The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การสะท้อนผลการนิเทศต่อครู สถานศึกษา หรือผู้ที่เกี่ยวข้องการนิเทศติดตามการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Lerning) เพื่อการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนในสถานศึกษานำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Rodsarin Pantu, 2022-07-25 04:00:28

แบบสรุปผลการปฏิบัติการนิเทศการศึกษา

การสะท้อนผลการนิเทศต่อครู สถานศึกษา หรือผู้ที่เกี่ยวข้องการนิเทศติดตามการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Lerning) เพื่อการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนในสถานศึกษานำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา

แบบสรปุ ผลการปฏบิ ัตกิ ารนิเทศการศึกษา

เพ่อื ประกอบการพจิ ารณาการคดั เลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแตง่ ตั้งให้ดารง
ตาแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์ ปี พ.ศ. 2565

นางสาวรสรนิ พันธุ

ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการ

โรงเรียนวดั แมแ่ ก้ดน้อย อาเภอสนั ทราย จังหวดั เชยี งใหม่

สังกดั สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2

แบบสรุปผลการปฏบิ ัติการนิเทศการศึกษา
เพื่อประกอบการพจิ ารณาคัดเลอื กบรรจแุ ละแตงตัง้ ใหดํารงตําแหนงศึกษานเิ ทศก

สังกดั สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

การนิเทศติดตามการจัดการเรียนรูเชิงรุก (Active Lerning) เพ่ือการพัฒนาสมรรถนะของผูเรียนใน
สถานศึกษานํารองพื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษา ในวันที่ 21 กรกฎาคม 2565 ของโรงเรียนวัดแมแกดนอย
มีวัตถุประสงคการนิเทศ 1) เพ่ือนิเทศ ติดตาม และประเมินผล แนวทางของสถานศึกษาในการสงเสริมใหมี
การจัดการเรียนรูเชิงรุก (Active Lerning) สูการพัฒนาสมรรถนะของผูเรียน 2) เพ่ือนิเทศการจัดการเรียนรู
ของครผู ูสอนระดับชั้นเรยี น 3) เพื่อตรวจสอบ และประเมินแผนการจัดการเรียนรทู ี่สงเสริมใหเกิดสมรรถนะแก
ผูเรียน และ 4) เพ่ือศึกษา รวบรวมขอมูลการสงเสริมการจัดการเรียนรูเชิงรุก จุดเดน จุดที่ควรพัฒนา ขอเสนอแนะ
เพื่อเปนแนวทางในการวางแผนการพัฒนาใหการจัดการเรียนรูเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ โดยผูรับการนิเทศ
มีจํานวน 4 คน ประกอบดวย ผูบริหาร จํานวน 1 คน หัวหนาวิชาการ จํานวน 1 คน และครูผูสอน จํานวน 2 คน
เคร่ืองมือการนิเทศ ไดแก แบบบันทึกการนิเทศช้ันเรียน แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรูเชิงรุกเพื่อพัฒนา
สมรรถนะของผูเรียน และแบบสมั ภาษณ โดยมีวิธีการนิเทศการศึกษา ไดแก การแลกเปลี่ยนเรียนรู การสังเกต
ช้ันเรยี น การบันทกึ วิดโี อ การถายภาพ และการสัมภาษณ ขนั้ ตอนในการนิเทศ คอื 1) ผูนิเทศช้แี จงกบั ผบู ริหาร
หัวหนาวิชาการ และครู เพื่อแจงวัตถุประสงค ขั้นตอนการนิเทศ และเครื่องมือการนิเทศ 2) ดําเนินการนิเทศ
ตามขอบเขตเนื้อหาการนิเทศ และเก็บรวบรวมขอมูลโดยใชเคร่ืองมือการนิเทศตามท่ีกําหนด และ 3) ประชุม
สะทอนผลการนิเทศและการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูบริหาร หัวหนาวิชาการ และครู หลังจากดําเนินการตาม
ขั้นตอนการนิเทศ และสรุปผลการนิเทศ ปญหา ขอ เสนอแนะ เพื่อนาํ ไปวางแผนพัฒนาการจดั การเรียนรูตอไป
ซ่งึ จากการนิเทศปรากฏผลการนิเทศ ดังนี้
1. แนวทางของสถานศกึ ษาในการสง เสริมการจัดการเรียนรเู ชิงรุก

1.1 โรงเรียนวัดแมแกดนอยมีการสงเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรของโรงเรียนผานกระบวนการ
อบรม สัมมนาเชิงปฏิบัติ เพื่อสรางความเขาใจเก่ียวกับการจัดการเรียนรูเชิงรุก (Active Lerning) เพื่อ
การพัฒนาสมรรถนะของผูเรียน โดยเชิญวิทยากรผูมีความรูความสามารถในการออกแบบการจัดการเรียนรู
เชิงรุกมาใหความรูแกคณะครูและบุคลากรใหสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู และเขียนแผนการจัดการ
เรยี นรูได อกี ทง้ั เพอ่ื สรา งแรงจูงใจ และเห็นถงึ ความสาํ คญั ในการจดั การเรียนรทู ส่ี ง เสรมิ ใหผูเรียนเกดิ สมรรถนะ

1.2 โรงเรยี นวดั แมแกดนอ ยใชกระบวนการขับเคลอ่ื นการดําเนนิ งานผา นหวั หนากลุมสาระการเรียนรู
หวั หนา วิชาการระดับชวงชั้น ระดับสายชั้น เกี่ยวกับการจัดการเรียนรูเชิงรุก (Active Lerning) เพื่อการพฒั นา
สมรรถนะของผเู รียน ในการเปนผูน ําในการดําเนินงานหรอื เปนพเ่ี ล้ียง เพอ่ื ใหความรู คําแนะนํา และชักชวนใน
การปฏบิ ัติการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูเชิงรุก การเขียนแผนการจัดการเรียนรู และติดตามการดําเนินงานของ
ครูภายในกลมุ สาระการเรยี นรหู รือในระดบั ชว งช้นั หรือระดบั สายช้ัน
2. การนิเทศการจัดการเรยี นรขู องครูผูส อนระดับชัน้ เรียน

จากการนิเทศช้ันเรียน พบวา ครูผูรับการนิเทศไดปฏิบัติตามรายการประเมินคิดเปนรอยละ 100 อยูใน
ระดับดีมาก โดยครูผูรับการประเมนิ มีการวิเคราะหห ลักสตู รสูการจัดทําแผนการเรียนรู มีการนําเขาสบู ทเรียนโดย
ใชรูปภาพ เกม และคําถามทบทวนความรู มีการจัดกจิ กรรมที่สงเสรมิ ใหเกดิ สมรรถนะหลักที่สาํ คัญประจําวิชา คือ
สมรรถนะการสื่อสาร มีการสรางสรรคกิจกรรมการเรียนรทู ่ีนาสนใจและสงเสริมสมรรถนะ เปดโอกาสใหผูเรียนได
มีสวนรวมในการเรียนรู สงเสริมใหผูเรียนกลาแสดงออก และสรางบรรยากาศในชั้นเรียนดวยการเสริมแรงโดย

แบบสรุปผลการปฏิบัติการนิเทศการศกึ ษา ห น า | 2

การกลาวคําชมเชย การปรบมือ ตลอดจนจัดกิจกรรมการเรียนรูที่สงผลใหผูเรียนเกิดความสนุกสนาน
มีความสนใจการเรียนรู และเรียนรูอยางมีความสุขผานการรองเพลง และผูเรียนแสดงความสามารถไดอยางเต็มท่ี
มีการใชสอื่ นวตั กรรมที่เหมาะสม นอกจากนีม้ กี ารวัดผลประเมนิ ผลดวยวิธกี ารและเครื่องมือที่หลากหลาย
3. การตรวจสอบและประเมินแผนการจัดการเรยี นรูท่ีสงเสริมใหเกิดสมรรถนะแกผเู รียน

จากการตรวจสอบและประเมินแผนการจัดการเรียนรูเชิงรุกท่ีสงเสริมใหเกิดสมรรถนะแกผูเรียนของครู
ผูรับการนิเทศ พบวา แผนการจัดการเรียนรูมีผลการประเมินเทากับ 4.75 อยูในระดับดีมาก โดยแผนการจัด
การเรียนรูมีองคประกอบของแผนครบถวน มีการกําหนดสมรรถนะหลัก สมรรถนะเฉพาะ ผลลัพธการเรียนรู
จุดประสงคการเรียนรูเชิงสมรรถนะที่ครอบคลุมพฤติกรรมดานความรู (Knowledge : K) ทักษะ (Skills : S)
และคุณลักษณะภายใน (Attributes : A) มีการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูที่ครอบคลุมการพัฒนาผูเรียนให
มีพฤติกรรม K, S, A เพ่ือสงเสริมใหเกิดสมรรถนะดานการส่ือสาร การจัดการตนเอง และการเปนพลเมืองท่ี
เขมแข็ง มีการกําหนดสื่อ แหลงเรียนรู ชิ้นงาน ตลอดจนการวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับจุดประสงค
การเรียนรูเ ชงิ สมรรถนะ
4. จดุ เดน จุดท่ีควรพฒั นา และขอเสนอแนะ

4.1 จดุ เดน
ดา นบุคลากร
4.1.1 โรงเรียนมีคณะครูและบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถ และพรอมในการขับเคลื่อน

การดาํ เนนิ งานการจดั การเรียนรูเ ชิงรุก (Active Lerning) เพอื่ การพัฒนาสมรรถนะของผเู รยี น
4.1.2 โรงเรยี นมีฝา ยบริหารและคณะทํางานทางดา นวิชาการทมี่ ีศักยภาพในการดาํ เนินงาน และ

มีภาวะความเปน ผนู าํ ผตู ามทดี่ ี ตลอดจนยอมรบั ในความแตกตา งและรับฟงความคิดเหน็ ของเพ่ือนรวมงาน
ดานสอื่ นวตั กรรม และแหลงเรยี นรู
4.1.3 โรงเรียนมีสื่อ นวตั กรรม และแหลงเรียนรูที่เออื้ ตอการจัดการเรียนรู
4.1.4 โรงเรียนมีหองปฏิบัติการตาง ๆ ท่ีสามารถสงเสริมศักยภาพและตอบสนองความตองการ

แกผูเรยี น เชน หอ งภาษาจีน หองคหกรรม หอ งปฏิบตั ิการทางคอมพิวเตอร ศนู ยก ารศึกษาพเิ ศษ ฯลฯ
ดา นงบประมาณ
4.1.5 โรงเรียนมีการวางแผนและจดั ทาํ แผนปฏบิ ัตกิ าร/โครงการ/กิจกรรมประจาํ ปง บประมาณ
4.1.6 โรงเรียนมีงบประมาณในการขับเคล่ือนตามแผนปฏิบัติการ/โครงการ/กิจกรรม และ

มสี มาคมผูปกครองและเครือขา ยท่ีใหก ารสนับสนุนในการขับเคล่ือนการทาํ งานเพือ่ พฒั นาคุณภาพการศึกษา
ดานการจัดการ
4.1.7 โรงเรียนมีรูปแบบการบรหิ ารงานที่ชัดเจนและมกี ารขบั เคล่อื นกจิ กรรมอยา งเปน ระบบ
4.1.8 โรงเรียนมีเครือขายความรวมมือจากผูปกครอง หนวยงานตาง ๆ เชน มหาวิทยาลัยแมโจ

สถานวี ทิ ยุ มก. วทิ ยาลยั พายัพเทคโนโลยี โรงเรยี นโปลเิ ทคนิคลานนา วิทยาลัยการอาชพี จันระวี ฯลฯ
4.2 จดุ ทคี่ วรพัฒนา
4.2.1 โรงเรียนควรใหการสนับสนุนดานการจัดซื้อจัดหาเครื่องอํานวยความสะดวกในการจัด

การเรยี นการสอนสาํ หรับครู เชน เครื่องขยายเสยี ง โปรเจคเตอรหรือทีวี เปนตน
4.2.2 โรงเรียนควรสงเสรมิ พฒั นาศักยภาพครูและบคุ ลากรใหเหน็ ถึงความสําคัญและเกิดความตระหนัก

ตอการทํางานเปนทีม และเปาหมายของโรงเรียนทมี่ งุ จัดกิจกรรมการเรียนรูใหผ เู รียนเกดิ สมรรถนะ
4.3 ขอเสนอแนะ
4.3.1 โรงเรียนควรเปดโอกาสหรือเวทใี หแกผูเรียนในการแสดงความสามารถหรือสมรรถนะตนเอง
4.3.2 โรงเรียนควรมีการนิเทศติดตามการเรียนการสอนของครูอยางสมํ่าเสมอ และสะทอนผล

การประเมิน เพื่อเปนแนวทางสาํ หรบั ครใู นการพฒั นาตนเอง และการจดั การเรียนการสอนตอไป

โรงเรยี นวัดแม่แก้ดนอ้ ย

ตำบลปำ่ ไผ่ อำเภอสนั ทรำย จงั หวัดเชียงใหม่

สำนกั งำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำเชียงใหม่ เขต 2

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พนื้ ฐำน


Click to View FlipBook Version