ก
บทสรุปสําหรับผู้บริหาร
วิธีปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ ( Best Practice) การบริหารจัดการเพ่ือส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) เร่ือง การพัฒนาครูเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ด้วย
รูปแบบ S - PET MODEL โรงเรียนบ้านตาเปาว์ สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1
จัดทาํ ข้ึนโดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อ
1. เพ่ือสร้างความรู้ ความเข้าใจ และพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ท่ีเน้นการจัด
กระบวนการเรียนร้แู บบลงมอื ปฏบิ ัตจิ ริง
2. เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ที่เน้นการจัดกระบวนการ
เรยี นรูแ้ บบลงมอื ปฏบิ ัติจรงิ และสอดคลอ้ งกับทักษะผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21
3. เพ่ือส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ของครูผู้สอนด้วยรูปแบบ
S - PET MODEL
กลุ่มเปา้ หมายในการพฒั นา Best Practice
ครูผสู้ อนและนกั เรียนโรงเรยี นบา้ นตาเปาว์ ประจําภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ดังนี้
ครูผูส้ อนโรงเรยี นบา้ นตาเปาว์ จาํ นวน 10 คน
นกั เรียนชนั้ อนุบาล 1 - ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 จาํ นวน 141 คน
เครื่องมือท่ีใช้ในการดําเนินงานคร้ังน้ี ประกอบด้วย รูปแบบนวัตกรรม S – PET MODEL ในการพัฒนา
ครูเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning และแบบประเมินความพึงพอใจของครู
นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ต่อแนวทางการพัฒนาครูเพ่ือส่งเสริมประสิทธิภาพ
การจดั การเรียนรเู้ ชงิ รุก Active Learning ดว้ ยรปู แบบ S – PET MODEL
ผลการประเมินพบว่า
1. ครูมีความรู้ ความเข้าใจ และได้พัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ท่ีเน้นการจัด
กระบวนการเรียนร้แู บบลงมอื ปฏิบัติจริง
2. โรงเรียนสามารถพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา ด้วยนวัตกรรม
S – PET MODEL เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาครูเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้
เชงิ รุก Active Learning
3. ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ที่เน้นการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบ
ลงมอื ปฏิบตั ิจริง และสอดคล้องกบั ทกั ษะผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21
4. ผเู้ รียนทุกคนไดร้ ับการพัฒนา สง่ ผลใหผ้ ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นและคุณลักษณะอนั พึงประสงคต์ าม
การพัฒนาครเู พอ่ื สง่ เสรมิ ประสทิ ธิภาพการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุก Active Learning ดว้ ยรูปแบบ S - PET MODEL
ข
หลักสตู รสถานศกึ ษาเปน็ ไปตามเปา้ หมาย ดงั น้ี
4.1 ผู้เรียนระดับปฐมวัย มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาเป็นไป
ตามวัย ครบทงั้ 4 ด้าน รอ้ ยละ 100
4.2 ผู้เรียนระดับประถมศึกษา มีค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ อยู่ใน
ระดบั ดีขึน้ ไป รอ้ ยละ 82.78
4.3 ผเู้ รยี นระดับประถมศึกษา มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การส่อื สาร และการ
คิดคาํ นวณ ในระดบั ดขี ึ้นไป รอ้ ยละ 88
4.4 ผูเ้ รยี นระดบั ประถมศึกษา มีคณุ ลักษณะอันพึงประสงคต์ ามหลกั สูตรสถานศกึ ษาอยู่ใน
ระดับดีขน้ึ ไป ร้อยละ 100
5. ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ครู นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ท่ีมีต่อการพัฒนาครูเพ่ือส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active
Learning ด้วยรูปแบบ S - PET MODEL พบว่า มีความพึงพอใจมากกว่าร้อยละ 80 ข้ึนไป โดยมีผลการ
ประเมนิ ระดบั 4 (พงึ พอใจมาก) ขึ้นไปทกุ รายการ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100
การพัฒนาครเู พื่อสง่ เสรมิ ประสทิ ธภิ าพการจัดการเรียนรู้เชงิ รกุ Active Learning ด้วยรูปแบบ S - PET MODEL
ค
คํานาํ
วิธีปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ ( Best Practice) การบริหารจัดการเพ่ือส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) เร่ือง การพัฒนาครูเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ด้วย
รูปแบบ S - PET MODEL นี้ จัดทําขึ้นเพื่อเป็นแนวทางพัฒนาครูให้มีความรู้ ความเข้าใจ และส่งเสริม
ประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ที่เน้นการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง
และสอดคล้องกับทักษะผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ด้วยนวัตกรรม S - PET MODEL ประกอบด้วยกิจกรรม
การดําเนินงาน 4 กิจกรรม คือ กิจกรรมท่ี 1 : S – Supervision การนิเทศด้วยการนิเทศภายใน Internal
Supervision กิจกรรมที่ 2 : P – Professional Learning Community (PLC) การใช้แนวคิดชุมชนการ
เรียนรู้ทางวิชาชีพ กิจกรรมที่ 3 : E – Enhancement การเพ่ิมประสิทธิภาพการดําเนินงานด้วยการพัฒนา
ตนเองและวิชาชีพอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง กิจกรรมท่ี 4 : T – Technology and Innovation การ
พัฒนาหรือการนําสื่อเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ มีการดําเนินกิจกรรม
อย่างเป็นระบบ มีการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ การกําหนดเป้าหมายในการพัฒนา การ
วางแผนการปฏิบัติงาน การนิเทศติดตามผล และประเมินผล เพื่อนําผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนางาน
อย่างต่อเน่ือง และเป็นระบบ ผลการดําเนินงานส่งผลให้โรงเรียนบ้านตาเปาว์ได้พัฒนาคุณภาพการจัดการ
เรียนรู้และยกระดับผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนให้เป็นไปตามเป้าหมาย สามารถใช้นวัตกรรม S – PET MODEL เป็น
แนวทางในการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาครูเพ่ือส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active
Learning ทาํ ให้เกิดการพัฒนาทย่ี ง่ั ยืน
ขอขอบคุณบุคลากรที่เก่ียวข้องกับการดําเนินงานทุกท่าน ท่ีให้ความร่วมมือในการดําเนินงาน
ทําให้การดําเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมายท่ีกําหนดและโรงเรียนบ้านตาเปาว์หวังเป็นอย่างยิ่งว่า วิธีปฏิบัติ
ท่ีเป็นเลิศ ( Best Practice) เรื่อง การพัฒนาครูเพ่ือส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active
Learning ด้วยรูปแบบ S - PET MODEL จะช่วยส่งเสริมการบริหารจัดการและเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน
ด้านการพฒั นาครูเพ่อื สง่ เสริมประสิทธิภาพการจดั การเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ Active Learning ตอ่ ไป
นางสาวฐติ ิรตั น์ จินพละ
ผอู้ าํ นวยการโรงเรยี นบา้ นตาเปาว์
การพัฒนาครเู พอื่ ส่งเสรมิ ประสทิ ธิภาพการจดั การเรียนร้เู ชงิ รุก Active Learning ดว้ ยรปู แบบ S - PET MODEL
ง
สารบัญ
เรอ่ื ง หน้า
บทสรปุ สําหรบั ผูบ้ ริหาร ก
คํานาํ ค
สารบัญ ง
ขอ้ มูลทวั่ ไปของผพู้ ฒั นา Best Practice 1
บทท่ี 1 ความสาํ คญั ของผลงานหรอื นวตั กรรมท่นี ําเสนอ 1
บทท่ี 2 วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายของการดาํ เนนิ งาน 3
3
วัตถุประสงค์........................................................................................................................... 3
4
เป้าหมาย................................................................................................................................ 4
5
บทท่ี 3 กระบวนการผลติ ผลงาน หรือข้นั ตอนการดําเนนิ งาน
1. ขั้นตอนการดําเนินงาน....................................................................................................... 7
7
2. กระบวนการผลิตผลงาน Best Practice.......................................................................... 7
8
บทท่ี 4 ผลการดาํ เนนิ การ/ประโยชน์ทไี่ ดร้ ับ 9
1. ผลการดําเนินงานทเี่ กิดขึน้ จากการพฒั นา Best Practice .............................................. 10
10
2. ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั จากการพัฒนา Best Practice ............................................................. 11
11
บทท่ี 5 ปจั จัยความสาํ เร็จ 14
บทท่ี 6 บทเรียนที่ได้รับ (Lesson Learned) 25
บทท่ี 7 การเผยแพร่ / การไดร้ บั การยอมรับ / รางวลั ท่ไี ด้รบั 25
26
01. การเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์ ..............................................................................................
2. การแลกเปลีย่ นเรยี นรู้.......................................................................................................
3. ผลการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนบ้านตาเปาว์ ปีการศกึ ษา 2564........................
4. รางวลั ผลงานท่ไี ด้รับ..........................................................................................................
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก เอกสารการดาํ เนนิ งาน...................................................................................
ภาคผนวก ข กจิ กรรมการดาํ เนินงาน...................................................................................
การพัฒนาครูเพื่อสง่ เสรมิ ประสิทธภิ าพการจดั การเรียนรู้เชงิ รุก Active Learning ด้วยรปู แบบ S - PET MODEL
~1~
วธิ ีปฏิบตั ทิ เ่ี ปน็ เลิศ ( Best Practice)
การบริหารจัดการเพ่อื สง่ เสรมิ การจดั การเรยี นรู้เชงิ รุก (Active Learning)
ชื่อ Best Practice
การพัฒนาครูเพอ่ื สง่ เสรมิ ประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชงิ รุก Active Learning
ดว้ ยรปู แบบ S - PET MODEL
ขอ้ มลู ท่ัวไปของผู้พัฒนา Best Practice
ชอื่ ผู้พฒั นา BP : นางสาวฐิตริ ัตน์ จนิ พละ
ตาํ แหน่ง ผอู้ ํานวยการโรงเรยี นบ้านตาเปาว์ วทิ ยฐานะ ผอู้ าํ นวยการชาํ นาญการพเิ ศษ
โรงเรียนบ้านตาเปาว์ ตําบลเมอื งที อําเภอเมืองสุรินทร์ จงั หวดั สรุ ินทร์ 32000
สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1
ตอนที่ 1
ความสาํ คญั ของผลงานหรอื นวัตกรรมทน่ี ําเสนอ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
และ(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 กําหนดให้รัฐต้องส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยให้มีระบบการพัฒนาครู
คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษาให้มีความพร้อมและเข้มแข็ง พร้อมรองรับการกระจายอํานาจ และตาม
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 มาตรา 79 ให้ผู้บังคับบัญชา
มีหน้าท่ีพัฒนาผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา เพ่ือให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดี คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ
วิชาชีพที่เหมาะสม ในอันที่จะทําให้การปฏิบัติหน้าที่ราชการเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความก้าวหน้า
แก่ราชการ มาตรา 80 ให้มีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่ง
บางตําแหน่งและบางวิทยฐานะ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดี คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ
วิชาชีพที่เหมาะสมในอันท่ีจะทําให้การปฏิบัติหน้าท่ีราชการเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความก้าวหน้า
แก่ราชการ และกระทรวงศึกษาธิการได้มีการกําหนดนโยบายสําคัญท่ีทุกภาคส่วนต้องร่วมมือและช่วยกัน
ดําเนินการให้ประสบความสําเร็จ โดยมีเป้าประสงค์สําคัญ ได้แก่ ผู้เรียนได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพ
ที่สอดคล้องเหมาะสมกับการเสริมสร้างความม่ันคง ผู้เรียนมีสมรรถนะและความสามารถในการแข่งขันท่ีสนอง
ความต้องการของตลาดงานและประเทศ ผู้เรียนได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพ และมีทักษะของผู้เรียนใน
ศตวรรษท่ี 21 ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างท่ัวถึง และเสมอภาค อีกทั้งแผนพัฒนาการศึกษา
การพัฒนาครเู พ่ือส่งเสรมิ ประสทิ ธภิ าพการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุก Active Learning ดว้ ยรปู แบบ S - PET MODEL
~2~
ขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2564 - 2565) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลยุทธ์ที่ 3 ยกระดับคุณภาพ
การศึกษา ให้สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 โดยให้ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา
เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ทันต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี มีสมรรถนะ ความรู้ ความเชี่ยวชาญ
จรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพ มีความพร้อมทั้งทางด้านวิชาการ เชี่ยวชาญวิชาชีพ มีจรรยาบรรณ และ
จิตวิญญาณความเป็นครู ดังน้ันครูในศตวรรษที่ 21 จึงต้องสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
(Teacher Enhancement) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสามารถใช้ทักษะเพ่ือการดํารงชีวิตในศตวรรษ
ท่ี 21 เป็นผู้ออกแบบการเรียนรู้ และอํานวยความสะดวก (facilitate) ในการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเรียนรู้จากการ
ลงมือทํา กระตุ้นสร้างแรงบันดาลใจให้อยากเรียน ท่ีจะนําไปสู่การกระตือรือร้นท่ีจะสืบค้น รวบรวมความรู้จาก
แหล่งต่าง ๆ ครูต้องจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สามารถสร้างและ
ออกแบบสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ ที่มีบรรยากาศเก้ือหนุนและเอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีเป้าหมาย การ
เช่ือมโยงความรู้หรือแลกเปล่ียนความรู้กับชุมชนและสังคมโดยรวม จัดการเรียนรู้ผ่านบริบทความเป็นจริง และ
สร้างโอกาสใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ ขา้ ถึงส่อื เทคโนโลยี เครอื่ งมอื และแหล่งเรยี นรทู้ ี่มคี ุณภาพ
สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ได้กําหนดนโยบายด้านคุณภาพผู้เรียน คือ
ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะที่จําเป็นของโลกในศตวรรษที่ 21
อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันการปกครองในระบบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติท่ีถูกต้องต่อบ้านเมือง พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะ
ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดข้ันสูง นวัตกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ
และปรับปรุงหลักสูตรเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมท้ังส่งเสริม
การจัดการเรียนรู้ท่ีสร้างสมดุลทุกด้าน พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นครูยุคใหม่ มีศักยภาพ
ในการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning
ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active
Learning เป็นการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ท่ีเน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้า
หาความรู้ด้วยตัวเอง ที่เน้นการให้ความสําคัญแก่ผู้เรียนส่งเสริมกระบวนการคิด การแก้ไขปัญหาและการจัด
กิจกรรมเพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงโดยอาศัยหลักการของวิทยาศาสตร์การรู้คิด ในการสร้าง
กระบวนการเรียนรู้ท่ีหมาะสมกับธรรมชาติการทํางานของสมอง ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความต่ืนตัวและ
กระตือรือร้นด้านการรู้คิด ทําให้ได้การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสูง และยังเป็นการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของ
ผูเ้ รียนอย่างต่อเนื่องนอกห้องเรยี นอีกด้วย
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้ของ
โรงเรียนบ้านตาเปาว์ที่ต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ครูผู้สอนขาดความ
การพัฒนาครเู พือ่ ส่งเสรมิ ประสิทธภิ าพการจดั การเรียนรู้เชงิ รุก Active Learning ด้วยรูปแบบ S - PET MODEL
~3~
ต่อเน่ืองในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และใช้รูปแบบการบรรยายเป็นส่วนใหญ่ ขาดการนําการจัดการเรียนรู้
เชิงรุก Active Learning มาใช้อย่างเป็นรูปธรรม การเรียนรู้ของผู้เรียนส่วนใหญ่ผ่านการทําใบงานและแบบ
ฝึก ส่งผลให้เกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ นักเรียนขาดความกล้าคิดกล้าแสดงออก มีพฤติกรรมไม่พึง
ประสงค์ เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเกิดผลตามนโยบายและส่งผลให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามี
ความรู้ ทักษะ สมรรถนะ ตามมาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานตําแหน่งวิทยฐานะ ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการ
เรียนรู้และทักษะที่จําเป็นของโลกในศตวรรษท่ี 21 ดังนั้น ผู้บริหารโรงเรียนซ่ึงเป็นผู้นําการเปลี่ยนแปลงและ
การขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและคุณภาพผู้เรียน จึงดําเนินการพัฒนาครูเพ่ือส่งเสริม
ประสทิ ธภิ าพการจดั การเรยี นรู้เชิงรุก Active Learning ดว้ ยรูปแบบ S - PET MODEL ข้นึ
ตอนที่ 2
วัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายของการดําเนนิ งาน
1. วัตถุประสงค์
1.1 เพือ่ สรา้ งความรู้ ความเข้าใจ และพฒั นาการจัดการเรียนรู้เชงิ รุก Active Learning ท่ีเน้นการจดั
กระบวนการเรยี นร้แู บบลงมอื ปฏิบัติจรงิ
1.2 เพ่ือส่งเสริมให้ครผู ู้สอนสามารถจดั การเรยี นรเู้ ชิงรุก Active Learning ท่เี นน้ การจดั
กระบวนการเรยี นรแู้ บบ ลงมอื ปฏบิ ัติจรงิ และสอดคลอ้ งกับทักษะผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21
1.3 เพอ่ื ส่งเสรมิ ประสทิ ธิภาพการจดั การเรยี นร้เู ชิงรุก Active Learning ของครูผูส้ อนดว้ ยรูปแบบ
S - PET MODEL
2. เปา้ หมาย
2.1 เชิงปรมิ าณ
2.1.1 ครูทุกคน ได้รับการพัฒนาเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active
Learning
2.1.2 ครูทุกคน มีการผลิต/พัฒนาหรือการนําสื่อเทคโนโลยี และนวัตกรรมทางการศึกษามาใช้
ในการจัดการเรียนรู้
2.1.3 ครูทุกคน จัดการเรียนการสอน Active Learning และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนา
และปรบั ปรงุ การเรยี นรขู้ องผเู้ รียน
2.1.4 ผเู้ รียนทุกคนได้รับการพฒั นา ส่งผลให้
การพัฒนาครเู พอ่ื สง่ เสริมประสทิ ธิภาพการจัดการเรียนร้เู ชิงรกุ Active Learning ดว้ ยรปู แบบ S - PET MODEL
~4~
2.1.4.1 ผู้เรียนระดับปฐมวัย ร้อยละ 80 ขึ้นไป มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคม และสตปิ ัญญาเปน็ ไปตามวัย
2.1.4.2 ผู้เรียนระดับประถมศึกษา ร้อยละ 80 ข้ึนไป มีความสามารถในการอ่าน การเขียน
การสือ่ สาร และการคดิ คาํ นวณ ในระดบั ดขี ึ้นไป
2.1.4.3 ผู้เรียนระดับประถมศึกษา ร้อยละ 80 ขึ้นไป มีค่าเฉล่ียผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
5 กลุ่มสาระการเรียนรู้หลัก คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม และภาษาตา่ งประเทศ เพ่มิ ข้ึนหรืออย่ใู นระดบั ดขี นึ้ ไป
2.1.4.4 ผู้เรียนระดับประถมศึกษา ร้อยละ 80 ขึ้นไป มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม
หลักสตู รสถานศกึ ษาเพมิ่ ขน้ึ หรอื อยใู่ นระดับดีข้ึนไป
2.1.5 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ครู นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ร้อยละ 80 ข้นึ ไป มคี วามพงึ พอใจตอ่ การจัดการเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ Active Learning
2.2 เป้าหมายเชงิ คุณภาพ
ครูได้รับการพัฒนาเพ่ือประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning มีการผลิต/
พัฒนาหรือการนําสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ส่งผลต่อคุณภาพ
ผู้เรียน และสร้างความพงึ พอใจต่อผู้มีสว่ นได้ส่วนเสยี ในการจัดการศึกษาของโรงเรียนบ้านตาเปาว์
ตอนท่ี 3
กระบวนการผลติ ผลงาน หรอื ขั้นตอนการดําเนนิ งาน
1. ข้นั ตอนการดาํ เนนิ งาน
1. ข้นั เตรยี มการ P(Plan)
1.1 ประชุมวางแผนการพฒั นา กาํ หนดกรอบแนวทางบริหารและการดาํ เนินงานขบั เคลอ่ื น
นโยบาย
1.2 จดั ทําโครงการ/กจิ กรรม
1.3 ชแ้ี จงสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจในการดาํ เนินงาน และมอบหมายงานผ้รู บั ผิดชอบ
2. ขั้นดําเนนิ การ D (Do)
ดาํ เนนิ กิจกรรมการพัฒนาครเู พ่ือสง่ เสริมประสทิ ธิภาพการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ Active Learning
ดว้ ยรูปแบบ S - PET MODEL ดังนี้
กิจกรรมที่ 1 : S – Supervision การนิเทศด้วยการนเิ ทศภายใน Internal Supervision
การพฒั นาครูเพื่อส่งเสริมประสิทธภิ าพการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ Active Learning ด้วยรูปแบบ S - PET MODEL
~5~
กิจกรรมที่ 2 : P – Professional Learning Community (PLC) การใช้แนวคิดชมุ ชนการเรยี นรู้
ทางวชิ าชีพ
กิจกรรมท่ี 3 : E – Enhancement การเพิม่ ประสทิ ธิภาพการดาํ เนินงานด้วยการพฒั นาตนเอง
และวิชาชพี อยา่ งเป็นระบบและตอ่ เน่อื ง
กิจกรรมที่ 4 : T – Technology and Innovation การพัฒนาหรอื การนําสอ่ื เทคโนโลยีและ
นวตั กรรมทางการศึกษามาใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้
3. ข้นั ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล C (Check)
3.1 การนิเทศ กํากับ ติดตาม ตรวจสอบประเมนิ ผลการดาํ เนินงาน
3.2 คน้ หาแนวปฏิบัติท่ดี ี จดั กจิ กรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้และเผยแพร่ผลการดําเนินงาน
4. ขั้นปรับปรุง พัฒนาและสรุปผลรายงาน A (Act)
4.1 พัฒนาและปรบั ปรงุ การดําเนนิ งานเพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพอย่างตอ่ เนอื่ ง
4.2 สรุปผลการดาํ เนินงานและจัดทํารายงานเสนอต่อผทู้ ี่เกยี่ วขอ้ ง
2. กระบวนการผลติ ผลงาน Best Practice
2.1 กลุ่มเป้าหมายในการพฒั นา Best Practice
ครูผูส้ อนและนักเรียนโรงเรียนบ้านตาเปาว์ ประจาํ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ดงั น้ี
ครูผู้สอนโรงเรยี นบา้ นตาเปาว์ จํานวน 10 คน
นกั เรยี นชัน้ อนุบาล 1 - ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 จาํ นวน 141 คน
2.2 ขัน้ ตอนการพฒั นา Best Practice
2.2.1 ศึกษาสภาพปัญหา ความตอ้ งการพฒั นา นโยบาย และความต้องการของผูเ้ รียน
2.2.2 ประชมุ ผู้เกี่ยวข้องในการวางแผนและพฒั นารปู แบบการบริหารจดั การโรงเรียน
2.2.3 ศึกษาจากแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning การ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยใช้พื้นท่ีเป็นฐาน นวัตกรรมขับเคลื่อน และหลักการบริหารงานด้วยวงจรคุณภาพ
เดมิ่ง
2.2.4 ดําเนินการพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
Active Learning ดว้ ยรูปแบบ S – PET MODEL
2.2.5 ตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบการพัฒนาครูเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิง
รกุ Active Learning ดว้ ยรปู แบบ S – PET MODEL และหาประสทิ ธภิ าพของเคร่ืองมอื ทเี่ ก่ียวข้อง
การพฒั นาครเู พ่ือสง่ เสริมประสิทธภิ าพการจัดการเรียนร้เู ชิงรุก Active Learning ดว้ ยรปู แบบ S - PET MODEL
~6~
2.2.6 นํารูปแบบการพัฒนาครูเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning
ด้วยรูปแบบ S – PET MODEL ไปใช้ในโรงเรียนบ้านตาเปาว์ ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 โดยมีการ
เก็บรวบรวมข้อมูลและวเิ คราะหข์ ้อมูล
2.2.7 ประเมินผลการดําเนินงานการพัฒนาครูเพ่ือส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
Active Learning ด้วยรูปแบบ S – PET MODEL เมอื่ ส้ินปีการศึกษา 2564
2.2.8 ตรวจสอบซํ้าการพัฒนาครูเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active
Learning ดว้ ยรปู แบบ S – PET MODEL ในปีการศกึ ษา 2565
2.3. การตรวจสอบคณุ ภาพ Best Practice
มีการตรวจสอบคุณภาพ Best Practice ก่อนนําไปใช้ และติดตามตรวจสอบคุณภาพ Best
Practice อย่างต่อเนื่องโดยการนิเทศภายใน และมีการสอบถามความพึงพอใจของบุคลากรท่ีเก่ียวข้อง และ
วิเคราะหแ์ บบสอบถามโดยการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานของแบบสอบถาม
2.4 กระบวนการตรวจสอบซํา้ เพ่ือปรับปรงุ Best Practice ให้เกดิ ผลดีตอ่ เน่อื ง
วิธีตรวจสอบซํ้า Best Practice โดยการนํารูปแบบการพัฒนาครูเพ่ือส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการ
เรียนรู้เชิงรุก Active Learning ด้วยรูปแบบ S – PET MODEL มาใช้อีกในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
แล้วศึกษาการใช้ และมีการติดตามตรวจสอบอย่างต่อเนื่องโดยการนิเทศภายใน และมีการสํารวจความพึง
พอใจของบคุ ลากรที่เกยี่ วข้อง
สรปุ การดาํ เนินงานวธิ ีปฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลิศ
( Best Practice)
การบรหิ ารจดั การเพ่ือสง่ เสรมิ การจดั การ
เรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning)
เรอ่ื ง การพฒั นาครู
เพ่อื สง่ เสรมิ ประสิทธิภาพ
การจดั การเรยี นรู้เชงิ รกุ
Active Learning
ดว้ ยรูปแบบ S - PET MODEL
โรงเรยี นบ้านตาเปาว์
การพัฒนาครเู พอื่ ส่งเสริมประสทิ ธภิ าพการจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ Active Learning ด้วยรปู แบบ S - PET MODEL
~7~
ตอนที่ 4
ผลการดําเนนิ การ / ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับ
1. ผลการดาํ เนินงานที่เกดิ ข้นึ จากการพัฒนา Best Practice
ผลที่เกดิ กับโรงเรยี น
1.1 โรงเรียนบ้านตาเปาว์มีระบบการบรหิ ารจดั การเพ่ือสง่ เสรมิ การจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ (Active
Learning)
1.2 โรงเรียนบ้านตาเปาว์ ได้รับการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา
สามารถใช้นวัตกรรม S – PET MODEL เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาครูเพ่ือ
ส่งเสรมิ ประสทิ ธิภาพการจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ Active Learning ทําใหเ้ กดิ การพัฒนาทย่ี ั่งยนื
ผลที่เกิดขนึ้ กับครู
1.3 ครทู กุ คน ได้รับการพฒั นาเพือ่ สง่ เสรมิ ประสิทธิภาพการจดั การเรยี นร้เู ชิงรกุ Active Learning
1.4 ครูทกุ คน มีการผลติ /พฒั นาหรือการนาํ ส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษามาใชใ้ นการ
จัดการเรียนรู้
1.5 ครูทุกคน จัดการเรียนร้เู ชงิ รุก Active Learning และใหข้ ้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและ
ปรบั ปรงุ การเรียนรขู้ องผู้เรยี น
ผลท่เี กิดขน้ึ กบั นักเรียน
1.6 ผู้เรียนทุกคนได้รับการพฒั นา ส่งผลให้ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนและคณุ ลักษณะอันพึงประสงคต์ าม
หลักสูตรสถานศึกษาเพิ่มขน้ึ ตามเป้าหมาย
ด้านความพงึ พอใจของผ้เู กี่ยวขอ้ ง
1.7 ครู นกั เรยี น ผปู้ กครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน เกดิ ความพอใจตอ่ แนวทางการ
พฒั นาครูเพอ่ื สง่ เสริมประสทิ ธิภาพการจัดการเรียนรู้เชงิ รกุ Active Learning ดว้ ยรูปแบบ
S –PET MODEL มากกว่ารอ้ ยละ 80
2. ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับจากการพัฒนา Best Practice
2.1 โรงเรียนบา้ นตาเปาว์มีระบบการบริหารจัดการเพอื่ สง่ เสรมิ การจัดการเรียนรเู้ ชิงรุก (Active
Learning)
2.2 ครไู ด้รบั การพฒั นาเพอื่ สง่ เสรมิ ประสทิ ธภิ าพการจดั การเรียนร้เู ชงิ รกุ Active Learning มกี าร
ผลิต/พัฒนาหรือการนําสือ่ นวตั กรรม และเทคโนโลยที างการศึกษามาใช้ในการจดั การเรยี นรู้
การพัฒนาครเู พ่อื สง่ เสรมิ ประสทิ ธิภาพการจัดการเรยี นรูเ้ ชิงรุก Active Learning ดว้ ยรปู แบบ S - PET MODEL
~8~
2.3 ผู้เรียนได้รับการพัฒนา สง่ ผลให้ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคต์ าม
หลกั สูตรสถานศึกษาแป็นไปตามเป้าหมาย
2.4 ผู้มีสว่ นได้ส่วนเสยี ในการจัดการศึกษาของโรงเรียนบ้านตาเปาว์ เกิดความพงึ พอใจต่อการจดั การ
เรยี นการสอน Active Learning
ตอนท่ี 5
ปจั จยั ความสาํ เรจ็
ผลสําเร็จจากการนํา Best Practice ไปใช้ ได้รบั ความรว่ มมอื และความรับผดิ ชอบในการดําเนนิ งาน
ของครู นกั เรยี น ผ้ปู กครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน และชมุ ชน
1. การขับเคล่ือนนโยบายและการสนับสนุนการดําเนินงานด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและการ
จดั การเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ Active learning ทจี่ รงิ จงั ของสํานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต 1
2. ผู้บริหารสถานศึกษา ให้ความสําคัญในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
Active learning ชแ้ี จงนโยบายการพัฒนาท่ีชัดเจน
3. ผู้บริหารสถานศึกษา และคณะกรรมการดําเนินงาน มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ นิเทศ
ติดตามต่อเน่ืองอย่างจริงจัง และเป็นกัลยามิตร ทั้งคณะครู และนักเรียนมีความสุข ในการจัดกิจกรรมการ
เรยี นรเู้ ชงิ รุก Active learning
4. ครูมีความตระหนักและเห็นความสําคัญของจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active learning มีการพัฒนา
ตนเองเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในกระบวนการจัดเรียนรู้เชิงรุก Active learning มีการปรับปรุงพัฒนางาน
ใหเ้ ขา้ กบั บรบิ ทของชัน้ เรยี น มีความสอดคลอ้ งตามวัยและความต้องการของผ้เู รยี น
5. ผเู้ รยี นมีความสขุ สนุกกบั การเรยี นรู้ ให้ความร่วมมอื ในการจดั การเรียนร้เู ชิงรกุ Active learning
เปน็ อย่างดี
การพัฒนาครูเพอ่ื ส่งเสรมิ ประสิทธภิ าพการจัดการเรียนรู้เชงิ รุก Active Learning ดว้ ยรูปแบบ S - PET MODEL
~9~
ตอนที่ 6
บทเรยี นท่ไี ดร้ ับ (Lesson Learned)
การพัฒนาครูเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ด้วยรูปแบบ
S - PET MODEL โรงเรียนบ้านตาเปาว์ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 จัดทําขึ้น
โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื
1. เพ่ือสร้างความรู้ ความเขา้ ใจ และพัฒนาการจดั การเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ท่เี นน้ การจดั
กระบวนการเรียนร้แู บบลงมือปฏิบัตจิ รงิ
2. เพื่อส่งเสริมใหค้ รูผู้สอนสามารถจดั การเรยี นร้เู ชงิ รกุ Active Learning ทเี่ นน้ การจัดกระบวนการ
เรยี นร้แู บบลงมอื ปฏบิ ัตจิ รงิ และสอดคลอ้ งกับทกั ษะผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21
3. เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ของครูผู้สอนด้วยรูปแบบ
S - PET MODEL
กล่มุ เป้าหมายในการพัฒนา Best Practice
ครูผู้สอนและนกั เรียนโรงเรียนบ้านตาเปาว์ ประจําภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ดังน้ี
ครูผู้สอนโรงเรยี นบ้านตาเปาว์ จาํ นวน 10 คน
นักเรยี นชน้ั อนุบาล 1 - ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 จาํ นวน 141 คน
เคร่ืองมือที่ใช้ในการดําเนินงานครั้งน้ี ประกอบด้วย รูปแบบนวัตกรรม S – PET MODEL ในการพัฒนา
ครูเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning และแบบประเมินความพึงพอใจของครู
นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ต่อแนวทางการพัฒนาครูเพ่ือส่งเสริมประสิทธิภาพ
การจัดการเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ Active Learning ด้วยรปู แบบ S – PET MODEL
ผลการประเมนิ พบวา่
1. ครูมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และได้พัฒนาการจัดการเรยี นรู้เชงิ รุก Active Learning ทีเ่ นน้ การจดั
กระบวนการเรียนรแู้ บบลงมือปฏิบัติจรงิ
2. โรงเรียนสามารถพฒั นาและปรับปรุงคณุ ภาพการจดั การเรียนรขู้ องสถานศึกษา ดว้ ยนวตั กรรม
S – PET MODEL เปน็ แนวทางในการปฏิบตั ิงานด้านการพัฒนาครูเพอ่ื ส่งเสรมิ ประสิทธิภาพการจดั การเรียนรู้
เชงิ รกุ Active Learning
3. ครผู ้สู อนสามารถจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุก Active Learning ทเ่ี นน้ การจัดกระบวนการเรียนร้แู บบ
ลงมือปฏบิ ตั ิจรงิ และสอดคลอ้ งกบั ทกั ษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
4. ผเู้ รียนทุกคนไดร้ ับการพัฒนา สง่ ผลใหผ้ ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคต์ าม
หลกั สตู รสถานศกึ ษาเปน็ ไปตามเปา้ หมาย ดงั น้ี
การพฒั นาครเู พือ่ สง่ เสริมประสทิ ธภิ าพการจัดการเรียนร้เู ชงิ รุก Active Learning ดว้ ยรูปแบบ S - PET MODEL
~ 10 ~
4.1 ผู้เรียนระดับปฐมวัย มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาเป็นไป
ตามวยั ครบทง้ั 4 ด้าน ร้อยละ 100
4.2 ผู้เรียนระดับประถมศึกษา มีค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ อยู่ใน
ระดับดีขึ้นไป รอ้ ยละ 82.78
4.3 ผู้เรยี นระดบั ประถมศึกษา มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การส่อื สาร และการ
คิดคํานวณ ในระดับดขี น้ึ ไป รอ้ ยละ 88
4.4 ผูเ้ รียนระดบั ประถมศึกษา มีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลักสูตรสถานศกึ ษาอยู่ใน
ระดับดีขึน้ ไป ร้อยละ 100
5. ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ครู นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการ
สถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ท่ีมีต่อการพัฒนาครูเพ่ือส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active
Learning ด้วยรูปแบบ S - PET MODEL พบว่า มีความพึงพอใจมากกว่าร้อยละ 80 ขึ้นไป โดยมีผลการ
ประเมนิ ระดบั 4 (พึงพอใจมาก) ขน้ึ ไปทุกรายการ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100
ตอนที่ 7
การเผยแพร่ / การได้รบั การยอมรับ / รางวัลท่ีได้รบั
1. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
1.1 ประชาสัมพันธ์การดําเนินงานและผลการดําเนินงานผ่านช่องทางไลน์กลุ่มต่างๆอย่างต่อเนื่อง
สมํ่าเสมอตลอดการดําเนินงาน เช่น ไลน์กลุ่มประชาสัมพันธ์ สพป.สุรินทร์เขต 1 ไลน์กลุ่มผอ.
โรงเรยี นเมือง 6 ไลนก์ ลมุ่ เครอื ข่ายฯเมอื ง 6 และอ่ืนๆ
1.2 ประชาสมั พันธก์ ารดาํ เนนิ งานผ่านชอ่ งทางส่ือออนไลน์อย่างตอ่ เนอ่ื งสมํา่ เสมอ ดงั น้ี
- เฟสบุค๊ โรงเรียนบ้านตาเปาว์ เฟสบคุ๊ สว่ นตัว ชอ่ื YorYing ThiTirat
- ช่อง Youtube ช่อื Yorying Thitirat
- Online E- Book ชื่อ Thitirat Jinpala
1.3 ประชาสัมพันธ์การดําเนินงานและผลการดําเนินงานผ่านโครงการพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้
ในศตวรรษท่ี 21 และโครงการจิตวิทยาเชิงบวกเพื่อการเสริมสร้างอุปนิสัยของผู้เรียน สนับสนุน
โดยกองทุนเพอ่ื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา (กสศ.)
การพฒั นาครูเพื่อสง่ เสรมิ ประสิทธภิ าพการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ Active Learning ดว้ ยรปู แบบ S - PET MODEL
~ 11 ~
2. การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้
2.1 นําเสนอเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในที่ประชุมครู ผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการบริหารโรงเรียน
คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน และเครอื ข่ายฯ เมืองสุรินทร์ 6
2.2 นาํ เสนอเพ่ือแลกเปลย่ี นเรียนรู้ในการดําเนนิ งานตามโครงการจิตวทิ ยาเชงิ บวกเพ่ือการเสริมสร้าง
อปุ นิสัยของผู้เรยี น ทัง้ การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ในการรว่ มอบรมและการนเิ ทศติดตามการ
ดาํ เนนิ งานตามโครงการ จดั โดยสํานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต 1
2.3 นาํ เสนอเพือ่ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ตามโครงการพฒั นาทักษะการจดั การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21
สนับสนุนโดยกองทุนเพ่อื ความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) โดยได้รบั การคดั เลอื กให้จัด
นิทรรศการนําเสนองานห้องเรียนตัวอยา่ งการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ active learning จติ วิทยา
เชงิ บวก ในกจิ กรรมวนั เปิดบ้านห้องเรยี นต้นแบบ Active Learning โครงการพฒั นาทกั ษะการ
จัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ณ โรงแรม TK PALACE กรุงเทพมหานคร ในวนั ท่ี 19 สงิ หาคม
2565 ภาพกจิ กรรมตามล้ิงค์ https://www.youtube.com/watch?v=dBigVryPvGw
3. ผลการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนบ้านตาเปาว์ ปกี ารศึกษา 2564
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนระดบั สถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564
ระดับการศึกษาปฐมวยั
รอ้ ยละของนักเรียนทีม่ ผี ลการประเมนิ พฒั นาการแต่ละด้านในระดบั 3 ขนึ้ ไป
ระดับชนั้ จาํ นวน ผลการประเมินพัฒนาการนักเรียนดา้ น ครบทัง้ 4 ด้าน
นักเรยี น อารมณ์ 18
(คน) 8
ร่างกาย จิตใจ สงั คม สตปิ ัญญา 15
อ.1 18 18 18 18 18 41
อ.2 8 8 88 8 100
อ.3 15 15 15 15 15
รวม 41 41 41 41 41
100 100 100 100
รอ้ ยละ
สรุปผล ผู้เรียนระดับปฐมวัย มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา
เปน็ ไปตามวัย ครบทัง้ 4 ด้าน รอ้ ยละ 100
การพัฒนาครูเพอ่ื สง่ เสรมิ ประสิทธภิ าพการจดั การเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ด้วยรปู แบบ S - PET MODEL
~ 12 ~
ระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
1) ร้อยละของนักเรียนทมี่ เี กรดเฉลย่ี ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นแต่ละรายวิชาในระดบั 3 ข้ึนไป
ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ถงึ ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปกี ารศึกษา 2564
รายวชิ า(พื้นฐาน)
ระดับช้ัน จาํ นวน ภาษาไทย
นักเรยี น คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ฯ ครบทงั้
ัสงคมศึกษาฯ 4 ด้าน
ประ ัวติศาสตร์
ภาษา ัองกฤษ
ุสข ึศกษาฯ
ศิลปะ
การงานอา ีชพฯ
ป.1 16 12 11 12 16 12 12 16 16 16 123
ป.2 11 10 9 8 11 11 10 11 11 11 92
ป.3 15 10 9 10 9 10 7 14 14 14 97
ป.4 19 14 16 9 17 18 10 19 19 19 141
ป.5 20 19 18 13 18 19 16 19 20 20 162
ป.6 19 11 8 15 15 16 9 18 19 19 130
รวม 100 76 71 67 86 86 64 97 99 99 745
ร้อยละ 76 71 67 86 86 64 97 99 99 82.78
สรุปผล ผู้เรียนระดับประถมศึกษา มีค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
อยู่ในระดบั ดีข้ึนไป รอ้ ยละ 82.78
2) ร้อยละของนกั เรยี นทีม่ ผี ลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน ในระดบั ดี ขนึ้ ไป
ระดับชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 ถึง ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564
ระดบั ช้ัน จาํ นวน ดีเยี่ยม ผลการประเมนิ ไมผ่ า่ น ระดับดี รอ้ ยละ
นกั เรยี น 16 ดี ผา่ น 0 ขึน้ ไป 100
4 00 0 16 100
ป.1 16 10 70 0 11 86.67
ป.2 11 11 32 0 13 89.47
ป.3 15 20 61 0 17 100
ป.4 19 4 00 0 20 57.89
ป.5 20 65 69 0 11 88.00
ป.6 19 65.00 22 12 0 88
รวม 100 22.00 12.00 88.00
รอ้ ยละ
การพัฒนาครูเพอื่ สง่ เสริมประสทิ ธิภาพการจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ Active Learning ดว้ ยรปู แบบ S - PET MODEL
~ 13 ~
สรปุ ผล ผเู้ รียนระดบั ประถมศกึ ษา มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสอ่ื สาร และการคิด
คํานวณ ในระดับดีข้นึ ไป ร้อยละ 88
3) รอ้ ยละของนกั เรยี นที่มผี ลการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคใ์ นระดบั ดขี ึ้นไป
ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ถึง ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ปกี ารศึกษา 2564
ระดบั ช้ัน จาํ นวน ดีเยี่ยม ผลการประเมิน ระดบั ดี ร้อยละ
ป.1 นักเรียน 16 ดี ผา่ น ไม่ผ่าน ขน้ึ ไป 100
ป.2 11 00 100
ป.3 16 11 00 0 16 100
ป.4 11 19 40 0 11 100
ป.5 15 20 00 0 15 100
ป.6 19 10 00 0 19 100
รวม 20 87 90 0 20 100
19 13 0 0 19
100 0 100
รอ้ ยละ 87.00 13.00 0 0 100
สรปุ ผล ผ้เู รยี นระดับประถมศึกษา มีคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาอยใู่ นระดับดี
ขึน้ ไป รอ้ ยละ 100
การพัฒนาครูเพ่ือส่งเสริมประสิทธภิ าพการจัดการเรียนรเู้ ชิงรกุ Active Learning ด้วยรปู แบบ S - PET MODEL
4. รางวัลผลงานท่ไี ด้รับ ~ 14 ~
ปกี ารศกึ ษา 2564 รางวัลสถานศกึ ษา
ที่ ชื่อรางวัล วันท่ีรบั หนว่ ยงานท่ีให้รางวัล
รางวลั สถานศกึ ษา สูงกว่าระดบั จงั หวดั (ระดับภาค/ระดบั ชาต)ิ กองทนุ เพ่อื ความเสมอภาคทาง
การศึกษา (กสศ.) โดยสาํ นกั
1. รางวลั ห้องเรียนตัวอย่าง โครงการพัฒนาทักษะ 11 มีนาคม พฒั นาคุณภาพครู ฯ
กรมการศาสนา กระทรวง
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 หลกั สูตร 2565 วัฒนธรรม ร่วมกบั ศูนยส์ ง่ เสรมิ
ศีลธรรม วัดชัยชนะสงคราม
จิตวทิ ยาเชิงบวกเพ่ือเสรมิ สรา้ งอุปนิสัยผูเ้ รยี น
สาํ นักงานวฒั นธรรมจงั หวัด
2. ได้รบั รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 2 ช่วงช้ันที่ 1 (ป.1 - 9 เมษายน โดยจงั หวดั สรุ นิ ทร์
ป.3) การประกวดบรรยายธรรม ระดับภาคคณะสงฆ์ 2565 สาํ นกั งานวัฒนธรรมจังหวดั
โดยจงั หวัดสรุ ินทร์
ภาค 11
สาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
รางวลั สถานศกึ ษา (ระดบั จงั หวัด/ระดบั เขตพื้นที่) ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุรินทร์
3. รางวลั ชนะเลศิ อนั ดบั 1 การประกวดบรรยาย 14 กุมภาพันธ์
สํานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา
ธรรม ประจําปี พ.ศ. 2565 ระดับจังหวดั ระดบั 2565 ประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต 1
ประถมศึกษาตอนต้น ช่วงชน้ั ที่ 1 (ป.1 -ป.3)
4. รางวัลชมเชย การประกวดบรรยายธรรม 14 กุมภาพันธ์
ประจําปี พ.ศ. 2565 ระดับจงั หวดั ระดับ 2565
ประถมศกึ ษาตอนปลาย ช่วงชนั้ ท่ี 2 (ป.4 -ป.6)
5. รางวัลส่งเสริมการจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาการ 10 กุมภาพันธ์
คํานวณ 2565
6. รางวัลรองชนะเลิศ ลาํ ดบั ที่ 1 การประกวด 10 มกราคม
ผลงานและนวตั กรรมการสอนท่ีเป็นเลศิ (Best 2565
Practice) ในโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร
“การพัฒนาองคค์ วามรเู้ พ่อื แก้ปญั หาการอ่านไม่
ออกเขียนไม่ได้ ของเด็กไทย”
7. มีผลการทดสอบระดบั ชาติขั้นพน้ื ฐาน (O- net) 20 เมษายน
ระดับช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 สูงกว่าคา่ เฉลยี่ 2565
ระดบั ชาติ ปีการศึกษา 2564
การพฒั นาครูเพือ่ สง่ เสริมประสทิ ธิภาพการจัดการเรียนรเู้ ชิงรุก Active Learning ด้วยรปู แบบ S - PET MODEL
~ 15 ~
ที่ ชือ่ รางวัล วันทีร่ บั หนว่ ยงานทใ่ี หร้ างวัล
รางวัลสถานศกึ ษา (ระดับจังหวดั /ระดบั เขตพื้นท่ี)
8. ผ่านการนิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการพฒั นา 27 เมษายน สํานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา
2565 ประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 1
คณุ ภาพการจดั การศึกษาเรียนรวม ปีการศึกษา
2564 ระดบั ดเี ยย่ี ม 1 พฤษภาคม สํานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา
2565 ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1
9. สถานศึกษาทีม่ ีผลการพัฒนาการอา่ นออก เขยี นได้
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 ระดับดีเยยี่ ม
10. สถานศึกษาที่มผี ลงานการนเิ ทศภายในสถานศึกษา 10 พฤษภาคม สาํ นกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา
ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับดีเด่น 2565 ประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 1
รางวัลผบู้ รหิ าร
ที่ ช่ือรางวลั วันที่รับ หน่วยงานท่ีใหร้ างวัล
สาํ นกั งานลกู เสือแห่งชาติ
รางวลั ผบู้ รหิ าร สูงกว่าระดับจงั หวัด (ระดบั ภาค/ระดับชาติ)
สาํ นักงานวัฒนธรรมจงั หวัด
1. ได้รบั คดั เลือก เปน็ ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสือดีเด่น 1 กรกฎาคม โดยจงั หวดั สุรินทร์
ประจําปี 2564 ประเภทผ้สู นับสนนุ 2564 สาํ นักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา
ประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต 1
รางวลั ผบู้ รหิ าร (ระดับจงั หวัด/ระดบั เขตพื้นที่)
2. ครูผู้ฝกึ สอนนกั เรยี นได้รบั รางวัลชนะเลิศ อนั ดับ 1 14 กุมภาพันธ์
การประกวดบรรยายธรรม ประจําปี พ.ศ. 2565 2565
ระดบั จังหวัด ระดับประถมศึกษาตอนต้น
ชว่ งชน้ั ท่ี 1 (ป.1 -ป.3)
3. ผ้ฝู กึ สอนกจิ กรรมบรรยายธรรมระดับชั้น 28 มีนาคม
ประถมศกึ ษาปที ่ี 4-6 ไดร้ บั รางวลั ระดบั ยอดเยี่ยม 2565
การพัฒนาครูเพอื่ ส่งเสริมประสิทธภิ าพการจดั การเรียนร้เู ชิงรุก Active Learning ดว้ ยรูปแบบ S - PET MODEL
~ 16 ~
รางวลั ครู
ท่ี ครทู ี่ไดร้ บั รางวลั ชือ่ รางวัล วันท่ีรับ หนว่ ยงานทใ่ี หร้ างวัล
รางวลั ครู สูงกวา่ ระดบั จงั หวัด (ระดับภาค/ระดับชาติ)
1. นางสาวปีร์พฤจิกาล หอ้ งเรียนตัวอยา่ ง โครงการพฒั นาทกั ษะ 11 กองทุนเพอื่ ความเสมอ
หมายเจริญ การจัดการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 มีนาคม ภาคทางการศกึ ษา
ครชู าํ นาญการ หลักสูตรจติ วิทยาเชงิ บวกเพอื่ เสรมิ สร้าง 2565 (กสศ.) โดยสํานกั พฒั นา
อุปนิสัยผูเ้ รยี น คณุ ภาพครู ฯ
2. นางสาวปีร์พฤจิกาล ครผู ้สู อนการบรรยายธรรม นกั เรยี น 9 กรมการศาสนา กระทรวง
หมายเจรญิ ไดร้ ับรางวลั รองชนะเลศิ อันดับ 2 ช่วงช้ันที่ เมษายน วฒั นธรรม รว่ มกบั ศูนย์
ครชู ํานาญการ 1 (ป.1 - ป.3) การประกวดบรรยายธรรม 2565 สง่ เสรมิ ศลี ธรรม
วัดชัยชนะสงคราม
ระดับภาคคณะสงฆ์ ภาค 11
รางวัลครู (ระดบั จังหวดั /ระดับเขตพื้นท่ี)
3. นางสาวปีร์พฤจกิ าล รางวลั รองชนะเลิศ ลําดบั ท่ี 1 การ 23 มหาวิทยาลยั ราชภฏั
หมายเจรญิ ประกวดผลงานและนวตั กรรมการสอนท่ี ธนั วาคม สุรินทร์
ครูชํานาญการ เป็นเลศิ (Best Practice) ในโครงการ 2564
อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร “การพฒั นาองค์
ความรเู้ พือ่ แกป้ ัญหาการอ่านไมอ่ อก
เขยี นไมไ่ ด้ ของเดก็ ไทย”
4. นางสาวปีรพ์ ฤจกิ าล รางวลั สง่ เสรมิ การจัดการเรยี นการสอน 10 สาํ นักงานเขตพ้นื ท่ี
หมายเจริญ วิทยาการคํานวณ กมุ ภาพนั ธ์ การศกึ ษาประถมศึกษา
ครชู ํานาญการ 2565 สรุ ินทร์ เขต 1
5. นางสาวปรี พ์ ฤจิกาล ครผู ฝู้ กึ สอนนักเรียนไดร้ บั รางวลั ชนะเลศิ 14 สาํ นักงาน
หมายเจรญิ อนั ดับ 1 การประกวดบรรยายธรรม กมุ ภาพันธ์ วฒั นธรรมจังหวดั
ครูชํานาญการ ประจําปี พ.ศ. 2565 ระดับจงั หวัด 2565 โดยจังหวัดสรุ นิ ทร์
ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ช่วงช้นั ท่ี 1
(ป.1 -ป.3)
การพัฒนาครเู พื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนร้เู ชงิ รุก Active Learning ดว้ ยรปู แบบ S - PET MODEL
~ 17 ~
ที่ ครูทไี่ ด้รบั รางวัล ช่ือรางวัล วันท่ีรบั หน่วยงานที่ให้รางวลั
14 สํานักงาน
6. นางดวงตะวัน ครูผ้ฝู ึกสอนนักเรียนไดร้ ับรางวัล วัฒนธรรมจงั หวดั
กุมภาพนั ธ์ โดยจงั หวดั สรุ ินทร์
เหลาคํา ชมเชย การประกวดบรรยายธรรม 2565
สาํ นกั งานเขตพนื้ ท่ี
ครชู าํ นาญการ ประจาํ ปี พ.ศ. 2565 ระดับจังหวดั 24 การศึกษาประถมศกึ ษา
กมุ ภาพนั ธ์ สรุ ินทร์ เขต 1
ระดบั ประถมศึกษาตอนปลาย ชว่ ง สาํ นกั งานเขตพื้นที่
2565 การศกึ ษาประถมศึกษา
ชน้ั ท่ี 2 (ป.4-ป.6) 28 สรุ นิ ทร์ เขต 1
มีนาคม
7. นางสาวปีรพ์ ฤจกิ าล ครผู ู้จดั การเรยี นการสอนตาม 2565 สํานกั งานเขตพ้นื ที่
การศึกษาประถมศึกษา
หมายเจรญิ แนวทางการเรียนรเู้ ชิงรกุ Active 28 สุรินทร์ เขต 1
มีนาคม
ครูชาํ นาญการ Learning 2565 สาํ นกั งานเขตพื้นที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษา
8. นางสาวปรี พ์ ฤจกิ าล เป็นผฝู้ กึ สอนกจิ กรรมบรรยายธรรม 28 สรุ ินทร์ เขต 1
มนี าคม
หมายเจรญิ ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1-3 2565 สาํ นกั งานเขตพนื้ ท่ี
การศึกษาประถมศึกษา
ครูชาํ นาญการ ไดร้ บั รางวลั ชนะเลิศ 28 สรุ นิ ทร์ เขต 1
มีนาคม
ระดบั ยอดเยีย่ ม 2565 สํานักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษา
9. นางดวงตะวัน เปน็ ผฝู้ ึกสอนกจิ กรรมบรรยายธรรม 28 สรุ ินทร์ เขต 1
มนี าคม
เหลาคํา ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4-6 2565
ครูชาํ นาญการ ไดร้ บั รางวัลชนะเลิศ
ระดับยอดเยีย่ ม
10. นางสงบ พนู ดงั หวัง เปน็ ผฝู้ กึ สอนกจิ กรรมบรรยายธรรม
ครชู าํ นาญการ ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1-3
พเิ ศษ ไดร้ บั รางวลั รองชนะเลิศอนั ดับ 2
ระดับยอดเยย่ี ม
11. นางสาวพัชรกี รณ์ เปน็ ผฝู้ ึกสอนกจิ กรรมเล่านิทาน
บุญมน่ั ชาดก ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1-
ครู คศ.1 3 ได้รบั รางวัลชนะเลศิ
ระดับยอดเย่ียม
12. นางสาวจนั ทรน์ ภิ า เปน็ ผู้ฝึกสอนกิจกรรมเล่านทิ าน
สรุ ะฤทธ์ิ ชาดก ระดับช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1-
ครู คศ.1 3 ได้รบั รางวลั ชนะเลศิ
ระดบั ยอดเย่ยี ม
การพฒั นาครเู พอ่ื ส่งเสริมประสิทธภิ าพการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ Active Learning ดว้ ยรูปแบบ S - PET MODEL
~ 18 ~
ท่ี ครูทีไ่ ดร้ ับรางวลั ช่อื รางวลั วันทีร่ ับ หน่วยงานที่ให้รางวัล
13. นางสาวพัชรกี รณ์ เปน็ ครูผู้จัดกิจกรรมการเรียนการ 22 สํานกั งานเขตพื้นที่
สอนภาษาไทยตามแนวทาง การศกึ ษาประถมศกึ ษา
บุญม่ัน นกั เรยี นผมู้ ผี ลงาน Active เมษายน สุรนิ ทร์ เขต 1
ครู คศ.1 Learning ช้ันประถมศกึ ษาปี่ 4-6 2565
ประจาํ ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับ
14. นางสาวปรี พ์ ฤจกิ าล ยอดเย่ียม 22 สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่
หมายเจรญิ เมษายน การศึกษาประถมศึกษา
ครูชํานาญการ เป็นครผู ู้จัดกิจกรรมการเรยี นการ 2565 สรุ ินทร์ เขต 1
สอนนกั เรยี นผูม้ ีผลงาน Active
15. นางสงบ พนู ดังหวงั Book สมุดบนั ทกึ ความรู้ ประจาํ ปี 22 สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่
ครชู าํ นาญการพิเศษ การศกึ ษา 2564 ระดับยอดเยีย่ ม เมษายน การศกึ ษาประถมศึกษา
2565 สรุ นิ ทร์ เขต 1
16. นางเพ็ญพักตร์ เปน็ ครูผจู้ ดั กจิ กรรมการเรียนการ
งามย่งิ สอนนักเรยี นผู้มีผลงาน Active 22 สาํ นักงานเขตพืน้ ที่
ครูชาํ นาญการ Book สมดุ บนั ทกึ ความรู้ ประจาํ ปี เมษายน การศกึ ษาประถมศกึ ษา
การศกึ ษา 2564 ระดับดี 2565 สรุ ินทร์ เขต 1
เป็นครูผจู้ ัดกจิ กรรมการเรยี นการ
สอนนกั เรียนผ้มู ีผลงาน Active
Book สมุดบันทกึ ความรู้ ประจําปี
การศกึ ษา 2564 ระดับดี
รางวัลนักเรียน
ท่ี นกั เรยี นท่ีไดร้ ับรางวลั ชอ่ื รางวลั วันทีร่ ับ หน่วยงานท่ีใหร้ างวัล
รางวลั นกั เรียน สูงกวา่ ระดับจงั หวัด (ระดับภาค/ระดบั ชาต)ิ
1. เดก็ ชายรุจดนัย ครผู ู้สอนการบรรยายธรรม นกั เรยี น 9 กรมการศาสนา
เมษายน กระทรวงวฒั นธรรม
สุขยานดุ ิษฐ์ ได้รับรางวลั รองชนะเลิศอันดับ 2 ช่วง 2565 รว่ มกับศนู ยส์ ง่ เสริม
ศีลธรรม
ชน้ั ท่ี 1 (ป.1 - ป.3) การประกวด วดั ชยั ชนะสงคราม
บรรยายธรรม ระดับภาคคณะสงฆ์
ภาค 11
การพฒั นาครเู พ่ือสง่ เสริมประสิทธภิ าพการจดั การเรียนรู้เชิงรกุ Active Learning ด้วยรปู แบบ S - PET MODEL
~ 19 ~
ท่ี นกั เรยี นท่ีได้รบั รางวลั ชือ่ รางวัล วนั ที่รบั หนว่ ยงานทีใ่ หร้ างวลั
รางวลั นักเรยี น (ระดบั จังหวัด/ระดับเขตพ้นื ที่)
2. เดก็ ชายรจุ ดนยั ได้รับรางวลั ชนะเลิศ อันดับ 1 14 สาํ นักงาน
สขุ ยานุดษิ ฐ์ การประกวดบรรยายธรรม ประจาํ ปี กมุ ภาพันธ์ วัฒนธรรมจงั หวัด
พ.ศ. 2565 ระดับจังหวัด ระดบั 2565 โดยจงั หวัดสุรนิ ทร์
ประถมศึกษาตอนต้น ช่วงชั้นที่ 1
(ป.1 -ป.3)
3. เด็กหญงิ ปนัดดา รางวลั ชมเชย การประกวดบรรยาย 14 สํานกั งาน
เอยี่ มดี ธรรม ประจาํ ปี พ.ศ. 2565 ระดบั กมุ ภาพนั ธ์ วฒั นธรรมจงั หวดั
2565 โดยจังหวัดสรุ ินทร์
จังหวัด ระดบั ประถมศึกษาตอน
ปลาย ช่วงชนั้ ท่ี 2 (ป.4-ป.6)
4. เด็กชายรจุ ดนยั ได้รับรางวลั ชนะเลิศ ระดบั ยอดเยย่ี ม 28 สํานกั งานเขตพ้ืนที่
สขุ ยานดุ ษิ ฐ์ บรรยายธรรม ระดบั ช้ันประถมศกึ ษา มีนาคม การศึกษประถมศกึ ษา
ปีท่ี 1-3 2565 สรุ นิ ทร์ เขต 1
5. เด็กหญงิ เสาวภา ได้รบั รางวัลรองชนะเลิศอนั ดับ 2 28 สาํ นกั งานเขตพืน้ ที่
วรรณศริ ิ ระดับยอดเยีย่ ม บรรยายธรรม มีนาคม การศึกษประถมศกึ ษา
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 2565 สรุ ินทร์ เขต 1
6. เดก็ หญิงปนดั ดา ไดร้ บั รางวัลชนะเลศิ ระดบั ยอดเย่ยี ม 28 สํานกั งานเขตพ้ืนที่
เอย่ี มดี บรรยายธรรม ระดบั ช้นั ประถมศึกษา มีนาคม การศึกษประถมศกึ ษา
ปีที่ 4-6 2565 สุรินทร์ เขต 1
7. เดก็ หญงิ ประภาศิริ ไดร้ บั รางวัลระดับยอดเยีย่ ม บรรยาย 28 สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่
จันดากุล ธรรม ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4-6 มีนาคม การศกึ ษประถมศึกษา
2565 สุรินทร์ เขต 1
8. เด็กชายรุจดนยั ไดร้ ับรางวลั ชนะเลิศ ระดับยอดเย่ียม 28 สาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ี
สขุ ยานุดิษฐ์ เล่านิทานชาดก ระดบั ชนั้ มนี าคม การศกึ ษประถมศึกษา
ประถมศึกษาปที ่ี 1-3 2565 สุรนิ ทร์ เขต 1
การพัฒนาครูเพือ่ ส่งเสรมิ ประสิทธภิ าพการจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ Active Learning ดว้ ยรูปแบบ S - PET MODEL
~ 20 ~
ท่ี นักเรียนทีไ่ ดร้ ับรางวัล ช่อื รางวัล วันทร่ี ับ หน่วยงานท่ีใหร้ างวลั
9. เด็กหญิงสุภดิ า มสี ติ ไดร้ ับรางวัลชนะเลศิ ระดับยอดเย่ียม 28 สาํ นกั งานเขตพื้นท่ี
เลา่ นิทานชาดก ระดบั ชั้น มนี าคม การศึกษา
ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-3 2565 ประถมศกึ ษาสรุ ินทร์
เขต 1
10. เด็กหญิงพิมพฤดา ได้รับรางวัลชนะเลศิ ระดับยอดเยยี่ ม 28 สาํ นักงานเขตพ้นื ที่
การรมั ย์ เล่านทิ านชาดก ระดับชั้น มีนาคม การศกึ ษา
ประถมศกึ ษาปีท่ี 1-3 2565 ประถมศึกษาสรุ นิ ทร์
เขต 1
11. เดก็ หญิงพมิ พฤดา ไดร้ บั รางวัลผลงาน Active Book 22 สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่
การรัมย์ สมดุ บันทกึ ความรู้ ประจําปี เมษายน การศึกษา
การศกึ ษา 2564 ระดับดีเย่ียม 2565 ประถมศึกษาสุรนิ ทร์
เขต 1
12. เดก็ หญงิ กญั ญพชั ร ได้รับรางวลั ผลงาน Active Book 22 สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่
ทะหนุน สมุดบนั ทึกความรู้ ประจาํ ปี เมษายน การศกึ ษา
การศกึ ษา 2564 ระดบั ดี 2565 ประถมศึกษาสุรนิ ทร์
เขต 1
13. เด็กชายปณต ไดร้ บั รางวัลผลงาน Active Book 22 สํานักงานเขตพน้ื ท่ี
เข่อื นขันธ์ สมดุ บนั ทึกความรู้ ประจําปี เมษายน การศกึ ษา
การศกึ ษา 2564 ระดบั ดี 2565 ประถมศกึ ษาสรุ ินทร์
เขต 1
การพฒั นาครูเพอื่ สง่ เสริมประสทิ ธภิ าพการจดั การเรียนรู้เชิงรกุ Active Learning ดว้ ยรูปแบบ S - PET MODEL
ปีการศึกษา 2565 ~ 21 ~
รางวลั สถานศึกษา
ท่ี ชือ่ รางวลั วันทรี่ บั หนว่ ยงานที่ให้รางวลั
กองทนุ เพื่อความเสมอภาคทาง
รางวัลสถานศกึ ษา สูงกว่าระดบั จงั หวดั (ระดบั ภาค/ระดบั ชาต)ิ การศกึ ษา (กสศ.)
1. ได้รบั การคดั เลอื กเปน็ หอ้ งเรยี นตัวอยา่ งการจัด 19 สงิ หาคม สํานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์
กจิ กรรมการเรียนรู้ active learning จติ วิทยา 2565 เขต 1
เชงิ บวก ในกิจกรรมวนั เปิดบ้านหอ้ งเรยี นตน้ แบบ
Active Learning โครงการพัฒนาทักษะการ
จัดการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 ณ โรงแรม TK
PALACE กรุงเทพมหานคร
รางวัลสถานศึกษา (ระดับจังหวดั /ระดบั เขตพน้ื ที่)
2. ผ่านการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลโครงการ 13-14
จิตวิทยาเชิงบวกเพือ่ การเสริมสรา้ งอปุ นิสัยของ มถิ นุ ายน
ผูเ้ รยี น ระดับดเี ยย่ี ม 2565
รางวัลผู้บริหาร
ท่ี ช่อื รางวลั วนั ทรี่ บั หนว่ ยงานท่ีให้รางวัล
รางวลั ผบู้ ริหาร (ระดับจงั หวัด/ระดบั เขตพน้ื ท่ี)
1. เกยี รตบิ ตั รผ่านการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผล 13-14 สํานักงานเขตพนื้ ท่ี
มิถนุ ายน การศึกษาประถมศึกษา
โครงการจติ วิทยาเชิงบวกเพ่ือการเสรมิ สรา้ งอปุ นิสยั 2565 สุรนิ ทร์ เขต 1
ของผู้เรยี น ระดบั ดี
การพัฒนาครเู พ่อื ส่งเสริมประสทิ ธิภาพการจัดการเรยี นรู้เชิงรุก Active Learning ดว้ ยรูปแบบ S - PET MODEL
~ 22 ~
รางวัลครู
ท่ี ครูท่ีได้รับรางวัล ช่อื รางวลั วันที่รับ หน่วยงานที่ใหร้ างวลั
รางวัลครู สงู กวา่ ระดับจงั หวดั (ระดบั ภาค/ระดบั ชาติ) 30 กองทนุ เพ่อื ความเสมอ
เมษายน ภาคทางการศึกษา
1. นางสาวปีรพ์ ฤจกิ าล ห้องเรยี นตัวอย่างที่มีประสิทธภิ าพใน 2565 (กสศ.)
หมายเจริญ การดําเนินงานสงู โครงการพฒั นา 19 กองทนุ เพ่อื ความเสมอ
สิงหาคม ภาคทางการศกึ ษา
ครูชํานาญการ ทักษะการจัดการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 2565 (กสศ.)
21 19 กองทนุ เพ่ือความเสมอ
สงิ หาคม ภาคทางการศกึ ษา
2. นางสาวปรี พ์ ฤจิกาล ได้รับคดั เลือกและนําเสนอผลงานใน 2565 (กสศ.)
หมายเจรญิ การเปิดบา้ นหอ้ งเรียนตน้ แบบ Active 13-14 สํานักงานเขตพ้นื ที่
มถิ ุนายน การศกึ ษาประถมศึกษา
ครูชาํ นาญการ Learning ณ โรงแรม TK PALACE 2565 สุรินทร์ เขต 1
กรงุ เทพมหานคร 13-14 สาํ นักงานเขตพ้นื ที่
มิถนุ ายน การศกึ ษาประถมศึกษา
3. นางสาวพชั รีกรณ์ ได้รับคดั เลอื กและนําเสนอผลงานใน 2565 สรุ ินทร์ เขต 1
บุญมนั่ การเปิดบ้านหอ้ งเรียนต้นแบบ Active 13-14 สํานักงานเขตพ้นื ที่
มถิ นุ ายน การศกึ ษาประถมศกึ ษา
ครู คศ.1 Learning ณ โรงแรม TK PALACE 2565 สุรนิ ทร์ เขต 1
กรุงเทพมหานคร
รางวัลครู (ระดับจงั หวัด/ระดับเขตพนื้ ที่)
4. นางสาวพชั รีกรณ์ เกียรติบัตรผา่ นการนิเทศ ตดิ ตาม และ
บุญมัน่ ประเมนิ ผลโครงการจติ วทิ ยาเชงิ บวก
ครู คศ.1 เพ่ือการเสรมิ สรา้ งอุปนิสัยของผู้เรยี น
ระดบั ดเี ย่ยี ม
5. นางสาวปรี ์พฤจกิ าล เกียรติบัตรผา่ นการนเิ ทศ ตดิ ตาม และ
หมายเจริญ ประเมนิ ผลโครงการจิตวิทยาเชงิ บวก
ครชู ํานาญการ เพอื่ การเสรมิ สรา้ งอปุ นิสยั ของผู้เรยี น
ระดับดี
6. นางดรณุ ี กษณิ ศรี เกยี รติบัตรผา่ นการนิเทศ ตดิ ตาม และ
ลูกจา้ งชั่วคราว ประเมินผลโครงการจิตวทิ ยาเชงิ บวก
เพอ่ื การเสริมสร้างอปุ นิสยั ของผเู้ รยี น
ระดบั ดี
การพัฒนาครเู พื่อสง่ เสรมิ ประสิทธิภาพการจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รุก Active Learning ด้วยรปู แบบ S - PET MODEL
~ 23 ~
ท่ี ครทู ีไ่ ด้รบั รางวัล ช่อื รางวัล วันทีร่ ับ หน่วยงานทใ่ี ห้รางวลั
7. นางดวงตะวัน เกยี รติบตั รผ่านการนเิ ทศ ตดิ ตาม และ 13-14 สาํ นักงานเขตพน้ื ที่
ประเมินผลโครงการจติ วิทยาเชิงบวก มิถุนายน การศกึ ษาประถมศึกษา
เหลาคํา เพื่อการเสริมสร้างอปุ นิสยั ของผเู้ รยี น 2565 สุรนิ ทร์ เขต 1
ครชู าํ นาญการ ระดับดี
13-14 สาํ นกั งานเขตพื้นที่
8. นางเพ็ญพกั ตร์ เกียรตบิ ตั รผ่านการนเิ ทศ ติดตาม และ มิถนุ ายน การศึกษาประถมศึกษา
งามย่งิ ประเมินผลโครงการจติ วทิ ยาเชิงบวก 2565 สุรินทร์ เขต 1
ครชู าํ นาญการ เพอ่ื การเสริมสร้างอุปนสิ ัยของผ้เู รยี น
ระดบั ดี 13-14 สํานกั งานเขตพื้นท่ี
9. นางสงบ พนู ดงั หวัง มถิ นุ ายน การศกึ ษาประถมศกึ ษา
ครูชํานาญการพิเศษ เกยี รตบิ ัตรผ่านการนิเทศ ติดตาม และ 2565 สรุ ินทร์ เขต 1
ประเมินผลโครงการจติ วทิ ยาเชิงบวก
10 นางสาวกสุ มุ า เพอ่ื การเสริมสร้างอุปนสิ ยั ของผู้เรยี น 13-14 สาํ นักงานเขตพื้นท่ี
อาจหาญ ระดับดี มิถุนายน การศกึ ษาประถมศกึ ษา
ลกู จา้ งช่วั คราว 2565 สุรินทร์ เขต 1
เกยี รติบัตรผา่ นการนิเทศ ตดิ ตาม และ 13-14 สํานกั งานเขตพ้นื ที่
11 นางสาวจนั ทร์นภิ า ประเมินผลโครงการจติ วิทยาเชิงบวกฯ มถิ นุ ายน การศกึ ษาประถมศึกษา
สรุ ะฤทธิ์ ระดบั ดี 2565 สุรนิ ทร์ เขต 1
12 นางสาวทศั นีย์ เกยี รติบตั รผา่ นการนิเทศ ติดตาม และ 13-14 สาํ นกั งานเขตพนื้ ที่
ผ่องใส ประเมนิ ผลโครงการจิตวทิ ยาเชิงบวก มถิ นุ ายน การศกึ ษาประถมศกึ ษา
ครชู าํ นาญการ เพื่อการเสรมิ สรา้ งอปุ นิสัยของผเู้ รยี น 2565 สุรินทร์ เขต 1
ระดับดี
13 นางสาวนวลจันทร์ 13-14 สาํ นักงานเขตพน้ื ท่ี
กิง่ นอก เกียรติบตั รผ่านการนเิ ทศ ติดตาม และ มถิ นุ ายน การศกึ ษาประถมศกึ ษา
ครชู ํานาญการ ประเมินผลโครงการจติ วิทยาเชงิ บวก 2565 สรุ นิ ทร์ เขต 1
เพอ่ื การเสริมสร้างอปุ นิสยั ของผเู้ รยี น
ระดับดี
เกยี รติบัตรผ่านการนิเทศ ติดตาม และ
ประเมินผลโครงการจิตวทิ ยาเชิงบวก
เพื่อการเสริมสรา้ งอุปนสิ ยั ของผู้เรียน
ระดับดี
การพัฒนาครเู พอ่ื ส่งเสริมประสทิ ธภิ าพการจัดการเรียนรู้เชงิ รกุ Active Learning ดว้ ยรูปแบบ S - PET MODEL
~ 24 ~
ที่ ครทู ่ีได้รับรางวลั ชื่อรางวลั วันที่รบั หน่วยงานท่ใี ห้รางวลั
14 นางสาววชริ ญาณ์ เกยี รตบิ ตั รผ่านการนิเทศ ตดิ ตาม และ 13-14 สาํ นักงานเขตพนื้ ที่
ประเมนิ ผลโครงการจิตวิทยาเชงิ บวก มิถุนายน การศึกษาประถมศกึ ษา
ปญั ญา เพือ่ การเสรมิ สรา้ งอปุ นิสัยของผู้เรียน 2565 สรุ ินทร์ เขต 1
ครูอตั ราจา้ ง ระดับดี
13-14 สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่
15 นายวรี พงศ์ งามยิ่ง เกียรตบิ ัตรผ่านการนเิ ทศ ติดตาม และ มิถุนายน การศึกษาประถมศึกษา
ครูชาํ นาญการพเิ ศษ ประเมนิ ผลโครงการจติ วทิ ยาเชงิ บวก 2565 สุรนิ ทร์ เขต 1
เพื่อการเสริมสรา้ งอุปนสิ ัยของผูเ้ รียน
ระดบั ดี
รางวลั นกั เรยี น
ที่ นักเรียนทไี่ ด้รบั รางวัล ชื่อรางวลั วันทีร่ ับ หนว่ ยงานที่ใหร้ างวัล
รางวลั นกั เรยี น สูงกว่าระดับจังหวัด (ระดบั ภาค/ระดับชาต)ิ 19 กองทุนเพ่ือความเสมอ
สงิ หาคม ภาคทางการศกึ ษา
1. เดก็ หญงิ สภุ ิดา มีสติ ไดร้ บั คดั เลือกและนาํ เสนอผลงานใน 2565 (กสศ.)
การเปิดบา้ นห้องเรียนต้นแบบ 19 กองทุนเพอ่ื ความเสมอ
สิงหาคม ภาคทางการศึกษา
Active Learning ณ โรงแรม TK 2565 (กสศ.)
PALACE กรงุ เทพมหานคร 19 กองทุนเพื่อความเสมอ
สิงหาคม ภาคทางการศกึ ษา
2. เดก็ หญงิ พิมพฤดา ไดร้ ับคัดเลือกและนําเสนอผลงานใน 2565 (กสศ.)
การรัมย์ การเปิดบ้านหอ้ งเรยี นตน้ แบบ
Active Learning ณ โรงแรม TK
PALACE กรงุ เทพมหานคร
3. เด็กชายรจุ ดนยั ไดร้ บั คดั เลือกและนาํ เสนอผลงานใน
สุขยานดุ ษิ ฐ์ การเปิดบา้ นห้องเรยี นตน้ แบบ
Active Learning ณ โรงแรม TK
PALACE กรุงเทพมหานคร
การพฒั นาครเู พ่อื ส่งเสรมิ ประสทิ ธิภาพการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุก Active Learning ด้วยรปู แบบ S - PET MODEL
~ 25 ~
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
เอกสารการดําเนินงาน
นวตั กรรมการพฒั นาครูเพื่อส่งเสรมิ ประสทิ ธภิ าพการจัดการเรยี นรเู้ ชิงรุก
Active Learning ด้วยรปู แบบ S –PET MODEL
https://anyflip.com/thybe/rbly/
โครงการพัฒนาครูเพ่ือสง่ เสริมประสทิ ธิภาพการจัดการเรียนการสอน
Active Learning โรงเรยี นบา้ นตาเปาว์
https://anyflip.com/thybe/rywj/
รายงานการนิเทศภายในโรงเรียนบ้านตาเปาว์ ประจาํ ปกี ารศกึ ษา 2564
https://anyflip.com/thybe/gmfx/
เกยี รติบัตรผลงานรางวลั ที่ไดร้ บั
https://anyflip.com/thybe/culh/
การพฒั นาครูเพือ่ สง่ เสริมประสทิ ธภิ าพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ด้วยรูปแบบ S - PET MODEL
~ 26 ~
ภาคผนวก ข
กจิ กรรมการดําเนนิ งาน
กิจกรรมที่ 1 : S – Supervision การนิเทศดว้ ยการนิเทศภายใน Internal Supervision
ภาพกจิ กรรมการนิเทศภายในโรงเรยี นบ้านตาเปาว์
กิจกรรมการนิเทศภายใน คณุ ครูทศั นยี ์ ผอ่ งใส ครชู ํานาญการ โรงเรียนบ้านตาเปาว์
https://youtu.be/WcWNs6C-mGE
กิจกรรมการนิเทศภายใน คณุ ครูดวงตะวัน เหลาคํา ครูชํานาญการ โรงเรียนบา้ นตาเปาว์
https://youtu.be/8Wey-3qrt9k
กิจกรรมการนิเทศภายใน คณุ ครูเพญ็ พักตร์ งามยิง่ ครชู าํ นาญการ โรงเรียนบา้ นตาเปาว์
https://youtu.be/B_IcKzFvXII
ตัวอย่างวีดที ศั นก์ ารนิเทศภายในโรงเรยี นบา้ นตาเปาว์
แผนการนเิ ทศภายในโรงเรยี นบา้ นตาเปาว์ ประจําปีการศึกษา 2565
https://anyflip.com/thybe/tump/
การพฒั นาครเู พื่อสง่ เสรมิ ประสทิ ธิภาพการจดั การเรยี นร้เู ชิงรุก Active Learning ดว้ ยรปู แบบ S - PET MODEL
~ 27 ~
กิจกรรมที่ 1 :
ภาพกิจกรรมการนิเทศภายในโรงเรยี นบา้ นตาเปาว์ ประจําภาคเรยี นที่ 1 / 2565
http://online.anyflip.com/thybe/fmnj/
เกยี รตบิ ตั รการนิเทศภายในตามโครงการพัฒนาครู
เพอ่ื ส่งเสริมประสิทธิภาพการจดั การเรียนรเู้ ชิงรุก
Active Learning
https://anyflip.com/thybe/mreu/
การพัฒนาครูเพือ่ ส่งเสรมิ ประสิทธภิ าพการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ Active Learning ด้วยรปู แบบ S - PET MODEL
~ 28 ~
กิจกรรมที่ 2 :
เกยี รติบตั รการร่วมกิจกรรมการสมั มนาการสร้างชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) การพฒั นาคณุ ภาพ
การเรยี นการสอนภาษาไทย “เดก็ ไทยวิถใี หม่ อ่านออกเขยี นไดท้ กุ คน”
https://anyflip.com/thybe/hyhj/
การพัฒนาครูเพื่อสง่ เสรมิ ประสทิ ธิภาพการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ Active Learning ด้วยรปู แบบ S - PET MODEL
กิจกรรมที่ 3 : ~ 29 ~
เกยี รตบิ ัตรการอบรมการจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รุก
Active Learning ตามโครงการจิตวทิ ยาเชิงบวก
เพ่อื การเสริมสร้างอุปนิสยั ของผูเ้ รียน
ของคณะครูโรงเรียนบ้านตาเปาว์
https://anyflip.com/thybe/pjkb/
เกียรตบิ ตั รการรบั นเิ ทศการจัดการเรยี นรู้เชงิ รุก
Active Learning ตามโครงการจิตวิทยาเชงิ บวก
เพื่อการเสรมิ สรา้ งอปุ นิสยั ของผู้เรยี น
ของคณะครูโรงเรียนบา้ นตาเปาว์
https://anyflip.com/thybe/wlqr/
เกยี รติบัตรการอบรมการสรา้ งความร้คู วาม
เขา้ ใจหลักสูตรฐานสมรรถนะ
เพ่อื พฒั นาทกั ษะผูเ้ รียนในศตวรรษที่ 21 ด้วย
การจดั การเรียนรเู้ ชิงรุก Active Learning
พรอ้ มสง่ เสรมิ ความหลากหลายด้านพหปุ ญั ญา
จํานวน 4 หลกั สตู ร
ของคณะครูโรงเรยี นบ้านตาเปาว์
https://anyflip.com/thybe/cjtf/
การเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการดาํ เนินงานด้วยการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
การพัฒนาครเู พอ่ื สง่ เสรมิ ประสทิ ธภิ าพการจดั การเรียนรู้เชงิ รุก Active Learning ด้วยรปู แบบ S - PET MODEL
~ 30 ~
กจิ กรรมท่ี 4 : T – Technology and Innovation
การพฒั นาหรอื การนําส่ือเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษามาใช้ในการจัดการเรียนรู้
เกียรติบัตรการอบรมปฏบิ ัติการการพฒั นา
สมรรถนะดา้ นเทคโนโลยี (Technology
competence) ดว้ ยสื่อการเรยี นรู้ดจิ ิทัล
สาํ หรับครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
ของคณะครูโรงเรยี นบา้ นตาเปาว์
https://anyflip.com/thybe/shhq/
การพฒั นาครูเพอื่ ส่งเสริมประสทิ ธิภาพการจัดการเรียนรเู้ ชิงรุก Active Learning ด้วยรูปแบบ S - PET MODEL