The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวคิดและทัศนคติต่อการนิเทศการศึกษา การส่งเสริมการจัดการศึกษา และการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Rodsarin Pantu, 2022-07-25 03:47:07

วิสัยทัศน์การเป็นศึกษานิเทศก์

แนวคิดและทัศนคติต่อการนิเทศการศึกษา การส่งเสริมการจัดการศึกษา และการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ

รายงานวสิ ยั ทศั นก์ ารเปน็ ศกึ ษานิเทศก์

เพอื่ ประกอบการพจิ ารณาการคดั เลอื กบคุ คลเพอื่ บรรจแุ ละแตง่ ตงั้ ใหด้ ารง
ตาแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์ปี พ.ศ. ๒๕๖๕
สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่เขต ๒

นางสาวรสรนิ พันธุ

ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการ

โรงเรียนวัดแมแ่ ก้ดน้อย อาเภอสันทราย จังหวัดเชยี งใหม่

สงั กดั สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่เขต ๒

รายงานวสิ ัยทัศนการเปน ศึกษานิเทศก ห น า ก

คํานํา

ตามท่ีสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม เขต ๒ ไดแจงประชาสัมพันธการรับสมัคร
คดั เลือกเพ่ือบรรจุและแตงต้ังใหดํารงตาํ แหนง ศึกษานิเทศก สังกัดสาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
ป พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามประกาศคณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั เชียงใหมนัน้

โรงเรียนวัดแมแ กดนอ ย ไดดําเนินการพจิ ารณาครูผสู อนทม่ี ีความรูค วามสามารถเหมาะสม จึงขอเสนอ
นางสาวรสริน พันธุ ตําแหนง ครู วิทยฐานะครูชํานาญการ เพื่อสมัครเขารับการคัดเลือกเพ่ือบรรจแุ ละแตงต้ัง
ใหด าํ รงตาํ แหนงศกึ ษานิเทศก สังกัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

รายงานวิสัยทัศนการเปนศึกษานิเทศกฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพ่ือประกอบการพิจารณาการคัดเลือกบุคคล
เพ่ือบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงศึกษานิเทศก สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ป พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามประกาศคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม ซ่ึงรายงานนี้ประกอบดวย วิสัยทัศน
เกีย่ วกับการนเิ ทศการศกึ ษา การสง เสริมและสนับสนนุ การจดั การศกึ ษา และการพฒั นาตนเองและวิชาชพี

หวังวารายงานฉบับนี้ จะอํานวยความสะดวกตอการพิจารณาของคณะกรรมการประเมินในการคัดเลือก
บุคคลเพื่อบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงศึกษานิเทศก สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ป พ.ศ. ๒๕๖๕ ในครัง้ นี้

(นางสาวรสรนิ พันธุ)
ผเู สนอขอ

รายงานวสิ ัยทัศนก ารเปน ศึกษานิเทศก ห น า ข

สารบัญ

รายการประเมิน หนา

คํานาํ ก
สารบัญ ข

วสิ ยั ทัศนเ กี่ยวกบั การนิเทศการศึกษา ๑
การสง เสริมและสนบั สนุนการจัดการศึกษา ๒
การพฒั นาตนเองและวชิ าชีพ ๒

วิสยั ทัศนก ารเปน ศกึ ษานิเทศก
เพื่อประกอบการพิจารณาคดั เลือกบรรจแุ ละแตงตง้ั ใหด ํารงตําแหนงศกึ ษานเิ ทศก

สงั กดั สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
นางสาวรสรนิ พนั ธุ

ตําแหนง ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการ

การนเิ ทศการศกึ ษา

ในการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด-19 ในชวง ๑-๒ ปที่ผานมา ไดสง
ผลกระทบตอระบบการศึกษาในดา นตาง ๆ ไดแก ดา นผเู รียน ดา นครูผูสอน ดานหลักสูตรและการจัดการเรียน
การสอน ดานการวัดและประเมินผล ดานสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา และดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู
ของผูเรียน ทั้งน้ีจากการศึกษางานวิจัยและขอคนพบจากหนวยงานทางการศึกษา พบวา ผูเรียนระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานเกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู (Learning Loss) คือ การเสียโอกาสในการเรียนรู โดยผูเรียนมี
ความรูทางวชิ าการถดถอย ๑-๒ ป มที ักษะการเรียนรูตาง ๆ ท่ีควรไดรับบางทักษะขาดหายไป เชน ทักษะการอาน
ทักษะการเขียน ทักษะการปรับตัว ทักษะการเขาสังคม เปนตน รวมทั้งครูผูสอนท่ีเปนผูที่มีบทบาทสําคัญใน
การจัดการเรียนรูใหกับผูเรียน ตองปรับเปล่ียนรูปแบบการเรียนการสอน และเรงพัฒนาตนเองใหมากย่ิงขึ้น
โดยเฉพาะการใชเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรูใหมีประสิทธิภาพ ดังนั้นเพ่ือใหการขับเคลื่อนกระบวนการเรียนรู
หลังยุคโควิด-19 (Post-COVID) สามารถดําเนินการไปไดอยางมีประสิทธิผล ผูเรียนมีคุณภาพ มีความรู มีทักษะ
และเจตคติ/คุณลักษณะท่ีดี ตลอดจนเกิดสมรรถนะท่ีสําคัญท้ัง ๖ ดาน ไดแก การจัดการตนเอง การคิดข้ันสูง
การส่ือสาร การรวมพลังทํางานเปนทีม การเปนพลเมืองท่ีเขมแข็ง และการอยูรวมกับธรรมชาติและวิทยาการ
อยางยั่งยืน ผูที่มีสวนเก่ียวของในทุกฝายตองเรงดําเนินการพัฒนาและฟนฟูกระบวนการบริหารจัดการและ
การจัดการเรยี นรู ตลอดจนจดั ทาํ หลักสูตรฐานสมรรถนะท่ีมีความเหมาะสมสอดคลอ งกับบริบทของสถานศึกษา
เพ่อื ขบั เคลือ่ นการศึกษาใหม ปี ระสทิ ธิภาพมากย่ิงขึ้น

ฉะนั้นขาพเจาในฐานะผูสมัครพิจารณาคัดเลือกเพื่อบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงศึกษานิเทศก
จงึ เห็นถึงความสําคัญของการนเิ ทศการศึกษาวา เปน กระบวนการหนึง่ ทจ่ี ะสงเสริมและพัฒนาการศึกษาได ทง้ั น้ี
ขาพเจามีแนวคิด มุมมอง และความเขาใจเกี่ยวกับการนิเทศการศึกษาวา การนิเทศการศึกษา เปนกระบวนการท่ี
สําคัญในการสงเสริมการเรียนการสอนหรือเปนกระบวนการบริหารจัดการศึกษา เพ่ือชี้แนะ ใหความชวยเหลือ
และประสานความรว มมือ ในการพัฒนาปรับปรุงใหการขบั เคล่อื นการศึกษา กระบวนการจดั การเรียนรูสามารถ
ดําเนินการไปไดอยางมีประสิทธิภาพ เพิ่มคุณภาพของผูเรียนใหเปนไปตามเปาหมายของสถานศึกษาและ
มาตรฐานทางการศึกษา ท้ังน้ีการนิเทศการศึกษา เปนกระบวนการทํางานรวมกันระหวางครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ผูบริหาร และศึกษานิเทศก โดยศึกษานิเทศก (Supervisor) ถือวาเปนผูท่ีมีบทบาทท่ีสําคัญใน
การนิเทศการศึกษา เปนผูที่ใหคําแนะนํา ช้ีแนะแนวทางใหครูและผูบริหารสถานศึกษาเกิดความตระหนักรู
มีทักษะในการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนการสอนอยางเปนระบบ รวมท้ังสามารถเปนท่ีปรึกษาทาง
วชิ าการ ทปี่ รึกษาของครใู นการพัฒนาการจดั การเรียนรู มคี วามรูท่ีลกึ ซ้ึง ช้แี นะทิศทางการพัฒนา มีทักษะทาง
เทคโนโลยีท่ีไดมาตรฐาน มีความสามารถในการสรางเครือขาย มีเครื่องมือการนิเทศที่ดี มีมนุษยสัมพันธที่ดี
และเปนกัลยาณมิตร เปนตน จากภาวะถดถอยทางการเรียนรูผนวกกับการขับเคลื่อนหลักสูตรฐานสมรรถนะ
และการสงเสริม พัฒนาผูเรียนใหเกิดสมรรถนะท่ีสําคัญ ตลอดจนความหมายของการนิเทศการศึกษาและ
บทบาทของศึกษานิเทศกท ี่ไดก ลา วมาแลวน้นั ขาพเจา จึงไดก ําหนดวิสยั ทัศนก ารเปน ศึกษานิเทศก ดังน้ี

รายงานวสิ ยั ทัศนการเปน ศึกษานเิ ทศก ห น า ๒

“มุงนิเทศ เพ่ือสงเสริมและพัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา และผูบริหารสถานศึกษาดวย
ความเปนกัลยาณมิตรและเนนการมีสวนรวมในการสรางความตระหนักรูและสามารถขับเคล่ือนหลักสูตร
ฐานสมรรถนะ มีการบริหารจดั การและความสามารถในการจัดการเรียนรูเ ชงิ รุก (Active learning) และวิธีการ
วดั และประเมินผลท่ีเหมาะสม สามารถใชสื่อและเทคโนโลยใี นยคุ ดิจิทัลไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ”

จากวิสัยทัศนการเปนศึกษานิเทศกท่ีขาพเจาไดกําหนด ถือเปนหลักคิด มุมมอง และทัศนคติของ
ขาพเจาที่มีตอบทบาทของศึกษานิเทศกและการนิเทศการศึกษา โดยจากวิสัยทัศนท่ีกําหนดจะสามารถ
ดําเนนิ การไปไดอยา งมีประสิทธิภาพและเกดิ ประสทิ ธิผลจนบรรลุเปาหมายทก่ี ําหนด การสง เสรมิ และสนับสนุน
การจดั การศกึ ษา และการพัฒนาตนเองและวิชาชีพของผทู ีด่ าํ รงตําแหนง ศึกษานเิ ทศก จะตองดําเนินการดงั น้ี

การสงเสริมและสนบั สนุนการจัดการศึกษา

ในการสง เสรมิ และสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาใหเ ปน ไปตามวิสัยทศั นทก่ี ําหนด มแี นวทางดงั นี้
๑. ประสานงาน ชี้แนะ แนะนํา สงเสริม พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา และผูบริหารสถานศึกษา
ในการสรา งความตระหนักรูเ กย่ี วกบั หลกั สตู รฐานสมรรถนะเพ่ือนําไปสกู ารขับเคล่ือนหลักสตู รฐานสมรรถนะ
๒. สงเสริมทักษะในการบริหารจัดการและความสามารถในการจัดการเรียนรูเชิงรุก (Active learning)
และวธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลท่ีเหมาะสม เพอ่ื สนองตอบตอความตอ งการของผูเรียนและบรบิ ทของสถานศึกษา
๓. สงเสริมการจัดการเรียนรูใหมีคุณภาพสูงขึ้น เชน การนําสื่อและเทคโนโลยีในยุคดิจิทัลมาใชใน
กิจกรรมการเรียนการสอน การนเิ ทศการสอน และประเมนิ ผลไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ
๔. สง เสริม สนับสนนุ ใหมีความรูทางวิชาการและพรอมตอ การรองรับการเปลยี่ นแปลงในสถานการณ
ปจจุบันและนโยบายท่สี าํ คัญทางการศกึ ษา
๕. สง เสริม พัฒนา ติดตาม ตรวจสอบ และเสนอแนะ ระบบประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายในและ
ภายนอกสถานศกึ ษา

การพัฒนาตนเองและวิชาชพี

ในการพัฒนาตนเองและวิชาชพี ทเ่ี หมาะสมและปฏิบัติงานไดอยา งมีประสิทธิภาพ มีแนวทางดังนี้
๑. วเิ คราะหต นเองและวางแผนการพฒั นาตนเองในวชิ าชพี รวมท้งั จัดทําแผนการปฏิบตั ิงานเปน รายป
๒. ศึกษาและพัฒนาตนเองใหมีความรู ความสามารถ เก่ียวกับทักษะการใชภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
เพ่อื การสือ่ สาร และการใชเทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษา ตลอดจนสมรรถนะทางวิชาชีพ
๓. ศึกษาหาความรูและเพ่ิมเติมความรูดวยการอาน/เขียนบทความทางวิชาการ วิจัยและพัฒนา
งานวิชาการ และนําเสนอผลงานในทปี่ ระชุมวชิ าการ
๔. ศึกษาดูงาน เขารว มสัมมนา ประชุมปฏบิ ัติการ ตลอดจนการประชุมวชิ าการในงานที่ตนเองรับผิดชอบ
หรือเกีย่ วขอ งกบั งานในวิชาชพี
๕. สรางเครือขายความรวมมือในการปฏิบตั ิงานในวชิ าชีพอยา งกวา งขวาง
๖. รว มแลกเปล่ียนเรียนรู/ความคิดเห็นระหวางผทู ่ีมีสวนเกีย่ วของ เชน ระหวางกลุมเพอ่ื นรวมวิชาชีพ
ระหวางครู บุคลากรทางการศึกษา และผูบริหารสถานศึกษา ระหวางผูทรงวุฒิหรือผูเช่ียวชาญในสาขาวิชา
ทตี่ นเองรบั ผดิ ชอบหรอื เกย่ี วของกับงานในวชิ าชพี เปน ตน
๗. ปรับเปลี่ยนตนเอง เพ่ือสนองตอบตอการเปล่ียนแปลงท่ีจะเกิดข้ึน ท้ังนโยบายระดับสํานักงาน
เขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา ระดับสํานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั ระดบั สํานกั งานการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน เปน ตน
๘. มีภาวะความเปนผูนําการเปลี่ยนแปลง และผูตามท่ีดี ในการพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ของงานใหเ กิดประโยชนอ ันสูงสดุ

โรงเรียนวดั แมแ่ กด้ นอ้ ย

ตำบลปำ่ ไผ่ อำเภอสนั ทรำย จังหวดั เชียงใหม่
สำนักงำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำเชียงใหม่ เขต ๒
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พนื้ ฐำน


Click to View FlipBook Version