The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การนิเทศการศึกษาในสถานศึกษา : การนิเทศติดตามการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Lerning) เพื่อการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนในสถานศึกษานำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Rodsarin Pantu, 2022-07-25 03:58:40

รายงานการนิเทศการศึกษา

การนิเทศการศึกษาในสถานศึกษา : การนิเทศติดตามการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Lerning) เพื่อการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนในสถานศึกษานำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา

รายงานการนิเทศการศกึ ษา

เพอ่ื ประกอบการพิจารณาคดั เลอื กบคุ คลเพอื่ บรรจุและแตง่ ต้ังให้ดารง
ตาแหน่งศึกษานเิ ทศก์ ปี พ.ศ. 2565

นางสาวรสริน พันธุ

ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการ

โรงเรียนวดั แม่แก้ดนอ้ ย อาเภอสันทราย จงั หวดั เชยี งใหม่

สงั กดั สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 2

รายงานการนิเทศการศกึ ษา
เพอ่ื ประกอบการพจิ ารณาคัดเลือกบรรจแุ ละแตง ต้งั ใหด ํารงตาํ แหนง ศึกษานเิ ทศก

สังกดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน

1. ชอ่ื ผูนเิ ทศ ตาํ แหนง สังกัด
ชื่อผนู เิ ทศ นางสาวรสรนิ พนั ธุ ตาํ แหนง ครู วิทยฐานะครชู าํ นาญการ
สังกดั โรงเรียนวัดแมแกดนอย สาํ นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม เขต 2

2. ช่อื ผูรบั การนเิ ทศ ตําแหนง สังกัด

ผูรับการนิเทศ มีจํานวน 4 คน ประกอบดวย ผูบริหาร จํานวน 1 คน หัวหนาวิชาการ จํานวน 1 คน

และครูผสู อน จาํ นวน 2 คน ดังนี้

2.1 ผูบรหิ าร

ชื่อผรู ับการนเิ ทศ นางสาวปรียาภทั ร บรุ มยชัยสนิ ตาํ แหนง รองผูอํานวยการโรงเรียน

สังกดั โรงเรียนวัดแมแกดนอย สํานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม เขต 2

2.2 หัวหนาวิชาการ

ชอ่ื ผูรบั การนิเทศ นางสาวศริ ิขวัญ ถาชน่ื ตาํ แหนง ครู วทิ ยฐานะครูชาํ นาญการพเิ ศษ

สังกัด โรงเรียนวดั แมแกด นอย สาํ นกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม เขต 2

2.3 ครผู สู อน

ชอ่ื ผรู ับการนิเทศ นางสาวสมพศิ ศรีชมพู ตําแหนง ครู วทิ ยฐานะครูชํานาญการพเิ ศษ

สงั กัด โรงเรียนวัดแมแกด นอย สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม เขต 2

ชื่อผรู บั การนเิ ทศ นางสาวพัชรนิ ทร ชูวัฒนเกียรติ ตําแหนง ครู วิทยฐานะครูชํานาญการ

สังกัด โรงเรียนวัดแมแกดนอย สํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม เขต 2

3. ชื่อเรอ่ื ง
“การนเิ ทศตดิ ตามการจัดการเรยี นรเู ชงิ รุก (Active Lerning) เพื่อการพฒั นาสมรรถนะของผูเรียน

ในสถานศกึ ษานาํ รอ งพน้ื ทน่ี วัตกรรมการศึกษา”

4. สภาพปจจบุ ัน/ปญ หา
เนื่องดวยโรงเรียนวัดแมแกดนอย เปนสถานศึกษานํารองพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม

รุนท่ี 1 ซึ่งตามพระราชบัญญัติพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ.2562 มาตรา 25 วรรคหน่ึง ไดกําหนดไวถึง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานท่ีไดรับการปรับเพ่ือนําไปใช ตามมาตรา 20 (4) ตองครอบคลุม
สมรรถนะสําคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขนั้ พื้นฐานตามกฎหมายวา ดวยการศึกษาแหงชาติ โดยตอ งจัดสาระการเรยี นรรู ายวิชาใหห ลากหลาย
และสอดคลองกับความสามารถ ความถนัดหรือความสนใจของผูเรียน และสภาพภูมิสังคม รวมท้ังมีกระบวนการ
เรียนรเู ชิงรกุ (Active Learning) ทั้งนี้ในการจัดทาํ หลักสูตรสถานศึกษาฐานสมรรถนะ โรงเรียนวดั แมแกดนอย
พทุ ธศักราช 2565 จะเปนหลักสตู รที่มงุ เนน สง เสริมใหเกิดสมรรถนะ มีการใชกระบวนการเรียนรเู ชิงรกุ (Active
Learning) ผานกิจกรรมในกลุมสาระการเรียนรูตาง ๆ และเนนทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ผาน

รายงานการนเิ ทศการศกึ ษา ห น า | 2

นวตั กรรมการจดั การเรียนรภู ายใต “ MAEKADNOI MODEL : แมแ กด นอ ย สบื ฮีตสานฮอย ตามรอยวฒั นธรรม
นําสูสัมมาชีพ ” โดยใชแหลงเรียนรูในชุมชนเปนฐาน เพื่อพัฒนาผูเรียนไดสรางสรรคผลงาน นําไปสูสมรรถนะ
ของผูเรยี น ในขณะเดียวกนั กไ็ ดม งุ เนนดา นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดาํ รงความเปน ไทย วนิ ยั ในตนเอง และคา นิยมที่
พึงประสงค เพ่ือใหผูเรียนไดนําความรูและประสบการณในการเรียนไปใชในการศึกษาตอและประกอบอาชีพ
ตามความถนัด สามารถใชเทคโนโลยีและสารสนเทศอยางกวางขวาง สงเสริม ทักษะชีวิต การคิดวิเคราะห
คิดสังเคราะห การใชวิจารณญาณ วิสัยทัศน มีความคิดสรางสรรค มีจิตสํานึกในการอนุรักษและพัฒนา
สิง่ แวดลอมเพื่อการดํารงชพี ในสังคมอยา งเปนสุข

ทั้งน้ีในการนิเทศชั้นเรียนคร้ังท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2565 ในระหวางวันท่ี 22-24 มิถุนายน 2565
ของคณะกรรมการนิเทศภายในโรงเรียนวัดแมแกดนอยท่ีผานมา ไดมีการนิเทศในประเด็นตาง ๆ เชน
สภาพหองเรียน กระบวนการจัดการเรียนการสอนของครู และพฤติกรรมของผูเรียน พบวา ในกระบวนการจัด
กิจกรรมของครูยงั มีจุดท่ีตองพัฒนาในสวนของการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูท่ีสงผลตอการพัฒนาสมรรถนะ
ของผูเรียน และคณะครูหลายทานไดแสดงความคิดเห็นผานการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูภายในกลุมสาระ
การเรียนรูถึงความสับสนเกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูเชิงรุก (Active Lerning) สูการพัฒนา
สมรรถนะของผูเรียน ดังนั้นทางคณะทํางานฝายวิชาการจึงจัดทําแผนการขับเคล่ือนและดําเนินการทํางานผาน
กลุมสาระการเรียนรู เพ่ือสงเสริมใหครูสามารถการออกแบบการจัดการเรียนรูเชิงรุก (Active Lerning)
ที่สงเสริมใหเกิดสมรรถนะแกผูเรียนในรายวิชาท่ีตนเองรับผิดชอบสอน โดยครูตองออกแบบแผนการจัด
การเรียนรูเชิงรุก (Active Lerning) จํานวน 1 หนวยการเรียนรู เพื่อใหคณะกรรมการตรวจสอบ และประเมิน
แผนการจดั การเรยี นรู เพือ่ รองรับการนิเทศช้นั เรียนในลําดบั ตอไป

ดังน้ันจากที่กลาวมาทั้งหมดขาพเจาจึงไดดําเนินการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล แนวทางของ
สถานศึกษาในการสงเสริมใหมีการจัดการเรียนรูเชิงรุก (Active Lerning) สูการพัฒนาสมรรถนะของผูเรียน
กระบวนการจัดการเรียนรูเชิงรกุ ของครูผูสอน และการออกแบบแผนการจดั การเรียนรูของครู ตลอดจนจุดเดน
จุดที่ควรพัฒนา เพื่อใหสถานศึกษา ครู และผูท่ีเก่ียวของ ไดทราบถึงขอมูล เพื่อนําไปใชในการวางแผน
การพฒั นาใหก ารจัดการเรียนรเู ปนไปอยางมีประสทิ ธภิ าพมากย่งิ ขน้ึ

5. วัตถปุ ระสงคก ารนิเทศ
5.1 เพ่ือนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผล แนวทางของสถานศึกษาในการสงเสริมใหมกี ารจดั การเรียนรู
เชิงรุก (Active Lerning) สูการพฒั นาสมรรถนะของผูเรียน
5.2 เพ่อื นิเทศการจดั การเรียนรูของครผู สู อนระดับชน้ั เรยี น
5.3 เพื่อตรวจสอบ และประเมินแผนการจดั การเรยี นรูทีส่ งเสริมใหเ กดิ สมรรถนะแกผ เู รยี น
5.4 เพ่ือศึกษา รวบรวมขอมูลการสงเสริมการจัดการเรียนรูเชิงรุก จุดเดน จุดที่ควรพัฒนา
ขอเสนอแนะ เพื่อเปนแนวทางในการวางแผนการพัฒนาใหการจัดการเรียนรูเปนไปอยางมี
ประสิทธิภาพตอไป

6. วิธกี าร/กระบวนการนเิ ทศ
ในการดําเนนิ การนิเทศการศึกษาจะใชวงจรการบรหิ ารงานคุณภาพ PDCA ในการติดตามตรวจสอบ ดังน้ี
6.1 ข้นั เตรยี ม (Plan)
6.1.1 วิเคราะหสภาพปญ หาและความตอ งการจําเปน
6.1.2 ศกึ ษาเอกสารทีเ่ กยี่ วขอ งตามขอบเขตเน้ือหาและประเดน็ ทจี่ ะดําเนินการนเิ ทศ

รายงานการนเิ ทศการศกึ ษา ห น า | 3

6.1.3 กาํ หนดประเด็นการนเิ ทศ เปนการกาํ หนดเน้ือหาทีจ่ ะนเิ ทศ
**แนวทางของสถานศึกษาในการสงเสริมใหมีการจัดการเรียนรูเชิงรุก (Active Lerning)
สูการพัฒนาสมรรถนะของผูเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรูในช้ันเรียน และแผนการจัด
การเรยี นรูท ่ีสง เสรมิ ใหเ กิดสมรรถนะแกผเู รยี น

6.1.4 กําหนดระยะเวลาในการนิเทศ
**ระยะเวลาการนเิ ทศ แบงเปน ระยะเวลาในการติดตามตามกรอบการนิเทศของกิจกรรม
จํานวน 1 เดอื น และระยะเวลาในการลงปฏบิ ตั ิการนเิ ทศในสถานศึกษา จาํ นวน 1 วนั

6.1.5 กําหนดวธิ ีการนเิ ทศและกจิ กรรมการนเิ ทศที่เหมาะสมตามสภาพปญหาและความตองการ
**การแลกเปลยี่ นเรยี นรู การสงั เกตชัน้ เรยี น การบันทึกวิดโี อ การถายภาพ และการสมั ภาษณ

6.1.6 สรางเครือ่ งมือนเิ ทศใหส อดคลอ ง ครอบคลุม เนื้อหาตามประเด็นที่จะนิเทศ
6.1.7 กาํ หนดสอื่ นวตั กรรม และเทคโนโลยีท่ีสอดคลอ งกับการนิเทศ
** การนิเทศการสอนคร้ังน้ีจะใชเทคนิคการนิเทศแบบรวมพัฒนา เพ่ือมุงแกปญหาและ
พัฒนาการเรียนการสอนอยางเปนระบบ ในการจัดการเรียนรูเชิงรุก (Active Lerning)
สูการพัฒนาสมรรถนะผเู รียน บนพื้นฐานความเปนกลั ยาณมิตร เพอ่ื สง เสริมใหเกดิ การพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษา
6.2 ขนั้ ปฏบิ ัตกิ ารนิเทศ (DO)
6.2.1 ผูนิเทศช้ีแจงกับผูบรหิ าร หัวหนาวิชาการ และครู เพ่ือแจงวัตถุประสงค ขั้นตอนการนิเทศ

และเครื่องมือการนเิ ทศ
6.2.2 ดําเนินการนิเทศตามขอบเขตเนื้อหาการนิเทศ และเก็บรวบรวมขอมูลโดยใชเครื่องมือ

การนิเทศตามทก่ี ําหนด
6.2.3 ประชุมสะทอนผลการนิเทศและการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูบริหาร หัวหนาวิชาการ และ

ครู หลังจากดําเนินการตามข้ันตอนการนิเทศ และสรุปผลการนิเทศ ปญหา ขอเสนอแนะ
เพ่ือนาํ ไปวางแผนพฒั นาการจดั การเรียนรูตอไป
6.3 ขั้นตรวจสอบขอมลู และสรุปการนิเทศ (Check)
6.3.1 วิเคราะหแ ละรวบรวมขอมลู ท่ีไดจากเคร่อื งมอื การนเิ ทศ เพื่อสรุปผลการนเิ ทศ
6.3.2 จัดทําเอกสารรายงานผลการปฏิบัติการนิเทศการศึกษาที่สะทอนผลตอครู สถานศึกษา
หรอื ผทู ่เี กย่ี วขอ ง
6.4 ข้นั ทบทวนและปรับปรุงการปฏบิ ัติงาน (Act)
6.4.1 รายงานผลการนเิ ทศตอ ผบู ังคับบัญชา สถานศึกษา และผูมีสว นเกี่ยวขอ ง
6.4.2 นําผลจากการนเิ ทศ เพื่อกาํ หนดแนวทาง วางแผน เตรียมการนเิ ทศครงั้ ตอ ไป

7. สือ่ /เครอ่ื งมือนิเทศ
7.1 สื่อ
7.1.1 หลักสูตรสถานศกึ ษา
7.1.2 แผนการจดั การเรียนรูของครู
7.1.3 แนวทางการจัดการเรียนรเู ชิงรุก (Active Lerning) และสมรรถนะของผูเ รยี น
7.2 เครอ่ื งมอื การนเิ ทศ
7.2.1 แบบบนั ทกึ การนิเทศชนั้ เรยี น
7.2.2 แบบประเมนิ แผนการจดั การเรียนรเู ชิงรกุ เพ่อื พัฒนาสมรรถนะของผูเรยี น
7.2.3 แบบสัมภาษณ

รายงานการนเิ ทศการศกึ ษา ห น า | 4
8. แนวทางการสรางการมสี วนรวมของผูร ับการนเิ ทศ

ในการสรางการมีสวนรวมของผูรับการนิเทศน้ัน จะเปนการเปดโอกาสใหผูรับการนิเทศไดรวม
แสดงความคดิ เหน็ รับรูขอมูล และทําความเขา ใจตอการนิเทศการศกึ ษา โดยมีแนวทาง ดงั น้ี

8.1 การใหขอมูลเกี่ยวกบั การนิเทศการศึกษา โดยจะมีการชี้แจงวัตถุประสงค ข้ันตอนการนิเทศ และ
เครื่องมอื การนิเทศ ตลอดจนชวงเวลาในการเขานเิ ทศการศึกษา

8.2 การรวมแลกเปล่ียนเรียนรู ปรึกษาหารือ กับครูผูรับการนิเทศภายหลังจากการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนในคาบเรียนเรียบรอยแลว การนิเทศการสอนครั้งน้ีจะใชเทคนิคการนิเทศแบบรวมพัฒนา
เพ่ือมุงแกปญหาและพัฒนาการเรียนการสอนอยางเปนระบบ ในการจัดการเรียนรูเชิงรุก (Active Lerning)
สูการพัฒนาสมรรถนะผูเรียน บนพ้ืนฐานความเปนกัลยาณมิตร รับฟงความคิดเห็นจากครูผูรับการนิเทศ
เสนอแนะแนวทาง เพอ่ื สง เสรมิ ใหเ กดิ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา

8.3 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูผลการนิเทศกับผูบริหาร หัวหนาวิชาการ และครู หลังจาก
ดําเนินการตามข้ันตอนการนิเทศ และสรุปผลการนิเทศ ปญหา ขอเสนอแนะ เพ่ือนําไปวางแผนพัฒนา
การจดั การเรียนรูตอ ไป
9. ระยะเวลาท่ีนเิ ทศในสถานศกึ ษา

ระยะเวลาในการลงปฏบิ ตั ิการนเิ ทศในสถานศกึ ษา จํานวน 1 วัน
10. รปู ภาพประกอบ

แผนการนิเทศการศึกษา

ภาพการชแ้ี จง วัตถปุ ระสงค ขนั้ ตอนการนิเทศ และเครื่องมอื การนิเทศ แกฝา ยบริหารและครูผรู ับการนิเทศ

รายงานการนเิ ทศการศกึ ษา ห น า | 5

ภาพบรรยากาศการนิเทศการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนของครผู รู บั การนิเทศทานที่ 1

ภาพบรรยากาศการนเิ ทศการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนของครูผรู ับการนิเทศทานท่ี 2

ภาพการประชุมสะทอนผลการนิเทศและการแลกเปล่ยี นเรียนรูกบั ผบู ริหาร หัวหนาวิชาการ และครู
ขาพเจา นางสาวรสริน พันธุ ขอรับรองวา ไดดําเนินการปฏิบัติการนิเทศในสถานศึกษา ตามหลักเกณฑ

การประเมินดานความสามารถการนิเทศการศึกษา ในการคดั เลอื กบคุ คลเพื่อบรรจุและแตง ต้ังใหดาํ รงตําแหนง
ศึกษานิเทศก สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ป พ.ศ. 2565 และไดรายงานการปฏิบัติ
การนเิ ทศการศกึ ษาในสถานศกึ ษา ตามขอ มูลดังกลาวขางตนถกู ตองและเปน ความจริง

ลงชอ่ื ...................................................................ผรู ายงาน
(นางสาวรสริน พนั ธ)ุ

การรบั รองการปฏบิ ัติการนิเทศของผบู ริหารสถานศึกษา
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.....................................................................ผูรบั รอง
(...........................................................)

ตาํ แหนง.....................................................................
วนั ท.ี่ .............เดือน.......................... พ.ศ....................

โรงเรยี นวัดแม่แก้ดนอ้ ย

ตำบลปำ่ ไผ่ อำเภอสนั ทรำย จงั หวัดเชียงใหม่

สำนกั งำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำเชียงใหม่ เขต 2

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พนื้ ฐำน


Click to View FlipBook Version