharmaceutics Laboratory IV

79145363 เภสัชบาบดั 2* 3 (3-0-6)

Pharmacotherapeutics II

79145463 ปฏบิ ตั กิ ารเภสัชบาบดั 2* 1 (0-3-1)

Pharmacotherapeutics Laboratory II

79144363 กฎหมายและจรยิ ธรรมทางเภสชั กรรม 2 (2-0-4)

Laws and Ethics in Pharmacy

79144463 การบริหารทางเภสัชศาสตร์ 2 (2-0-4)

Pharmacy Administration

79144563 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั สาหรับนสิ ติ เภสชั ศาสตร์* 2 (2-0-4)

Research Methodology for Pharmacy

Student

79143563 พิษวิทยา 2 (2-0-4)

Toxicology

79146963 ชวี วตั ถุ 2 (2-0-4)

Biologics

รวม (Total) 17

ค่มู ือนิสิตเภสชั ศาสตร์ หลักสูตรเภสัชศาสตรบณั ฑติ (6 ปี) หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2563

ปีท่ี 4 ภาคการศึกษาฤดรู ้อน (Summer Semester) 32

หน่วยกติ

หมวด รหสั และชื่อรายวิชา (ทฤษฎี-
วชิ า ปฏบิ ัติ-
ศึกษาดว้ ย

ตนเอง)

วชิ า 79147163 การฝึกปฏบิ ตั ิงานวิชาชพี เภสชั กรรมในรา้ นยา 3 (0-14-7)

เฉพาะ Clerkship: Pharmacy Training in Pharmacy

79147263 การฝึกปฏิบัติงานวชิ าชีพเภสชั กรรม 3 (0-14-7)

ในโรงพยาบาล

Clerkship: Pharmacy Training in Hospital

รวม (Total) 6

คมู่ อื นิสติ เภสัชศาสตร์ หลกั สูตรเภสัชศาสตรบณั ฑิต (6 ปี) หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2563

แผนการศกึ ษาของนิสิต ช้ันปที ี่ 5 33

ปที ี่ 5 ภาคการศกึ ษาตน้ (First Semester)

หมวด 79155563 รหัสและชอ่ื รายวชิ า หนว่ ยกิต
วชิ า 79155663 (ทฤษฎี-
วิชา 79157163 เภสัชบาบัด 3* ปฏิบตั ิ-
เฉพาะ Pharmacotherapeutics III ศึกษาดว้ ย
794xxx63 ปฏิบัตกิ ารเภสชั บาบัด 3 ตนเอง)
วิชาเลอื ก XXXXXX Pharmacotherapeutics Laboratory III 3 (3-0-6)
เสรี โครงงานวจิ ัยทางเภสชั ศาสตร์ 1*
Research Project in Pharmaceutical 1 (0-3-1)
Sciences I
กล่มุ วชิ าเลอื กวิชาชพี สาขาเนน้ 1 (0-3-1)
หมวดวชิ าเลอื กเสรี
6 (x-x-x)
รวม (Total) 2

13

ปที ี่ 5 ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)

หมวด 79157263 รหัสและชื่อรายวิชา หนว่ ยกติ
วชิ า (ทฤษฎี-
794xxx63 โครงงานวจิ ยั ทางเภสัชศาสตร์ 2 ปฏิบัติ-
วิชา XXXXXX Research Project in Pharmaceutical ศกึ ษาด้วย
เฉพาะ Sciences II ตนเอง)
กลุ่มวิชาเลือกวิชาชพี สาขาเนน้ 3 (0-9-4)
วชิ าเลือก หมวดวชิ าเลือกเสรี
เสรี 9 (x-x-x)
รวม (Total) 2

14

คูม่ ือนสิ ติ เภสัชศาสตร์ หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑติ (6 ปี) หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2563

แผนการศกึ ษาของนิสิต ช้นั ปที ่ี 6 34

ปีที่ 6 ภาคการศกึ ษาตน้ (First Semester)

สาหรับนิสติ สาขาการบริบาลทางเภสชั กรรม

หมวด รหัสและชือ่ รายวิชา หนว่ ยกติ
วิชา (ทฤษฎี-
ปฏิบัติ-
วชิ า 79165163 การฝกึ ปฏบิ ัตงิ านเภสชั กรรมชมุ ชน ศกึ ษาดว้ ย
เฉพาะ Clerkship: Community Pharmacy ตนเอง)
4 (0-16-8)
79165263 การฝกึ ปฏิบัติงานเภสชั กรรมผู้ป่วยนอก
Clerkship: Ambulatory Care 4 (0-16-8)

79165363 การฝกึ ปฏบิ ตั ิงานเภสัชกรรมอายุรศาสตร์ 4 (0-16-8)
Clerkship: Medicine
4 (0-16-8)
79165463 การบริหารจัดการดา้ นยาเพ่ือความปลอดภยั **
ในการใชย้ า
Clerkship: Medication Safety Management 4 (0-16-8)
System; MSMS **
16
79164163 การฝึกปฏบิ ตั งิ านการค้มุ ครองผ้บู ริโภค
Clerkship: Consumer Protection

รวม (Total)

** นิสิตสามารถเลอื กรายวิชา 79165463 หรือ 79164163

สาหรบั นิสติ สาขาเภสชั กรรมอตุ สาหการ

หนว่ ยกติ

หมวด รหสั และชือ่ รายวชิ า (ทฤษฎี-
วิชา ปฏิบตั ิ-
ศกึ ษาดว้ ย

ตนเอง)

วชิ า 79162163 การฝึกปฏิบตั ิงานควบคมุ คณุ ภาพยา 1 4 (0-16-8)

เฉพาะ Clerkship: Pharmaceutical quality control I

79162263 การฝกึ ปฏบิ ัติงานเภสชั ภัณฑ์การผลิต 1 4 (0-16-8)

Clerkship: Pharmaceutical production I

794xxx63 การฝกึ ปฏิบัตงิ านทางเลือกวิชาชพี เนน้ 8 (0-32-16)

Clerkship:

รวม (Total) 16

คมู่ อื นิสติ เภสัชศาสตร์ หลกั สูตรเภสชั ศาสตรบัณฑิต (6 ปี) หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2563

ปีที่ 6 ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester) 35

สาหรบั นสิ ติ สาขาการบรบิ าลทางเภสัชกรรม

หมวด รหัสและช่ือรายวชิ า หนว่ ยกิต
วชิ า (ทฤษฎี-
ปฏิบัติ-
วชิ า 794xxx63 การฝกึ ปฏิบัตงิ านทางเลือกวชิ าชพี เน้น ศึกษาด้วย
เฉพาะ Clerkship: ตนเอง)

รวม (Total) 12
(0-48-24)

12

สาหรบั นิสิตสาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ

หมวด รหัสและชอื่ รายวิชา หน่วยกติ
วิชา (ทฤษฎี-
ปฏบิ ัติ-
วชิ า 794xxx63 การฝึกปฏบิ ัตงิ านทางเลือกวชิ าชีพเน้น ศึกษาดว้ ย
เฉพาะ Clerkship: ตนเอง)

รวม (Total) 12
(0-48-24)

12

หมายเหตุ * บุรพวชิ า หมายถงึ รายวชิ าบงั คับก่อน นสิ ติ จะทาการลงทะเบยี นรายวิชาต่อเนื่องได้
ตอ้ งผา่ นในรายวิชาทกี่ าหนด (บุรพวชิ า) กอ่ นเท่าน้ัน (ไม่ตดิ F)

คูม่ ือนิสติ เภสชั ศาสตร์ หลักสูตรเภสัชศาสตรบณั ฑิต (6 ปี) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563

ตารางบรุ พวชิ า 36

ชัน้ ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษา ตน้

บรุ พวิชา วชิ าต่อเน่อื ง
30310563 เคมที ว่ั ไป
79120163 การควบคมุ เภสัชภัณฑ์ 1
30310663 ปฏบิ ัตกิ ารเคมที ่ัวไป
(หรอื เรยี นพร้อม เคมีท่ัวไป)
30323063 เคมฟี สิ กิ ลั

ชั้นปที ่ี 1 ภาคการศึกษา ปลาย

บุรพวชิ า วิชาตอ่ เนือ่ ง
30312263 เคมีอินทรีย์ 1
79126263 ชวี เคมกี ารแพทย์สาหรับเภสัชศาสตร์
30810863 ฟิสกิ ส์ทางการแพทย์ 79120163 การควบคมุ เภสัชภณั ฑ์ 1
30322463 เคมีอินทรีย์ 2
30322563 ปฏบิ ัติการเคมีอนิ ทรยี ์ 2

30810963 ปฏบิ ัติการฟสิ ิกส์ทางการแพทย์
(หรือเรียนพร้อม ฟิสกิ สท์ างการแพทย์)

ชัน้ ปีที่ 2 ภาคการศึกษา ตน้

บรุ พวิชา วิชาต่อเนอ่ื ง
30322463 เคมีอินทรยี ์ 2
79130363 เคมขี องยา 1
68022363 จุลชวี วิทยาทางการแพทย์ 79130463 การควบคุมเภสชั ภัณฑ์ 2
79126263 ชวี เคมกี ารแพทย์สาหรับ
เภสชั ศาสตร์ 79133363 เภสชั วิทยา 2

79126563 กายวภิ าคสรรี วทิ ยาทาง 79126363 ปฏิบตั ิการชวี เคมกี ารแพทยส์ าหรบั
เภสัชศาสตร์ 1 เภสัชศาสตร์
(หรอื เรยี นพร้อม ชวี เคมีการแพทยส์ าหรบั เภสัชศาสตร์)
79126463 ภูมิคมุ้ กนั วิทยาสาหรบั เภสัชศาสตร์
79451563 เทคโนโลยีชวี ภาพของสมุนไพร

79126763 ปฏบิ ัติการกายวภิ าคสรรี วทิ ยาทาง
เภสัชศาสตร์
79133163 เภสัชวทิ ยา 1

ค่มู ือนสิ ติ เภสัชศาสตร์ หลกั สูตรเภสชั ศาสตรบัณฑิต (6 ปี) หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563

ช้นั ปีท่ี 2 ภาคการศึกษา ปลาย 37

บรุ พวชิ า วชิ าตอ่ เนือ่ ง
79126663 กายวิภาคสรรี วทิ ยาทาง 79126763 ปฏิบัติการกายวภิ าคสรรี วทิ ยาทาง
เภสัชศาสตร์ 2 เภสัชศาสตร์
(หรือเรยี นพรอ้ ม กายวิภาคสรีรวทิ ยาทาง
79126463 ภมู คิ มุ้ กันวิทยาสาหรับ เภสชั ศาสตร์ 2)
เภสชั ศาสตร์ 79133163 เภสัชวิทยา 1
79120163 การควบคุมเภสัชภณั ฑ์ 1 79133363 เภสชั วิทยา 2

79121163 เภสัชพฤกษศาสตร์ 79120263 ปฏิบัติการการควบคุมเภสชั ภัณฑ์ 1
79122163 บทนาสเู่ ทคนคิ ทาง (หรอื เรยี นพร้อม การควบคุมเภสชั ภัณฑ์ 1)
เภสัชกรรม 79130463 การควบคมุ เภสชั ภณั ฑ์ 2
79131263 เภสชั เวท 1
79132263 เภสชั กรรม 1
79132463 เภสชั กรรม 2
79142663 เภสัชกรรม 3

ชน้ั ปีที่ 3 ภาคการศึกษา ตน้

บุรพวชิ า วชิ าตอ่ เน่อื ง
79130463 การควบคุมเภสัชภณั ฑ์ 2 79130563 ปฏิบตั ิการการควบคมุ เภสัชภณั ฑ์ 2
(หรือเรยี นพร้อม การควบคุมเภสชั ภณั ฑ์ 2)
79130563 ปฏบิ ตั ิการการควบคุม 79162163 การฝกึ ปฏิบัติงานควบคมุ คณุ ภาพยา 1
เภสชั ภัณฑ์ 2 79462163 การฝึกปฏบิ ตั ิงานควบคมุ คณุ ภาพยา 2
79131263 เภสชั เวท 1 79462263 การฝกึ ปฏิบตั งิ านควบคมุ คณุ ภาพยา 3
79450163 การควบคุมคณุ ภาพอาหารและ
เคร่อื งสาอาง
79450363 การควบคุมและประกนั คณุ ภาพทาง
เภสชั ศาสตร์
79450463 การวิเคราะห์เภสัชภณั ฑข์ ัน้ สูง
79451463 การควบคุมคุณภาพสมุนไพร
79450463 การวิเคราะห์เภสชั ภณั ฑข์ นั้ สูง

79131363 ปฏิบัตกิ ารเภสชั เวท 1
(หรอื เรียนพร้อม เภสชั เวท 1)
79131463 เภสัชเวท 2

คู่มือนสิ ิตเภสชั ศาสตร์ หลกั สูตรเภสชั ศาสตรบณั ฑิต (6 ปี) หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2563

บรุ พวิชา วิชาตอ่ เนื่อง 38
79131363 ปฏบิ ัติการเภสชั เวท 1
79133163 เภสชั วิทยา 1 79131463 เภสชั เวท 2

79132263 เภสัชกรรม 1 79133263 ปฏบิ ตั กิ ารเภสชั วิทยา 1
(หรอื เรยี นพรอ้ ม เภสชั วิทยา 1)
ช้ันปที ี่ 3 ภาคการศกึ ษา ปลาย 79133363 เภสัชวิทยา 2
บรุ พวชิ า 79133463 ชวี เภสชั กรรมและเภสัชจลนศาสตร์
79143563 พษิ วทิ ยา
79130363 เคมขี องยา 1 79145163 เภสชั บาบัด 1
79131463 เภสชั เวท 2 79130363 เคมขี องยา 1

79132463 เภสชั กรรม 2 79132363 ปฏบิ ตั กิ ารเภสชั กรรม 1
79133363 เภสัชวิทยา 2 (หรือเรียนพร้อม เภสัชกรรม 1)
79142863 เภสัชกรรม 4

วิชาต่อเน่ือง

79140663 เคมขี องยา 2
79450563 การสังเคราะห์ยา

79131563 ปฏิบตั ิการเภสัชเวท 2
(หรือเรยี นพรอ้ ม เภสชั เวท 2)
79462563 การฝกึ ปฏิบตั ิงานวจิ ัยทางผลิตภณั ฑ์
ธรรมชาติ และเคมยี า
79451463 การควบคมุ คณุ ภาพสมนุ ไพร
79451563 เทคโนโลยชี วี ภาพของสมุนไพร

79132563 ปฏบิ ตั ิการเภสัชกรรม 2
(หรอื เรยี นพรอ้ ม เภสัชกรรม 2)
79142863 เภสชั กรรม 4

79145163 เภสัชบาบดั 1
79140663 เคมขี องยา 2
79465763 การทบทวนขอ้ มลู ยาใหม่

คู่มอื นสิ ิตเภสัชศาสตร์ หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (6 ปี) หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2563

ชัน้ ปีที่ 4 ภาคการศกึ ษา ต้น 39
บุรพวิชา
วิชาต่อเนอ่ื ง
79140663 เคมีของยา 2 79462563 การฝึกปฏิบัติงานวจิ ัยทางผลติ ภณั ฑ์
ธรรมชาติ และเคมยี า
79142663 เภสัชกรรม 3 79450563 การสงั เคราะห์ยา
79142763 ปฏบิ ตั ิการเภสชั กรรม 3
79145163 เภสชั บาบดั 1 (หรอื เรยี นพรอ้ ม เภสัชกรรม 3)
79142863 เภสชั กรรม 4
79145763 หลกั การจา่ ยยาในโรค 79452663 การเคลือบยาเม็ด
ท่พี บบ่อย 79145263 ปฏิบัติการเภสัชบาบัด 1
79145963 เภสชั สนเทศ (หรอื เรียนพรอ้ ม เภสชั บาบดั 1)
79145363 เภสชั บาบัด 2
ชั้นปีที่ 4 ภาคการศกึ ษา ปลาย 79145863 ปฏบิ ัติการหลกั การจา่ ยยาในโรคที่พบ
บรุ พวิชา บ่อย
(หรือเรยี นพร้อม หลกั การจา่ ยยาในโรคที่พบบ่อย)
79142863 เภสชั กรรม 4 79145063 ปฏิบัติการเภสัชสนเทศ
(หรือเรียนพร้อม เภสชั สนเทศ)

วชิ าต่อเนอ่ื ง
79142963 ปฏบิ ตั กิ ารเภสชั กรรม 4
(หรือเรยี นพร้อม เภสัชกรรม 4)
79162263 การฝึกปฏบิ ัตงิ านเภสชั ภณั ฑ์การผลิต 1
79462363 การฝึกปฏบิ ัตงิ านเภสชั ภณั ฑก์ ารผลิต 2
79462463 การฝกึ ปฏิบัติงานเภสัชภณั ฑก์ ารผลิต 3
79452163 การบริหารการผลิตทางเภสัชกรรม
79452563 ระบบนาส่งยาแบบใหม่
79452763 การวจิ ัยและพฒั นาเภสชั ภณั ฑ์
79452863 การพัฒนาเภสัชภณั ฑ์
79452963 นาโนเทคโนโลยีทางเภสชั ศาสตร์
79452063 การผลติ ยาสาหรับสตั ว์
79450363 การควบคมุ และประกนั คณุ ภาพทาง
เภสัชศาสตร์

ค่มู อื นิสิตเภสัชศาสตร์ หลักสูตรเภสชั ศาสตรบณั ฑิต (6 ปี) หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2563

บรุ พวิชา วิชาตอ่ เนอ่ื ง 40
79145363 เภสชั บาบดั 2
79145463 ปฏิบตั กิ ารเภสัชบาบดั 2
79145463 ปฏบิ ตั ิการเภสชั บาบดั 2
79144563 ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั สาหรับนสิ ติ (หรอื เรียนพรอ้ ม เภสัชบาบดั 2)
เภสัชศาสตร์
79155563 เภสัชบาบัด 3

79147163 การฝกึ ปฏบิ ตั ิงานวิชาชพี เภสชั กรรม

ในร้านยา

79147263 การฝึกปฏบิ ัตงิ านวชิ าชพี เภสชั กรรม

ในโรงพยาบาล

79165163 การฝึกปฏบิ ตั ิงานเภสัชกรรมชมุ ชน

79165263 การฝึกปฏบิ ัติงานเภสชั กรรมผ้ปู ว่ ยนอก

79165363 การฝึกปฏิบัตงิ านเภสชั กรรมอายรุ ศาสตร์

79455163 เภสัชบาบัด 4

79455363 เภสัชบาบัด 5

79455563 การประเมินการใช้ยาและการใช้ยาอยา่ ง

สมเหตุสมผล

79147163 การฝกึ ปฏบิ ตั ิงานวิชาชพี เภสชั กรรม

ในร้านยา

79147263 การฝกึ ปฏิบัติงานวิชาชีพเภสชั กรรม

ในโรงพยาบาล

79462563 การฝกึ ปฏิบัตงิ านวจิ ยั ทางผลิตภณั ฑ์

ธรรมชาติ และเคมียา

79157163 โครงงานวิจยั ทางเภสัชศาสตร์ 1

ชน้ั ปที ี่ 5 ภาคการศึกษา ต้น

บรุ พวชิ า วิชาตอ่ เน่ือง
79155563 เภสชั บาบัด 3
79155663 ปฏิบัติการเภสัชบาบดั 3
79157163 โครงงานวิจยั ทาง (หรอื เรยี นพร้อม เภสชั บาบัด 3)
เภสัชศาสตร์ 1 79157263 โครงงานวิจยั ทางเภสัชศาสตร์ 2

คมู่ ือนิสิตเภสัชศาสตร์ หลักสูตรเภสัชศาสตรบณั ฑิต (6 ปี) หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2563

ชน้ั ปที ่ี 5 กลมุ่ วิชาเลอื กวิชาชพี สาขาเนน้ (ภาคการศกึ ษาตน้ และ ภาคการศึกษาปลาย) 41

บุรพวิชา วิชาตอ่ เนือ่ ง
79455163 เภสัชบาบดั 4
79165463 การฝึกปฏิบัติงานการบริหารจัดการ
79452763 การวจิ ัยและพัฒนา ด้านยา เพอ่ื ความปลอดภยั ในการใชย้ า
เภสชั ภัณฑ์ 79465163 การฝึกปฏิบัตงิ านการบริบาลทาง
79455363 เภสัชบาบดั 5 เภสชั กรรมขนั้ สูง 1
79455563 การประเมินการใช้ยา 79465263 การฝึกปฏบิ ตั งิ านการบรบิ าลทาง
และการใช้ยาอยา่ งสมเหตุสมผล เภสัชกรรมขั้นสงู 2
79465363 การฝกึ ปฏิบัตงิ านการบรบิ าลทาง
79455763 การบริบาลทางเภสชั กรรม เภสัชกรรมสาหรบั ผูป้ ่วยเฉพาะกลุ่ม
บนพ้นื ฐานของหลักฐานทางวิชาการ 79465463 การฝกึ ปฏิบตั งิ านเภสัชจลนศาสตร์คลนิ กิ
79455263 ปฏบิ ตั กิ ารเภสัชบาบดั 4
79450163 การควบคมุ คณุ ภาพอาหาร (หรือเรยี นพร้อม เภสัชบาบดั 4)
และเคร่ืองสาอาง
79462663 การฝึกปฏบิ ตั งิ านวจิ ยั และพฒั นาทาง
เภสชั อตุ สาหกรรม
79462763 การฝกึ ปฏิบตั งิ านขนึ้ ทะเบยี นยา

79455463 ปฏิบัติการเภสชั บาบัด 5
(หรอื เรยี นพร้อม เภสชั บาบัด 5)

79455663 ปฏบิ ตั กิ ารการประเมินการใช้ยา
และการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
(หรอื เรยี นพร้อม การประเมนิ การใชย้ า และการใช้ยา
อยา่ งสมเหตุสมผล)

79455863 ปฏบิ ัตกิ ารการบริบาลทางเภสัชกรรมบน
พ้นื ฐานของหลกั ฐานทางวิชาการ
(หรอื เรยี นพร้อม การบริบาลทางเภสัชกรรมบนพ้ืนฐาน
ของหลกั ฐานทางวชิ าการ)

79450263 ปฏบิ ัติการการควบคมุ คณุ ภาพอาหาร
และเครอ่ื งสาอาง
(หรือเรียนพรอ้ ม การควบคุมคุณภาพอาหาร
และเครือ่ งสาอาง)

คมู่ ือนสิ ิตเภสชั ศาสตร์ หลักสูตรเภสชั ศาสตรบณั ฑิต (6 ปี) หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2563

ความหมายของเลขรหัสวชิ า 42
เลขรหัส 79
เลขรหัสตวั ที่ 3 หมายถงึ คณะเภสชั ศาสตร์
หมายถงึ หมวดวชิ า
เลข 0 หมายถึง หมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป
เลข 1 หมายถงึ หมวดวิชาเอกบงั คับสาขาเภสัชศาสตร์
เลข 2 หมายถึง หมวดวิชาสาหรบั วทิ ยาศาสตร์สุขภาพ
เลข 3 หมายถงึ หมวดวชิ าเลือกเสรี
เลขรหสั ตัวที่ 4 หมายถึง ชัน้ ปีท่ีเปิดสอน
เลขรหัสตัวที่ 5 หมายถงึ กลุ่มวชิ า ดงั ต่อไปนี้
เลข 0 หมายถงึ เภสัชเคมแี ละเภสชั วเิ คราะห์
เลข 1 หมายถึง เภสัชเวทและผลิตภณั ฑ์ธรรมชาติ
เลข 2 หมายถึง เทคโนโลยีเภสชั กรรมและเภสัชอุตสาหการ
เลข 3 หมายถึง เภสัชวิทยาและเภสัชกรรมบาบดั
เลข 4 หมายถงึ เภสัชศาสตรส์ ังคมและการบริหาร
เลข 5 หมายถงึ เภสัชกรรมคลนิ กิ และการบรบิ าลทางเภสัชกรรม
เลข 6 หมายถึง เภสัชศาสตรช์ ีวภาพ
เลข 7 หมายถึง พนื้ ฐานทางวทิ ยาศาสตร์
เลข 8 หมายถึง เภสชั สารสนเทศศาสตรแ์ ละสมุทรเภสชั ศาสตร์
เลข 9 หมายถงึ โครงงาน ปัญหาพิเศษ สัมมนา วชิ าชพี

เลขรหสั ตวั ท่ี 5 และ 6 สัมพนั ธ์ศึกษา การศึกษาอสิ ระ และการฝึกงาน
หมายถึง ลาดับรายวิชาโดยหลักการในหมวดวชิ าของ

เลขรหสั ตัวท่ี 5 ในแตล่ ะชั้นปี

กฎ ระเบียบหรอื หลักเกณฑ์ ในการใหร้ ะดบั คะแนน

ใช้ระบบการให้คะแนนแบบมคี า่ ระดบั ขัน้ และแบบไมม่ ีค่าระดับขัน้ ดงั นี้

1. การให้คะแนนแบบมีค่าระดับข้ัน แบ่งเป็น 8 ระดับ คือ A, B+, B, C+, C, D+, D

และ F ซึ่งคิดเป็นค่าระดับข้ัน 4.0, 3.5, 3.0, 2.5, 2.0, 1.5, 1.0 และ 0 ตามลาดับ

2. การใหค้ ะแนนแบบไมม่ คี า่ ระดับข้ัน ในบางรายวิชา จะใหค้ ะแนนเปน็

S หมายถึง ผลการศกึ ษาผา่ นตามเกณฑ์

U หมายถงึ ผลการศกึ ษาไมผ่ า่ นตามเกณฑ์

I หมายถึง การประเมนิ ผลยงั ไมส่ มบูรณ์

W หมายถงึ งดเรียนโดยไดร้ ับอนุมตั ิ

Au หมายถึง การศกึ ษาโดยไม่นับหนว่ ยกิต

เกณฑ์การสาเรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สตู ร
เกณฑ์การสาเร็จการศกึ ษาเป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยบรู พาเรอื่ งการศึกษาระดับ

ปริญญาตรี พ.ศ. 2559 และท่แี ก้ไข โดยมีหลักเกณฑด์ งั น้ี
(1) นสิ ติ สอบผา่ นรายวิชาครบตามจานวนหน่วยกิตที่กาหนดไวใ้ นหลกั สูตร

คูม่ ือนสิ ติ เภสัชศาสตร์ หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (6 ปี) หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563

(2) นิสิตเรียนครบตามจานวนหน่วยกิตท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรภายในระยะเวลาไม่เกิน 2 เท่า 43
ของเวลาการศึกษาตามหลกั สตู ร
(3) นิสติ มรี ะดบั ความสามารถทกั ษะทางภาษาองั กฤษตามประกาศของมหาวทิ ยาลัย
(4) นิสิตสอบได้จานวนหน่วยกิตครบตามหลักสูตร และได้ค่าระดับข้ันเฉล่ียสะสมไม่น้อยกว่า
2.00 จากระบบค่าระดับขน้ั 4.00
(5) นิสิตได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมเฉพาะวิชาของคณะเภสัชศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 2.00 จากระบบ
ค่าระดับขนั้ 4.00
(6) นิสิตผ่านการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้วยระดับการประเมินเป็นท่ีพอใจ (มีค่าระดับเป็น S)
ไมน่ อ้ ยกว่า 2,000 ชัว่ โมงปฏบิ ัตงิ าน
(7) นิสิตต้องทาจุลนิพนธ์ตามแผนการเรียนการสอนแบบโครงการ (รายวิชาโครงงานวิจัย
ทางเภสัชศาสตร์) อีกไม่น้อยกว่า 135 - 270 ช่ัวโมงปฏิบัติการและได้ผลสรุปภายใน 3 เดือน
ทาการ เพ่ือนาเสนอและสัมมนา
(8) เกณฑ์อื่น ๆ ใหเ้ ป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลยั บรู พา เร่ือง การศกึ ษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.
2559 และ “เฉพาะวิชาของคณะเภสัชศาสตร์” หมายถึง “รายวิชาใดที่ใช้รหัสของคณะ
เภสัชศาสตร์ รวมถึงรายวิชาใด ๆ ซึ่งจัดสอนโดยคณะเภสัชศาสตร์สาหรับนิสิตคณะวิชาอื่น หาก
นิสิตเภสัชศาสตร์ลงทะเบียนเรียน รายวิชาเลือกเสรีหรือที่เปิดให้บริการนิสิตต่างสาขาวิชา ให้
นาเอาผลการศกึ ษารายวิชานัน้ มานบั ดว้ ย”

การพน้ จากสภาพนิสิต
(1) นิสิตระดับปริญญาตรีตอ้ งพน้ จากสภาพนสิ ิตในกรณีต่อไปน้ี

(ก) สาเรจ็ การศึกษาตามหลักสตู รและไดร้ ับปริญญาตามทีม่ หาวทิ ยาลัยประกาศกาหนด
(ข) ได้รับอนุมตั จิ ากคณบดใี หล้ าออก
(ค) ถกู คัดชอ่ื ออกจากมหาวทิ ยาลัยในกรณดี งั ตอ่ ไปน้ี

1) ไม่ลงทะเบยี นในภาคการศึกษาแรกที่ขน้ึ ทะเบยี นเปน็ นิสติ
2) ไม่ลงทะเบียนเรยี นในภาคการศึกษาใดภาคการศึกษาหนงึ่ หรอื การ

ลงทะเบยี นเรียนไมส่ มบูรณโ์ ดยมิได้ลาพกั การเรียนตามท่มี หาวทิ ยาลยั
ประกาศกาหนด
3) ขาดคุณวฒุ ิหรอื คุณสมบตั ิอยา่ งใดอยา่ งหนึ่งตามทมี่ หาวิทยาลยั ประกาศกาหนด
4) เมอ่ื ค่าระดับขนั้ เฉล่ียต่ากวา่ 1.25 ในภาคการศกึ ษาแรกทีล่ งทะเบียนเรียน
5) เมื่อคา่ ระดับข้นั เฉลี่ยสะสมต่ากว่า 1.75
6) มีระยะเวลาเรียนครบกาหนดตามที่มหาวิทยาลยั ประกาศกาหนดแล้วยังไม่
สาเร็จการศกึ ษา
7) เป็นนิสิตสภาพรอพินจิ ที่มคี า่ ระดบั ข้นั เฉล่ียสะสมต่ากว่า 1.80 เปน็
ระยะเวลา 2 ภาคการศึกษาต่อเนอื่ ง
8) เปน็ นสิ ิตสภาพรอพินิจทม่ี คี า่ ระดับขั้นเฉล่ียสะสมตา่ กว่า 2.00 เป็น
ระยะเวลา 4 ภาคการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง
9) กระทาการทจุ รติ หรอื กระทาการสอ่ เจตนาทจุ รติ ในการวดั ผลและไดร้ บั การ
พิจารณาให้ถูกลงโทษไลอ่ อก

คู่มือนสิ ติ เภสัชศาสตร์ หลกั สูตรเภสชั ศาสตรบณั ฑติ (6 ปี) หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2563

10) มคี วามประพฤตเิ สอื่ มเสยี อยา่ งรา้ ยแรงในขณะที่เป็นนิสิตและ ได้รับการ 44
พิจารณาใหพ้ น้ สภาพนสิ ติ

11) ทาผิดระเบียบของมหาวิทยาลัยอย่างร้ายแรงและได้รับการพิจารณา
ให้พน้ สภาพนิสติ

(ง) ตาย
(ตามขอ้ บังคบั มหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศกึ ษา พ.ศ. 2559)

การเรียนซา้ หรือการเรียนแทน
(1) รายวิชาใดท่ีนิสิตสอบได้ระดับข้ัน D+ หรือ D นิสิตจะลงทะเบียนเรียนซ้าได้เมื่อ

ได้รับอนุมตั จิ ากคณบดขี องคณะที่รายวิชานั้นสังกดั
(2) นิสิตที่ได้รับระดับข้ัน F หรือสัญลักษณ์ U ในรายวิชาบังคับ จะต้องลงทะเบียน

เรยี นรายวิชาน้ันซา้ อีกจนกว่าจะไดร้ ะดบั ขั้น A, B+, B, C+, C, D+, D หรือสญั ลกั ษณ์ S
(3) นิสิตท่ีได้รับระดับข้ัน F หรือสัญลักษณ์ U ในรายเลือกในหมวดศึกษาท่ัวไปและ

หมวดวิชาเฉพาะ สามารถลงทะเบียนเรยี นรายวชิ าอื่น ๆ ในกลุ่มวิชาเดียวกันแทนได้ เพื่อให้ครบ
ตามเงอ่ื นไขทก่ี าหนดไว้ในหลักสตู ร

(4) นิสติ ท่ีได้รับระดับขัน้ F หรือสัญลักษณ์ U ในรายวชิ าเลอื กเสรี สามารถลงทะเบียน
เรยี นรายวชิ าอื่น ๆ แทนได้ ทงั้ น้ี หากเรียนครบตามเง่ือนไขทก่ี าหนดไวใ้ นหลกั สตู รแล้ว จะไมเ่ ลือก
รายวิชาเรียนแทนก็ได้
(ตามประกาศมหาวิทยาลัยบรู พา ท่ี 0539/2559 เรือ่ ง การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2559)

ระบบการคิดการนับจานวนหน่วยกติ ค่าระดบั ขนั้ เฉลยี่ สะสม
(1) การนับจานวนหน่วยกิตเพื่อใช้ในการคานวณหาค่าระดับข้ันเฉล่ีย ให้นับจาก

รายวิชาท่เี รียนท้ังหมดทมี่ ีระบบคะแนนรายวิชาแบบมคี ่าระดบั ข้ันท้งั สอบได้และสอบตก
(2) การนบั จานวนหนว่ ยกิตสะสมรายวชิ า ให้นบั เฉพาะหนว่ ยกติ ของรายวชิ าทสี่ อบได้

เทา่ น้ัน
(3) ค่าระดบั ขั้นเฉล่ยี เฉพาะภาคการศึกษา ใหค้ านวนจากผลการเรียนของนิสิตในภาค

การศึกษานั้นโดยนาผลรวมของผลคูณของจานวนหน่วยกิตกับค่าระดับข้ันของแต่ละรายวิชา
เปน็ ตวั ตัง้ หารด้วยจานวนหน่วยกติ รวมของภาคการศึกษานั้น

(4) ค่าระดับข้ันเฉลี่ยสะสม ให้คานวนจากผลการเรียนของนิสิตต้ังแต่เริ่มเข้าเรียน
จนถึงภาคการศึกษาสุดท้าย โดยนาผลรวมของผลคูณของจานวนหน่วยกิตกับค่าระดับข้ันของ
แต่ละรายวิชาทเ่ี รยี นท้งั หมดตามขอ้ 3 (3) เปน็ ตวั ตง้ั หารด้วยจานวนหนว่ ยกิตรวมทั้งหมด

(ตามประกาศมหาวิทยาลยั บรู พา ท่ี 0539/2559 เร่อื ง การศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2559)

คา่ ใช้จ่ายหลักสูตรเภสัชศาสตรบณั ฑิต (หลกั สตู ร 6 ป)ี หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2563
ภาคการศึกษาปกติ เหมาจ่าย ภาคละ 75,000 บาท
ภาคฤดูร้อน (ถา้ มี) เหมาจ่าย ภาคละ 40,000 บาท

คมู่ ือนสิ ิตเภสัชศาสตร์ หลักสูตรเภสชั ศาสตรบณั ฑิต (6 ปี) หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563

แนวทางการฝกึ ปฏบิ ัตงิ านและการสอบใบประกอบวชิ าชีพเภสชั กรรม 45

รายวชิ าทนี่ สิ ติ ต้องผ่านก่อนการฝึกปฏบิ ตั ิงานวชิ าชพี

1. นิสิตต้องสอบผ่านรายวิชาเภสัชบาบัด 2 และ รายวิชาปฏิบัติการเภสัชบาบัด 2
ตามทหี่ ลักสตู รกาหนด กอ่ นการฝกึ ปฏบิ ตั งิ านวชิ าชพี เภสชั กรรมภาคบังคับ

2. นิสิตต้องสอบผ่านระดับคะแนน D ขึ้นไป ในรายวิชาทั้งหมดที่ลงทะเบียนตาม
หลักสูตรกาหนด และต้องมีเกรดเฉล่ียในรายวิชาบังคับแกนวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 2.00
ก่อนการฝึกปฏบิ ัติงานวชิ าชีพเภสชั กรรมสาขาเนน้

3. นิสิตต้องสอบผ่านการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเภสัชกรรมภาคบังคับก่อน
จึงจะสามารถฝึกปฏิบัติงานวชิ าชพี เภสชั กรรมสาขาเนน้

ทั้งน้ี นิสิตไม่สามารถเข้าฝึกปฏิบัติงานในช่วงเวลาที่มีการลงทะเบียนเรียน
รายวิชาอื่นได้ ยกเว้นกรณีท่ีมีเหตุสุดวิสัยที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถ
ฝึกปฏิบัติงานในช่วงระยะเวลาปกติได้ เช่น สถานการณ์ของโรคระบาด เป็นต้น โดยต้องผ่าน
ความเห็นชอบจากมตทิ ่ีประชุมคณะกรรมการฝึกปฏบิ ตั งิ านวิชาชีพเภสัชกรรม

ทนุ การศึกษา/แหลง่ กยู้ ืม

1. ทุนการศึกษา กยศ. และ กรอ.
- นิสิตผู้มีความประสงค์กู้ยืมเพื่อการศึกษาสามารถอ่านรายละเอียดเพ่ิมเติมได้ท่ี เว็บไซต์
กองกิจการนิสิต https://affairs.buu.ac.th หรือติดต่องานบริการและสวัสดิการนิสิต กองกิจการ
นสิ ติ

คู่มือนสิ ิตเภสชั ศาสตร์ หลกั สูตรเภสัชศาสตรบัณฑติ (6 ปี) หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2563

ความแตกต่างระหวา่ งกองทนุ กยศ. และ กรอ. 46

รายการ กองทนุ กยศ. กองทนุ กรอ.
กลมุ่ เป้าหมาย - ขาดแคลนทนุ ทรพั ย์ - ไม่จากัดรายไดค้ รอบครวั
- อายุของผู้กขู้ ณะกู้นบั รวมกบั จานวนปี - อายุไม่เกิน 30 ปี
ระดบั การศกึ ษา ของหลกั สูตรท่ีเรยี น รวมกบั ระยะเวลา
ปลอดหน้ี 2 ปี และระยะเวลาผ่อนชาระ - ปวส. อนุปริญญาและปริญญาตรี
ประเภทของการกยู้ ืม อีก 15 ปี รวมกนั แล้วตอ้ ง ไม่เกิน 60 ปี - ระดบั ปวส. กูย้ มื ได้ทกุ สาขาวชิ า
การชาระหน้ี - ม.ปลาย ปวช. ปวส. อนุปรญิ ญาและ - ระดับอนปุ รญิ ญา/ปรญิ ญาตรี กยู้ ืม
อัตราดอกเบี้ย ปริญญาตรี ได้เฉพาะสาขาวิชาท่ีเป็นความ
- ระดบั ปวส. และระดบั อนปุ รญิ ญา/ ต้องการหลักของประเทศ
ปรญิ ญาตรี กู้ได้ทกุ สาขาวชิ า - ค่าเล่าเรียน
- ค่าใชจ้ ่ายทเี่ กี่ยวเนือ่ งกบั การศกึ ษา
- ค่าเลา่ เรยี น - คา่ ครองชีพ (เฉพาะผู้ขาดแคลนทนุ
- ค่าใชจ้ า่ ยทีเ่ ก่ียวเนือ่ งกบั การศึกษา ทรัพย์)
- ค่าครองชพี เมอื่ มีรายได้ 16,000 บาทตอ่ เดือน
หรอื 192,000 บาทตอ่ ปี และตอ้ ง
เมอื่ สาเรจ็ หรือเลิกการศกึ ษา 2 ปี และ ชาระให้เสร็จสนิ้ ภายในระยะเวลา
ตอ้ งชาระใหเ้ สรจ็ สิน้ ภายในระยะเวลา 15 ปี นบั ต้งั แตว่ นั ทีเ่ รมิ่ ต้นชาระ
15 ปี ร้อยละ 1 ต่อปี

รอ้ ยละ 1 ต่อปี

ข้ันตอนการยื่นกู้เงินกองทนุ เงนิ ให้กยู้ ืมเพ่ือการศกึ ษา (กยศ./กรอ.)
รายใหมท่ ี่ไมเ่ คยกู้กับมหาวทิ ยาลยั บรู พา

1. ขอรหัสผา่ นจากระบบ DSL (เคยกูต้ อนมัธยมใช้รหัสเดิม)
wsa.dsl.studentloan.or.th/#/rms/rms-login

2. ศกึ ษาการยืน่ กู้ผ่านระบบ DSL https://www.youtube.com/watch?v=fIue7Noed-c

3. เตรียมเอกสารก่อนย่ืนคาขอกู้ยืมเงินในระบบ DSL (ดาวโหลดฟอร์มได้ในระบบ DSL) ได้แก่
3.1 หนังสอื ใหค้ วามยินยอมเปดิ เผยขอ้ มูลผูก้ ู้(นกั ศกึ ษา) บิดา มารดา หรือผู้ปกครอง
กรณี ไมม่ บี ดิ ามารดา (อย่างละ 1 ฉบบั /ไฟล)์
3.2 สาเนาบตั รประชาชนผ้กู ู้ (นักศึกษา) บดิ า มารดา หรอื ผูป้ กครอง
กรณี ไมม่ บี ิดามารดา (อยา่ งละ 1 ฉบับ/ไฟล์)

คมู่ อื นสิ ิตเภสชั ศาสตร์ หลกั สูตรเภสชั ศาสตรบัณฑิต (6 ปี) หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563

3.3 หลกั ฐานรับรองการมีรายไดข้ องบิดา และ มารดา หรือ ผู้ปกครอง 47
กรณไี ม่มีบดิ ามารดา ไดแ้ ก่
- หนงั สือรบั รองเงนิ เดือน (กรณี มีงานประจาขอไดท้ ี่หน่วยงาน) หรอื
- หนงั สือรบั รองรายได้ กยศ.102 (กรณี ไมม่ รี ายได้ประจา เชน่ คา้ ขาย รบั จ้าง)
โดยใหข้ า้ ราชการเซ็นรับรองและแนบสาเนาบัตรราชการพร้อมลงนามรับรอง

ดาวโหลด กยศ.102 : https://www.studentloan.or.th/th/download/1617155909
เมอ่ื กรอกข้อมลู เรียบรอ้ ยดาเนินการบนั ทึกไฟล์ตา่ ง ๆ เปน็ ไฟล์ PDF ขนาดไมเ่ กิน 10 MB ต่อไฟล์

4. ขอยื่นกใู้ นระบบ DSL (ระบบจะเลอื กประเภทการกู้ กยศ. หรอื กรอ. ใหอ้ ัตโนมตั ิ)

5. รอระบบแจ้งผลการตรวจสอบ “คาขอผา่ นการตรวจสอบจากระบบ” ผ่านแอปพลิเคช่นั
หรือ อเี มล์ แลว้ กดปุ่ม “ดาเนนิ การตอ่ ” และกรอกขอ้ มลู การจัดส่งเอกสาร

6. โปรดตดิ ตามขา่ วสาร ประกาศกาหนดการยืน่ กฯู้ ผา่ น https://affairs.buu.ac.th
หรอื สอบถามเพิ่มเตมิ ได้ที่ Facebook : กองกจิ การนิสิต มหาวทิ ยาลัยบรู พา
หรอื โทรศัพท์ 038 - 102533 (งานบริการและสวสั ดกิ ารนสิ ิต กองกจิ การนิสติ มหาวทิ ยาลยั บูรพา)

2. ทนุ การศึกษาสาหรบั นสิ ติ เภสัชศาสตร์ จากแหล่งเงนิ รายไดค้ ณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา
(ทุนคณะฯ) มีดงั น้ี
- ทุนส่งเสริมการศึกษา ประเภท ขาดแคลนทนุ ทรพั ย์
- ทนุ ส่งเสริมการศึกษา ประเภท เรียนดี อันดับที่ 1 - 3 ของนสิ ิตชน้ั ปีที่ 2 - 6 ของแตล่ ะปีการศกึ ษา
พรอ้ มเกยี รตบิ ัตร
- ทนุ สง่ เสริมการศกึ ษา ประเภท กจิ กรรมดีเด่น พร้อมเกยี รตบิ ตั ร
- ทนุ ส่งเสรมิ การศกึ ษา นิสิตที่ไดร้ บั ผลกระทบจาก COVID-19

3. ทุนการศกึ ษาจากหนว่ ยงาน, องค์กรภายนอก หรือมลู นิธติ า่ ง ๆ ท่ีเปน็ ทุนแบบใหเ้ ปล่าไมผ่ ูกพนั
- หนว่ ยงาน องคก์ รตา่ ง ๆ จะทาหนังสอื เขา้ มายังกองกจิ การนิสติ หรือ คณะฯ เพอ่ื ขอมอบทนุ การศึกษา
ใหก้ บั นิสิต โดยทางคณะจะประกาศรบั สมัครนสิ ิตเพ่อื ขอทุนการศึกษา และสมั ภาษณ์ เพอื่ คดั เลือกตาม
เกณฑ์ทก่ี าหนด

4. ทุนการศกึ ษาจากหนว่ ยงาน, องคก์ รภายนอก ทีเ่ ป็นทุนแบบผูกพัน
- หนว่ ยงาน หรือ องคก์ รตา่ ง ๆ จะทาหนงั สือเขา้ มายงั คณะฯ เพ่ือขอมอบทนุ การศกึ ษาใหก้ บั นิสิต
และเมื่อนสิ ิตผ่านการสัมภาษณ์ และไดร้ ับทุนการศกึ ษาดงั กลา่ ว จนจบการศึกษา นิสติ จะตอ้ งปฏบิ ัติงาน
ชดใชท้ ุน ณ หน่วยงาน หรือ องค์กรนั้น ๆ ตามสัญญาที่ระบุไว้

5. ทุนการศกึ ษาทนุ การศึกษาในโครงการของสมเด็จพระเทพฯ สาหรบั นิสติ กมั พชู า
- เพ่ือให้นิสิตชาวกัมพูชาไดม้ โี อกาสเข้ามาศกึ ษาในประเทศไทย

คู่มือนสิ ิตเภสัชศาสตร์ หลกั สูตรเภสัชศาสตรบณั ฑิต (6 ปี) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563

หลักสตู รอืน่ ๆ 48

- หลักสูตรวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวทิ ยาการและการจดั การทางเภสัชศาสตร์ หลกั สูตร
ปรบั ปรุง พ.ศ. 2563
- หลักสูตรปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑติ สาขาวทิ ยาการและการจดั การทางเภสชั ศาสตร์ หลักสตู รปรบั ปรงุ
พ.ศ. 2563
- หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรเ์ ครอ่ื งสาอางและผลิตภณั ฑ์สุขภาพ
(อยรู่ ะหว่างร่างหลักสตู ร)

ขนั้ ตอนการรอ้ งทกุ ข์/ร้องเรียนโดยนิสิตเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

คู่มอื นิสติ เภสัชศาสตร์ หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑติ (6 ปี) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563


Click to View FlipBook Version