The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (2565): วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by avelinox101, 2022-10-17 00:02:49

ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (2565): วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (2565): วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน

OBEC Basic Education Research journal
วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

ผจู้ ดั พมิ พ์ สำนกั พฒั นำนวัตกรรมกำรจดั กำรศกึ ษำ
ทปี่ รึกษาบรรณาธกิ าร สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขัน้ พ้นื ฐำน
บรรณาธิการ ดร.อัมพร พนิ ะสำ
เลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน
ดร.ภธู ร จนั ทะหงษ์ ปณุ ยจรสั ธำรง
ผู้อำนวยกำรสำนักพัฒนำนวตั กรรมกำรจดั กำรศกึ ษำ

กองบรรณาธิการผทู้ รงคุณวุฒิอาวุโส ประธำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พ้ืนฐำน
คณุ หญงิ กษมำ วรวรรณ ณ อยธุ ยำ คณะครศุ ำสตร์ จฬุ ำลงกรณ์มหำวทิ ยำลัย
รองศำสตรำจำรย์ สริ พิ ันธุ์ สวุ รรณมรรคำ ผ้เู ช่ยี วชำญพิเศษ
ดร.เบญจลักษณ์ น้ำฟำ้ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพื้นฐำน
คณบดีคณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยศิลปำก
ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ มำเรียม นิลพนั ธ์ุ

กองบรรณาธกิ าร คณะสังคมศำสตร์และศลิ ปศำสตร์
รองศำสตรำจำรย์ ดร.เกตุมณี มำกมี มหำวิทยำลัยนอร์ท เชยี งใหม่
คณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลยั นเรศวร
รองศำสตรำจำรย์ ดร.จิติมำ วรรณศรี คณะครุศำสตร์ มหำวทิ ยำลยั รำชภฏั พระนคร
รองศำสตรำจำรย์ ดร.ทิวตั ถ์ มณโี ชติ คณะศึกษำศำสตร์
ผชู้ ว่ ยศำสตรำจำรย์ ดร.ชวลติ เกดิ ทิพย์ มหำวทิ ยำลยั สงขลำนครนิ ทร์
ข้ำรำชกำรบำนำญ วิทยำลยั กำรฝกึ หัดครู
ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.ไพรัช สู่แสนสขุ มหำวิทยำลยั รำชภัฏพระนคร
คณะครุศำสตร์ มหำวทิ ยำลยั รำชภัฏอดุ รธำนี
ผชู้ ว่ ยศำสตรำจำรย์ ดร.รงุ่ ทวิ ำ จันทนว์ ัฒวงษ์ คณะครศุ ำสตร์อุตสำหกรรมและเทคโนโลยี
ผู้ชว่ ยศำสตรำจำรย์ ดร.ศริ ริ ัตน์ เพ็ชร์แสงศรี สถำบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้ำคุณทหำรลำดกระบงั
คณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยศิลปำกร
ผู้ชว่ ยศำสตรำจำรย์ ดร.สำยสดุ ำ เตียเจริญ คณะวศิ วกรรมศำสตร์และเทคโนโลยีอุตสำหกรรม
ผชู้ ่วยศำสตรำจำรย์ ดร.อชิตพล ศศิธรำนุวัฒน์ มหำวทิ ยำลัยรำชภัฏชยั ภูมิ

ดร.มณเฑียร ชมดอกไม้ คณะศึกษำศำสตร์ วิทยำลัยนำนำชำติเซนต์เทเรซำ

ดร.ศรีสมร พมุ่ สะอำด คณะศกึ ษำศำสตร์ วทิ ยำลัยครูสรุ ิยเทพ

มหำวทิ ยำลยั รงั สิต

ดร.อมรทพิ ย์ เจริญผล คณะศกึ ษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยรำชธำนี

วทิ ยำเขตอดุ รธำนี

นำงสำวกนกวรรณ นวำวตั น์ คณะมนษุ ยศำสตร์และสงั คมศำสตร์

มหำวทิ ยำลัยรำชภฏั เพชรบรู ณ์

นำงสำวประภำพรรณ เสง็ วงศ์ ข้ำรำชกำรบำนำญ (ศกึ ษำนเิ ทศกเ์ ชย่ี วชำญ)

นำงสำววณี ำ อัครธรรม ข้ำรำชกำรบำนำญ

(ท่ีปรึกษำสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พน้ื ฐำน)

ดร.อรนชุ ม่งั มีสุขศริ ิ ผู้เช่ียวชำญสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน

ดร.วรรณำ ชอ่ งดำรำกุล ผู้เช่ียวชำญสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพืน้ ฐำน

ฝ่ายประสานงานกองบรรณาธกิ ารและการจดั การ

กลุ่มวิจัยและส่งเสริมกำรวจิ ัยทำงกำรศึกษำ สำนักพัฒนำนวตั กรรมกำรจดั กำรศึกษำ

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พนื้ ฐำน

นำงสำวดุจดำว ทพิ ยม์ ำตย์ ผู้อำนวยกำรกลุ่มวิจัยและส่งเสรมิ กำรวิจัยทำงกำรศึกษำ

นำงสำวกัญญำพร ไทรชมภู นกั วิชำกำรศึกษำชำนำญกำร

นำงสำวสุวรรณำ กลนิ่ นำค นกั วิชำกำรศกึ ษำชำนำญกำร

นำงสำวสุนศิ ำ หวังพระธรรม นกั วิชำกำรศึกษำชำนำญกำร

นำยพนู ลำภ มำกบุญ นักวชิ ำกำรศึกษำปฏิบัตกิ ำร

นำยพุฒพิ งศ์ ทรัพย์สมบัติ พนักงำนพมิ พ์ดดี

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่ือเผยแพร่บทควำมวิจัยทำงกำรศกึ ษำในระดบั กำรศึกษำข้นั พนื้ ฐำนของครูและบุคลำกร

ทำงกำรศกึ ษำสังกดั สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พ้ืนฐำน และหน่วยงำนภำยนอก

2. เพอื่ เปน็ สอ่ื กลำงในกำรนำเสนอองค์ควำมรูท้ ไี่ ด้จำกกำรศกึ ษำในระดบั กำรศกึ ษำขน้ั พนื้ ฐำน

กาหนดการเผยแพร่

ปลี ะ 2 ฉบบั (มกรำคม – มิถนุ ำยน และ กรกฎำคม – ธันวำคม)

ขอ้ มูลการตดิ ตอ่

บรรณำธกิ ำรวำรสำรกำรวิจัยกำรศกึ ษำข้นั พนื้ ฐำน

สำนักพัฒนำนวตั กรรมกำรจัดกำรศกึ ษำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขัน้ พ้ืนฐำน

ถนนรำชดำเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหำนคร 10300

โทรศัพท์ 02- 2885882-3

E-mail : [email protected]

.........................................................................................................................................................................

* บทควำมทุกเรื่องได้รับกำรพิจำรณำ (Peer Review) จำกผู้ทรงคณุ วุฒิ

** บทควำมหรือข้อคิดเห็นใดๆ ในวำรสำร ถอื เป็นควำมคิดเห็นของผู้เขียน กองบรรณำธิกำรไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป

*** กองบรรณำธิกำรไม่สงวนสิทธ์ิในกำรคัดลอกบทควำมเพ่ือกำรศึกษำแต่ให้อำ้ งอิงแหล่งทีม่ ำให้ครบถว้ นสมบรู ณ์

วารสารการวิจยั การศึกษาข้ันพื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มิถนุ ายน 2565)

บทบรรณาธกิ าร

วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งมั่นที่จะเป็นแหล่งเผยแพร่บทความวิจัยทางการศึกษา
ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของครูและบุคลากรทางการศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน และหน่วยงานภายนอกที่มีคุณภาพ ซึ่งบทความที่นาเสนอได้รวบรวมมาจากข้อค้นพบในการวิจัย
โดยครู ผู้บริหารสถานศึกษา และศึกษานิเทศก์ สาหรับวารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐานปีที่ 2 ฉบับที่ 1
เดือนมกราคม – เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2565 ฉบับนี้ นาเสนอบทความวิจัยในการพัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 11 เรื่อง ซึ่งมีเนื้อหาทางการศึกษาและการเรียนรู้ทั้งด้านการพัฒนากลยุทธ์
การบริหารจัดการสถานศึกษา การพัฒนาครู การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การนิเทศการศึกษา และข้อเสนอ
เชงิ นโยบายการจดั การศึกษาภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

วารสารการวจิ ัยการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ปีท่ี 2 ฉบับท่ี 1 (มกราคม - มิถุนายน 2565) นี้ กองบรรณาธิการ
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และขอขอบพระคุณ
คณะกรรมการกลั่นกรองบทความและผู้ทรงคุณวุฒิประจาวารสารที่ได้พิจารณาและให้ข้อเสนอแนะ
แก่ผู้เขียน และขอขอบคุณคณะกรรมการและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่ได้ให้ความอนุเคราะห์จนวารสารฉบับนี้
สาเร็จอยา่ งดยี ิ่ง

นายภธู ร จนั ทะหงษ์ ปณุ ยจรัสธารง
บรรณาธกิ าร
มถิ ุนายน 2565



วารสารการวิจยั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2565)

สารบญั

หน้า

บทบรรณาธิการ ก

บทความวจิ ยั

1. การพัฒนาชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง เรื่อง การจดั การเรียนการสอนดว้ ยเทคนิคการประเมิน

เพ่ือพฒั นาวชิ าวิทยาการคานวณ ระดบั ประถมศึกษา สานักงานเขตพืน้ ที่ 1

การศึกษาประถมศึกษาลพบรุ ี เขต 1

กุลรตี เอกสวุ รรณ

Development of a Self Training Kit for Learning Management through

Formative Assessment Techniques for Computing Science Elementary

School under Lopburi Primary Educational Service Area Office 1

Kulratee Eaksuwan

2. การพฒั นากลยุทธ์การบรหิ ารจดั การสถานศึกษาขนาดเลก็ ขดี สมรรถนะสูง 20

ขจรศักด์ิ เขยี วนอ้ ย

Development of Strategies for Managing Small High-Performance School

Kajornsak Khiawnoi

3. การนเิ ทศโดยใช้กระบวนการวิจยั ปฏิบัติการเพอ่ื ส่งเสรมิ ความสามารถ 36
ในการพฒั นานวตั กรรมการจัดการเรยี นรู้ของครูกลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
ระดบั มัธยมศกึ ษาในจงั หวัดชยั นาท สังกัดสานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 5

แคทรยี า แสงดาวเทียน

Supervision using the practical research process to promote the ability to develop innovative
learning management of teachers in mathematics learning subject group Secondary School
in Chainat Department of the Secondary Educational Service Area Office 5

Kattareya Sangdowntien



วารสารการวิจัยการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2565)

4. การพัฒนาแบบฝกึ ทักษะคณิตศาสตร์ ประกอบการจัดการเรียนร้แู บบซปิ ปา เรอ่ื ง ร้อยละ

ท่เี น้นการแก้ปญั หาแบบบูรณาการดว้ ยเทคนิค 6 : 6 กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ 59

ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

ทวุธ วงคว์ งค์

Development of using the Mathematics skills exercise for CIPPA Learning Management

on the subject of Percentage Focusing on Integrated Problem Solving with techniques 6 : 6,

Learning Area of Mathematics, Prathomsuksa 6 students

Tawoot WongWong

5. การนิเทศแบบ PDER เพ่อื เสรมิ สรา้ งสมรรถนะด้านการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ 76

ในช้นั เรยี นของครูผู้ช่วย ในสังกัดสานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 2

บาเพญ็ หนกู ลับ

PDER Supervision for Enhancing Competency in Classroom Assessment of Assistant Teachers

under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 2

Bumpen Nooklub

6. การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเน้นการเรียนรูแ้ บบรวมพลงั

วชิ าฟสิ ิกส์ เรอื่ งไฟฟา้ กระแส เพอื่ สง่ เสรมิ ทักษะการเรียนรูแ้ ละนวตั กรรม 97

สาหรบั นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 5

ปัทมา ภู่สวาสด์ิ

The Development of The Learning Process Model for The Lesson on "Electric Current"

in Physics Subject Based on Project-Based Learning Focus on Collaborative Learning

to Promote Learning and Innovation Skills for High School Grade 11 Students.

Pattama Pusawat

7. ขอ้ เสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของ

โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงเรียนสังกัดสานกั งานเขตพืน้ ท่ี 115

การศกึ ษามัธยมศึกษารอ้ ยเอ็ด

พรพรรณ สลี ะมนตรี



วารสารการวิจยั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2565)

Proposed Policy for Educational Management of Schools under the Secondary Education

Service Area Office Roi Et in the Pandemic Of Covid-19

Phornphan Seelamontree

8.รปู แบบการพัฒนาครโู ดยใชช้ มุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพเพ่อื สง่ เสริมการจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ 135

โรงเรียนมัธยมวดั ดสุ ิตาราม

วรนนั ท์ ขันแข็ง

The Teacher Development Model by using Professional Learning Community to Promote

Active Learning of Mathayom Wat Dusitaram School

Woranan KhanKhaeng

9. การศกึ ษานาร่องเพ่ือพฒั นาความสามารถในการวิจัยและการจัดการเรยี นรู้ 158

ของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษในสถานการณโ์ ควิด-19

วนดิ า สิมพล

A Pilot Study to Develop Research and Instructional Management Ability of

English Teachers During the COVID-19 Pandemic

Wanida Simpol

10. รูปแบบการพฒั นาครูในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพอื่ การจัดการเรยี นรู้ 182

ในโรงเรยี นประถมศกึ ษาสงั กัดสานักงานศึกษาธกิ ารภาค 11

อนิ ทิรา ชศู รที อง

Model for Teachers Development in Using Information Technology and Communicationfor

Learning Activities in Primary Schools under Regional Education Office No.11

Inthira Choositong

11. การพัฒนาทักษะการจดั การเรยี นร้เู ชงิ รุกให้กับครใู นโรงเรียนประถมศกึ ษาขนาดเลก็ : 199

การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนรว่ ม

อษุ ณีย์ ดวงพรม

The Develop Active Learning Management Skill for Teachers in the Small

Primary Schools : Participatory Action Research

Usanee Doungprom



วารสารการวิจยั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2565)

การพัฒนาชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง เรอ่ื ง การจัดการเรียนการสอนดว้ ยเทคนคิ การประเมนิ
เพ่ือพฒั นาวิชาวทิ ยาการคานวณ ระดบั ประถมศึกษา
สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลพบุรี เขต 1

Development of a Self Training Kit for Learning Management
through Formative Assessment Techniques for Computing Science Elementary School

under Lopburi Primary Educational Service Area Office 1

กลุ รตี เอกสวุ รรณ*
Kulratee Eaksuwan
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1. เพื่อพัฒนาชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดการเรียน
การสอนด้วยเทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนา วิชาวิทยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา ให้มีประสิทธิภาพ
ตามเกณฑ์ 80/80 2. เพ่ือเปรยี บเทียบความรู้ความเข้าใจของครูท่ีเขา้ รับการอบรมก่อนและหลังการอบรม
โดยใชช้ ุดฝึกอบรมด้วยตนเอง 3. เพื่อศึกษาความพงึ พอใจของครูท่ีเขา้ รับการอบรมโดยใชช้ ุดฝึกอบรมด้วยตนเอง
และ 4. เพื่อนิเทศติดตามความสามารถในการจัดการเรียนการสอนของครูที่เข้ารับการอบรมด้วย
ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง กลมุ่ ตัวอย่าง คอื ครูผูส้ อนวิชาวทิ ยาการคานวณ สังกดั สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา
ประถมศึกษาลพบุรี เขต 1 ที่ได้จากการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จานวนทั้งหมด 36 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ1. ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองและคู่มือการใช้ 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ
ก่อนและหลังการฝึกอบรม 3. แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง และ
4. แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย
ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และวเิ คราะห์เปรียบเทียบค่าเฉล่ียด้วยสถิตทิ ดสอบที (t-test dependent)
ผลการวิจัยพบว่า 1. ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิค
การประเมินเพื่อพัฒนา วิชาวิทยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
2. คะแนนจากการทดสอบหลังการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
โดยภายหลังการอบรม ครูมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นทุกชุดกิจกรรม 3. ครูมีความพึงพอใจต่อการอบรม
โดยใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ 4. การนิเทศติดตามความสามารถในการ
จัดการเรียนการสอนของครูที่เข้ารับการอบรม พบว่า ครูมีการเตรียมการสอน นาเข้าสู่บทเรียนด้วยการใช้
คาถามกระตุ้นทบทวนความรู้เดิมและเชื่อมโยงความรู้ใหม่ จัดเนื้อหาได้สอดคล้องกับตัวชี้วัด ในด้าน
การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนาในวิชาวิทยาการคานวณ พบว่า มีการใช้เทคนิค
การประเมินเพือ่ พัฒนาทัง้ ในด้านการนาเข้าสู่บทเรยี น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการวัดและประเมนิ ผล
ทา้ ยช่ัวโมงเรียน โดยใชใ้ นการวัดและประเมินผลท้ายชว่ั โมงมากท่ีสดุ ส่วนใหญค่ รจู ะใช้เทคนิคกลวิธีต๋ัวออก
(Exit Ticket) และเทคนิค K W L (รแู้ ล้ว อยากรู้ เรียนรู)้ เพอื่ ประเมนิ ส่งิ ที่นกั เรียนได้เรยี นรู้

*ศึกษานเิ ทศกช์ านาญการ, สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลพบรุ ี เขต 1
Professional Level Supervisor. Lopburi Primary Educational Service Area Office 1

1

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มิถนุ ายน 2565)

คาสาคัญ : ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง/ เทคนคิ การประเมินเพือ่ พฒั นา/ การจัดการเรยี นการสอนวชิ าวทิ ยาการคานวณ
Abstract

The objectives of this research were: 1. To develop a self- training kit on learning
management with formative assessment techniques on computing science elementary
school to meet effectiveness according to the 80/80 criteria 2. To compare the knowledge
and understanding of the teachers who attended the training before and after the training
using the self- training kit; 3. To study the satisfaction of the teachers who attended
the training using the self-training kit; and 4. To supervise and monitor the teaching-management
ability of the teachers who attended the training with the self-training kit. The sample group
was teachers who taught Computing Science subject. Under the Office of Lopburi Primary
Educational Service Area 1, a total of 36 teachers were selected by purposive sampling.
The research instruments were 1. Self-training kit and user manual 2. Pre- and post-training
achievement test 3. Self- training satisfaction questionnaire, and 4. Supervision form
for learning activities. The data were analyzed using basic statistics such as frequency,
percentage, mean, standard deviation, and the mean was compared using t-test dependent.

The results of the research were as follows: 1. Self- training series on teaching
and learning management with formative assessment for development Computing Science
elementary school had efficiency according to the criteria 80/ 80. 2. The scores from the
post test were significantly higher than before the training at the .01 level. Teachers' knowledge
and understanding increased with every activity set. 3. Teachers were satisfied with
the training by using the self- training package. Overall, it was at a high level and
4. The supervision to follow up on teaching- learning ability of the teachers who attended
the training showed that the teachers were prepared to teach. It is introduced into
the lesson by using stimulating questions to review previous knowledge and connect new
knowledge. Organize content in accordance with indicators In terms of teaching and learning
management with assessment techniques to develop in computational science,
it was found that assessment techniques were used to develop both in terms of bringing
into lessons. learning activities and measurement and evaluation at the end of school hours
It was used to measure and evaluate the results at the end of the hour was the most.
Most of the time, teachers will used the Exit Ticket technique and the K W L technique
(Know it, Want to Know, Learn) to assess what students had learned.
Keywords : Self Training Kit / Formative Assessment Techniques /
Management of Learning in Computing Science

2

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2565)

บทนา
ปัจจุบันเศรษฐกิจ สังคมโลก เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก เศรษฐกิจโลกจะถูกขับเคลื่อนด้วยข้อมูล

ความรู้ และนวัตกรรม มีการนาเทคโนโลยีมาประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวนั และใช้ในดา้ นอตุ สาหกรรมการผลิต
การบริการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตให้ดีข้ึน การพัฒนาคนให้พร้อมรับการเปล่ียนแปลงในโลกศตวรรษท่ี 21
จึงเป็นเรื่องสาคัญของกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้น ครูและบุคลากรทางการศึกษาจึง
จาเป็นต้องตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษ ที่ 21
โรงเรียนจาเป็นต้องเปลี่ยนวิธีการ ที่จะให้ความรู้แก่ผู้เรียนด้วยการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพสูง มุ่งเน้น การพัฒนา
ผ้เู รยี นในภาพรวมมากกวา่ ความสาเร็จทางวิชาการแตเ่ พยี งอยา่ งเดยี ว (สทุ ธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์, 2560: 1)

หลักสูตรวิทยาการคานวณ มีเป้าหมายที่สาคัญในการพัฒนาผู้เรียน ดังนี้ 1. เพื่อใช้ทักษะการคิด
เชิงคานวณ ในการคดิ วิเคราะห์แกป้ ญั หาอย่างเปน็ ขั้นตอนและเปน็ ระบบ 2. เพื่อให้มีทักษะในการค้นหาข้อมูล
หรือสารสนเทศ ประเมิน จัดการ วิเคราะห์สังเคราะห์ และนาสารสนเทศไปใช้ในการแก้ปัญหา
3. เพื่อประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง การทางานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์เพื่อประโยชน์ต่อตนเองหรือสังคม
และ 4. เพื่อใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างปลอดภัยรู้เท่าทัน มีความรับผิดชอบ มีจริยธรรม
ดังนั้น การจัดการเรียนรู้จะมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะ การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ มีทักษะการคิดเชิงคานวณ ผู้เรยี นสามารถนาทักษะนไ้ี ปประยุกต์ใช้เพื่อแกป้ ญั หาในชีวิตจริงได้
ซึ่งการเรียนวิชาวิทยาการค านวณจ ะไม่จ ากั ดอยู ่เพียงแ ค่ การค ิดให้ เหมื อน คอมพิวเตอร์เท ่ า น้ั น
และไม่ไดจ้ ากัดอยูเ่ พียงการคิดในศาสตร์ของนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ แต่จะเป็นกระบวนการความคิดเชงิ วเิ คราะห์
เพื่อนามาใช้แก้ปัญหาของมนุษย์ จะเห็นได้ว่าความรู้และทักษะดังกล่าวนี้ ล้วนมีความส าคัญ
ตอ่ การดาเนินชีวิตในศตวรรษที่ 21

สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (2553: 31) ได้ให้ความหมายของการประเมินเพื่อพัฒนา
(Formative Assessment) ว่า เป็นการประเมินผลระหว่างการเรียน ที่จะช่วยให้ทราบว่าพัฒนาการของผู้เรียน
อยู่ในขั้นใด มีจุดดีหรือข้อบกพร่องใดที่ต้องเสริมสร้างให้ดีขึ้น การประเมินผลลักษณะนี้ควรกระทา
อย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ เพื่อนาข้อมูลที่ได้มาพิจารณาปรับปรุงการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
อย่างเต็มศักยภาพและพัฒนาไปสู่คุณภาพตามมาตรฐาน ดังที่ สมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ (2557: 84)
กลา่ วว่า การประเมนิ ผลภายหลังจากเรยี นรู้ครงั้ เดียวไม่สามารถทราบวา่ ผเู้ รียนบรรลุถงึ สมรรถนะ ที่กาหนดไวไ้ ด้
การประเมินผลการเรียนรู้ควรจะทาเป็นระยะ ๆ ในระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอนอาจประเมินในห้องเรียน

3

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถนุ ายน 2565)

หรือนอกห้องเรยี นดว้ ยวธิ ีการที่แตกต่างกันไปตามสภาพจรงิ ซง่ึ การเรียนรวู้ ิทยาศาสตรใ์ นศตวรรษท่ี 21 น้ัน
เกิดขึ้นได้ตลอดเวลาทั้งนอกและในห้องเรียน ทุกสถานที่และไม่จากัดเวลา นอกจากนี้ การจัดการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ที่ดีในศตวรรษที่ 21 จะต้องทาให้ผู้เรียนมั่นใจในการประเมินผลความรู้ของตนเองก่อนเรียน
เมื่อเรียนแล้วเกิดองค์ความรู้ใหม่ ผู้เรียนต้องสามารถประเมินผลความรู้ของตัวเองหลังเรียนได้
ภายหลังจากการตรวจสอบความรู้ของตนเองแล้ว ผู้เรียนต้องสามารถสะท้อน (reflect) ความรู้ความเข้าใจต่าง ๆ
เพื่อสร้างเป็นความรู้เริ่มต้น (prior knowledge) สาหรับนาไปใช้สร้างองค์ความรู้อื่น ๆ ต่อไป หากผู้เรียน
สามารถทาได้เช่นนจี้ ะสามารถเรียนรู้ ต่อไปได้อย่างยัง่ ยืนในโลกอนาคต (สมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ, 2557: 85)

จากความสาคัญดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่า การจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาการคานวณ มุ่งเน้น
การพัฒนาทักษะการวิเคราะห์แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ รวมทั้งการใช้และการรู้เท่าทันเทคโนโลยี
และสามารถนาไปประยุกต์ใช้เพื่อแกป้ ัญหาในชีวติ จริงได้ ซึ่งเป็นทกั ษะสาคญั สาหรบั ผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21
การจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนจึงเน้นให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ
โดยครูเป็นผู้ออกแบบการเรียนรู้ ดังนั้น ระบบการวัดและประเมินผลจึงไม่ได้เน้นที่การประเมินผลสัมฤทธ์ิ
จากการสอบวัดด้วยข้อสอบเพียงอย่างเดียว เพราะการสอบวัดปลายทางเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ
แต่การประเมินระหว่างที่การเรียนการสอนกาลังดาเนินอยู่ ถือเป็นสิ่งสาคัญที่จะทาให้เราทราบผลสะท้อน
จากการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งเราสามารถนาผลนั้นมาปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนและการเรียนรู้ของผู้เรียน
ได้ทันท่วงที จากความสาคัญดังกล่าวนี้ ผู้วิจัยจึงได้พัฒนาชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่องการจัดการเรียนการสอน
ด้วยเทคนคิ การประเมินเพ่ือพัฒนา (Formative Assessment) วิชาวิทยาการคานวณ ระดับประถมศึกษาข้ึน
เพื่อเป็นแนวทางใหค้ รูผู้สอนได้ศึกษาเรียนรู้ นาไปปรับใช้ในการจัดการเรยี นการสอนวิชาวิทยาการคานวณ
และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบการเรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมกับผเู้ รยี นของตนได้

วตั ถุประสงค์การวจิ ยั
1. เพื่อพัฒนาชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคการประเมิน

เพือ่ พฒั นา วชิ าวทิ ยาการคานวณ ระดับประถมศกึ ษา สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลพบรุ ี เขต 1
ให้มปี ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80

4

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2565)

2. เพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจของครูที่เข้ารับการอบรมก่อนและหลังการอบรม
โดยใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนา
วชิ าวิทยาการคานวณ ระดับประถมศกึ ษา สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาลพบรุ ี เขต 1

3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของครูที่เข้ารับการอบรมโดยใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง
เรื่อง การจัดการเรยี นการสอนดว้ ยเทคนคิ การประเมินเพ่ือพฒั นา วชิ าวทิ ยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา
สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลพบรุ ี เขต 1

4. เพื่อนิเทศติดตามความสามารถในการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนาวิชา
วิทยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา ของครูที่เข้ารับการอบรมด้วยชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง
สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลพบรุ ี เขต 1

วิธีดาเนินการวจิ ัย
การพัฒนาชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคการประเมิน

เพอื่ พฒั นา วชิ าวิทยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา มีขัน้ ตอนการดาเนนิ การวจิ ยั โดยสรปุ ดงั นี้
1) ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัย และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการประเมินทางการศึกษา

การประเมินเพื่อพัฒนา การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาการคานวณ และการพัฒนานวัตกรรม
ประเภทชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง

2) วางแผนการดาเนนิ การวจิ ยั และสร้างกรอบแนวคดิ การวิจยั
3) วางโครงร่างชุดฝึกอบรมด้วยตนเองสาหรับครูตามกรอบแนวคิด จัดทาร่างชุดฝึกอบรม
ดว้ ยตนเองสาหรับครู แบบฝึกหัด แบบสอบถาม และแบบประเมนิ
4) นาเสนอผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ
ของผู้เชีย่ วชาญ
5) ทดลองใช้ชุดฝึกอบรมครูกับครูผู้สอนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ผลการทดลองใช้
และปรบั ปรงุ แก้ไขตามผลการทดลองใช้
6) จัดทาชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเองสาหรับครตู น้ ฉบบั จรงิ
7) ดาเนินการใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองกับครูกลุ่มตัวอย่าง โดยการชี้แจงผ่านการประชุม Zoom
การดาเนินงานด้วยการทดสอบ ส่งคู่มือ ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง และการส่งงานของครูกลุ่มตัวอย่างผ่าน
Google classroom และการตดิ ต่อประสานงานผ่านกลุ่ม Line

5

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2565)

8) เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผลการใชช้ ดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง และสอบถามความพึงพอใจ
9) วเิ คราะหผ์ ลการใช้ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง และวิเคราะห์ผลการสอบถามความพึงพอใจ
10) ครูผูส้ อนท่ีผ่านการใชช้ ุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง ดาเนินการนาความรู้ แบบฝึก และประสบการณ์
จากการใชช้ ุดฝกึ อบรมไปจดั ประสบการณ์กับนักเรียนในโรงเรยี นของตนเอง
11) ผู้บรหิ ารโรงเรียนหรือศึกษานเิ ทศกส์ งั เกตการจดั ประสบการณข์ องครูผสู้ อน
12) วเิ คราะห์ผลการสงั เกตการณ์จดั ประสบการณ์
13) จดั ทารายงานการวจิ ัย

ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง

ประชากรทีใ่ ชใ้ นการวิจยั คอื ครผู ู้สอน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาลพบุรี เขต 1
จานวน 1,147 คน (สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1, 2564)

กลมุ่ ตัวอยา่ งที่ใช้ในการวิจัย คือ ครผู ้สู อนวชิ าวทิ ยาการคานวณ สังกดั สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาลพบุรี เขต 1 ที่ได้จากการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
โดยเปน็ ครูผูส้ อนวิชาวิทยาการคานวณทส่ี มคั รใจเข้ารบั การอบรม จานวนทงั้ หมด 36 คน

เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการวิจยั

เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการวจิ ัยเรื่องน้ี ประกอบด้วย

1. ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง และคมู่ อื การใชช้ ุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง เร่อื ง การจัดการเรียนการสอน

ด้วยเทคนคิ การประเมินเพ่ือพฒั นา วชิ าวทิ ยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา โดยมีโครงสร้าง

เนื้อหาการฝกึ อบรม ดงั น้ี

ลาดับท่ี หนว่ ยฝึกอบรม เวลา (วัน)

1 แนวคิดสาคญั ของการวัดและประเมินผลทางการศกึ ษา 7

2 แนวคดิ สาคญั ของการประเมนิ เพอ่ื พัฒนา (Formative Assessment) 7

3 แนวทางการจัดการเรียนรูว้ ิชาวิทยาการคานวณ ระดบั ประถมศึกษา 7

4 การเขียนแผนการจดั การเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาการคานวณด้วยการใช้เทคนิคการ 9
ประเมินเพ่ือพัฒนา (Formative Assessment)

รวมเวลาท่ใี ช้ในการฝกึ อบรม 30

6

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2565)

2. แบบประเมินคุณภาพของชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิค
การประเมินเพื่อพัฒนา วิชาวิทยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา สาหรับผู้เชี่ยวชาญ โดยมีลักษณะเป็น
แบบมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) 5 ระดับของลเิ คิร์ท (Likert)

3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม เป็นแบบทดสอบชนิดปรนัย 4 ตัวเลือก
จานวน 40 ข้อ ใชว้ ัดผลผูเ้ ข้ารบั การฝึกอบรมก่อนและหลงั การฝึกอบรมดว้ ยตนเอง

4. แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดการเรียนการสอน
ด้วยเทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนา (Formative Assessment) วิชาวิทยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา
สาหรบั ครูผ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรม

5. แบบนิเทศการจัดกจิ กรรมการเรยี นรดู้ ้วยการใชเ้ ทคนคิ การประเมินเพ่ือพัฒนาในวิชาวิทยาการคานวณ
ระดับประถมศึกษา เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ซง่ึ ศกึ ษานิเทศก์เปน็ ผู้สงั เกตการจดั ประสบการณ์

การสรา้ งและพฒั นาเครอื่ งมอื
1. ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง และคูม่ ือการใช้ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง

- ศึกษาแนวคิดทฤษฎี เอกสารและงานวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินทางการศึกษา
การประเมินเพื่อพัฒนา การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาการคานวณ และการพัฒนานวัตกรรม
ประเภทชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง

- ออกแบบเนื้อหาและกิจกรรมต่าง ๆ และจัดพิมพ์คู่มือการใช้ ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียด
เกี่ยวกบั จุดมุ่งหมายของชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง โครงสร้างของเนื้อหาการอบรม หลกั สตู รการอบรม วิธีการ
ดาเนินการอบรม และการวดั และประเมนิ ผล

- ประเมินคุณภาพของชุดฝึกอบรมจากผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 คน ด้วยแบบประเมินคุณภาพ
ของชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง เรือ่ ง การจัดการเรยี นการสอนด้วยเทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนา วชิ าวิทยาการคานวณ
ระดบั ประถมศึกษา โดยมลี กั ษณะเป็นแบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ของลิเคริ ์ท (Likert)

- ทดลองใช้ค่มู ือและเครอื่ งมือกับครทู ่ีไมใ่ ช่กลมุ่ ตวั อย่าง
- ปรบั ปรุงแก้ไขตามคาแนะนา สาหรบั นาไปใช้ปฏบิ ตั จิ ริง
2. แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์
- ศึกษาเอกสารเก่ียวกับการสร้างแบบทดสอบจากเอกสาร บทความวิชาการ หนงั สือที่เก่ียวข้อง
กับการประเมนิ ทางการศกึ ษา การประเมินเพ่ือพัฒนา และการจัดการเรียนการสอนวิชาวทิ ยาการคานวณ
- วิเคราะห์เนื้อหา จุดประสงค์ และสร้างแบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ
4 หนว่ ยการเรยี นรู้

7

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2565)

- นาแบบทดสอบที่สร้างขึ้นไปให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 คน ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา
(Content Validity) นาผลที่ได้มาคานวณดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ผลการพิจารณาจากผู้เชี่ยวชาญ
พบวา่ ข้อสอบทั้ง 40 ขอ้ มีคา่ ความสอดคล้องระหวา่ งข้อรายการกับนยิ ามเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร ระหว่าง 0.80 - 1.00

- น าแบบทดสอบที่ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา ( Content Validity)
จากผู้เชี่ยวชาญไปทดลองใช้กับครู จานวน 30 คน ที่ไม่ได้เป็นกลุ่มตัวอย่าง และวิเคราะห์ข้อสอบ
โดยการวิเคราะห์ค่าความยาก (Item Difficulty) และค่าอานาจจาแนก (Power of Discrimination)
ผลการวิเคราะห์ข้อสอบ พบว่า แบบทดสอบมีข้อสอบผ่านเกณฑ์ค่าความยากและค่าอานาจจาแนก
จานวน 40 ข้อ โดยมีค่าความยาก ระหว่าง 0.43 – 0.77 และค่าอานาจจาแนกระหว่าง 0.24 – 0.68
จากนั้นนาแบบทดสอบมาตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบทดสอบ (Reliability) โดยใช้สูตรคูเดอร์และ
ริชาร์ดสันที่ 20 (KR 20) พบว่า ความเที่ยงของแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 มีค่าเท่ากับ 0.75
แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 มีค่าเท่ากับ 0.72 แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 มีค่าเท่ากับ 0.70
และแบบทดสอบหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 มคี า่ เทา่ กับ 0.70

- นาแบบทดสอบท่ีไดม้ าจัดทาเปน็ แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ก่อนการใชช้ ุดฝกึ อบรมครู
- นาแบบทดสอบมาสลับข้อและสลับตัวเลือก ได้เป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังการใช้
ชดุ ฝึกอบรมครู
3. แบบสอบถามความพงึ พอใจ
- ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกบั การจดั ทาชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง และศึกษาหลักเกณฑ์ วิธีการ
ในการสรา้ งแบบสอบถามความพึงพอใจทีม่ ตี ่อชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง
- สรา้ งแบบสอบถามความพึงพอใจ โดยมีลักษณะเป็นแบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale)
5 ระดบั ของลเิ คริ ท์ (Likert)
- นาแบบสอบถามที่สร้างขึ้นไปให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 คน ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา
(Content Validity) พบว่า แบบสอบถามความพึงพอใจมีค่าความสอดคล้องระหว่างข้อ รายการ
กับนิยามเชิงปฏิบตั กิ ารทกุ ข้อมีคา่ 1.00
- นาแบบสอบถามความพึงพอใจไปทดลองใช้ (tryout) กับครูผู้สอน ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง
จานวน 30 คน หลังจากนั้นนาแบบสอบถามมาหาคุณภาพของเครื่องมือด้านความเที่ยง (reliability)
ดว้ ยวธิ หี าค่าสัมประสิทธแิ์ อลฟา ( - coefficient) ตามวธิ ีการของ Cronbach พบว่า แบบสอบถามท้ังฉบับ
มีค่าความเท่ยี ง 0.887

8

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2565)

- จดั ทาแบบสอบถามความพงึ พอใจฉบบั สมบรู ณ์
4. แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการใช้เทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนาในวิชา
วทิ ยาการคานวณ ระดับประถมศกึ ษา

- ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาการคานวณ การประเมินเพื่อพัฒนา และศึกษาหลักเกณฑ์ วิธีการ
ในการสร้างแบบนเิ ทศการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

- สร้างแบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการใช้เทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนา
ในวิชาวิทยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา ด้วยแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ที่ปรับปรุงมาจาก
เครอ่ื งมือนิเทศของโครงการพัฒนาแนวคิดเชงิ คานวณโดยใชเ้ กมเปน็ ฐาน (Game-based Learning) สพฐ.

- นาแบบนิเทศที่สร้างขึ้นไปให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 คน ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา
(Content Validity) พบว่า แบบนิเทศมีค่าความสอดคล้องทุกข้อเท่ากับ 1.00 ซ่ึงผ่านเกณฑ์การพิจารณา
ของคา่ IOC ท่เี หมาะสม คือ มากกวา่ 0.5 (IOC > 0.50)

- จัดทาแบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ฉบับสมบูรณ์เพื่อประกอบการนิเทศ
การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนคิ การประเมนิ เพ่ือพฒั นา วชิ าวทิ ยาการคานวณ

การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
การเกบ็ รวบรวมข้อมูลมีการดาเนนิ การดังนี้
1. การเก็บรวบรวมข้อมูล ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง ผู้วิจัยใช้การหาประสิทธิภาพ
E1/E2 ตั้งเกณฑ์ไว้ที่ 80/80 (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2545) โดย E1 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ
ซึง่ ได้มาจากการวิเคราะห์คา่ ร้อยละของผลการประเมินการทาแบบฝึกหัดในแต่ละหนว่ ยการเรียนรู้ และ E2
คือ ประสิทธิภาพของผลผลิต ซึ่งเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละของผลจากการทาแบบทดสอบหลังอบรมของครู
ซง่ึ ดาเนนิ การในภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
2. การเก็บรวบรวมข้อมูล ความรู้ควา มเข้าใจของครูผู้สอนก่อนและหลังการอบรม
โดยใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง ผู้วิจัยดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง ในภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2564 โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการใช้ระเบียบวิธีวิจัยรูปแบบ One Group Pretest -
Posttest Design กล่มุ ตวั อยา่ งกลุ่มเดยี ว

9

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2565)

3. การเก็บรวบรวมข้อมูล ความพึงพอใจของครู ผูว้ ิจยั เกบ็ ภายหลังจากทคี่ รไู ด้ดาเนินการทดลองใช้
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองครบทั้ง 4 ชุด ด้วยการสอบถามผ่าน google form ซึ่งดาเนินการในภาคเรียนที่ 1
ปกี ารศึกษา 2564

4. การเก็บรวบรวมข้อมูล ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนของครูผู้ สอน
ผู้วิจัยในฐานะศึกษานิเทศก์ และศึกษานิเทศก์ประจากลุ่มโรงเรียนที่มีครูผู้สอนเป็นกลุ่มตัวอย่าง
เป็นผู้เก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยการนิเทศติดตามการจัดการเรยี นการสอนด้วยเทคนิคการประเมนิ เพือ่ พัฒนา
วชิ าวิทยาการคานวณ โดยดาเนินการในเดอื นพฤศจิกายน - ธันวาคม 2564

การวิเคราะห์ขอ้ มูล
การวิเคราะห์ข้อมลู ในการวจิ ัยดาเนนิ การ ดงั น้ี
1. การทดสอบประสิทธิภาพชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง ใช้การหาประสิทธิภาพ E1/E2 ตั้งเกณฑ์ไว้ท่ี
80/80 (ชยั ยงค์ พรหมวงศ์, 2545)
2. การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยผลการทาแบบทดสอบก่อนรับการอบรมและหลังรับการอบรม
โดยการทดสอบคา่ ที (t-test dependent)
3. ความพึงพอใจของครูที่เข้ารับการอบรมที่มีต่อการใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูล
โดยการใชส้ ถิติพ้นื ฐาน ไดแ้ ก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉล่ยี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
4. ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอน จากแบบนิเทศการจัดกิจกรรม
การเรยี นรู้ วเิ คราะห์ข้อมลู โดยการใช้สถติ ิพืน้ ฐาน ไดแ้ ก่ ความถี่ รอ้ ยละ

สรุปผลการวจิ ัย
1. ผลการพัฒนาชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคการประเมิน

เพื่อพัฒนาวิชาวิทยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1
ผู้วิจัยดาเนินการพัฒนาชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิค

การประเมินเพื่อพัฒนา วิชาวิทยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา ประกอบด้วย คู่มือการใช้ชุดฝึกอบรม
ด้วยตนเอง ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง จานวน 4 หน่วยการเรียนรู้ และเครื่องมือวัดและประเมินผล
ได้แก่ แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจ และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง
โดยชุดฝึกอบรมด้วยตนเองที่พัฒนาขึ้นมีคุณภาพโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และผลการวิเคราะห์

10

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถนุ ายน 2565)

ประสิทธภิ าพของชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง เรือ่ ง การจัดการเรยี นการสอนดว้ ยเทคนคิ การประเมินเพ่ือพัฒนา
วิชาวิทยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา พบว่า มีคะแนนระหว่างการฝึกอบรม ร้อยละ 92.50 และมี
คะแนนหลังการฝึกอบรม ร้อยละ 84.08 ดังนั้น E1/E2 เท่ากับ 92.50/84.08 ซึ่งมีประสิทธิภาพเป็นไป
ตามเกณฑ์ E1/E2 = 80/80 รายละเอยี ดดงั ตาราง 1

ตาราง 1 การหาประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิค
การประเมินเพ่อื พฒั นา วิชาวิทยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา

การหาประสิทธิภาพ คะแนนเต็ม คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ
E1 คะแนนระหวา่ งฝกึ อบรม 100 92.50 92.50
E2 คะแนนหลงั การฝึกอบรม 40 33.63 84.08

2. ผลการเปรียบเทียบความรู้ความเขา้ ใจของครทู ี่เข้ารับการอบรมก่อนและหลังการอบรมโดย
ใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนา วิชา
วิทยาการคานวณ ระดับประถมศกึ ษา

ความรู้ความเข้าใจของครูที่เข้ารับการอบรมโดยใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดการเรียนการสอน
ด้วยเทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนา วิชาวิทยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา พบว่า ครูมีคะแนนเฉล่ีย
ภายหลังการอบรมสูงกว่าก่อนการอบรมทุกชุดกิจกรรม และเมื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจของครู
ที่เข้ารับการอบรมก่อนและหลังการอบรม พบว่า ความรู้ความเข้าใจของครูที่เข้ารับการอบรมก่อนและหลงั
การอบรมโดยใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนา วิชา
วิทยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา ระหว่างก่อนและหลังการอบรม แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ทร่ี ะดับ 0.01 โดยภายหลงั การอบรม ครูมีความร้คู วามเขา้ ใจเพมิ่ ขึน้ ทกุ ชุดกจิ กรรม

11

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มิถนุ ายน 2565)

ตาราง 2 การวเิ คราะหเ์ ปรียบเทียบความรูค้ วามเขา้ ใจของครูที่เข้ารับการอบรมก่อนและหลังการอบรม
โดยใช้ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง

N Mean SD. t

กอ่ น 36 4.53 1.90 -9.15**
1.64
(1) ชดุ ท่ี 1 หลงั 36 8.22 1.77 -8.48**
1.46
(2) ชดุ ท่ี 2 กอ่ น 36 5.78 1.54 -7.64**
(3) ชุดที่ 3 1.48
หลงั 36 8.75 1.73 -9.55**
(4) ชุดท่ี 4 1.20
ก่อน 36 5.89
* p< .05, ** p< .01
หลงั 36 8.25

กอ่ น 36 5.28

หลงั 36 8.67

3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของครูที่เข้ารับการอบรมโดยใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง
เรอื่ ง การจดั การเรียนการสอนด้วยเทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนา วิชาวทิ ยาการคานวณ ระดบั ประถมศึกษา

ความพึงพอใจของครูทเ่ี ข้ารับการอบรมโดยใชช้ ุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรอ่ื ง การจัดการเรยี นการสอน
ด้วยเทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนา วิชาวิทยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา โดยภาพรวม พบว่า ครูมี
ความพึงพอใจต่อการอบรมโดยใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคการ
ประเมินเพื่อพัฒนาวิชาวิทยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา ในระดับมาก (X̅ = 4.34, S.D.=0.61) เม่ือ
พิจารณารายด้าน พบว่าครูที่เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจต่อด้านคู่มือฝึกอบรมมากที่สุด (X̅ = 4.40,
S.D.= 0.58) โดยมีความคิดเหน็ ว่า การจัดเรยี งลาดับเน้อื หาและกิจกรรมเหมาะสมมจี ดุ ประสงคช์ ดั เจน และ
รายละเอียดคาชี้แจงแต่ละเรื่องชัดเจน รองลงมาคือ ด้านการวัดและประเมินผล (X̅ = 4.39, S.D.= 0.56)
โดยมคี วามคดิ เห็นว่า มกี ารนิเทศ กากบั และตดิ ตาม และเสนอแนะด้านต่าง ๆ ท่ีเหมาะสม มคี วามชัดเจนของ
วิธีการวัดและประเมินผล และวิธีการวัดและประเมินผลสอดคล้องกับจุดประสงค์ และด้านกิจกรรมการ
ฝึกอบรม (X̅ = 4.33, S.D.= 0.63) โดยมีความคิดเห็นว่า กิจกรรมเน้นการประยุกต์องค์ความรู้สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมสอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ กิจกรรมเหมาะสมกบั กลุ่มที่เขา้ รับการพัฒนา และกิจกรรมหลากหลาย
นา่ สนใจ ตามลาดับ

12

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถนุ ายน 2565)

ตาราง 3 ความพึงพอใจของครูที่เข้ารับการอบรมโดยใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดการเรียน

การสอนด้วยเทคนิคการประเมนิ เพอ่ื พัฒนา วิชาวทิ ยาการคานวณ ระดบั ประถมศกึ ษา

ขอ้ ขอ้ รายการ ระดบั ความพึงพอใจ การแปล
ที่ ̅ . . ความหมาย

ด้านคู่มือฝึกอบรม

1 จุดประสงค์ชดั เจน 4.39 0.60 มาก

2 รายละเอยี ดคาช้ีแจงแต่ละเรือ่ งชดั เจน 4.36 0.59 มาก

3 การจัดเรียงลาดับเนอื้ หาและกิจกรรมเหมาะสม 4.44 0.56 มาก

เฉลย่ี รวม 4.40 0.58 มาก

ด้านกิจกรรมการฝกึ อบรม

4 กจิ กรรมสอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์ 4.33 0.68 มาก

5 กิจกรรมเหมาะสมกับกลมุ่ ทเ่ี ข้ารบั การพัฒนา 4.31 0.52 มาก

6 กจิ กรรมหลากหลาย นา่ สนใจ 4.31 0.67 มาก

7 เน้นการประยกุ ตอ์ งค์ความรสู้ ูก่ ารปฏิบตั ิ 4.39 0.64 มาก

เฉล่ียรวม 4.33 0.63 มาก

ดา้ นสื่อและอุปกรณ์

8 ใบความรู้ ใบงานเหมาะสม 4.25 0.69 มาก

9 เน้นใหค้ น้ คว้าความรจู้ ากแหลง่ ต่าง ๆ ท่ีหลากหลาย 4.19 0.71 มาก

เฉลย่ี รวม 4.22 0.70 มาก

ด้านการวดั และประเมินผล

10 การวดั และประเมนิ ผลสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์ 4.33 0.53 มาก

11 ความชดั เจนของวธิ ีการวัดและประเมนิ ผล 4.39 0.55 มาก

12 การนเิ ทศ กากบั และตดิ ตาม และเสนอแนะดา้ นตา่ ง ๆ ที่เหมาะสม 4.44 0.61 มาก

เฉลยี่ รวม 4.39 0.56 มาก

ดา้ นการนาไปใชป้ ระโยชน์

13 ครใู ช้เป็นแนวทางในการจดั การเรยี นการสอนวชิ าวิทยาการคานวณ 4.14 0.68 มาก

โดยใชเ้ ทคนคิ การประเมินเพ่อื พฒั นา

14 ครูเกิดความม่นั ใจในการวดั และประเมินผล 4.25 0.60 มาก

15 ครไู ดเ้ รียนรู้เทคนคิ การวดั และประเมนิ ผลทห่ี ลากหลาย 4.44 0.61 มาก

13

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2565)

ข้อ ขอ้ รายการ ระดับความพึงพอใจ การแปล
ที่ ̅ . . ความหมาย
4.39 0.55
16 ครสู ามารถนาความรไู้ ปปรับใชไ้ ดห้ ลายวิชา/หลายระดับชัน้ 4.39 0.60 มาก
มาก
17 ครสู ามารถศึกษาทบทวนชุดฝึกอบรมไดต้ ลอดเวลาตามโอกาส และ 4.32 0.61
4.34 0.61 มาก
เวลาทีเ่ หมาะสม มาก

เฉลย่ี รวม

เฉลี่ยรวมท้ังหมด

4. ผลการนิเทศติดตามความสามารถในการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคการประเมิน เพ่ือ
พัฒนาวิชาวทิ ยาการคานวณ ระดบั ประถมศกึ ษา

ผลการนิเทศติดตามความสามารถในการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนา
วิชาวิทยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา พบว่า ครูทุกคน ร้อยละ 100 มีการเตรียมการสอน
นาเข้าสูบ่ ทเรยี นด้วยการใช้คาถามกระตุ้นทบทวนความรู้เดิมและเช่ือมโยงความรู้ใหม่ จัดเนื้อหาได้สอดคล้อง
กับตัวชี้วัด มีการสรุปความรู้ในสิ่งที่ได้รับร่วมกับนักเรียน และทุกโรงเรียนมีข้อสอบรายหน่วยการเรียนรู้
(Unit Test: UT) จากสานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาเปน็ ข้อสอบกลางท่ีนกั เรยี นเข้ารับการทดสอบผ่านระบบ
AMSS++ และ SMSS ในด้านการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนา พบว่า มีการใช้
เทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนาทั้งในด้านการนาเข้าสู่บทเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการวัด และ
ประเมินผลท้ายชั่วโมงเรียน โดยใช้ในการวัดและประเมินผลท้ายชั่วโมงมากที่สุด ส่วนใหญ่ครูจะใช้เทคนิค
กลวธิ ีต๋ัวออก (Exit Ticket) ในการถามนักเรียน 3 คาถามกอ่ นออกจากหอ้ งเรียน และเทคนิค K W L (รู้แลว้
อยากรู้ เรยี นรู)้ เพอ่ื ประเมินสิ่งทนี่ กั เรียนไดเ้ รียนรู้

อภิปรายผลการวจิ ัย
1. ผลการพฒั นาชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง เรอื่ ง การจดั การเรียนการสอนด้วยเทคนคิ การประเมิน

เพ่ือพัฒนา วิชาวทิ ยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองที่พัฒนาขึ้นมีคุณภาพโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และประสิทธิภาพ

ของชุดฝกึ อบรมท้ัง 4 หน่วยการเรยี นรู้มีประสิทธิภาพของกระบวนการและประสิทธิภาพของผลลัพธ์สูงกว่า
เกณฑ์ที่กาหนดไว้ 80/80 ทั้งนี้อาจเป็นเพราะชุดฝึกอบรมด้วยตนเองที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นได้ดาเนินการ
ตามหลักการสร้างชุดฝึกอบรมอย่างเป็นระบบ โดยมีการศึกษาหลกั การเกีย่ วกับแนวคิดทฤษฎีและงานวิจยั

14

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2565)

ที่เกี่ยวข้องอย่างครอบคลุม ได้แก่ แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลทางการศึกษา การประเมินเพ่ือ
พัฒนา การจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาการคานวณ ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การนิเทศทางการศึกษา และความ
พึงพอใจ รวมทั้งการผ่านการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญในการให้คาแนะนาการตรวจสอบทุกขั้นตอน และ
ได้ปรับปรุงแกไ้ ขตามข้อเสนอแนะจนได้ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่เหมาะสม สอดคล้องกับผลการศึกษาของ
ศักดิ์ศรี สืบสิงห์ (2561) ได้พัฒนาชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สาหรับครู วิทยาศาสตร์
ระดับประถมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 จังหวัดร้อยเอ็ด
ผลการวิจัย พบว่า ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับครูวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ในจังหวัดร้อยเอ็ดมีประสิทธิภาพ 80.50/83.85 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ และผลสัมฤทธิ์หลังการใช้
ชดุ ฝกึ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรส์ งู กวา่ ก่อนฝึกอย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ 0.01

2. ผลการเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจของครูที่เข้ารับการอบรมก่อนและหลัง
การอบรม โดยใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคการประเมินเพื่อ
พฒั นา วิชาวิทยาการคานวณ ระดบั ประถมศึกษา

ความรู้ความเข้าใจของครูที่เข้ารับการอบรมโดยใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองภายหลังการอบรม
สูงกว่าก่อนการอบรมทุกหน่วยการเรียนรู้ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะการพัฒนาชุดฝึกอบรมได้ดาเนินการ
ตามขน้ั ตอนการพฒั นาอย่างเปน็ ระบบ ตัง้ แต่ศึกษาเอกสารที่เกย่ี วข้องกับเน้ือหา คอื การจัดการเรยี นการสอน
วิชาวทิ ยาการคานวณ การวัดและประเมนิ ผลทางการศกึ ษา และการประเมินเพอ่ื พัฒนา และนาชดุ ฝกึ อบรม
ไปให้ผู้เชี่ยวชาญประเมิน ตรวจสอบ เพื่อให้ข้อเสนอแนะ และนาไปปรับปรุงพัฒนาตามคาแนะนา จนได้
ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่เหมาะสม นอกจากนี้ ยังมีคู่มือประกอบการนาไปใช้ ที่อธิบายถึงที่มา หลักการ
สาคัญ วัตถุประสงค์ โครงสร้างเนื้อหาการอบรม กิจกรรมในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ และระยะเวลา ที่มี
แนวทางการนาไปใช้อย่างเป็นขั้นตอน ซึ่งช่วยให้ครูผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจเนื้อหาในชุดฝึกอบรม
ที่พัฒนาขึ้น สอดคล้องกับผลการวิจัยของนุชจิรา แดงวันสี (2563) ได้พัฒนาชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง
การสร้างเครอื่ งมือวดั และประเมินผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 ผลการวจิ ยั พบวา่ ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเองมปี ระสทิ ธภิ าพ 85.67/86.11 สูง
กว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้ ผู้อบรมมีคะแนนผลการทดสอบหลังการศึกษาชุดฝึกอบรมสงู กว่าก่อนการศึกษา
ชดุ ฝึกอบรม (t = 22.73) มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั 0.05 และครูมีความพึงพอใจ
ตอ่ ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเองอยูใ่ นระดบั มาก

15

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มิถนุ ายน 2565)

3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของครูที่เข้ารับการอบรมโดยใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง
การจดั การเรยี นการสอนด้วยเทคนคิ การประเมนิ เพื่อพัฒนา วิชาวทิ ยาการคานวณ ระดบั ประถมศึกษา

ครูมีความพึงพอใจต่อการอบรมโดยใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองในระดับมาก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ
ชุดฝึกอบรมนี้ช่วยให้เข้าใจพื้นฐานของวิชาวิทยาการคานวณ และช่วยปรับพื้นฐานความรู้เดิมทางการ
วัดและประเมินผล อีกทั้งครูยังได้เรียนรู้เนื้อหาใหม่ที่สามารถช่วยปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนและ
การเรียนรู้ของผู้เรียนได้ด้วย นอกจากนี้ ขณะที่ผู้เข้ารับการอบรมทากิจกรรมใบงานหรือแบบทดสอบ
ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ผลการทากิจกรรมทาให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ทราบผลความก้าวหน้าตลอดเวลา
ผ่านการสะท้อนผลของผู้วิจัยใน Google classroom ทาให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดกาลังใจ และเกิดความเชื่อมั่น
ว่าชุดฝึกอบรมจะสามารถช่วยให้ตนเองเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้น ส่งผลให้ผู้เข้ารบั การอบรมมคี วามคิดเห็นที่ดี
ต่อชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ นุชนาถ คงทอง และคณะ (2559) ที่ได้ศึกษา
การพัฒนาชุดฝึกอบรมผ่านเว็บเรื่องการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สาหรับครู ในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาจังหวัดสงขลา ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุดฝึกอบรมผ่านเว็บเรื่องการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่
สร้างข้นึ มปี ระสิทธภิ าพร้อยละ 90.50 2) ผลสมั ฤทธ์ขิ องผู้เขา้ รับการฝึกอบรมดว้ ยชุดฝึกอบรมผ่านเว็บเร่ือง
การสรา้ งหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์หลังการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่ี .05 3)
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจต่อชุดฝึกอบรมผ่านเว็บเรื่อง การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์อยู่ใน
ระดับมาก (X̅ =4.08, S.D.=0.19) และ 4) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมผ่านเว็บเรื่องการสร้างหนังสือ
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์มีคณุ ภาพชน้ิ งานหลังการฝึกอบรมได้อยู่ในระดบั ดี (X̅ =3.74)

4. ผลการนิเทศติดตามความสามารถในการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคการประเมิน
เพอ่ื พัฒนา วิชาวทิ ยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา

ผลการนิเทศติดตามความสามารถในการจัดการเรียนการสอน พบว่า ครูทุกคนมีการเตรียมการสอน
นาเข้าสูบ่ ทเรียนด้วยการใชค้ าถามกระตุน้ ทบทวนความรู้เดมิ และเช่ือมโยงความรู้ใหม่ จัดเนื้อหาได้สอดคลอ้ ง
กับตัวชี้วัดมีการสรุปความรู้ในสิ่งที่ได้รับร่วมกับนักเรียน และทุกโรงเรียนมีข้อสอบรายหน่วยการเรียนรู้
(Unit Test: UT) จากสานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาเปน็ ข้อสอบกลางท่ีนกั เรียนเข้ารับการทดสอบผ่านระบบ
AMSS++ และ SMSS จากผลการนิเทศดังกล่าว จะเห็นได้ว่า ครูที่เข้าร่วมโครงการมีการวางแผนการจัด
การเรียนการสอน มีการเตรียมการสอน มีกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับตัวชี้วัด และมี
การวัดและประเมินผล เป็นไปตามขั้นตอนสาคัญของกระบวนการทางการศึกษา ในขณะท่ีด้านการจัด
การเรียนการสอนด้วยเทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนา พบว่า ครูที่เข้าร่วมโครงการทุกคนมีการใช้เทคนิค

16

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถนุ ายน 2565)

การประเมินเพื่อพัฒนาเข้ามาในการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาการคานวณทั้งในด้านการนาเข้ าสู่บทเรียน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลท้ายชั่วโมงเรียน ทั้งนี้อาจเพราะครูทุกคน
ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการจากศึกษานิเทศก์ในการสร้างความรู้ความเข้าใจ และทักษะในการใช้เทคนิค
การประเมินเพื่อพัฒนาในวิชาวิทยาการคานวณ ครูได้เรยี นรู้เทคนคิ การประเมินเพ่ือพัฒนา การจัดการเรียนรู้
วิชาวิทยาการคานวณ และได้รับการติดตามชี้แนะระหว่างทากิจกรรมจากศึกษานิเทศก์อย่างต่อเนื่อง
ผ่านระบบ Google Classroom จึงสามารถนาความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
ในชั้นเรียนได้ สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Naranjo (2008, อ้างถึงใน โชคระวี เจียมพุก, 2563)
ได ้ ท า กา ร ศึ กษาเ ร ื ่ องการ จ ั ด กิ จ กร ร มกา ร น ิเ ทศภ า ย ในโ รง เ ร ี ยน ที ่ พึ ง ปร ะส ง ค์ ของ ป ร ะเ ทศโ คลั มเบีย
ผลการศึกษาพบวา่ ครู ศึกษานิเทศก์ และนักวิชาการมีความคดิ เห็นสอดคล้องกันว่ากิจกรรมที่ใช้ในการนิเทศ
ภายในโรงเรียน เรียงลาดับจากมากไปน้อย ได้แก่ การฝึกอบรม การแนะนา การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
การสาธิตการสอนโดยศึกษานิเทศก์ การประชมุ กลุ่มย่อยของครู การเยยี่ มชั้นเรียน และการสังเกตการสอน
นอกจากนี้ ผลการนิเทศติดตามยังพบว่า ครูที่เข้ารับการอบรม โดยส่วนใหญ่ใช้เทคนิคการประเมิน
เพื่อพัฒนาในการวัดและประเมินผลท้ายชั่วโมงเรียนมากที่สุด ส่วนใหญ่ครูจะใช้เทคนิคกลวิธีตั๋วออก
(Exit Ticket) ในการถามนักเรียน 3 คาถามก่อนออกจากห้องเรียน และเทคนิค K W L (รู้แล้ว อยากรู้ เรียนรู้)
เพอื่ ประเมนิ สิง่ ทีน่ ักเรียนได้เรียนรู้ ทงั้ นี้ อาจเป็นเพราะเทคนคิ กลวิธตี ว๋ั ออก (Exit Ticket) และเทคนคิ K W L
เปน็ เทคนิคทน่ี อกจากจะประมวลความรู้ความเข้าใจว่านักเรยี นได้เรียนรู้อะไรไปบา้ งแล้ว ยงั สามารถสะท้อน
ความคิดของนักเรียนเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้สะท้อนตนเอง ซึ่งจะทาให้ครูทราบความคิดเห็น
มุมมองของนักเรียนต่อการเรียนการสอนในวันนั้น ๆ เพื่อที่จะได้นาไปปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียน
การสอนของตนเองในครั้งต่อไป และสามารถให้ข้อมลู ป้อนกลับ (feed back) ได้ทนั ที สอดคล้องกับท่ี โชติมา
หนูพริก (2559) ที่กล่าวว่า การให้ข้อมูลย้อนกลับเป็นองค์ประกอบสาคัญในการส่งเสริมการเรียนรู้และ
การประเมินเพื่อพัฒนา ซึ่งการจัดการเรียนรู้ในยุคปัจจุบันต้องให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้
พัฒนาความรู้ความสามารถของนักเรยี นโดยมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักเรยี นในระยะยาวมากกว่า
ข้อมูลย้อนกลับท่ไี ด้รบั จากครู

17

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2565)

ขอ้ เสนอแนะ

ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้
1. ผลประสิทธิภาพชุดฝึกอบรมด้วยตนเองมีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ดังน้ัน
จุดเน้นของการศึกษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเองในประสบผลสาเร็จ คือ ผู้ใช้ควรศึกษาวิธีการในคาชี้แจงให้ละเอียด
และปฏบิ ตั ิกจิ กรรมใหค้ รบทุกขนั้ ตอน ตามลาดับขน้ั ตอนทีก่ าหนดไว้ในคาช้ีแจงของการใชช้ ดุ ฝึกอบรมจึงจะ
เกดิ ประสิทธผิ ลอยา่ งเต็มท่ี
2. ความรู้ความเข้าใจของครกู ่อนและหลังการใช้ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง เร่ือง การจัดการเรียนการสอน
ด้วยเทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนา วิชาวิทยาการคานวณ ระดับประถมศึกษา พบว่า หลังการอบรม
มีคะแนนเฉลี่ยสูงขึ้นทั้ง 4 หน่วยการเรียนรู้ แต่หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แนวคิดสาคัญของ
การวัดและประเมินผลทางการศึกษา มีคะแนนเฉลี่ยต่าสุดทั้งก่อนและหลังการอบรม ดังนั้น ในการพัฒนา
ชุดฝึกอบรมในหน่วยนี้อาจเสริมหรือสอดแทรกแหล่งเรียนรู้จากสื่ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างหลากหลาย
แนะนาเพม่ิ เติมให้กบั ผู้ใชช้ ุดฝึกอบรม ซึ่งจะส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้ใช้ชุดฝึกอบรมเพม่ิ ขึน้
3. ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ทาใหก้ ารจดั การเรียนการสอน
ผา่ นระบบออนไลน์ได้รับการนามาใช้มากขึ้น รวมถึงกระบวนการของการนิเทศตดิ ตามการจัดการเรียนการสอน
ที่มีรูปแบบการนิเทศแบบออนไลน์มากขึ้น ดังนั้น ในด้านการนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนด้วย
เทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนาในวิชาวิทยาการคานวณ อาจใช้รูปแบบการส่งคลิปวีดีโอการสอนของครู
ผเู้ ขา้ รบั การอบรมแทนการลงพนื้ ท่ีนเิ ทศตดิ ตามในโรงเรยี น

ข้อเสนอแนะในการทาวิจยั ครง้ั ต่อไป
1. ในการวจิ ยั ครัง้ นี้ มีการนาสอื่ ออนไลน์ ไดแ้ ก่ Google Classroom, Google Meet และ Line Group
มาใช้ในการกากับติดตาม และเป็นช่องทางในการส่งงาน การสื่อสาร และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่าง
การฝึกอบรมด้วยตนเองของครูผู้เข้ารับการฝึกอบรม ดังนั้น ในการวิจัยครั้งหน้าควรวิจัย เพื่อศึกษาผล หรือ
ความพึงพอใจของครูต่อการใช้สือ่ ออนไลน์ตา่ ง ๆ ในการเปน็ สือ่ ชว่ ยในการเรียนรเู้ นอื้ หาและกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของ
ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเองทีผ่ ้วู ิจยั พฒั นาข้ึน
2. เทคนิคการประเมินเพื่อพัฒนาสามารถน าไปบูรณาการในการจัดกิจกรรมและ
การวดั และประเมนิ ผลการเรียนการสอนได้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนั้น ในการวจิ ัยคร้ังต่อไป ควรพัฒนา
ชุดฝึกอบรมครดู ้านการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคการประเมินเพ่ือพฒั นาในกลุ่มสาระวชิ าต่าง ๆ

18

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถนุ ายน 2565)

เอกสารอา้ งอิง

ชยั ยงค์ พรหมวงศ.์ (2545). เอกสารประกอบการสอนชดุ วิชาเทคโนโลยกี ารศกึ ษา หน่วยท่ี1-5. กรุงเทพฯ
: สานกั เทคโนโลยีทางการศึกษามหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.

โชตมิ า หนูพรกิ . (2559). เทคนิคการประเมินเพอ่ื พัฒนาการเรยี นร:ู้ การต้งั คาถามและการให้ข้อมูล
ยอ้ นกลบั เพื่อส่งเสริมการเรยี นรู้. สืบค้น 14 มกราคม 2564, จาก
http://www.curriculumandlearning.com/upload.

โชคระวี เจียมพุก. (2563). กระบวนการนิเทศของผู้บริหารโรงเรียนอนุบาลนครปฐม. (วิทยานิพนธ์
ปรญิ ญามหาบณั ฑติ ). นครปฐม: มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร.

นชุ จิรา แดงวนั สี. (2563). การพัฒนาชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง เรอ่ื ง การสร้างเครอ่ื งมือวัดและ
ประเมินผลวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา
สุราษฎรธ์ าน.ี เขต 2. สบื คน้ 14 กมุ ภาพนั ธ์ 2564, จาก
https://www.kroobannok.com/m/mview.php?id=88304.

นชุ นาถ คงทอง. (2559). การพัฒนาชดุ ฝกึ อบรมผ่านเว็บ เร่อื ง การสร้างหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ สาหรบั ครูใน
สงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา จงั หวดั สงขลา. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง, 5(1), 13-27.

ศกั ดศิ์ รี สืบสงิ ห.์ (2561). การพฒั นาชุดฝกึ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์สาหรบั ครูวทิ ยาศาสตร์ระดับ
ประถมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3. วารสาร
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 12(2), 270-278.

สมเกียรติ พรพสิ ทุ ธมิ าศ. (2557). การประเมินผลการเรียนรชู้ ว่ ยส่งเสริมผเู้ รียนให้มปี ระสิทธภิ าพการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตรใ์ นศตวรรษท่ี 21 ไดอ้ ย่างไร. วารสารวชิ าการมทร.สวุ รรณภมู ิ, 2(1), 81-90.

สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2553). เอกสารประกอบหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมชน
สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย.

สทุ ธวิ รรณ ตันติรจนาวงศ์. (2560). ทิศทางการจัดการศึกษาในศตวรรษท่ี 21. มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์
และศิลปะ, 10(2), 2843-2854.

19

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ฉบับที่ 1 (มกราคม – มถิ ุนายน 2565)

การพฒั นากลยุทธก์ ารบรหิ ารจดั การสถานศึกษาขนาดเลก็ ขีดสมรรถนะสูง
Development of Strategies for Managing Small High-Performance School

ขจรศกั ด์ิ เขยี วน้อย*
Kajornsak Khiawnoi

บทคัดยอ่

การวจิ ยั นีม้ ีความมงุ่ หมายเพอ่ื พัฒนากลยทุ ธก์ ารบรหิ ารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะ
สงู โดยนาข้อมลู ทไี่ ดจ้ ากการศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพท่ีพึงประสงค์ด้วยแบบสอบถามจากกลุม่ ตัวอย่าง
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่ง ผู้อานวยการสถานศึกษาหรือรองผู้อานวยการ
สถานศึกษา และครูที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษาขนาดเล็กของจังหวัดนครศรีธรรมราช จานวน 184 คน
มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิค Modified Priority Needs Index (PNImodified) เพื่อจัดลาดับความสาคัญ
ของความต้องการจาเป็นแล้ววิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภาวะคุกคาม โดยกาหนดเป็นกลยุทธ์
การบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูงในรูปแบบ TOWS Matrix ซึ่งผู้เชี่ยวชาญ
จ านวน 15 คน ท าการประเมินความถูกต้องครอบคลุม ความเหมาะสม ความเป็นไปได้
และความเป็นประโยชน์โดยใช้คู่มือการประเมินกลยุทธ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แล้ววิเคราะห์ข้อมูลเพื่อพิจารณา
คา่ เฉลี่ยเลขคณิตและค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

ผลการศึกษา พบว่า 1) เมื่อนาเอาจุดแข็งที่มีอยู่มาปรับใช้เพื่อให้ได้รับโอกาสอย่างเต็มท่ี
จึงก าหนดเป็นกลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy) คือ กลยุทธ์ที่ 1 ปฏิบัติงานให้มีความเชี่ยวชาญ
2) เมื่อใช้ประโยชน์จากจุดแข็งเพื่อป้องกันหรือแก้ไขภาวะคุกคาม จึงกาหนดเป็นกลยุทธ์เชิงป้องกัน
(ST Strategy) คือ กลยุทธ์ที่ 2 ร่วมพัฒนางานสู่ความเป็นเลิศ 3) เมื่อแก้ไขจุดอ่อนโดยใช้ประโยชน์จาก
โอกาสที่ได้รับ จึงกาหนดเป็นกลยุทธ์เชิงแก้ไข (WO Strategy) จานวน 2 กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ที่ 3
จัดระบบสารสนเทศเพื่อประกันคุณภาพการศึกษา และกลยุทธ์ที่ 4 สร้างคุณค่าของวัฒนธรรมองค์กร
4) เมื่อแก้ไขหรือลดปัญหาอันเกิดจากจุดอ่อนและภาวะคุกคาม จึงก าหนดเป็นกลยุทธ์เชิงรับ
(WT Strategy) คือ กลยุทธ์ที่ 5 เพิ่มศักยภาพการทางานด้วยเทคโนโลยี และ 5) ผลการประเมินกลยุทธ์
การบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูงโดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยในด้านความเป็นประโยชน์
ด้านความเปน็ ไปไดด้ า้ นความถกู ตอ้ งครอบคลุม และด้านความเหมาะสม อยู่ในระดับมากท่ีสุด

คาสาคญั : กลยทุ ธ์/ การบริหารจัดการ/ สถานศึกษาขนาดเลก็ ขีดสมรรถนะสงู

* ผู้อานวยการโรงเรียน ดร. โรงเรยี นบ้านวงั เต่า, สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2
School director Dr., Banwangtao, Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 2

20

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มถิ นุ ายน 2565)

Abstract
The purpose of this study was to develop the strategies for managing small

high- performance school. The data obtained from the study of current and desirable
conditions from 184 samples were school director or deputy school director, and teachers
working in small schools of Nakhon Si Thammarat. The data was analyzed using the
Modified Priority Needs Index ( PNImodified) technique to prioritize the needs. Then analyze
strengths, weaknesses, opportunities and threats. Determined as the strategies for managing
small high- performance school in the TOWS Matrix form. Subsequently, 1 5 experts
used a strategy assessment guide created by the researcher. Conduct comprehensive
assessments of usefulness, feasibility, comprehensiveness, and suitability. Analyze the data
with the arithmetic mean, and standard deviation.

The findings are as follows:
1) When applying the existing strengths to take full advantage

of opportunities, define it as a proactive strategy ( SO Strategy) which is Strategy No. 1 ,
Work to be proficient.

2) When taking advantage of strengths to prevent or resolve threats, define it
as a defensive strategy ( ST Strategy) which is Strategy No. 2, Develop work towards
excellence.

3) When correcting weaknesses by taking advantage of the opportunities
given, define it as a remedial strategies ( WO Strategy) which are Strategy No. 3, Organize
information systems for educational quality assurance, and Strategy No. 4, Create corporate
culture values.

4) When solving or reducing problems caused by weaknesses and threats,
define it as a reactive strategy ( WT Strategy) which is Strategy No. 5, Increase working
potential with technology.

5) Overall the strategies for managing small high- performance school
evaluation results were at the highest levels in terms of usefulness, feasibility,
comprehensiveness, and suitability.
Keywords : Strategy, Administration and Management, Small High-Performance School

21

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

ฉบับที่ 1 (มกราคม – มถิ ุนายน 2565)

บทนา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม กาหนดความมุ่งหมาย

และหลกั การจดั การศึกษาในมาตรา 6 ไวว่า “การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ี
สมบูรณ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติ ปัญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข” และมาตรา 8 ได้กาหนดหลักการจัดการศึกษาให้ยึดหลักการ
3 ประการ คือ เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
และการพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546)
และกระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดนโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
บนหลักการของการยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยศึกษาวิจัยถอดบทเรียนความส าเร็จ
ในการจัดและพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา เพื่อเป็นแนวทางให้หน่วยงาน สถานศึกษา
และผู้เกี่ยวข้องนาไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม (กระทรวงศึกษาธิการ, 2564) ในขณะเดียวกันสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) (2563) ก็ได้ตระหนักถึงความสาคัญของยุทธศาสตร์ชาติ
เพราะเป็นแนวทางในการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน โดยเฉพาะด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
ทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ที่เน้นการวางรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ
อย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาและยกระดับคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นทรัพยากรมนุษย์
ที่ดี เก่ง และมีคุณภาพพร้อมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไปข้างหน้าได้อย่างเต็มศักยภาพ ทั้งนี้ สพฐ.
มีโรงเรียนประถมศึกษาในสังกัด 27,109 แห่ง โดยเป็นโรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่ 120 คนลงมา
มีจานวนมากถึง 14,665 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 54.09 ของจานวนโรงเรียนประถมศึกษาทั้งหมด
และมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี อันเป็นผลมาจากอัตราการเกิดลดลง และความนิยมของผู้ปกครอง
ที่ต้องการส่งบุตรหลานไปโรงเรียนในเมือง การมีโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กจานวนมากย่อมส่งผล
ถึงคุณภาพและประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของนักเรยี นส่วนใหญ่อยู่ในระดับท่ียงั ไม่น่าพึงพอใจโดยโรงเรียนขนาดเล็กสว่ นใหญ่มีคณุ ภาพและมาตรฐาน
ต่ากว่าโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่ เนื่องจากพื้นฐานอยู่บนความขาดแคลน ทั้งงบประมาณ
วัสดุ ครุภัณฑ์ ขาดแคลนครูทั้งปริมาณและคุณภาพ ขาดการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องจากชุมชน
บางแห่งตั้งอยู่เขตชนบท จึงมีความเสียเปรียบด้านปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อความไม่เสมอภาคในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา ดังนั้น โรงเรียนจึงควรเป็นองค์การที่มีสมรรถนะเพียงพอหรือมีสมรรถนะสูง
เนื่องจากองค์การที่มีขีดส มรรถนะสูงนั้นย่อมท าให้การพัฒนานักเรียนส ามารถประส บความส าเ ร็ จ
อย่างยัง่ ยืนขึ้นได้ในระยะยาว

ด้วยเหตุนี้ ผู้วิจัยจึงสนใจพัฒนากลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูง
เพื่อสร้างแนวทางในการกาหนดทิศทางและนโยบายในการพัฒนาสถานศึกษาขนาดเล็กให้มีคุณภาพ
และประสิทธิภาพภายใต้หลักเกณฑ์ต่าง ๆ ที่กาหนด รวมทั้งใช้เป็นแนวทางในการกาหนดแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปี เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
ท้งั ในระดบั นโยบายและระดบั ปฏบิ ตั ิให้เกดิ ประสทิ ธผิ ลมากยิ่งขนึ้ ต่อไป

22

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มถิ นุ ายน 2565)

วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย

เพือ่ พัฒนากลยทุ ธ์การบรหิ ารจัดการสถานศึกษาขนาดเลก็ ขีดสมรรถนะสูง

วธิ ีดาเนนิ การวิจยั

ผวู้ ิจยั ไดด้ าเนนิ การโดยมีรายละเอยี ดดงั นี้

1. ผู้วิจัยนาข้อมูลที่ได้จากการศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหาร
จัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูงด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่ง ผู้อานวยการสถานศึกษาหรือรองผู้อานวยการสถานศึกษา
และครูที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษาขนาดเล็กของจังหวัดนครศรีธรรมราช จานวน 184 คน มาวิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้เทคนิค Modified Priority Needs Index (PNImodified) เพื่อจัดล าดับความส าคัญ
ของความต้องการจาเป็นของการบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูง ซึ่งจะไม่กล่าวถึง
รายละเอยี ดการศกึ ษาสภาพปัจจุบันและสภาพทพี่ ึงประสงค์ในบทความวจิ ยั ฉบับนี้

2. ผู้วิจัยจัดลาดับความสาคัญของความต้องการจาเป็นโดยใช้วิธีการเรียงค่าดัชนี PNIModified
จากมากไปนอ้ ย โดยต้งั เกณฑ์วา่

2.1 ความต้องการจาเป็นของสภาพแวดล้อมภายในที่มีค่าดัชนี PNIModified มากกว่าค่าดัชนี
เฉลี่ย PNIModified ของการบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูง แต่ละด้าน ถือเป็นจุดอ่อน
สว่ นความตอ้ งการจาเป็นทีม่ ีค่าดัชนี PNIModified นอ้ ยกวา่ คา่ ดชั นเี ฉลยี่ PNIModified ถอื เป็นจดุ แขง็

2.2 ความตอ้ งการจาเป็นของสภาพแวดล้อมภายนอกท่ีมีค่าดัชนี PNIModified มากกว่าค่าดัชนี
เฉลี่ย PNIModified ของการบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูง แต่ละด้าน
ถือเป็นภาวะคุกคามส่วนความต้องการจาเป็นที่มีค่าดัชนี PNIModified น้อยกว่าค่าดัชนีเฉลี่ย PNIModified
ถอื เปน็ โอกาส

3. ผู้วิจัยวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภาวะคุกคามของการบริหารจัดการสถานศึกษา
ขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูง โดยนาข้อมูลที่ได้จากการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่ง ขจรศักดิ์ เขียวน้อย (2564)
ได้ศึกษาความเข้าใจและการให้ความหมายของการบริหารจัดการสถานศึกษาขนา ดเล็ก
เพื่อรับรางวัลพระราชทาน และศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็ก
เพื่อรับรางวัลพระราชทาน ซึ่งเป็นวิธีการศึกษาเพื่อประโยชน์ของความสนใจอยากรู้ อยากทาความเข้าใจ

23

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

ฉบับที่ 1 (มกราคม – มถิ นุ ายน 2565)

เปิดเผยรายละเอียดของสิ่งนั้นเป็นหลัก เป็นการวิจัยในพื้นที่จริง (Field research) กับสถานศึกษา
ระดับประถมศึกษาขนาดเล็กที่เคยได้รับรางวัลพระราชทานมาเป็นกรณีศึกษา โดยกาหนดเป็นกลยุทธ์
การบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูงในรูปแบบ TOWS Matrix ด้วยการน า
สภาพแวดล้อมภายใน คือ จุดแข็งและจุดอ่อน มาจับคู่กับสภาพแวดล้อมภายนอก คือ โอกาสและภาวะ
คุกคาม เพื่อกาหนดกลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูง โดยทาการจับคู่
ในส่ีรูปแบบ ดงั ตอ่ ไปน้ี

รูปแบบที่ 1 จุดแข็ง (S) + โอกาส (O) เพื่อก าหนดกลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy)
ซ่งึ เปน็ การนาเอาจดุ แข็งท่ีมีอยมู่ าปรับใช้เพ่ือให้ไดร้ บั โอกาสอยา่ งเต็มที่

รูปแบบที่ 2 จุดแข็ง (S) + ภาวะคุกคาม (T) เพื่อกาหนดกลยุทธ์เชิงป้องกัน (ST Strategy)
ซ่ึงเปน็ การใชป้ ระโยชน์จากจุดแขง็ เพอื่ ป้องกนั หรือแก้ไขภาวะคุกคาม

รูปแบบท่ี 3 จุดอ่อน (W) + โอกาส (O) เพื่อกาหนดกลยุทธ์เชิงแก้ไข (WO Strategy)
ซง่ึ เปน็ การแก้ไขจุดอ่อนโดยใช้ประโยชนจ์ ากโอกาสท่ีได้รบั

รูปแบบที่ 4 จุดอ่อน (W) + ภาวะคุกคาม (T) เพื่อกาหนดกลยุทธ์เชิงรับ (WT Strategy)
ซง่ึ เปน็ การแกไ้ ขหรอื ลดปัญหาอนั เกดิ จากจดุ อ่อนและภาวะคุกคาม

4. ผู้วิจัยร่างกลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูงโดยสังเคราะห์
เป็นกลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูง (ร่าง 1) และนาไปให้ผู้เชี่ยวชาญ
ที่มีความรู้หรือประสบการณ์ด้านการบริหารการศึกษา การบริหารสถานศึกษา การวิจัยและประเมินผล
และมีความรู้ความสามารถ และมีผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวกับการบริหารการศึกษา โดยผู้วิจัย
เลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) จานวน 15 คน พิจารณาตรวจสอบ แล้วปรับปรุงแก้ไข
ตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ และพัฒนาเป็นกลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็ก
ขดี สมรรถนะสูง (ร่าง 2)

5. ผู้วิจัยออกหนังสือขอความอนุเคราะห์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลสาหรับประเมินความถูกต้อง
ครอบคลุม ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ของกลยุทธ์การบริหารจัดการ
สถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูง ไปยังกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้อานวยการสถานศึกษาที่ปฏิบัติงาน
ในสถานศึกษาขนาดเล็กสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2
ซ่งึ ผวู้ จิ ัยคานวณขนาดกลมุ่ ตัวอยา่ งโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ (Yamane, 1960 อา้ งถงึ ใน พิสณุ ฟองศรี, 2549)

24

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มถิ ุนายน 2565)

ภายใต้ความเชื่อมั่น 95% จากนั้นผู้วิจัยใช้วิธีการสุ่มแบบอย่างง่าย (Simple random sampling)
จานวน 65 คน ซึ่งกลุ่มตัวอย่างทาการประเมินโดยใช้คู่มือการประเมินกลยุทธ์ที่ประกอบด้วย
1) โครงร่างงานวจิ ัย 2) ขอ้ มูลการวิเคราะหจ์ ดุ แขง็ จดุ อ่อน โอกาส และภาวะคุกคามของการบริหารจัดการ
สถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูง ในรูปแบบ TOWS Matrix 3) กลยทุ ธ์การบริหารจดั การสถานศึกษา
ขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูง (ร่าง 2) และ 4) แบบประเมินความถูกต้องครอบคลุม ความเหมาะสม
ความเป็นไปได้ และความเปน็ ประโยชน์ของกลยุทธก์ ารบริหารจัดการสถานศกึ ษาขนาดเลก็ ขีดสมรรถนะสูง
ซึ่งผู้วิจัยได้พัฒนาและสร้างข้อคาถามจานวน 18 ข้อ โดยแบบประเมินเป็นแบบมาตรประมาณค่า 6 ระดับ
(Rating scale)จากแสดงระดับน้อยทีส่ ดุ ให้ 1 คะแนน จนถึงแสดงระดบั มากทีส่ ดุ ให้ 6 คะแนน

6. ผู้วิจัยดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean: ̅)
และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.) ของความถูกต้องครอบคลุม ความเหมาะสม
ความเป็นไปได้ และความเปน็ ประโยชน์ของกลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเลก็ ขีดสมรรถนะสูง
ภายหลงั จากที่ได้รบั ข้อมลู ทต่ี อบได้ถกู ต้องสมบูรณ์จานวน 65 ชดุ (100%)

7. ผู้วิจัยนาผลที่ได้จากการประเมินกลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีด
สมรรถนะสูงในด้านความถูกต้องครอบคลุม ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์
มาปรับปรุงให้เปน็ กลยทุ ธ์ที่สมบูรณม์ ากยิง่ ขึ้น แล้วเผยแพร่กลยทุ ธ์การบรหิ ารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็ก
ขดี สมรรถนะสงู ใหก้ ับสถานศึกษาอนื่ ทงั้ ในสังกดั และตา่ งสังกดั

25

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มถิ นุ ายน 2565)

ผลการวิจยั

ผ้วู ิจยั ขอนาเสนอผลการพัฒนากลยุทธ์การบริหารจดั การสถานศึกษาขนาดเล็กขดี สมรรถนะสูง ดังนี้

ตาราง 1 ลาดับความสาคญั ของความตอ้ งการจาเปน็ ของการบริหารจัดการสถานศกึ ษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูง

ขอ้ การบริหารจดั การสถานศกึ ษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูง PNIModified อันดบั

1 การพฒั นาองค์กรส่คู วามเป็นเลิศ 0.146* 1

2 การจดั ระบบขอ้ มลู และสารสนเทศพืน้ ฐาน 0.144* 2

3 การพัฒนาเทคโนโลยีและการสื่อสาร 0.133 3

4 การขับเคลอื่ นระบบการประกันคณุ ภาพภายใน 0.131 4

5 การสร้างภาวะผนู้ าเชิงนวัตกรรม 0.123 5

ภาพรวม 0.135

* สูงกว่าในภาพรวม

จากตาราง 1 พบว่า สภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูง
ภาพรวมทุกด้าน อยู่ในระดับมาก ( ̅ = 4.78, S.D. = 0.443) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า การพัฒนา
องค์กรสู่ความเป็นเลศิ อยู่ในระดบั มาก ( ̅ = 4.84, S.D. = 0.418) ซงึ่ มคี า่ เฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ การขับเคล่ือน
ระบบการประกันคุณภาพภายใน อยู่ในระดับมาก ( ̅ = 4.84, S.D. = 0.685) และการสร้างภาวะผู้นา
เชงิ นวัตกรรม อยู่ในระดบั มาก ( ̅ = 4.81, S.D. = 0.489) ตามลาดับ

ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูง ภาพรวม
ทุกด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 5.43, S.D. = 0.498) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า การพัฒนา
องค์กรสู่ความเป็นเลิศ อยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 5.55, S.D. = 0.483) ซึ่งมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ
การขับเคลื่อนระบบการประกันคุณภาพภายใน อยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 5.48, S.D. = 0.562) และการ
สรา้ งภาวะผู้นาเชิงนวัตกรรม อยู่ในระดบั มากท่ีสุด ( ̅ = 5.40, S.D. = 0.452) ตามลาดับ

ส าหรับความต้ อง ก ารจ า เป ็น ใน กา รบ ริห าร จัด ก ารส ถ าน ศึ ก ษ าข นา ดเ ล็ ก ขี ดสม รร ถ น ะ สู ง
ภาพรวมทุกด้าน พบว่า การพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ มีล าดับความต้องการจ าเป็นสูงสุด
(PNIModified = 0.146) รองลงมา คือ การจัดระบบข้อมูลและสารสนเทศพื้นฐาน (PNIModified = 0.144)
และการพฒั นาเทคโนโลยแี ละการสอื่ สาร (PNIModified = 0.133) ตามลาดับ

26

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

ฉบับที่ 1 (มกราคม – มถิ ุนายน 2565)

ทั้งนี้ ผู้วิจัยนาด้านการพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ (PNIModified = 0.146) และด้านการจัดระบบ
ข้อมูลและสารสนเทศพื้นฐาน (PNIModified = 0.144) ซึ่งเป็นด้านที่มคี วามต้องการจาเป็นสูงกว่าในภาพรวม
(PNIModified = 0.135) มาวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม ดงั ตาราง 2 –3

ตาราง 2 ผลการจัดกลุ่มความต้องการจาเป็นและการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของการบริหารจัดการ

สถานศกึ ษาขนาดเลก็ ขดี สมรรถนะสูง ดา้ นการพฒั นาองคก์ รสู่ความเป็นเลศิ (PNIModified = 0.146)

ประเดน็ ความตอ้ งการจาเปน็ PNIModified ภายใน ภายนอก
ดา้ นการพฒั นาองคก์ รสคู่ วามเปน็ เลศิ

เน้นการปฏบิ ตั ิงานทีม่ คี วามคลอ่ งตัว 0.133 จุดแข็ง –
และมรี ะบบการทางานที่งา่ ยไดม้ าตรฐาน 0.117 (S)
มงุ่ มั่นต้งั ใจในการปฏิบตั งิ าน เพอื่ ให้ 0.114
สถานศกึ ษาบรรลเุ ป้าหมาย จดุ แขง็ –
มงุ่ เนน้ การใหบ้ ริการภายในสถานศกึ ษาทด่ี ี (S)
และมีคณุ ภาพ
จดุ แขง็ –
(S)

สร้างบรรยากาศทเี่ อื้อให้เกดิ 0.158 จุดออ่ น –
ความคิดสรา้ งสรรค์ในการปฏบิ ตั งิ าน (W)

ให้เกยี รติและความไวว้ างใจกบั เพอ่ื นครู 0.169 จดุ อ่อน –
ในการปฏิบตั ิงาน (W)

ร่วมปฏบิ ตั ิงานกบั เพ่ือนครอู ย่างใกล้ชดิ 0.217 จุดออ่ น –
และมีคา่ นิยมในการทางานร่วมกัน (W)

รว่ มกบั เพอ่ื นครใู นการกาหนดตัวช้วี ดั 0.132 จดุ แข็ง –
และตดิ ตามผลการปฏบิ ัตงิ านอยา่ งตอ่ เนื่อง (S)

สามารถวางแผนเส้นทางความก้าวหนา้ 0.129 – โอกาส
ในสายงานและตาแหน่งของตนเอง 0.103 (O)
ปรับปรงุ ขนั้ ตอนหรือกระบวนการทางาน
ให้งา่ ยต่อการปฏบิ ตั ิ จดุ แขง็ –
(S)

นาเทคโนโลยีมาช่วยในการปฏิบตั งิ าน 0.196 – ภาวะคกุ คาม
เพือ่ ใหเ้ กดิ ความรวดเร็วและมีประสทิ ธภิ าพ (T)

ยึดถือการปฏบิ ตั ิงานที่มีความยืดหยนุ่ 0.150 จดุ ออ่ น –
และมีคณุ ภาพ (W)

จากตาราง 2 ค่าดัชนี PNIModified ของการบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็ก
ขีดสมรรถนะสูง ด้านการพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ เท่ากับ 0.146 ดังนั้น ประเด็นความต้องการ
จาเป็นที่มีค่าดัชนี PNIModified น้อยกว่า 0.146 ถือเป็นจุดแข็งหรือโอกาส ส่วนประเด็นความต้องการ
จาเป็นที่มีค่าดัชนี PNIModified มากกว่า 0.146 ถือเป็นจุดอ่อนหรือภาวะคุกคาม โดยผลการจัดกลุ่ม

27

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มถิ นุ ายน 2565)

ความต้องการจาเป็นและการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม พบวา่ 1) จดุ แข็ง (S) มจี านวน 5 ประเด็น 2) จุดออ่ น (W)
มจี านวน 4 ประเด็น 3) โอกาส (O) มจี านวน 1 ประเด็น และ 4) ภาวะคกุ คาม (T) มจี านวน 1 ประเด็น

ตาราง 3 ผลการจดั กลุ่มความต้องการจาเปน็ และการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมของการบริหารจัดการ

สถานศกึ ษาขนาดเลก็ ขดี สมรรถนะสูง ด้านการจัดระบบข้อมลู และสารสนเทศพน้ื ฐาน (PNIModified = 0.144)

ประเดน็ ความตอ้ งการจาเปน็

ดา้ นการจดั ระบบข้อมลู PNIModified ภายใน ภายนอก
และสารสนเทศพ้นื ฐาน

สารวจความต้องการของเพื่อนครใู นการใชข้ ้อมูลเพื่อ 0.132 จดุ แขง็ –
การวางแผนจัดทาระบบขอ้ มลู สารสนเทศ (S)

พิจารณาจัดลาดับความสาคญั ของข้อมลู 0.152 จดุ อ่อน –
ดา้ นต่าง ๆ เพื่อการจดั ทาระบบขอ้ มลู สารสนเทศของ (W)
สถานศึกษา

กาหนดระยะเวลาในการจดั ทาระบบขอ้ มูลสารสนเทศ 0.147 จุดอ่อน –
ไวใ้ นปฏิทินการปฏบิ ตั ิงาน (W)
เป็นประจาอยา่ งชดั เจน

ประสานงานกบั ผู้รับผิดชอบทั้งภายใน 0.156 – ภาวะคุกคาม
และภายนอกสถานศึกษาในการจดั ทา (T)
ระบบข้อมลู สารสนเทศอยา่ งชดั เจน

สรา้ งเครอ่ื งมอื เกบ็ รวบรวมข้อมูลไดค้ รอบคลมุ 0.194 จุดออ่ น –
งานทกุ ดา้ นและตรงกับความต้องการใช้งาน (W)

จัดรปู แบบในการนาเสนอข้อมลู ไดถ้ ูกตอ้ งชดั เจนและ 0.128 จุดแข็ง –
เหมาะสม (S)

มคี วามชานาญในการใช้เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ 0.152 จุดออ่ น –
เพอื่ การจดั ทาระบบข้อมลู สารสนเทศ (W)

มีข้อมูลทไี่ ด้เก็บรวบรวมผ่านการคดั เลอื กแล้ว 0.147 จดุ ออ่ น –
มีความถกู ต้องตรงตามความเป็นจริง (W)

ระดมความคดิ เห็นของเพอ่ื นครูเพอื่ รวบรวม 0.121 จดุ แข็ง –
ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไขปรบั ปรุงการจดั ทา (S)
ระบบข้อมลู สารสนเทศใหเ้ ปน็ ปัจจบุ ัน

วางแผนปรบั ปรุงพัฒนาและวเิ คราะห์ 0.135 จดุ แข็ง –
ขอ้ เดน่ -ขอ้ ดอ้ ยของการจัดทาระบบขอ้ มลู สารสนเทศ (S)

นาผลการวเิ คราะหม์ ากาหนด 0.152 จดุ อ่อน –
แนวทางเสรมิ -แนวทางแก้ไข (W)
ในการจัดทาระบบข้อมูลสารสนเทศ

28

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

ฉบับที่ 1 (มกราคม – มถิ นุ ายน 2565)

ประเดน็ ความต้องการจาเป็น PNIModified ภายใน ภายนอก
ด้านการจัดระบบข้อมลู 0.120
และสารสนเทศพนื้ ฐาน – โอกาส
(O)
รายงานการประเมนิ ตนเองด้านการจดั ทา
ระบบขอ้ มลู สารสนเทศ และจดั เตรียมข้อมลู
เพ่ือเข้ารับการประเมินในรูปแบบตา่ ง ๆ

จากตาราง 3 ค่าดัชนี PNIModified ของการบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูง
ด้านการจัดระบบข้อมูลและสารสนเทศพื้นฐาน เท่ากับ 0.144 ดังนั้น ประเด็นความต้องการจาเป็น
ที่มีค่าดัชนี PNIModified น้อยกว่า 0.144 ถือเป็นจุดแข็งหรือโอกาส ส่วนประเด็นความต้องการจาเป็น
ที่มีค่าดัชนี PNIModified มากกว่า 0.144 ถือเป็นจุดอ่อนหรือภาวะคุกคาม โดยมีผลการจัดกลุ่มความต้องการ
จาเป็นและการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม พบว่า 1) จุดแข็ง (S) มีจานวน 4 ประเด็น 2) จุดอ่อน (W)
มจี านวน 6 ประเด็น 3) โอกาส (O) มีจานวน 1 ประเดน็ และ 4) ภาวะคกุ คาม (T) มีจานวน 1 ประเด็น

ตาราง 4 ผลการสร้างกลยุทธก์ ารบริหารจดั การสถานศกึ ษาขนาดเลก็ ขีดสมรรถนะสงู

ประเภทกลยทุ ธ์ ช่อื กลยุทธ์ แนวปฏบิ ตั ิ/วิธีการ
กลยุทธเ์ ชงิ รุก กลยุทธ์ที่ 1
(SO Strategy) ปฏบิ ัตงิ านใหม้ ีความเชย่ี วชาญ ส่งเสริมการทบทวนกระบวนการทางาน
แลว้ นามาพัฒนาการปฏบิ ตั ิงาน
ให้มีความคล่องตวั และมีระบบการทางาน
ท่งี า่ ยไดม้ าตรฐาน ตลอดจนประเมิน
และปรบั ปรุงตนเองใหพ้ ร้อมตอ่ การพัฒนางาน
ในหน้าที่อยูเ่ สมอ เพือ่ กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุด
ตอ่ สถานศกึ ษา

กลยุทธ์เชงิ ปอ้ งกัน กลยทุ ธท์ ี่ 2 มุ่งเน้นการพัฒนาสถานศกึ ษาโดยจดั ทาแผน
(ST Strategy) ร่วมพัฒนางานสคู่ วามเปน็ เลิศ เพอ่ื ใชพ้ ฒั นาการเปลย่ี นแปลงใหเ้ กิดประสทิ ธผิ ล
สคู่ วามเป็นเลศิ โดยทุกภาคสว่ นได้ร่วมคดิ
กลยทุ ธ์เชงิ แก้ไข กลยทุ ธท์ ี่ 3 และรว่ มดาเนินการอย่างชัดเจน
(WO Strategy) จัดระบบสารสนเทศ มีการสารวจความตอ้ งการและการมีสว่ นร่วม
เพ่ือประกันคณุ ภาพการศึกษา ในการพัฒนาคณุ ภาพของสถานศกึ ษา
และนาข้อเสนอแนะมาใช้ในการปรับปรงุ
การปฏบิ ตั ิงานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
จดั ใหม้ ีผรู้ บั ผดิ ชอบดา้ นข้อมลู สารสนเทศโดยตรง
และสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจในการปฏบิ ตั งิ าน
มเี คร่อื งมือเกบ็ รวบรวมข้อมลู
ไดค้ รอบคลมุ งานทกุ ดา้ นและตรงกับ

29

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

ฉบับที่ 1 (มกราคม – มถิ นุ ายน 2565)

ประเภทกลยุทธ์ ช่ือกลยทุ ธ์ แนวปฏิบตั /ิ วิธีการ

ความต้องการใชง้ าน โดยเนน้ ที่
การมีส่วนรว่ มของทุกคนท่ีเก่ยี วขอ้ ง ตลอดจน
ประเมินผลการดาเนินงาน
อย่างตอ่ เน่อื งและสม่าเสมอ และ
นาผลการประเมินมาปรับปรุงแก้ไขเพอื่ การพฒั นา

กลยุทธ์เชิงแก้ไข กลยุทธ์ที่ 4 สง่ เสริมวฒั นธรรมการทางานท่ีเออ้ื ใหเ้ กิดความคดิ
(WO Strategy) สรา้ งคณุ ค่า สรา้ งสรรคด์ ว้ ยภาวะผู้นาเชิงนวตั กรรม
ของวฒั นธรรมองคก์ ร บนพน้ื ฐานของความไวว้ างใจ
และใหเ้ กยี รตซิ งึ่ กันและกนั
เพื่อมุ่งสคู่ วามกา้ วหนา้ ในเสน้ ทางวิชาชพี

กลยทุ ธ์เชิงรับ กลยุทธ์ท่ี 5 ส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยีและการส่อื สาร
(WT Strategy) เพิม่ ศักยภาพการทางาน เพ่อื การปฏิบัติงานอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
มกี ารกากับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล
ด้วยเทคโนโลยี การใชเ้ ทคโนโลยีและการสอื่ การเพอ่ื การศกึ ษา
อย่างเป็นระบบและตอ่ เนื่อง

จากตาราง 4 พบวา่
1. เมื่อนาเอาจุดแข็งที่มีอยู่มาปรับใช้เพื่อให้ได้รับโอกาสอย่างเต็มที่ จึงกาหนดเป็น

กลยุทธ์เชิงรกุ (SO Strategy) คอื กลยุทธท์ ี่ 1 ปฏบิ ัตงิ านใหม้ ีความเชยี่ วชาญ
2. เมื่อใช้ประโยชน์จากจุดแข็งเพื่อป้องกันหรือแก้ไขภาวะคุกคาม จึงกาหนดเป็น

กลยุทธ์เชิงปอ้ งกนั (ST Strategy) คอื กลยทุ ธ์ที่ 2 ร่วมพฒั นางานสคู่ วามเป็นเลิศ
3. เมื่อแก้ไขจุดอ่อนโดยใช้ประโยชน์จากโอกาสที่ได้รับ จึงกาหนดเป็นกลยุทธ์เชิงแก้ไข

(WO Strategy) จานวน 2 กลยุทธ์ คือ กลยุทธ์ที่ 3 จัดระบบสารสนเทศเพื่อประกันคุณภาพการศึกษา
และกลยุทธท์ ี่ 4 สร้างคุณค่าของวัฒนธรรมองคก์ ร

4. เมื่อแก้ไขหรือลดปัญหาอันเกิดจากจุดอ่อนและภาวะคุกคาม จึงกาหนดเป็นกลยุทธ์เชิงรับ
(WT Strategy) คอื กลยทุ ธ์ที่ 5 เพ่มิ ศักยภาพการทางานด้วยเทคโนโลยี

30

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

ฉบับที่ 1 (มกราคม – มถิ นุ ายน 2565)

ตาราง 5 ผลการประเมินกลยทุ ธก์ ารบรหิ ารจดั การสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสงู

n = 65

กลยุทธ์ ความถูกตอ้ ง ความเหมาะสม ความเปน็ ไปได้ ความเป็น
กลยทุ ธท์ ี่ 1 ครอบคลุม ประโยชน์
̅ S.D.
̅ S.D. 5.33 0.778 ̅ S.D. ̅ S.D.
5.25 0.754
5.33 0.724 5.40 0.507

กลยุทธ์ที่ 2 5.50 0.522 5.42 0.793 5.73 0.458 5.80 0.414

กลยุทธ์ท่ี 3 5.42 0.515 5.33 0.492 5.40 0.507 5.33 0.488

กลยุทธ์ที่ 4 5.50 0.522 5.42 0.515 5.53 0.516 5.47 0.516

กลยุทธ์ท่ี 5 5.58 0.515 5.50 0.522 5.47 0.516 5.53 0.516

เฉล่ีย 5.45 0.565 5.40 0.616 5.49 0.554 5.51 0.503

จากตาราง 5 พบวา่ ผลการประเมนิ กลยุทธก์ ารบรหิ ารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะ
สงู โดยภาพรวม มคี า่ เฉล่ียในด้านความเป็นประโยชน์ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( ̅ = 5.51, S.D. = 0.503) ซึ่งมี
ค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านความเป็นไปได้ อยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 5.49, S.D. = 0.554)
ด้านความถูกต้องครอบคลุม อยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 5.45, S.D. = 0.565) และด้านความเหมาะสม
อยู่ในระดับมากท่สี ดุ ( ̅ = 5.40, S.D. = 0.616) ตามลาดบั

สรปุ ผลการวิจัย อภปิ รายผลการวจิ ยั และขอ้ เสนอแนะ
1. สรปุ และอภิปรายผลการวจิ ัย
สภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูงภาพรวมทุกด้าน

มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ในขณะที่สภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็ก
ขีดสมรรถนะสูงภาพรวมทุกด้านมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นอยู่ในระดับมากที่สุด โดยพบว่าด้านการพัฒนาองค์กร
สู่ความเป็นเลิศมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และยังเป็นด้านที่มีล าดับความต้องการจ าเป็นสูงสุดอีกด้วย
ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากบุคลากรมีความต้องการและคาดหวังที่จะรับรู้ เข้าใจ และเรียนรู้ไปพร้อมกัน
รวมถึงสามารถสะท้อนผลการปฏิบัติงานได้ด้วยการทางานเป็นทีม มีความคิดสร้างสรรค์และมีการสื่อสาร
แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ร่วมกนั ส่งเสรมิ การนาเทคโนโลยมี าชว่ ยในการปฏิบัติงาน รวมทั้งต้องการให้สถานศึกษา

31

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

ฉบับที่ 1 (มกราคม – มถิ ุนายน 2565)

ส่งเสริมการพัฒนาสมรรถนะด้านต่าง ๆ และให้อิสระในการตัดสินใจในการทางานของบุคลากร
มุ่งเน้นให้ความสาคัญกับบุคลากรทุกระดับและมีความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด
ของมิลเลอร์ (Miller, 2001) ที่กล่าวว่า ระบบการทางานและทีมงานที่มีประสิทธิภาพเป็นส่วนเชื่อมโยง
ที่ส าคัญกับแนวคิดการมุ่งสู่องค์การแห่งความเป็นเลิศ การมีระบบการท างานที่เป็นเลิศ
เป็นการออกแบบงานว่าจะมอบหมายงานให้กับบุคคลหรือทีม ในขณะที่การมีทีมงานที่เป็นเลิศ
จะเป็นพื้นฐานที่สาคัญในการทางานที่จะนาไปสู่องค์การแห่งความเป็นเลิศ ทีมงานที่เป็นเลิศ
จะรู้จักลูกค้าของตนเองเป็นอย่างดี จะรู้ว่าทาอย่างไรให้งานของตนสามารถพัฒนาขึ้นได้เรื่อย ๆ
สามารถประเมินผลงานของตนเองได้และมีเทคนิคที่ใช้ในการแก้ไขปัญหาได้ นอกจากนี้ ทีมงานที่เป็นเลิศ
จะมคี วามสามารถในการปกครองตนเอง คอื ผบู้ รหิ ารตอ้ งให้อิสระในการบริหารงานกับทีมงานดว้ ย

ทัง้ นี้ ผวู้ จิ ยั ไดน้ าด้านการพัฒนาองคก์ รสูค่ วามเปน็ เลิศและดา้ นการจดั ระบบข้อมลู และสารสนเทศ
พื้นฐาน ซึ่งเป็นด้านที่มีความต้องการจาเป็นสูงกว่าในภาพรวมมาวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
แล้วกาหนดเปน็ 5 กลยทุ ธ์ ดงั น้ี

1) ก าหนดเป็นกลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy) โดยน าเอาจุดแข็งที่มีอยู่มาปรับใช้
เพื่อให้ได้รับโอกาสอย่างเต็มที่ คือ กลยุทธ์ที่ 1 ปฏิบัติงานให้มีความเชี่ยวชาญ เป็นการส่งเสริม
การทบทวนกระบวนการทางาน แล้วนามาพฒั นาการปฏิบตั งิ าน ให้มีความคล่องตัวและมีระบบการทางาน
ที่ง่ายได้มาตรฐาน ตลอดจนประเมิน และปรับปรุงตนเองให้พร้อมต่อการพัฒนางานในหน้าที่อยู่เสมอ
เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อสถานศึกษา ซึ่ง ลินเดอร์ และบรู๊คซ์ ( Linder; & Brooks, 2004)
ได้กล่าวว่า การที่องค์การจะเป็นองค์การแห่งความเป็นเลิศได้นั้นจะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะ
หรือแนวปฏิบัติที่สาคัญ อาทิ การมุ่งเน้นผลผลิตและผลลัพธ์ (Outcome-Oriented) ซ่ึงองค์การ
จะดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้ตอบสนองต่อพันธกิจขององค์การและประเมินผลสาเร็จขององค์การ
ด้วยผลผลิตหรือผลลัพธ์นั้น ดังนั้นการบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูง
จึงควรให้ความสาคัญกับผลลัพธ์ในการดาเนินงาน และกระตุ้นให้สถานศึกษากาหนดวัตถุประสงค์
ท่สี งู กวา่ ผลผลติ ท่สี ถานศึกษาสามารถจะบรรลุไดเ้ พ่อื ดงึ ศักยภาพของบุคลากรออกมาใช้

2) ก าหนดเป็นกลยุทธ์เชิงป้องกัน (ST Strategy) โดยใช้ประโยชน์จากจุดแข็ง
เพื่อป้องกันหรือแก้ไขภาวะคุกคาม คือ กลยุทธ์ที่ 2 ร่วมพัฒนางานสู่ความเป็นเลิศ เป็นการมุ่งเน้น
การพัฒนาสถานศึกษาโดยจัดทาแผนเพื่อใช้พัฒนาการเปลี่ยนแปลงให้เกิดประสิทธิผลสู่ความเป็นเลิศ
โดยทุกภาคส่วนได้ร่วมคิดและร่วมดาเนินการอย่างชัดเจนมีการสารวจความต้องการและการมีส่วนร่วม
ในการพัฒนาคณุ ภาพของสถานศึกษาและนาข้อเสนอแนะมาใช้ในการปรับปรุงการปฏิบตั ิงานอย่างต่อเน่ือง
ซึ่ง บลานชาร์ด (Blanchard, 2007) ได้ศึกษาตัวแบบ The HPO Scores Model ของลักษณะองค์การ
ที่มีผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ พบว่า การแบ่งปันอานาจและการมีส่วนร่วม (Shared power and high
involvement) ใน HPO จะมีการแบ่งปันอานาจและการตัดสินใจไปสู่หน่วยงานต่าง ๆ ขององค์การ
โดยไม่จากัดขอบเขตแต่เฉพาะในกลุ่มผู้บริหารระดับสูงเท่านั้น การให้ความร่วมมือและทางานเป็นทีม
คือ หัวใจสาคัญของการทางาน ดังนั้นการบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูง
จึงควรอนุญาตให้บุคลากรได้ตัดสินใจในเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งที่มีผลกระทบในการทางาน และสามารถเข้าถึง
ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ตอ่ การตัดสินใจสิ่งเหล่านี้จะชว่ ยให้บคุ ลากรมกี ารตดั สนิ ใจที่ดีขึน้ และสามารถปฏิบตั ิ
หนา้ ทีข่ องตนเองเพ่อื ตอบสนองเป้าหมายและวิสัยทัศนข์ องสถานศึกษาได้อยา่ งเต็มความสามารถ

32

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มถิ ุนายน 2565)

3) กาหนดเป็นกลยุทธ์เชิงแก้ไข (WO Strategy) โดยแก้ไขจุดอ่อนโดยใช้ประโยชน์
จากโอกาสท่ีได้รับ จานวน 2 กลยทุ ธ์ คอื 1) กลยทุ ธท์ ี่ 3 จดั ระบบสารสนเทศเพ่ือประกันคุณภาพการศึกษา
เป็นการจัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านข้อมูลสารสนเทศโดยตรง และสร้างความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงาน
มีเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลได้ครอบคลุมงานทุกด้านและตรงกับความต้องการใช้งาน โดยเน้นที่
การมีส่วนร่วมของทุกคนที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประเมินผลการดาเนินงาน อย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ
และนาผลการประเมินมาปรับปรุงแก้ไขเพื่อการพัฒนาซึ่ง อานาจ วิชยานุวัติ (2557)
ได้กล่าวว่า สถานศึกษาควรให้ความรู้ความเข้าใจในการดาเนินงานจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานแก่คณะกรรมการและผู้ที่เกี่ยวข้อง
ขอความร่วมมือตามบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาต่อการดาเนินงานตามระบบ
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน แล้วนาข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานระดับสถานศึกษาไปใช้
ประโยชน์ในการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ดังนั้นการบริหารจัดการสถานศึกษา
ขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูงอาจจะนาหลักการจัดการความรู้ (Knowledge Management) มาบูรณาการ
กับการท างาน ซึ่งหลักการนี้จะน าไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลส าเร็จเ ป็นรูปธรรมอย่างแท้จริง
และ 2) กลยุทธ์ที่ 4 สร้างคุณค่าของวัฒนธรรมองค์กร เป็นการส่งเสริมวัฒนธรรมการทางานที่เอื้อให้เกิด
ความคิดสร้างสรรค์ด้วยภาวะผู้นาเชิงนวัตกรรม บนพื้นฐานของความไว้วางใจ และให้เกียรติซึ่งกันและกัน
เพื่อมุ่งสู่ความก้าวหน้าในเส้นทางวิชาชีพ โ ดย โฮลเบช (Holbeche, 2005) กล่าวถึงองค์การ
ที่มีขีดความสามารถในการเปลี่ยนแปลงว่าเป็นองค์การแห่งนวัตกรรม สามารถทางาน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่ยึดระบบบังคับบัญชาที่เข้มข้นจนเกินไป และที่สาคัญคือการกระตุ้น
ให้คนในองค์การรักษาความเป็นองค์การแห่งความเป็นเลิศได้อย่างยั่งยืน ดังนั้นการบริหารจัดการ
สถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูงจะต้องมีวัฒนธรรมที่เข้มแข็งและมีความเป็นเอกลักษณ์โดยทุกคน
ที่เก่ยี วขอ้ งเตม็ ใจที่จะเปลีย่ นแปลงและชว่ ยผลักดันการเปล่ียนแปลงไปสูเ่ ป้าหมายท่ีวางเอาไว้

4) กาหนดเป็นกลยุทธ์เชิงรับ (WT Strategy) โดยแก้ไขหรือลดปัญหาอันเกิดจาก
จุดอ่อนและภาวะคุกคาม คือ กลยุทธ์ที่ 5 เพิ่มศักยภาพการทางานด้วยเทคโนโลยี เป็นการส่งเสริม
การใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีการกากับ ติดตาม
และประเมินผลการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
ซง่ึ ออ่ งจิต เมธยะประภาส (2557; อา้ งถึงใน พิณสดุ า สริ ธิ รงั ศรี, 2557) กลา่ ววา่ ครูควรมีการนาเทคโนโลยี
มาใช้ในการประเมินผล และให้เหมาะสมกับรูปแบบการเรยี น เพราะไมใ่ ชท่ กุ เทคโนโลยจี ะใช้ได้กับการเรียน
ทุกรูปแบบ ครูควรเป็นผู้ใช้เทคโนโลยีได้อย่างหลากหลายและสามารถเป็นผู้ใช้ปลายทางที่ดี
เช่น สามารถ Browse ไป Web Site ได้ เป็นต้น ครูควรสามารถนาเทคโนโลยี ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์
มาใช้ในการสร้างบทเรยี น สือ่ ในรูปแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ เพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจในการเรียนให้กับผู้เรียน
มากขึ้นและครูควรมีประสิทธิภาพประสิทธิผล ในการใช้เทคโนโลยีได้อย่างคล่องแคล่ว ดังนั้นการบริหาร
จัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูงก็จาเป็นที่จะต้องนาเทคโนโลยีมาใช้ในทุกขั้นตอน
ซ่งึ เปน็ อีกหนงึ่ ตัวแปรสาคัญในการขับเคลือ่ นไปสเู่ ปา้ หมายท่ตี ้องการ

33

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

ฉบับที่ 1 (มกราคม – มถิ นุ ายน 2565)

2. ข้อเสนอแนะในการนาผลการวจิ ยั ไปใช้
2.1 ข้อเสนอแนะเชิงปฏบิ ัติ
กลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขีดสมรรถนะสูง จะน าไปสู่ความส าเร็จ

ในการยกระดับคุณภาพของสถานศึกษาได้อย่างยั่งยืน บนพื้นฐานการมีวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ์
ภายใต้ภาวะผู้นาเชิงนวัตกรรมของผู้บริหาร รวมทั้งพัฒนาองค์กรให้เกิดประสิทธิผลสู่ความเป็นเลิศ
อยา่ งเป็นระบบ ตลอดจนตอ้ งรว่ มกันพัฒนาเทคโนโลยีและการส่ือสาร ขับเคลอื่ นระบบการประกันคุณภาพ
ภายในสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน นอกจากนั้นต้องจัดระบบข้อมูลและสารสนเทศพื้นฐาน
ของสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งนี้ ผู้นากลยุทธ์ไปใช้สามารถปฏิบัติตามกลยุทธ์ใดกลยุ ทธ์หนึ่ง
หรอื หลายกลยทุ ธ์พร้อมกนั ได้โดยไม่ต้องเรียงลาดับ

2.2 ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือหน่วยงาน
ที่เก่ยี วขอ้ ง ควรศึกษากลยทุ ธก์ ารบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กขดี สมรรถนะสูงที่ไดจ้ ากการวิจัยครั้งน้ี
เพื่อใช้เป็นแนวทางในการกาหนดทิศทางและนโยบายในการพัฒนาสถานศึกษาขนาดเล็กให้มีคุณภาพ
และประสิทธิภาพภายใต้หลักเกณฑ์ต่าง ๆ ที่กาหนด นอกจากนั้น ผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็ก
ควรศึกษากลยุทธ์นี้แล้วใช้เป็นแนวทางในการกาหนดแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
และแผนปฏิบัติการประจาปี เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และตามมาตรฐานของสานักงานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา
2.3 ข้อเสนอแนะในการวจิ ยั ครงั้ ตอ่ ไป
การวิจัยครั้งนี้เป็นเพียงการสร้างและพัฒนากลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็ก
ขีดสมรรถนะสูง ดังนั้น เพื่อให้มีการแปลงสู่การปฏิบัติมากขึ้น อาจขยายผลสู่การวิจัยในรูปแบบ
ของการนากลยุทธ์ไปใช้ เช่น การสร้างและพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครู หรืออาจจะศึกษาเพิ่มเติมดว้ ยวิธีการ
วิจัยเชิงปริมาณเพื่อศึกษารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็ก
ขีดสมรรถนะสูง โดยใชก้ ลยทุ ธท์ ีค่ ้นพบครั้งน้ีเป็นตวั แปรในการศกึ ษา หรืออาจนารูปแบบการวิจยั ครงั้ น้ีไปใช้
กับกลุ่มเป้าหมายอื่นที่มีบริบทแตกต่างกันออกไป โดยอาจปรับเปลี่ยนตัวแปรให้เหมาะสมกับเนื้อหา
และสถานการณ์

เอกสารอา้ งอิง
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และทีแ่ กไขเพ่ิมเติม

(ฉบบั ท่ี 2) พุทธศักราช 2545. กรุงเทพมหานคร: ครุ สุ ภา.
______. (2564). ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่อื ง นโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565. สบื คน้ เมอื่ 17 มนี าคม 2565.
จาก https://moe360.blog/2022/01/19/policy-and-focus-moe

34

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ฉบับที่ 1 (มกราคม – มถิ นุ ายน 2565)

ขจรศกั ด์ิ เขยี วนอ้ ย. (2564, กรกฎาคม). “กระบวนการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาขนาดเล็กเพอ่ื รับรางวัล
พระราชทาน,” วารสารการวิจยั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. ฉบับปฐมฤกษ์: 1-21.

พิณสุดา สริ ิธรงั ศรี. (2557, พฤษภาคม). “การยกระดบั คุณภาพครไู ทยในศตวรรษท่ี 21,”
เอกสารประกอบการประชุมทางวชิ าการ “อภวิ ฒั น์การเรียนรู้...สู่จดุ เปลี่ยนประเทศไทย”.

พิสณุ ฟองศร.ี (2549). วิจยั ทางการศกึ ษา. กรุงเทพฯ: เทียมฝา่ การพิมพ์. สานกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน. (2561). คมู่ อื การประเมินสถานศึกษาขีดสมรรถนะสงู
ระดบั ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย.

_______. (2563). นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565.
กรงุ เทพฯ: ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย.

อานาจ วิชยานุวัต.ิ (2557). การพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานในพื้นที่ 3
จงั หวดั ชายแดนภาคใต้. วทิ ยานิพนธ์ ค.ด. (การบริหารการศกึ ษา). ปทมุ ธานี: บณั ฑิตวทิ ยาลัย
มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์.

Blanchard, K. H. (2007). Leading at a higher level: Blanchard on leadership and creating high
performance organization. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.

Holbeche, L. (2005). The high performance organization: Creating dynamic stability
and sustainable success. Oxford, England: Elsevier.

Linder, J. C. & Brooks, J. D. (2004, October). “Transforming the public sector,”
International Journal of Learning & Teaching. 8 (1), 20-29.

Miller, L. M. (2001). The high-performance organization an assessment of virtues and values.
Retrieved.17 March 2022, from https://bahailibrary.com/miller_high_performance_organization

35

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ฉบับที่ 1 (มกราคม – มถิ ุนายน 2565)

การนเิ ทศโดยใชก้ ระบวนการวิจยั ปฏิบัตกิ ารเพ่ือสง่ เสริมความสามารถในการพฒั นานวัตกรรม
การจดั การเรยี นรู้ของครกู ล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ระดับมธั ยมศกึ ษาในจงั หวดั ชัยนาท

สงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 5
Supervision using the practical research process to promote the ability to develop
innovative learning management of teachers in mathematics learning subject group

Secondary School in Chainat
Department of the Secondary Educational Service Area Office 5

แคทรยี า แสงดาวเทียน*
Kattareya Sangdowntien
บทคัดยอ่

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างคู่มือการนิเทศโดยใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการเพื่อ
ส่งเสริมความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดชัยนาท สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 ให้มีคุณภาพและ
มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และ 2) เพื่อศึกษาผลการนิเทศโดยใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการเพื่อ
ส่งเสริมความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูฯ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่
ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2563 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 5 จานวน 33 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) การดาเนินการวิจัย
ครั้งนี้เป็นการนิเทศโดยกระบวนการวิจัย (research-based supervision) เพื่อส่งเสริมความสามารถ
ในการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูฯ ตามกระบวนการของวิจัยปฏิบัติการ คือ
1) การวางแผน (P-Plan) 2) การปฏิบัติการ (A-Action) 3) การสังเกต (O-Observing) และ
4) การสะท้อนผล (R-Reflecting) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) คู่มือการนิเทศโดยใช้
กระบวนการวิจัยปฏบิ ตั ิการฯ 2) แบบประเมนิ คณุ ภาพคู่มือฯ3) แบบสมั ภาษณ์ 4) แบบสังเกตการสอนของครู
5) แบบประเมนิ ความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ 6) แบบประเมินคุณภาพของนวัตกรรม
การจัดการเรียนรู้ และ 7) แบบสอบถามความพึงพอใจของครูต่อการนิเทศฯ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าสถิติและ
การวิเคราะห์เนื้อหา วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงปริมาณ ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean)
สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) คะแนนพัฒนาการสัมพทั ธ์ และวิเคราะห์ข้อมลู เชงิ คุณภาพ
โดยการวิเคราะห์เนอ้ื หา (Content Analysis)

ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลการสร้างคู่มือการนิเทศโดยใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการ
เพอื่ สง่ เสริมความสามารถในการพฒั นานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูฯ มคี า่ ดัชนคี วามสอดคลอ้ ง (IOC)
ระหว่าง 0.86 - 1.00 ทุกด้าน และผลการหาประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) และประสิทธิภาพ
ของผลลัพธ์ (E2) ของคู่มือการนิเทศ เท่ากับ 84.74/81.60 และผลการประเมินคุณภาพของคู่มือการนิเทศฯ
โดยผู้เชี่ยวชาญมีค่าเฉลี่ยโดยรวมทุกด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด 2) ผลการนิเทศโดยใช้กระบวนการวิจัย

36

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

ฉบับที่ 1 (มกราคม – มถิ ุนายน 2565)

ปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูฯ พบว่า
2.1) ผลการประเมินความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูฯ จาแนกตาม
กลุ่มคะแนนคุณภาพที่ไดร้ ับ พบว่า ครมู ีความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับดี
ร้อยละ 69.70 รองลงมา มีผลการประเมินคณุ ภาพอยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 30.30 ตามลาดบั 2.2) ผลการใช้
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูฯ พบว่า มีผลการใช้งานครบทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 เมื่อพิจารณาโดย
ภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพดี คิดเป็นร้อยละ 84.85 ซึ่งผลงานนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูฯ
ผา่ นเกณฑ์การยอมรับได้ 2.3) ครูมีความพึงพอใจต่อการนิเทศฯ โดยภาพรวม มีค่าเฉล่ียอยูใ่ นระดับมากที่สุด
และ 2.4) ผลการทดสอบระดับชาติขน้ั พืน้ ฐาน (O-NET) กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ของนักเรยี นระดับ
มัธยมศึกษาในจังหวัดชัยนาท สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 หลังจากครูนา
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาไปใช้ในการสอน พบว่า ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงขึ้น คิดเป็นร้อยละ 70.00 และผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ระดับมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 สงู ขน้ึ คิดเป็นร้อยละ 61.54

คาสาคญั : การนเิ ทศโดยกระบวนการวจิ ยั นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้

Abstract
The purposes of this research were: 1) to create a supervision manual by using an

operational research process to promote the ability to develop innovation in learning
management among teachers. 2) To study the results of supervision by using an operational
research process to promote the ability to develop innovation in learning management
among teachers. The sample group used in this research was 33 teachers of mathematics
learning subject group, academic year 2020 under the Office of Secondary Education Service
Area 5, by purposive selection. The conduct of this research was the supervision of research
the process. (research-based supervision) to promote the ability to develop innovative
learning management of teachers According to the process of operational research,
they are 1) Planning (P-Plan), 2) Operation (A- Action), 3) Observation (O-Observing),
and 4) Reflecting (R-Reflecting). The research tools consisted of 1) Supervision Manual using
the practical research process, 2) Manual Quality Assessment Form, 3) Interview Form,
4) Teacher Teaching Observation Form, 5) Assessment Form for Innovation Development in

*ศกึ ษานเิ ทศก์ชานาญการพเิ ศษ, สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอุทัยธานี ชัยนาท
Supervisor Senior Professional Level, the Secondary Educational Service Area Office Uthaithani Chainat

37

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

ฉบับที่ 1 (มกราคม – มถิ นุ ายน 2565)

Mathematics Learning Management, 6) Quality assessment form of learning management
innovation and 7) Teacher satisfaction questionnaire for supervision by using the practical
research process. Data analysis uses statistical values and content analysis. Data were
analyzed by quantitative statistics such as Percentage, Mean, Standard Deviation,
Relative Development Score and qualitatively analyze the data by content analysis.

The results of the research found that; 1) The results of creating a supervision
manual by using an operational research process to promote the ability to develop
innovation in learning management among teachers. They had an index of conformity (IOC)
between 0.86 - 1.00 in all aspects. The results of the process efficiency (E1) and the
effectiveness of the results (E2) of the supervision manual were 84.74/81.60 and the results
of the assessment of the quality of the supervision manual by experts were at the highest
level overall in all aspects. 2) The results of supervision by using the practical research
process to promote the ability to develop innovative learning management of teachers
found that 2.1) The results of the assessment of the teachers' ability to develop innovations
in learning management, classified by the received quality score group, found that the
teachers' ability to develop innovations in learning management was at a good level,
69.70 percent, followed by Down to the quality assessment results are at a very good level,
30.30 percent, respectively. 2.2) The results of using innovations in learning management
by teachers were found that the results were used by everyone, representing 100%,
when considering the overall quality level, accounting for 84.85%. Teacher's knowledge
passed the acceptance criteria. 2.3) The teachers' satisfaction with the supervision as a
whole were at the highest average level. 2.4) Ordinary National Educational Test Result
(O-NET) Mathematics Subject Group of secondary school students in Chainat Department
of the Secondary Educational Service Area Office 5, after teachers applied innovative
learning management innovations developed in teaching, it was found that the results of
the Ordinary National Educational Test (O-NET) at the Secondary School level increased by
70.00%, and the result of the basic national test (O-NET) at the Mathayom 6 level increased
by 61.54%.

Keyword : Supervision using the practical research process, Learning Management
Innovation

38

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ฉบับที่ 1 (มกราคม – มถิ ุนายน 2565)

บทนา

จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562 ได้กาหนดแนวการจัดการศึกษา
ในมาตรา 22 ต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ โดยเน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ ครูจึงต้องมีบทบาทสาคัญในการถ่ายทอดความรู้และพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพ โดยครูต้อง
พัฒนาคุณภาพมากยิ่งขึ้น ภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เป็นพลวัตของโลกศตวรรษที่ 21
และสภาวการณ์ที่เป็นแรงกดดันทั้งจากภายในและภายนอก ดังที่ Riney, M., et al (2006) ยืนยันว่า
วิธีการสอนของครูส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน แสดงให้เห็นถึงความสาคัญของบุคลากรครู
ว่าเป็นปัจจัยที่สาคัญต่อการพัฒนาผู้เรียน เช่นเดียวกับ Husain Salilul Akareem & Syed Shahadat
Hossain (2016), Laurie Brady (2011) ที่กล่าวว่าครูถือได้ว่าเป็นปัจจัยกาหนดคุณภาพการศึกษา
และเป็นส่ิงทที่ าใหก้ ารรับรขู้ องนักเรียนเกดิ การเปลย่ี นแปลงได้ซึ่งครตู ้องมลี กั ษณะทเ่ี ปล่ียนไปในศตวรรษท่ี 21
ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนบทบาทตนเองจากครูสอน (Teacher)ไปเป็นครูฝึก (Coach) หรือผู้อานวย
ความสะดวกในการเรียนรู้ (Learning Facilitator) (พนมนคร มีราคา, 2560) จึงถือว่าเป็นจุดเปลี่ยนของ
คุณสมบัติที่เปลี่ยนไปของบุคลากรครู ทั้งบทบาทหน้าที่ที่รับผิดชอบและความสาคัญอย่างยิ่ง ในฐานะ
เป็นผู้ให้การศึกษาของชาติ ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงบทบาทของกลุ่มงานนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด
การศึกษา โดยการปฏิบัติงานของศึกษานิเทศก์ ก็มีความจาเป็นที่จะใช้กระบวนการนิเทศ ติดตาม และ
ประเมินผลการจัดการศึกษาที่มีรปู แบบวิธีการที่ดีเพื่อนามาใช้เป็นกลไกในการส่งเสริมและพัฒนาครูผู้สอน
ให้มคี วามรคู้ วามสามารถในการจัดกระบวนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รียนตามจุดมุ่งหมาย
ของบทบัญญตั ทิ ี่กลา่ วมา

ท้ังนี้ แนวคิดการจัดการนิเทศในปัจจุบันควรปรับบทบาทของศึกษานิเทศก์ ให้ฟังมาก พูดน้อย
ใช้คาถาม สะท้อนคิดบนพ้ืนฐานของข้อมูล ลดการบอกคาตอบไม่ส่ังการใด ๆ และยึดหลักผู้รับการนิเทศ
คือ เพื่อนร่วมเรียนรู้ตามเทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะสะท้อนคิด (Reflective Coaching) โดยใช้
กระบวนการวิจัยเป็นฐานในการพัฒนานวัตกรรมบนพื้นฐานของข้อมูลที่เป็นจริงในพื้นที่การปฏิบัติงาน
หรือในห้องเรียน (Working in Classroom) ซึ่งการนิเทศที่ผู้วิจัยมองเห็นว่ามีความน่าสนใจและ
สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันที่ต้องปรับทั้งบทบาทศึกษานิเทศก์และต้องอาศัยความร่วมมือระหว่าง
ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศนั่นก็คือ การนิเทศโดยใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการ ซึ่งเป็นการนิเทศ
แบบร่วมมือ สามารถนาพาครูคิด และพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียน
การสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของนักเรียน และช่วยยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น
การนิเทศด้วยกระบวนการวิจัย ตามแนวคิดของ เคมมิส และแม็คแท็กการ์ด ( Kemmis and
McTaggart, 1988, หน้า 11-15) ประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นการวางแผน (Planning)
เริ่มต้นด้วยการสารวจปัญหาที่ต้องการให้มีการแก้ไข นักวิจัยและผู้เกี่ยวข้องร่วมกันวางแผนด้วยกัน
สารวจสภาพปัญหา วิเคราะห์สภาพปัญหาเพื่อเป็นแนวทางในการหาโครงสร้างของปัญหาอย่างมีระบบ

39

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มถิ นุ ายน 2565)

ทบทวนปัญหา ถกปัญหาอย่างกว้างขวางซึ่งจะทาให้เห็นปัญหาอย่างชัดเจน 2) ขั้นการปฏิบัติการ (Action)
เป็นการกาหนดแนวคิดที่กาหนดเป็นกิจกรรมในขั้นวางแผนมาดาเนินการ เมื่อลงมือปฏิบัติต้องใช้
การวิเคราะห์วิจารณ์ โดยรับฟังจากผู้เกี่ยวข้องซึ่งจากการปฏิบัติจะเป็นข้อมูลย้อนกลับว่า แผน ที่วางไว้
อย่างดีนั้นปฏิบัติได้ดีมากน้อยเพียงใด มีอุปสรรค อย่างไรบ้าง ในการปฏิบัติ ดังนั้นแผนงานที่กาหนดไว้
อาจจะยืดหยุ่นโดยผู้วิจัย ต้องใช้วิจารณญาณ และการตัดสินใจที่เหมาะสม และมุ่งปฏิบัติเพื่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงตามขั้นตอนที่วางไว้ 3) ขั้นการสังเกต (Observation) เป็นขั้นที่ขณะวิจัยมีการดาเนิน
กิจกรรมตามขั้นตอนที่วางไว้ต้องมีการสังเกตควบคู่ไปด้วย พร้อมจดบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทั้งหมด
ที่คาดหวังและไม่คาดหวัง โดยสิ่งที่สังเกตก็คือกระบวนการปฏิบัติการ (The action process) และผลการ
ปฏิบัติการ (The effects of action) การสังเกตนี้จะรวมถึงการรวบรวมผลการปฏิบัติที่เห็นด้วยตา
การได้ฟัง การได้ใช้ เคร่ืองมือเชาว์แบบทดสอบ เป็นต้น ซึ่งขณะท่ีการปฏิบัติการวิจัยกาลังดาเนินการไป
ควบคู่กับการสังเกตผลการปฏิบัติควรใช้เทคนิคต่าง ๆ ที่เหมาะสมมาช่วยในการรวบรวมข้อมูลด้วย
4) ขั้นการสะท้อนผล (Reflection) เป็นขั้นสุดท้ายของวงจรการทาวิจัยเชิงปฏิบัติการ คือ การประเมินหรือ
ตรวจสอบกระบวนการ ปัญหาหรืออุปสรรคต่อการปฏิบัติการ ซึ่งผู้วิจัยและผู้ที่เกี่ยวข้องต้องตรวจสอบ
กระบวนการ ปัญหาหรืออุปสรรคต่อการปฏิบัติการ ปัญหาที่เกิดข้ึนในแง่มุมต่าง ๆ โดยผ่านการอภิปราย
ปัญหา ซึ่งจะได้แนวทางของการพัฒนาขั้นตอนการดาเนินกิจกรรมและเป็นพื้นฐานข้อมูลที่นาไปสู่
การปรับปรุงและวางแผนการปฏิบัติต่อไป โดยวงจร 4 ขั้นตอนดังกล่าวจะมีลักษณะการดาเนินการเป็น
ขั้นบันไดเวียน (Spiral) การทาซ้าตามวงจรจนกว่าจะได้ผลงานวิจัยและแสดงให้เห็นแนวทางหรือ
รูปแบบปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพเพื่อแก้ปัญหาในสิ่งที่ศึกษานั้น ซึ่งการนิเทศด้วยกระบวนการวิจัย ตาม
แนวคิดของ เคมมิส และแม็คแท็กการ์ดนั้นทาให้ทั้งศึกษานิเทศก์และครูได้ร่วมมือกันวิเคราะห์
สภาพปัญหาเพื่อหาแนวทางในการพัฒนานวัตกรรมแก้ปัญหาร่วมกัน ผ่านกระบวนการวิจัยปฏิบัติการ
(P-A-O-R) ซึ่งจะมีการกาหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาจากสาเหตุของปัญหา ผู้นิเทศจะร่วมกับผู้รับ
การนิเทศกาหนดวิธีและแนวทางเพื่อแก้ปัญหาการเรียนการสอน รู้จักคิด พัฒนาสื่อและนวัตกรรม
ซึ่งอาจเป็นวิธีการ หรือกิจกรรมการนิเทศที่อยู่บนพื้นฐานของหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับวิธีการ
นนั้ ๆ ตลอดทั้งมกี ารหาคุณภาพของสื่อที่พฒั นาขึ้นเพื่อให้มีความเชอ่ื ถือได้ (สพุ ิชญา ตันติวัฒนะผล, 2559)

ในฐานะทผ่ี ู้วิจัยปฏิบัตหิ นา้ ท่ีศึกษานเิ ทศก์ สังกดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 5
รับผิดชอบดูแลกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และมีประสบการณ์ในการปฏิบัติการสอนในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ซึ่งถือว่าคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีความสาคัญยิ่งวิชาหนึ่ ง มีบทบาทสาคัญย่ิง
ต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ทาให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน
สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบช่วยให้คาดการณ์วางแผน ตัดสินใจ
แก้ปัญหา และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษา
ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์อื่น ๆ ทั้งที่เป็นนามธรรมและรูปธรรมที่มีประโยชน์ต่อ

40

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มถิ ุนายน 2565)

การดาเนินชีวิตและช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2551, หน้า 47) นอกจากนี้ ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพทางคณิตศาสตร์
(Mathematical Power) ให้เป็นผู้ที่มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีความสามารถ
ในการแก้ปัญหา มีความสามารถในการอุปนัยและนิรนัยในสถานการณ์หรือปัญหาต่าง ๆ มีความสามารถ
ในการคาดเดา มีความสามารถในการเชื่อมโยงและมีความสามารถในการให้เหตุผล ตลอดจนมีวิสัยทัศน์
และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คณิตศาสตร์จึงเป็นปัจจัยที่สาคัญในการพัฒนามนุษย์ อันแสดงถึงวิวัฒนาการ
การคดิ ค้นสง่ิ ประดษิ ฐ์ของมนษุ ย์ได้เปน็ อยา่ งดี

อย่างไรก็ตาม จากผลการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่ผ่านมาพบว่า คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน
ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 ยังไม่ประสบผลสาเร็จเท่าที่ควร เมื่อพิจารณา
จากข้อมูลสรุปผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ประจาปีการศึกษา 2562
ซ่ึงเป็นการตรวจสอบคุณภาพผู้เรยี นตามกรอบมาตรฐานและตัวชีว้ ัดของหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 โดยในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มคี ะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศ 26.73 และมคี ะแนนเฉลี่ยระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
26.98 พบว่า คะแนนเฉลี่ยในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 มีคะแนนเฉลี่ย 26.27
เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างกับระดับประเทศ เท่ากับ -0.46 และเมื่อเปรียบเทียบกับระดับสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เท่ากับ -0.71 และเมื่อเปรียบเทียบข้อมูลคะแนนเฉลี่ยกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 ระหว่างปี 2560 – 2562
พบว่า ปี 2560 เท่ากับ 26.17 ปี 2561 เท่ากับ 29.71 และ ปี 2562 เท่ากับ 26.27 ซึ่งผลค่าคะแนนลดลง
3.44 ส่วนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศ าสตร์
มีคะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ 25.41 และมีคะแนนเฉล่ียระดบั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
25.62 พบว่า คะแนนเฉลี่ยในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 มีคะแนนเฉลี่ย 24.80
เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างกับระดับประเทศ เท่ากับ -0.61 และเมื่อเปรียบเทียบกับระดับสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เท่ากับ -0.82 และเมื่อเปรียบเทียบข้อมูลคะแนนเฉลี่ย
กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 5 ระหว่างปี 2560 – 2562
พบว่า ปี 2560 เท่ากับ 24.39 ปี 2561 เท่ากับ 29.61 และ ปี 2562 เท่ากับ 24.80 ซึ่งผลค่าคะแนนลดลง
4.81 (ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5, 2563) จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น
ผู้วิจัยจึงสนใจเกี่ยวกับการพัฒนาการของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ของจังหวัดชัยนาท ซงึ่ เปน็ จงั หวัดในสงั กดั สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 5 มีจานวนโรงเรยี น
ทั้งหมด 13 แห่ง พบว่า ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีค่าพัฒนาการ (ผลต่าง) เฉพาะในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ไม่มีการพัฒนาการเพิ่มขึ้น แต่กลับมีค่าลดลงในทุกโรงเรียน และยังพบว่า
ค่าคะแนนเฉลี่ยคณิตศาสตร์ อยู่ใน 3 ลาดับสุดท้าย จานวน 3 แห่ง จากโรงเรียนทั้งหมดจานวน 63 แห่ง

41

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – มถิ ุนายน 2565)

ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 ในส่วนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า
มคี า่ คะแนนเฉลยี่ จากการจัดลาดับอยู่ในลาดบั กลาง ๆ จนถึงลาดบั ทา้ ยจากจานวนโรงเรยี นทั้งหมด 64 แห่ง
ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 (สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 5,
2563) จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้นจะเห็นได้ว่าการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ยังไม่ประสบผลสาเร็จเท่าที่ควร ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากสาเหตุและปัจจัยหลายประการ เช่น เทคนิควิธีการ
จัดการเรียนรู้ที่ยังส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ค่อนข้างน้อย ครูยังคงใช้วิธีการสอนแบบบรรยาย
โดยไม่คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน ครูไม่ค่อยเข้าใจในการนาหลักสูตรไปใช้
ขาดนวัตกรรมหรือสื่อการเรียนรู้ในการพัฒนาการสอนของครู และการประเมินผลผู้เรียน ยังไม่สามารถ
นาไปสู่การปฏิบัติได้ (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2551, หน้า 9) ดังนั้นควรมีการส่งเสริมให้ครู
พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียน อีกทั้งยังเป็นสื่อการสอนและ
วิธีการสอนใหม่ ๆ ที่ครูนามาใช้พัฒนาผู้เรียนโดยเน้นที่ความแตกต่างระหว่างบุคคล เน้นความสามารถในการ
เรียนรู้ของผู้เรียนเป็นหลัก นวัตกรรมจะทาให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนหรือเนื้อหามากขึ้น โดยสามารถพัฒนา
ทั้งด้านความรู้ ทักษะ และด้านเจตคติของผู้เรียนทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนมีผลการเรียนรู้เป็นไปตามมาตรฐาน
ที่หลักสูตรกาหนด ดังนั้น ในด้านการพัฒนาความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดชัยนาท สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 5 จึงมีความจาเป็นที่ต้องมาทาการทบทวน และหาวิธีการ กระบวนการที่จะช่วยส่งเสริม
สนับสนุนให้เกิดการประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของ
นักเรียนมัธยมศึกษามากยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นส่ิงสาคัญที่ตอบสนองเป้าประสงค์ (Goals) สานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 ที่เกี่ยวข้องโดยตรงในข้อ 2 ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีทักษะที่จาเป็น
ในศตวรรษที่ 21 ตามความถนัด ความสนใจ และไดร้ บั โอกาสเข้าสเู่ วทกี ารแข่งขนั นานาชาติ ในข้อ 3 ผ้เู รียน
เป็นบคุ คลแห่งการเรยี นรู้ คดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์นวัตกรรม มีทกั ษะความสามารถทีส่ อดคล้องกับทักษะท่ีจาเป็น
ในศตวรรษที่ 21 และในข้อ 4 ครูมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอน และเปลี่ยนบทบาท
ครผู ู้สอนเป็นบทบาทของโค้ช (Coach) ท่ีมีประสทิ ธิภาพ

จากความสาคญั ของปญั หาดงั กลา่ ว ในฐานะทผี่ วู้ ิจยั ปฏิบตั หิ นา้ ท่ศี ึกษานเิ ทศก์ กลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม
และประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 มีหน้าที่รับผิดชอบดูแล
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และมีประสบการณ์ในการปฏิบัติการสอนในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์
เห็นว่าควรนาแนวคิดการวิจัยปฏิบัติการ (P-A-O-R) มาประยุกต์ใช้ในการนิเทศครั้งนี้ เพื่อให้เกิด
การจัดการเรียนการสอนให้บรรลุจุดมุ่งหมายตามหลักสูตร ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดในการนิเทศ โดยใช้
กระบวนการวิจัยปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดชัยนาท สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 5 เพื่อใช้เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพ

42

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ฉบับที่ 1 (มกราคม – มถิ นุ ายน 2565)

และพัฒนายกระดับคุณภาพของครูในด้านการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ซึ่งจะส่งผลต่อผลการ
เรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และคุณภาพของผู้เรียนให้มีศักยภาพทางคณิตศาสตร์
(Mathematical Power) โดยมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และการแก้ปัญหา
สามารถเช่ือมโยงและให้เหตุผล ตลอดจนมีวิสัยทัศน์และความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ให้แก่ผู้เรียนได้เป็นอย่างดี

วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย
1. เพื่อสร้างคู่มือการนิเทศโดยใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมความสามารถ

ในการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา
ในจังหวัดชัยนาท สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 ให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ
ตามเกณฑ์ 80/80

2. เพอ่ื ศึกษาผลการนเิ ทศโดยใช้กระบวนการวจิ ยั ปฏบิ ตั ิการเพื่อสง่ เสรมิ ความสามารถในการพัฒนา
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดชัยนาท
สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 ไดแ้ ก่

2.1 ศึกษาความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ของครกู ลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
ระดับมัธยมศกึ ษาในจังหวดั ชยั นาท สงั กัดสานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 5

2.2 ศึกษาผลการใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระดับมธั ยมศกึ ษาในจังหวัดชยั นาท สงั กัดสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 5

2.3 ศึกษาความพึงพอใจของครูต่อการนิเทศโดยใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการเพื่อส่งเสริม
ความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระดับมธั ยมศึกษาในจังหวัดชัยนาท สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 5

2.4 ศึกษาผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดชัยนาท สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5
หลงั จากครนู านวัตกรรมการจัดการเรียนร้ทู ่ีพัฒนาไปใช้ในการสอน

วิธกี ารดาเนนิ การวจิ ยั
การดาเนินการวจิ ัยมีขน้ั ตอนและวิธดี าเนินการวิจยั ดงั น้ี
1. ขัน้ ตอนการดาเนินการวิจัย
1.1 ระยะท่ี 1 รวบรวมและศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง เช่น กรอบแนวคิดการนิเทศโดย

ใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการรวมถึงนโยบายจุดเน้นและสาระสาคัญขอบข่ายการนิเทศ, คู่มือการนิเทศ
รายงานการนิเทศแบบต่าง ๆ, รปู แบบการนิเทศโดยใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการจากเอกสารและเว็บไซต์ต่างๆ,
แผนปฏิบัติการนิเทศของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 และศึกษาบริบท/สารสนเทศ

43


Click to View FlipBook Version