The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักเกณฑ์การเปิดเรียนภาคเรียน2.64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thitirat Jinpala, 2021-10-28 03:00:14

หลักเกณฑ์การเปิดเรียนภาคเรียน2.64

หลักเกณฑ์การเปิดเรียนภาคเรียน2.64

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ ง หลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา
ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แหง่ พระราชกำหนด

การบริหารราชการในสถานการณ์ฉกุ เฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบบั ท่ี ๓๔)

ตามท่กี ระทรวงศกึ ษาธิการได้ออกประกาศ เรอ่ื ง หลกั เกณฑ์การเปิดโรงเรยี นหรือสถาบันการศึกษา
ตามขอ้ กำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉนิ พ.ศ.
๒๔๔๘ (ฉบับท่ี ๓๒) ลงวันที่ ๒๐ กนั ยายน ๒๔๖๔ นั้น

เนือ่ งดว้ ยสถานการณก์ ารระบาดของโรคตดิ เช่อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ในประเทศไทยมีแนวโน้มของ
สถานการณ์คลค่ี ลายไปในทางท'ี ดขี ึ้น ประกอบกับนายกรัฐมนตรีโดยคำแนะนำชองศูนย์บริหารสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดชองโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (โควดิ -๑๙) (ศบค.) ไดอ้ อกขอ้ กำหนดออกตามความในมาตรา ๙
แหง่ พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณฉ์ ุกเฉนิ พ.ศ. ๒๔๔๘ (ฉบบั ที, ๓๔) กำหนดใหส้ ว่ นราชการ
ถือปฏบิ ตั ิ โดยในสว่ นชองโรงเรียนและสถาบนั การศกึ ษาใหส้ ามารถดำเนนิ กจิ กรรมได้ตามหลกั เกณฑท์ ี,กระทรวง
ศกึ ษาธกิ าร กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม และกระทรวงสาธารณสุขกำหนด ประกอบ
กบั เพอ่ื เบเ็ นการเตรยี มความพรอ้ มในการเปดิ เรียนในวันท่ี ๑ พฤศจิกายน ๒๔๖๔

อาศัยอำนาจตามความในข้อ ๔ (๑) ของข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนด
การบรหิ ารราชการในสถานการณฉ์ ุกเฉิน พ.ศ. ๒๔๔๘ (ฉบับท,ี ๓๔) จงึ ยกเลิกประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรือ่ ง
หลกั เกณฑก์ ารเปดิ โรงเรยี นหรือสถาบันการศกึ ษาตามขอ้ กำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แหง่ พระราชกำหนด
การบริหารราชการในสถานการณ์ฉกุ เฉิน พ.ศ. ๒๔๔๘ (ฉบบั ท่ี ๓๒) ลงวันท,ี ๒๐ กันยายน ๒๔๖๔ และออกหลกั เกณฑ์
เวดง้ น

สว่ นที่ ๑ ะเงือ่ นไขหลักของมาตรการ Sandbox: Safety Zone in School รองรบั การเปดิ ภาคการศกึ ษาท่ี
๒/๒๕๖๔ โดยจัดการเรยี นการสอนในสถานศึกษาแบบ on site จำแนกตามเขตพน้ื ท่ีการแพรร่ ะบาดของ
โรคโควดิ -๑๙

ตารางที่ ๑ มาตรการ Sandbox: Safety Zone in School จำแนกตามเขตพน้ื ที่แพร่ระบาด

เขตพื้นท่ี มาตรการ ตรวจคดั กรอง การเข้าถึงวัคซีน การประเมนิ
การแพร่ระบาด หาเชื้อ ความเสย่ี ง
๑. เข้ม ๖ มาตรการหลกั (DMHT-RC) ครแู ละบุคลากร
พ้ืนทเี่ ฝา็ ระวัง ๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ) ในสถานศึกษาไดร้ บั (TST)
(สีเขยี ว) วัคซีนเขม็ พ่ี ๑ แล้ว
๒. แนวทาง ๗ มาตรการเขม้ สำหรบั ไม่น้อยกว่า ๘๔ % ๑ วันตอ่
สถานศึกษาแบบไป-กลบั สปั ดาห์



เขตพ้นื ที่ มาตรการ ตรวจคดั กรอง การเข้าถงึ วัคซีน การประเมนิ
การแพร่ระบาด หาเชอ้ื ความเสี่ยง
ครแู ละบุคลากร
พืน้ ทเี่ ฝ็าระวงั สงู ๑. เข้ม ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC) มีการสุม่ ตรวจ ในสถานศึกษาได้รับ (TST)
(สีเหลือง) ๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ) เน้นระยะๆ * วคั ซีนเขม็ ท่ี ๑ แลว้ ๑ วนั ต่อ
ไมน่ อ้ ยกว่า ๘๕: % สัปดาห์
พนื้ ท่คี วบคมุ ๒. แนวทาง ๗ มาตรการเขม้ สำหรับ มีการสมุ่ ตรวจ
(สสี ม้ ) สถานศึกษาแบบไป-กลบั เนน้ ระยะๆ * ครูและบุคลากร ๒ วันตอ่
ในสถานศกึ ษาไดร้ ับ สัปดาห์
พ้ืนท่คี วบคมุ สงู สุด ๑. เข้ม ๖ มาตรการหลกั (DMHT-RC) มกี ารสุม่ ตรวจ วัคซนี เขม็ ที่ ๑ แล้ว
(สแี ดง) ๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ) เนน้ ระยะๆ * ไมน่ ้อยกว่า ๘๕: % ๓ วันตอ่
สัปดาห์
พน้ื ที่ควบคุมสูงสุด ๒. แนวทาง ๗ มาตรการเขม้ สำหรบั มีการสมุ่ ตรวจ ครูและบคุ ลากร
และเข้มงวด สถานศึกษาแบบไป-กลับ เนน้ ระยะๆ * ในสถานศกึ ษาไดร้ บั ทกุ วนั
(สีแดงเขม้ )
๑. เข้ม ๖ มาตรการหลกั (DMHT-RC) วคั ซนี ครบโดส
๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ) (๒ เข็ม)

๒. แนวทาง ๗ มาตรการเขม้ สำหรับ ไม่น้อยกวา่ ๘๕: %
สถานศกึ ษาแบบไป-กลบั เนน้ School
Pass และ Small Bubble ครแู ละบคุ ลากร
ในสถานศึกษาได้รับ
๓. สถานประกอบกจิ การ กจิ กรรม
ท่ีอยู่รอบรั้วสถานศึกษา ผา่ นการประเมิน วัคซนี ครบโดส
TSC+ COVID free setting (๒ เขม็ )

๑. เขม้ ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC) ไมน่ ้อยกว่า ๘๕ %
๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ)

๒. แนวทาง ๗ มาตรการเขม้ สำหรบั
สถานศกึ ษาแบบไป-กลับ เนน้ School
Pass และ Small Bubble

๓. สถานประกอบกจิ การ กจิ กรรม
ท่อี ยรู่ อบรว้ั สถานศกึ ษา ผ่านการประเมิน
TSC+ COVID free setting

หมายเหตุ *'ปริมาณการสุม่ และความถ,ี ของการตรวจคัดกรองหาเชือ้ ด้วยวธิ ีการทเี่ หมาะสม ให้คณะกรรมการ
โรคติดตอ่ จังหวัดกำหนดได้ตามความเหมาะสมของการระบาดในพน้ื ทแ่ี ยกระดับอำเภอของแตล่ ะจงั หวดั

ส่วนที่ ๒ ะเงอื่ นไขข้อกำหนดของ ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC), ๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ) และแนวทาง
๗ มาตรการเข้มสำหรับสถานศกึ ษา

๒.® ขอ้ กำหนด ๖ มาตรการหลกั (DMHT-RC)
(๑) Distancing เวน้ ระยะห่าง
(๒) Mask wearing สวมหนา้ กาก
(๓) Hand washing ล้างมือ

(๔) T estin g คดั กรองวัดไข้

(๕) Reducing ลดการแออัด



(๖) Cleaning ทำความสะอาด
๒.๒ ขอ้ กำหนด ๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ)

(๑) Self-care ดแู ลตนเอง
(๒) Spoon ใชซ้ ้อนกลางสว่ นตวั
(๓) Eating กินอาหารปรงุ สุกใหม่
(๔) Track ลงทะเบยี นเช้าออกโรงเรยี น
(๔) Check สำรวจตรวจสอบ
(๖) Quarantine กักกันตวั เอง
๒.๓ ขอ้ กำหนดแนวทาง ๗ มาตรการเข้มสำหรบั สถานศกึ ษา
(๑) สถานศกึ ษาประเมนิ ความพร้อมเปดี เรยี นผ่าน TSC+ และรายงานการตดิ ตามการประเมินผล

ผา่ น MOECOVID
(๒) ทำกจิ กรรมรว่ มกันในรปู แบบ Small Bubble จัดนักเรียนเว้นระยะหา่ งในหอ้ งเรียน

หลกี เลี่ยงการทำกจิ กรรมชา้ มกลุม่ กนั
(๓) จัดระบบการใหบ้ ริการอาหารตามหลักสุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ
(๔) จดั การด้านอนามยั สิง่ แวดลอ้ มใหไ้ ดต้ ามเกณฑม์ าตรฐาน ได้แก่ การระบายอากาศภายใน

อาคาร การทำความสะอาด คุณภาพนํ้าอปุ โภคบริโภค และการจัดการขยะ
(๔) จัดใหม้ ี School Isolation แผนเผชิญเหตุ และมกี ารซักขอ้ มอย่างเครง่ ครดั
(๖) ควบคมุ ดูแลการเดินทางเชา้ และออกจากสถานศกึ ษา (Seal Route) ท้งั กรณีรถรับ-ส่ง

นกั เรยี น รถสว่ นบคุ คล และพาหนะโดยสารสาธารณะ
(๗) จดั ใหม้ ี School Pass สำหรบั นกั เรยี น ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษา

ส่วนที่ ๓ ะหลกั ๓๓ฑก์ ารพจิ ารณาสำหรับการใช้อาคารหรือสถานทเี่ พอ่ื จดั การเรียนการสอนของโรงเรยี นหรอื

สถาบันการศึกษา ท่ีต้ังอยใู่ นพ้ืนท่ีควบคมุ สงู สดุ และเข้มงวด (สแี ดงเขม้ )

ประเภทที่ ๑ โรงเรยี นหรือสถาบันการศกึ ษาประเภทพกั นอน
ประเภทที่ ๒ โรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาประเภทไป-กลับ

๓.® มาตรการ Sandbox: Safety zone in School สำหรบั โรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา
ประเภทพักนอน

๓.๑.® ดา้ นกายภาพ : ลกั ษณะอาคารและพ้ืนที่โดยรอบอาคารของสถาบนั การศกึ ษาประเภทพกั นอน หรือ
โรงเรยี นประจำ ประกอบด้วย

(๑) หอพักนักเรยี นชาย และ/หรอื หอพกั นกั เรียนหญิง
(๒) พ้ืนท่/ี อาคารสนับสนนุ การบริการ
(๓) พ้ืนท/่ี อาคารเพ่อื จัดการเรียนการสอน

(๔) สถานทพี่ ักครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา

โดยจัดอาคารและพ้นื ท่ีโดยรอบใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรการ

๓.๑.๒ ดา้ นการมสี ่วนรว่ ม : ตอ้ งเนินไปตามความสมัครใจของทุกฝา่ ย โดยโรงเรียนทีป่ ระสงคจ์ ะดำเนินการ
ในรปู แบบ Sandbox: Safety Zone in School ตอ้ งจดั ใหม้ กี ารประชมุ หารอื รว่ มกนั ของคณะกรรมการสถานศึกษา
ขนั้ พ้ืนฐาน ครู ผู้ปกครอง ผูน้ ำชุมชน และมมี ตใิ หค้ วามเหน็ ชอบร่วมกันในการจดั พน้ื ทกี่ ารเรยี นการสอนในรปู แบบ

Sandbox: Safety Zone in School ตลอดภาคการศึกษา กอ่ นนำเสนอโครงการผา่ นต้นสังกัดในพ้นื ที่ (ตามแบบ
ประเมนิ : ภาคผนวก)แลว้ ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการโรคตดิ ต,อกรงุ เทพมหานครหรอื คณะกรรมการ
โรคตดิ ตอ่ กรงุ เทพมหานคร

๓.๑.๓ ดา้ นการประเมินความพร้อมสู่การปฏบิ ัติ : โรงเรียนหรือสถานศกึ ษา ต้องเตรยี มการประเมิน
ความพร้อมดังน้ี

๓.๑.๓.๑ โรงเรียน หรอื สถานศึกษา

(๑) ต้องผ่านการประเมินความพรอ้ มผา่ น Thai Stop Covid Plus (TSC+) และรายงานการ
ตดิ ตามการประเมินผลผา่ น MOECOVID

(๒) ต้องจัดใหม้ สี ถานที่แยกกักตวั ในโรงเรียน (School isolation) สำหรับรองรับการดแู ลรกั ษา
เบอ้ื งตน้ กรณนี ักเรียน ครู หรอื บคุ ลากรในสถานศกึ ษามกี ารตดิ เชื้อโควดิ -๑๙ หรือผลตรวจคัดกรองหาเช้ือเนินบวก
รวมถีงมีแผนเผชญิ เหตุและมีความร่วมมือกับสถานพยาบาลเครอื ขา่ ยในพื้นที่ทดี่ แู ลอย่างใกล้ขิด

(๓) ตอ้ งจัดอาคารและพืน้ ทโ่ี ดยรอบใหเ้ นินอาณาเขตบรเิ วณในรูปแบบ Sandbox ในโรงเรียน
ดงั น้ี

๑) Screening Zone จดั พ นื ท ีห รอื บ ริเวณ ให ้เป ็น จ ุด ค ดั ก รอ ง (Screening Zone)
ท่เี หมาะสม จัดจดุ รับสง่ ส่งิ ของ จดุ รบั สง่ อาหาร หรอื จุดเสย่ี งอน่ื เนินการจำแนกนกั เรยี น ครู บุคลากร ผปู้ กครอง และ
ผู้มาติดต่อที่เขา้ มาในโรงเรียนไม1ให้ใกล้ชดิ กับบคุ คลในโซนอืน่ รวมถึงจดั ให้มพี น้ื ทป่ี ฏิบตั ิงานเฉพาะบุคลากรทไี่ ม่
สามารถเข้าปฏบิ ตั งิ านในโซนอืน่ ได้

๒) Quarantine Zone จดั พ้นื ท่หี รือบริเวณให้เนนิ จดุ กักกันและสังเกตอาการ สำหรบั
นกั เรียน ครู และบุคลากรทย่ี ังตอ้ งสังเกตอาการ เนน้ การจัดกิจกรรมแบบ Small Bubble

๓) Safety Zone จัดเนินพน้ื ทีป่ ลอดเชอื้ ปลอดภัย สำหรบั นักเรยี น ครู และบุคลากร
ที่ปฏิบตั ภิ ารกจิ กจิ กรรมแบบปลอดภยั

(๔) ต้องมีระบบแผนงานรับการติดตามประเมนิ ความพร้อม โดยคณะตรวจราชการบูรณาการ
ร่วมระหวา่ งกระทรวงศกึ ษาธิการกบั กระทรวงสาธารณสุข

๓.๑.๓.๒ นกั เรยี น ครู และบคุ ลากร
(๑) ครู และบุคลากร ตอ้ งไดร้ ับการฉดี วคั ซีนครบโดส (๒ เขม็ ) ต้ังแตร่ ้อยละ ๘๕ ชน้ื ไป

(๒) นักเรยี น ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษา ทุกคนต้องตรวจคัดกรองหาเช้ือด้วยวิธกี ารท่ี
เหมาะสม ก่อนเขา้ Quarantine Zone

(๓) นกั เรียน ครู และบคุ ลากรในสถานศกึ ษา มีการแยกกักตวั สังเกตอาการใหค้ รบกำหนด

๑๔ วันก่อนเข้าสู่ Safety Zone (กรณีย้ายมาจาก State Quarantine ใหพ้ จิ ารณาลดจำนวนวันกกั ตัวลงตามความ
เหมาะสม ๗-๑๐ วนั หรอื ขึน้ อยู่กบั คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ ระดบั พน้ื ท)่ี รวมถึงการทำกิจกรรมในแบบ Small
Bubble และหลีกเลยี่ งการทำกจิ กรรมข้ามกลุ่มกนั

(๔) ถา้ นกั เรยี น ครู และบคุ ลากรมีอาการเข้าได้ (Inclusion Criteria) กับการติดเช้อื โควดิ หรอื

สัมผัสกลุ่มเสยี่ งสงู ใหด้ ำเนินการตรวจคดั กรองหาเช้อื ด้วยวิธีทเ่ี หมาะสมโดยเฉพาะกลมุ่ ท่ีไม1ได้รับวคั ซนี ตามเกณฑ์

พรอ้ มทง้ั รายงานผลการตรวจกบั หนว่ ยงานสาธารณสุขในพนื้ ท่ที ันทแี ละปฏบิ ัติตามแผนเผชญิ เหตุกรณีมีผลตรวจ
เป็นบวก

๓.๑.๔ การดำเนินการของโรงเรียน หรอื สถานศึกษา : ระหว่างภาคการศกึ ษาตอ้ งดำเนนิ การดังนี้

(๑) สามารถจัดการเรยี นการสอน ไดท้ ้งั รปู แบบ On Site หรอื Online หรอื แบบผสมผสาน
(Hybrid)

(๒) นกั เรียน ครู และบุคลากร ทกุ คนตอ้ งประเมนิ Thai Save Thai (TST) ตามเกณฑจ์ ำแนกตาม
เขตพนื้ ท่ีการแพร่ระบาด (ดงั ตารางที่ ๑)

(๓) ใหม้ ีการสุม่ ตรวจคัดกรองหาเฃื้อดว้ ยวธิ กี ารทเี่ หมาะสม ทัง้ นกั เรยี น ครู และบคุ ลากรท่ี
เก่ียวขอ้ งกับสถานศกึ ษา เพือ่ เฝ็าระวงั ตามเกณฑ์จำแนกตามเขตพนื้ ท่ีการแพรร่ ะบาด (ดงั ตารางท่ี ๑)

๓.๑.๕ ปฏิบัตติ ามมาตรการสขุ อนามยั ส่วน,บคุ คลอยา่ งเข้ม'ขน้ ไดแ้ ก่ ๖ มาตรการหลกั (DMHT-RC) และ
๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ)

๓.๑.๖ ปฏบิ ัติตามแนวทางมาตรการเขม้ สำหรบั สถานศกึ ษาอยา่ งเคร่งครัด
(๑) สถานศกึ ษาประเมินความพร้อมเปดี เรียน ผา่ น TSC+ และรายงานการติดตามการประเมนิ ผล

ผ่าน MOECOVID โดยถอื ปฏบิ ัตอิ ย่างเข้มข้น ต่อเนอ่ื ง
(๒) ทำกจิ กรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลกี เลีย่ งการทำกจิ กรรมข้ามกลมุ่ กัน และจัด

นักเรยี นในหอ้ งเรยี นขนาดปกติ (๘ X ๘ เมตร) ไม,เกิน ๒๕: คน หรอื จัดให้เวน้ ระยะหา่ งระหว่างนักเรียนใน
หอ้ งเรียนไมน่ อ้ ยกวา่ ๑.๕ เมตร พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อจงั หวัด

(๓) จดั ระบบการใหบ้ ริการอาหารสำหรับนักเรยี น ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษา ตามหลัก
มาตรฐานสุขาภบิ าลอาหารและหลกั โภชนาการ อาทิเขน่ การจดั ซื้อจัดหาวตั ถดุ ิบจากแหลง่ อาหาร การปรงุ
ประกอบอาหาร หรือการสงั่ ซอ้ื อาหารตามระบบนำส1งอาหาร (Delivery) ท,ี ถูกสขุ ลักษณะและต้องมรี ะบบ
ตรวจสอบทางโภชนาการก่อนนำมาบรโิ ภค

(๔) จดั การดา้ นอนามัยสิง่ แวดล้อมให้ใต้ตามแนวปฏิบตั ิดา้ นอนามยั ส,ิ งแวดล้อมในการปองกัน
โรคโควดิ -๑๙ ในสถานศกึ ษาได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาด คณุ ภาพน้าี อุปโภคบรโิ ภค
และ การจดั การขยะ

(๔) จดั ให้มีสถานทีแ่ ยกกักตัวในโรงเรยี น (School Isolation) หรอื พ้ืนทแ่ี ยกกักขั่วคราว รวมไป
ถึงแผนเผชญิ เหตุสำหรบั รองรบั การดแู ลรกั ษาเบอ้ื งตน้ กรณนี กั เรยี น ครู หรือบุคลากรในสถานศกึ ษากรณมี กี ารติด
เชอ้ื โควิด-๑๙ หรือผลตรวจคัดกรองหาเชอ้ื เป็นบวก โดยมีการซักซอ้ มอย่างเครง่ ครัด

(๖) ควบคมุ ดแู ลการเดนิ ทางกรณีมีการเขา้ และออกจากสถานศกึ ษา (Seal Route) อย่างเขม้ ข้น
โดยหลีกเลยี่ งการเขา้ ไปสัมผสั ในพืน้ ทต่ี า่ งๆ ตลอดเส้นทางการเดนิ ทาง

(หมายเหตุ : มาตรการและแนวทางปรับตามสถานการณ์การแพร1ระบาดของโรค ข้นึ กบั คณะกรรมการ
โรคติดต่อจงั หวดั หรือคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานครกำหนด)

ทง้ั นโี้ รงเรยี น หรือ สถาบันการศึกษาท,ี ประสงค์จะขอเปดี การเรียนการสอนโดยดำเนินการตามรูปแบบ
Sandbox: Safety Zone in School ต้องจดั ทำเอกสารขอ้ เสนอโครงการเสนอต่อผแู้ ทนกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและ
กระทรวงสาธารณสุขในพื้นที่ พิจารณา และเสนอต่อคณะกรรมการโรคติดตอ่ จังหวัดหรือคณะกรรมการโรคติดต่อ
กรงุ เทพมหานคร โดยตอ้ งจัดทำแผนงานและแสดงความพรอ้ มการดำเนนิ การตามขอ้ ๓.๑ ใหค้ รบถว้ น เพื่อสง่
ตน้ สงั กดั พจิ ารณาตามแบบประเมนิ ในภาคผนวก



๓.๒ มาตรการ Sandbox: Safety zone in School สำหรบั โรงเรยี นหรอื สถาบันการศกึ ษา
ประเภทไป-กลบั ทม่ี ีความพร้อมและผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ

๓.๒.๑ ดา้ นกายภาพ ะลักษณะอาคารและพน้ื ท่โี ดยรอบอาคารของโรงเรียนหรอื สถาบันการศึกษา
ประกอบดว้ ย

(๑) พืน้ ท่/ี อาคารสนับสนนุ การบรกิ าร
(๒) พ้นื ที่/อาคารเพือ่ จดั การเรยี นการสอน
โดยจดั อาคารและพน้ื ทโี่ ดยรอบให้เปน็ พนื้ ที่ปฏบิ ตั งิ านที่ปลอดภยั และมพี ืน้ ท่ีที่เป็น COVID free zone
๓.๒.๒ ด้านการมสี ่วนรว่ ม ะตอ้ งเป็นไปตามความสมัครใจของทุกฝ่าย โดยโรงเรียนที่ประสงค์จะ
ดำเนินการในรปู แบบ Sandbox: Safety Zone in School ต้องจดั ใหม้ กี ารประขมุ หารอื ร่วมกันของคณะกรรมการ
สถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ครู ผู้ปกครอง ผนู้ ำขุมขน และมีมตใิ ห้ความเห็นขอบร่วมกนั ในการจัดพ้นื ทีก่ ารเรียนการ
สอนในรปู แบบ Sandbox: Safety Zone in School ตลอดภาคการศึกษา กอ่ นนำเสนอโครงการผา่ นต้นสงั กดั ใน
พนื้ ท่ี แล้วขอความเห็นขอบจากคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวดั หรอื คณะกรรมการโรคตดิ ต่อกรงุ เทพมหานคร
๓.๒.๓ ด้านการประเมินความพร้อมส,ู การปฏิบัติ ะโรงเรียนหรือสถานศึกษา ต้องเตรยี มการประเมนิ
ความพรอ้ มดงั น้ี
๓.๒.๓.๑ โรงเรยี น หรอื สถานศกึ ษา
(๑) ต้องผ่านการประเมนิ ความพรอ้ มผา่ น TSC+ และรายงานการตดิ ตามการประเมินผลผ่าน MOECOVID
(๒) จดั ใหม้ ีสถานที่แยกกักตัวในโรงเรยี น (School Isolation) หรอื พื้นทแ่ี ยกกักชั่วคราว รวมไป
ถึงแผนเผฃญิ เหตสุ ำหรับรองรบั การดูแลรักษาเบ้ืองต้นกรณีนกั เรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษากรณมี กี าร
ตดิ เชื้อ'โค:วิด-๑๙ หรือผลตรวจคดั กรองหาเชอื้ เป็นบวก โดยมีการซักซอ้ มอย่างเครง่ ครัด โดยมคี วามรว่ มมอื กบั
สถานพยาบาลเครอื ขา่ ยในพื้นท่ที ด่ี แู ลอยา่ งใกลช้ ิด
(๓) ตอ้ งควบคุมดแู ลการเดนิ ทางระหว่างบา้ นกบั โรงเรียนอย่างเขม้ ข้น โดยหลกี เลีย่ งการเข้าไป
สมั ผัสในพ้นื ท่ีต่างๆ ตลอดเสน้ ทางการเดนิ ทาง
(๔) ต้องจดั พืน้ ทห่ี รอื บริเวณให้เป็นจดุ คดั กรอง (Screening Zone) ทีเ่ หมาะสม จัดจดุ รับสง่
สิ่งของ จดุ รบั ส่งอาหาร หรือจุดเส่ยี งอื่น เปน็ การจำแนกนักเรยี น ครู บุคลากร ผู้ปกครอง และผมู้ าติดตอ่ ทีเ่ ข้ามาใน
โรงเรียน
(๔ )ตอ้ งมรี ะบบและแผนรับการตดิ ตามประเมนิ ความพรอ้ มโดยทีมตรวจราขการบรู ณาการ
ร่วมกันระหว่างกระทรวงศึกษาธกิ ารและกระทรวงสาธารณสุข ทง้ั ช่วงก่อนและระหวา่ งดำเนินการ

๓.๒.๓.๒ นักเรยี น ครู และบุคลากร

(๑) ครู และบคุ ลากร ต้องได้รับการฉีดวคั ซีนครบโดส (๒ เขม็ ) ตงั้ แตร่ ้อยละ ๘๔ ขนึ้ ไป
(๒) นักเรยี น ครู และบคุ ลากรในสถานศกึ ษา มกี ารทำกจิ กรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble
และหลีกเล่ยี งการทำกจิ กรรมขา้ มกลุ่มกนั
(๓) ถา้ นักเรียน ครู และบคุ ลากรมีอาการเข้าไต้ (Inclusion Criteria ) กับการตดิ เชือ้ โควดิ หรือ
สัมผัสกลุ่มเลี่ยงสงู ให้ดำเนินการตรวจคดั กรองหาเชื้อด้วยวธิ ีทเ่ี หมาะสมโดยเฉพาะกลมุ่ ทไ่ี มใตร้ บั วัคซนี ตามเกณฑ์
พร้อมทั้งรายงานผลการตรวจกบั หน่วยงานสาธารณสุขในพ้ืนทที่ ันที และปฏิบัติตามแผนเผชิญเหตกุ รณีมีผลตรวจ
เป็นบวก



๓.๒.๔ การดำเนินการของโรงเรยี น หรอื สถานศึกษา ะระหว่างภาคการศกึ ษาตอ้ งดำเนินการดังน้ี
(๑) สามารถจัดการเรยี นการสอน ไดท้ ง้ั รปู แบบ On Site หรอื Online หรอื แบบผสมผสาน

(Hybrid)
(๒) นักเรียน ครู และบคุ ลากรทอ่ี ยู่ในพ้นื ท่ีต้องประเมิน Thai Save Thai (TST) อย่างตอ่ เนอื่ งตาม

เกณฑจ์ ำแนกตามเขตพืน้ ท่ีการแพรร่ ะบาด (ดังตารางท่ี ๑)
(๓) นกั เรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษามกี ารสุม่ ตรวจคดั กรองหาเช้ือเปน็ ระยะ ตามแนวทาง

คณะกรรมการโรคติดตอ่ ระดบั จงั หวัดกำหนด
(๙) ปฏิบตั ิตามมาตรการสขุ อนามัยสว่ นบุคคลอย่างเข้มข้น ไดแ้ ก่ ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC)

และ ๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ)
(๙) นกั เรยี น ครู และบคุ ลากรท่เี ก่ยี วข้องกบั สถานศกึ ษา เขยี นบันทึก Timeline กิจกรรมประจำวนั

และการเดินทางเขา้ ไปในสถานท่ตี ่าง ๆ แต่ละวันอย่างสมํ่าเสมอ
(๖) ปฏิบตั ติ ามแนวทาง ๗ มาตรการเข้มสำหรับสถานศกึ ษา (ไป-กลับ) อยา่ งเคร่งครัด
๑) สถานศกึ ษาประเมินความพร้อมเปิดเรยี น ผา่ น TSC+ และรายงานการติดตามการ

ประเมนิ ผล ผ่าน MOECOVID โดยถอื ปฏิบัติอยา่ งเข้มขน้ ต่อเนอ่ื ง
๒) ทำกิจกรรมร่วมกันในรปู แบบ Small Bubble หลกี เลยี่ งการทำกิจกรรมขา้ มกล่มุ กนั และ

จดั นกั เรียนในห้องเรียนขนาดปกติ (๘ X ๘ เมตร) ไมเ่ กนิ ๒๙ คน หรอื จดั ใหเ้ วน้ ระยะห่างระหวา่ งนักเรียนใน

หอ้ งเรยี นไมน่ อ้ ยกว่า ๑.๙ เมตร พจิ ารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดตอ่ วงั หวดั

๓) จดั ระบบการให้บรกิ ารอาหารสำหรับนกั เรยี น ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษา ตามหลัก
มาตรฐานสขุ าภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิเชน่ การจดั ซ่ือจดั ห าวตั ถุดบิ จากแห ลง่ อาห าร
การปรงุ ประกอบอาหาร หรอื การสง่ั ซ้ืออาหารตามระบบนำส่งอาหาร (Delivery) ท่ถี กู สุขลกั ษณะและตอ้ งมรี ะบบ
ตรวจสอบทางโภชนาการก่อนนำมาบรโิ ภค

๔) จดั การด้านอนามยั สงิ แวดล้อมใหไ้ ด้ตามแนวปฏบิ ัตดิ ้านอนามยั สิงแวดลอ้ มในการป้องกนั
โรคโควิด-๑๙ ในสถานศกึ ษา ไดแ้ ก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาด คณุ ภาพนา้ํ อุปโภคบรโิ ภค
และ การวดั การขยะ

๙) จดั ให้มีสถานที่แยกกักตัวในโรงเรยี น (School Isolation) หรอื พนื้ ท่แี ยกกกั ชว่ั คราว
ร ว ม ไป ถ งึ แ ผ น เผ ช ิญ เห ต ุส ำห วบั รอ งวบั ก ารด ูแ ล วกั ษ าเบ อื งต ้น ก รณ นี กั เรยี น ครู ห รอื บ ุคลากร
ใน สถาน ศึกษ ากรณ มี ีการติดเช้อื โควิด-๑๙ หรอื ผลตรวจคัดกรองหาเซอื เปน็ บวก โดยมกี ารซกั ซอ้ ม
อย่างเครง่ ครดั โดยมีความรว่ มมือกบั สถานพยาบาลเครอื ข่ายในพ้นื ท่ที ่ีดแู ลอยา่ งใกลช้ ิด

๖) ควบคมุ ดแู ลการเดนิ ทางเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเข้มขน้
โดยห ลีกเลยี งการเขา้ ไปลัมน ัสใน พ ื นทีตา่ งๆ ตลอดเสน้ ทางการเดินทางจากบา้ น ไปกลบั โรงเรยี น
ทั้งกรณรี ถรับ-สง่ นักเรยี น รถสว่ นบคุ คล และพาหนะโดยสารสาธารณะ

๗) จดั ใหม้ ี School Pass สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษา ซง่ึ ประกอบดว้ ย
ขอ้ มูลผลการประเมิน TST ผลตรวจคดั กรองหาเชอื้ ตามแนวทางคณะกรรมการโรคตดิ ต่อระดบั พนื้ ท่ี และ
ประวัติการรับวคั ซนี ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ

(๗) กำหนดใหส้ ถานประกอบกจิ การ กิจกรรมทึอย่รู อบรัว้ สถานศกึ ษาให้ผา่ นการประเมนิ Thai

S to p COVID p lu s (TSC+) COVID fre e settin g โดยให้มกี ารกำกับรว่ มกับคณะกรรมการโรคตดิ ต่อระดับพื้นท่ี



(หมายเหตุ : มาตรการและแนวทางปรับตามสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรค ข้ึนกบั คณะกรรมการ
โรคตดิ ตอ่ จงั หวดั หรอื คณะกรรมการ'โรคติดตอ่ กรุงเทพมหา'นครกำหนด)

ท้ังน้ีโรงเรยี น หรือ สถาบนั การศึกษาทีป่ ระสงค์จะขอเปิดการเรียนการสอน ต้องจดั ทำเอกสารขอ้ เสนอ
โครงการเสนอต่อผู้แทนกระทรวงศกึ ษาธิการและกระทรวงสาธารณสุขในพื้นทพ่ี ิจารณา และเสนอต่อคณะกรรมการ
โรคติดตอ่ จังหวดั หรือคณะกรรมการโรคติดต่อกรงุ เทพมหานคร โดยต้องจดั ทำแผนงานและแสดงความพร้อมการ

ดำเนินการตามขอ้ ๓.๒ให้ครบถ้วน เพ่ือส่งต้นสังกัดพจิ ารณาตามแบบประเมนิ ในภาคผนวก

๓.๓ แนวปฏบิ ตั ิดา้ นอนามัยส่งิ แวดลอ้ มในการป้องกนั โรคโควดิ -๑๙ ในสถานศกึ ษา
๓.๓.๑ การระบายอากาศภายในอาคาร

(๑) เปดิ ประตหู น้าต่างระบายอากาศก่อนและหลงั การใช้งาน อยา่ งนอ้ ย ๑๕ นาที ควรมีหน้าตา่ ง
หรอื ซ่องลม อย่างน้อย ๒ ตา้ นของห้อง ใหอ้ ากาศภายนอกถา่ ยเทเข้าสู่ภายในอาคาร

(๒) กรณีใช้เครือ่ งปรับอากาศ ควรระบายอากาศในอาคารก่อนและหลงั การใช้งาน อยา่ งน้อย
๒ ชัว่ โมง หรือเปิดประตูหนา้ ตา่ งระบายอากาศซว่ งพักเทย่ี งหรอื ซว่ งท,ีไมม่ กี ารเรียนการสอน
กำหนดเวลาเปิด-ปิดเคร่ืองปรบั อากาศ และทำความสะอาดสมํ่าเสมอ

๓.๓.๒ การทำความสะอาด

(๑) ทำความสะอาดวสั ดสุ ่ิงของดว้ ยผงซักฟอกหรอื นํา้ ยาทำความสะอาด และลา้ งมอื ด้วยสบู่และนาํ้
(๒) ทำความสะอาดและฆา่ เชือ้ โรคบนพน้ื ผิวทัว่ ไป อปุ กรณส์ ัมผัสร่วม เซ่น ห้องนา้ํ ห้องส้วม

ลูกบิดประตู รโี มทคอนโทรล ราวบนั ได สวิตชไ้ ฟ ปมกดลิฟทํ จดุ น้าํ ด่ืม เปีนต้น ด้วยแอลกอฮอล์
๗๐% นาน ๑๐ นาที และฆา่ เช้ือโรคบนพน้ื ผิววัสดุแขง็ เซ่น กระเบ้อื ง เซรามิก สแตนเลส ดว้ ย
นา้ํ ยาฟอกขาวหรือโซเดียมไรโปคลอไรท์ ๐.๑% นาน ๕-๑๐ นาที อยา่ งนอ้ ยวนั ละ ๒ ครง้ั และ
อาจเพ่ิมความถ่ีตามความเหมาะสมโดยเฉพาะเวลาท่มี ิผู้ใชง้ านจำนวนมาก
๓.๓.๓ คุณภาพน้ําอปุ โภคบรโิ ภค
(๑) ตรวจตูคุณลกั ษณะทางกายภาพ สี กลิน่ และไมม่ ีสิ่งเจอื ปน
(๒) ดูแลความสะอาดจุดบริการนา้ํ ด่ืมและภาขนะบรรจนุ ้ําดื่มทกุ วัน (ไมไขแ้ ก้วน้ําด่ืมรว่ มกนั เด็ดขาด)
(๓) ตรวจคณุ ภาพนํ้าเพื่อหาเชอื้ แบคทเี รยี ด้วยขดุ ตรวจภาคสนาม (อ ๑๑) ทุก ๖ เดอื น
๓.๓.๔ การจัดการขยะ
(๑) มถี ังขยะแบบมีฝาปดิ สำหรับรองรบั ส่ิงของทไี่ ม่ใช้แล้ว ประจำหอ้ งเรยี น อาคารเรยี น หรือบริเวณ
โรงเรยี นตามความเหมาะสม และมกี ารคดั แยก-ลดปริมาณขยะ ตามหลัก ๓R (Reduce Reuse
Recycle)
(๒) กรณีขยะเกิดจากผู้สมั ผัสเสยี่ งสงู /ถักถนั ตัว หรือหนา้ กากอนามัยทใ่ี ช้แลว้ นำใสในลงุ ก่อนทง้ิ ให้
ราดดว้ ยแอลกอฮอล์ หรือ ๗๐% นํ้ายา'ฟอก'ขาว ๒ ฝา ลงในลุง มัดปากลงุ ให้แน่น ซ้อนด้วยลงุ อีก
๑ ขั้น ปิดปากลุงให้สนิท และฉีดพน่ บรเิ วณปากลงุ ด้วยสารฆ่าเชอื้ แลว้ ทิง้ ในขยะท่ัวไป



ส่วนท,ี ๔ ะมาตรการตามแผนเผชญิ เหตุตามมาตรการป๋องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-๑๙ ของ
สถานศึกษา

ตารางที่ ๒ แผนเผชญิ เหตตุ ามมาตรการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -๑๙ ของสถานศกึ ษา

ระดบั การแพร่ระบาด มาตรการปองกัน

ในชมุ ซน ในสถานศกึ ษา คร/ู นกั เรยี น สถานศกึ ษา

ไม่มผี ้ตู ดิ เชื้อ ไมพ่ บผตู้ ดิ เช้ือ - ปฏบิ ัติตามมาตรการ DMHT - เปด็ เรยี น On Site

ยืนยัน - ประเมนิ TST เป็นประจำ - ปฏิบตั ิตามแนวทาง 1ST

- เนน้ เฝาื ระวังสงั เกตอาการ กลมุ่

เปราะบาง กรณีโรงเรยี นประจำ เดก็ พิเศษ

กลุ่มเสีย่ ง

มีผู้ติดเช้อื ไม่พบผู้ตดิ เช้ือ - ปฏิบัตเิ ข้มตามมาตรการ DMHT - เปด็ เรยี น On Site ปฏบิ ตั ิตามมาตรการ

ประปราย ยืนยัน - ประเมิน TST เป็นประจำ TSC Plus (๔๔ข้อ)

(๑-(ะ ราย) - กรณีเป็นผ้มู ีค'วามเส่ียง เซน อาศัย - ตดิ ตามรายงานผลประเมนิ 1ST

ในพ้ืนท่ที ่ีมผี ูต้ ดิ เชื้อควรสมุ่ ตรวจหา - เข้มเฝืาระวังตรวจคัดกรอง กลมุ่

เชื้อเป็นระยะ ตามสถานการณ์ เปราะบาง กรณีโรงเรียนประจำ เด็กพิเศษ

กลุ่มเส่ยี ง

พบผู้ตดิ เชือ้ ยนื ยนั - ปฏิบัตเิ ข้ม ๖ มาตรการหลัก - หอ้ งเรยี นท่พี บผู้ตดิ เชอื้ ปดี เรียน เป็น

๑ หอ้ งเรยี น (DMHT-RC) ๖ มาตรการเสรมี เวลา ๓ วนั เพอื่ ทำความสะอาด

ต้งั แต่ ๑ รายช้นื ไป (SSET-CQ) - ห้องเรียนอ่นื เปด็ เรยี น On Site

- ประเมิน TST ทกุ คนในหอ้ งเรยี น ตามปกติ งดกจิ กรรมที่มิการรวมกลุ่มกัน

และผสู้ มั ผัสใกล้ชดิ ทกุ วนั รายงานผล โดยเฉพาะระหว่างหอ้ งเรยี น

- กรณเี สีย่ งสูง (High Risk Contact) - ปฏบิ ตั เิ ขม้ ตามมาตรการ TSC Plus

: งดเรยี น On Site กกั ตวั ทีบ่ ้าน ๑๔ - เป็ดประตูหน้าต่างหอ้ งเรยี น ให้อากาศ

วนั ตรวจหาเชือ้ ตามแนวทาง ถา่ ยเทสะดวก ตลอดเวลาการใช้งาน

- กรณีเปน็ ผสู้ ัมผสั เสย่ี งต่ํา (Low Risk กรณใี ชเ้ ครอื่ งปรับอากาศ เปด็ ประตู

Contact) : มาเรียน On Site สงั เกต หนา้ ตา่ งระบายอากาศชว่ งเวลาพกั เท่ียง

อาการตนเอง หรอื ชว่ งเวลาไม่มเิ รียน

พบผตู้ ิดเชอ้ื ยืนยนั - ประเมิน TST ทุกคนทกุ หอ้ งเรยี นท่ี - หอ้ งเรียนหลายหอ้ งทพี่ บผู้ติดเชือ้ ปด็
มีผ้ตู ิดเช้อื และผ้สู มั ผสั ใกล้ชดิ ทุกวนั เรียน เป็นเวลา ๓ วนั เพื่อทำความสะอาด
มากกวา ๑ รายงานผล งดกิจกรรมทม่ี กี ารรวมกลุ่มกันทกุ กิจกรรม
หอ้ งเรียน
- กรณเี ส่ยี งสูง ส่งตรวจดัดกรองหา หรอื ปดิ เรยี นตามอำนาจพจิ ารณาของ
เชือ้ ด้วย RT-PCR พบผลบวก คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จังหวัด/กทม.
- มีหอ้ งแยกกักตวั ในโรงเรียน (School
ถ้ามอิ าการปว่ ยร่วมด้วย ตอ้ งสง่ ตอ่ รบั
การรกั ษาโรงพยาบาลหลัก Isolation) รองรับผู้ตดิ เชื้อในโรงเรยี น
(Hospital) ถ้าไม่มีอาการป่วยร่วม (กรณโี รงเรยี นประจำ)
ดว้ ย เขา้ รบั รักษาโรงพยาบาลสนาม - ปฏิบตั ติ ามมาตรการตดั ความเสยี่ ง สรา้ ง
(Hospitel) หรือหอ้ งแยกกกั ตัวใน ภูมิค้มุ กัน ด้วย ๓'T๑V (TSC Plus 1TST ,
โรงเรยี น (School Isolation) เพอื TK 1Vaccine)
สงั เกตอาการ

๑๐

ระดับการแพร่ระบาด มาตรการป๋องกัน

ในซมซน ใบสถานศกึ ษา ครุ/นักเรียน สถานศึกษา

มีผ้ตู ดิ เชอ้ื เปน็ กลุ่ม พจิ ารณาใซ้ - ปฏบิ ัติเข้มตามมาตรการยกระดบั - พิจารณาการเปด็ เรียน On Site โดย

กอ้ น (Cluster) แนวทาง รว่ มกับ ป็องกัน Universal Prevention ปฏิบตั ิตามมาตรการทุกมติ ิ อย่างเขม้ ซ้น

ในชุมซน กรณพี บการติด (UP) ทงั้ ท่ีบา้ น และโรงเรียน กรณีไมม่ คิ วามเฃ่ือมโยงกบั cluster ใน

เชอื้ ในโรงเรียบ หลกี เล่ยี งการไปท่ีชมุ ซน ชุมซน อาจไม่ตอ้ งปีดเรียน

- ปฏบิ ัตติ ามมาตรการปอ๋ งกันสำหรบั หรอื จัดการเรียนตามการพิจารณาของ

คร/ู นักเรียนอยา่ งเข้มขน้ ตามระดับ คณะกรรมการ ควบคุมโรคติดต่อจังหวัด/

การแพรร่ ะบาดในสถานศึกษา อาทิ กทม.

ไมพ่ บผ้ตู ดิ เชือ้ ยีนยัน หรอื พบผูต้ ิดเช้ือ - พจิ ารณาการป็ดเรียน โดยคณะกรรมการ

ยืนยนั ๑ ห้องเรยี น ควบคมุ โรคตดิ ต่อจงั หวดั /กทม. ตามขอ้ มลู

หรอื พบผ้ตู ิดเช้ือยีนยนั มากกว่า ๑ หลกั ฐานและความจำเป็น

หอ้ งเรียน

มีการระบายแพร่ พิจารณาใช้ - ปฏบิ ัตเิ ขม้ ตามมาตรการยกระดบั - พิจารณาการเป็ดเรยี น On Site โดย
กระจายเปน็ แนวทาง รว่ มกบั
วงกว้างในชมุ ซน ก รณ ีพ บ ก ารต ดิ ป้องกัน Universal Prevention ปฏบิ ัตติ ามมาตรการทุกมิติ อย่างเคร่งครัด
เช้ือในโรงเรยี น
(UP) อยา่ งเคร่งครัด - พิจารณาการปดี เรียน โดยคณะกรรมการ

- ปฏิบตั ติ ามมาตรการปอ้ งกันสำหรบั ควบคุมโรคติดต่อจงั หวัด/กทม. ตามขอ้ มูล

คร/ู นกั เรียนอย่างเคร่งครดั ตามระดบั หลกั ฐานและความจำเปน็

การแพรร่ ะบาดในสถานศึกษา อาทิ - กรณีโรงเรยี นประจำเข้มตามมาตรการ

ไมพ่ บผ้ตู ดิ เชอ้ื ยืนยนั หรอื พบผตู้ ดิ เช้อื Sandbox: Safety Zone in School

ยนื ยัน ๑ ห้องเรยี น หรือพบผ้ตู ิดเชือ้ เตรียมพรอ้ มเป็ดเรียน เนน้ Bubble and

ยนื ยนั มากกวา่ ๑ ห้องเรยี น Seal

- กรณโี รงเรยี นไป-กลับ ตาม ๗ มาตรการ

เข้มเตรียมพร้อมเปด็ เรียน เน้น Seal

Route

- สมุ ตรวจคัดกรองหาเชอื้ เปน็ ระยะ

ส่วนที่ ๕ : หลักเกณฑก์ ารพจิ ารณาสำหรับการัใช้อาคารหรือสถานท่ขี องโรงเรยี นหรือสถาบนั การศกึ ษา
เพอ่ื การสอบ การ'สิกอบรม หรือ การทำกิจกรรมใด ๆ ทมี่ ผี เู้ ชา้ รว่ มกิจกรรมเปน็ จำนวนมาก

กรณีการพิจารณาอนุญาตให้ใชอ้ าคารสถานที'เพื่อการสอบ การแกอบรม หรอื การทำกิจกรรมโรงเรยี น
หรอื สถานศึกษา หรือผูข้ ออนญุ าต ต้องบดั ทำมาตรการเพือเสนอต,อคณะกรรมการโรคติดต1อจังหวดั
หรอื คณะกรรมการโรคตดิ ต่อกรุงเทพมหานคร ซง่ึ จะพิจารณาตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ โดย
คณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวดั หรือคณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ กรุงเทพมหานคร จะพิจารณารว่ มกบั ผแู้ ทน
กระทรวงศึกษาธกิ ารที่เกีย่ วข้อง โดยมีแนวปฏิบัติดังน้ี

๕.® แนวปฏิบตั ดิ ้านสาธารณสุข
(๑) กำหนดจดุ คัดกรองในซ่องทางเข้าออก หากพบวา่ มีไข้ ไอ จาม มนี ้าํ มกู หรอื เหนือ่ ยหอบ หรอื มี

อณุ หภูมิรา่ งกายเทา่ กบั หรือมากกว่า ๓๗.๕ องศาเซลเซยี ส ข้ึนไป แจง้ งดใหเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรม และแนะนำไปพบ

แพทย์ และอาจมีหอ้ งแยกผู้ที่มอี าการออกจากพ้ืนที่

(9) (5)

(๒) ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม และผู้มาติดตอ่ ตอ้ งสวมหนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาท่ี
เขา้ ร่วมกิจกรรม

(๓) จดั ใหม้ ีเจลแอลกอฮอล์ หรอื จุดลา้ งมอื สำหรบั ทำความสะอาดมือไวบ้ ริการบริเวณตา่ งๆ อย่าง
เพยี งพอ เซน่ บริเวณหนา้ หอ้ งประชุม ทางเข้าออก หน้าลิฟต์ จุดประซาสัมพนั ธ์ และพืน้ ทท่ี ี่มืกจิ กรรมอืน่ ๆ เป็นตน้

(๔) จดั บรกิ ารอาหารในลักษณะทล่ี ดการสมั ผสั อุปกรณท์ ่ใี ขร้ ว่ มกัน เซ่น จัดอาหารว่างแบบกลอ่ ง
(Box set) อาหารกลางวนั ในรปู แบบอาหารชุดเดี่ยว (Course Menu)

(๔) กรณีท,ี มีการจัดใหม้ รี ถรบั ส่งผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม ใหเ้ ว้นระยะห่าง ๑ ทนี่ ่ัง ทำความสะอาด
รถรับส่งทุกรอบหลังใหบ้ ริการ

(๖) จัดที่นงั่ ใหม้ ีระยะหา่ งระหว่างทนี่ ่ัง และทางเดนิ อย่างน้อย ๑.๔ เมตร
(๗) จดั ให้มีถงั ขยะทีม่ ีฝาปด็ เก็บรวบรวมขยะเพอื่ ลง่ ไปกำจดั อย่างถกู ตอ้ ง และการจัดการขยะทด่ี ี
(๘) จัดให้มีการระบายอากาศภายในอาคารที่ดี มกี ารหมนุ เวียนของอากาศอย่างเพียงพอ ทงั้ ใน
อาคารและห้องสว้ ม และทำความสะอาดเคร่อื งปรบั อากาศสมาเสมอ
(๙) ให้ทำความสะอาดและฆา่ เชือ้ ท่ัวท้งั บริเวณ และเนน้ บริเวณทีม่ กั มีการสมั ผสั หรอื ใชง้ าน
รว่ มกนั บอ่ ย ๆ ดว้ ยน้ํายาฟอกขาวท่เี ตรยี มไว้ หรือแอลกอฮอล์ ๗๐% หรอื ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ ๐.๔% เข็ดทำ
ความสะอาดและฆา่ เชื้อ อยา่ งนอ้ ยวนั ละ ๒ ครงั้ ทำความสะอาดห้องส้วมทกุ ๒ ซั่วโมง และอาจเพม่ิ ความถ่ีตาม
ความเหมาะสมโดยเฉพาะเวลาทีม่ ีผู้1ขง้ านจำนวนมาก
(๑๐) มีมาตรการตดิ ตามข้อมลู ของผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรม เซน่ การใชแ้ อปพลเิ คซนั หรือใชม้ าตรการ
ควบคุมการเข้าออกดว้ ยการบันทกึ ข้อมูล
(๑๑) มกี ารจัดการคณุ ภาพน้าํ อปุ โภคบรโิ ภคทีเ่ หมาะสม

๑) จัดให้มจี ุดบรกิ ารนํา้ ด่ีม ๑ จดุ หรือหวั ก๊อก ตอ่ ผบู้ ริโภค ๗๔ คน
๒) ตรวจสอบคณุ ภาพน้าํ ด่ืมน้ําใช้
๓) ดแู ลความสะอาดจดุ บริการนํา้ ด่มี ภาชนะบรรจุนํ้าด่มื และใชแ้ กว้ นาํ้ สว่ นตัว

๕.๒ แนวทางปฏบิ ัตสิ ำหรบั ผ้จู ดั กจิ กรรม
(๑) ควบคมุ จำนวนผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม ไมให้แออดั โดยคิดหลกั เกณฑจ์ ำนวนคนต่อพ้นื ทีจ่ ัดงาน

ไม่น้อยกว่า ๔ ตารางเมตรต่อคน พจิ ารณาเพม่ิ พน้ื ทที่ างเดินให้มีสัดส่วนมากข้ึน
(๒) จำกดั จำนวนผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม และกระจายจดุ ลงทะเบียนใหเ้ พยี งพอสำหรบั ผเู้ ข้ารว่ มกิกรรม

เพือ่ ลดความแออดั โดยอาจใช้ระบบการประชมุ ผา่ นสื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์ ใช้การสแกน QR Code ในการลงทะเบียน
หรอื ตอบแบบสอบถาม

(๓) ประซาสมั พันธ์มาตรการ คำแนะนำในการบอี งกนั การแพร่ระบาดให้แก,ผ้เู ชา้ รว่ มกิจกรรม
ทราบ

๕.๓ แนวทางปฏิบัตสิ ำหรับผู้เข้าร่วมกจิ กรรม
(๑) สงั เกตอาการตนเองสมรเสมอ หากมีไขไ้ อ จาม มี'นามูก หรอื เหน่อื ยหอบใหง้ ดการเขา้ รว่ ม

กิจกรรมและพบแพทยท์ นั ที
(๒) สวมหนา้ กากผ้าหรอื หน้ากากอนามยั เวน้ ระยะห่างระหว่างบคุ คลอย่างนอ้ ย ๑-๒ เมตร งดการ

รวมกลมุ่ และลดการพดู คุยเสียงดงั

(๓) ลา้ งมือด้วยสบู่ หรือเจลแอลกอฮอลบ์ อ่ ยๆ ก่อนและหลังใชบ้ ริการ หรอื หลงั จากสัมผัสจดุ
สัมผสั ร่วมหรอื สิ่งของ เครื่องใช้ เม่ือกลับถงึ บ้านควรเปลย่ี นเสือ้ ผา้ และอาบนา้ํ ทันที

(๔) ปฏิบัติตามระเบียบของสถานท่อี ยา่ งเครง่ ครดั และปฏบิ ตั ิตามมาตรการสขุ อนามยั สว่ นบุคคล
อยา่ งเข้มขน้ ได้แก่ ๖ มาตรการหลกั (DMHT-RC) และ ๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ)

ท้ังน้ี ตั้งแต่บดั นเ้ี ปน็ ต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๔๖๔

(นายสภุ ัทร จำปาทอง)
ปลัดกระทรวงสืกษาธกิ าร



ภาคผนวก

นยิ ามศัพท์

ตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรือ่ ง หลักเกณฑ์การเปิดโรงเรยี นหรือสถาบันการศกึ ษา ตามข้อกำหนด
ออกตามความในมาตรา ๙ แหง่ พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์อกุ เฉนิ พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๓๒)

คำศัพท์ คำอธิบาย

๑. มาตรการ ตามข้อ๒ .๑ ด้านกายภาพขอ้ ความ “...โดยจัดอาคารและพื้นทโ่ี ดยรอบใหเ้ ปน็ ไป
ดามมาตรการ” (หน้า ๑) มาตรการดงั กลาว หมายถงึ การจดั อาคาร และพืน้ ที่โดยรอบ
ใ ห เ้ ปน็ อาณาเขตบรเิ วณ ในรูปแบบ Sandbox ในโรงเรยี น คอื Screening Zone,
Quarantine Zone, Safety Zone ดงั ขอ้ ๒.๓ ด้านการประเมินความพรอ้ มสู1การปฏิบตั ิ
ขอ้ (๑.๓) ตามประกาศนี้

๒. ระบบ Thai Stop ระบบ Thai S top Covid Plus (TSC +) ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ
Covid Plus (TSC+) เป็นแบบประเมนิ ตนเองสำหรบั สถานศึกษาในการเตรยี มความพร้อมการเปิดภาคเรยี น

เพอื่ การเฝา็ ระวังและปอ็ งกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด - 19 จำนวน ๔๔ ขอ้
ซงึ่ สถานศกึ ษาต้องประเมนิ ตนเองก,อนจงึ จะเปดิ โรงเรยี นหรอื สถาบันการศกึ ษาได้

มหี ลกั เกณฑ์ ดงั นี้

Q ๑) สเี ขยี ว ผา่ นท้ังหมด ๔๔ ข้อ (โรงเรียนสามารถเปิดเรยี นได้)
o ๒) สิเหลือง ผา่ นข้อ ๑ - ๒๐ ทกุ ขอ้ แตไ่ มผ่ า่ น ข้อ ๒๑ - ๔๔ ข้อใดขอ้ หนึง่
(โรงเรียนสามารถเปิดเรียนได้ ตอ้ งดำเนนิ การปรบั บรุงให้เป็นไปตามมาตรฐานท่ีกำหนด

และประเมนิ ตนเองซํ้า)

£ ) ๓) สแี ดง ไมผ่ ่านขอ้ ๑ - ๒๐ ขอ้ ใดข้อหน่งึ (โรงเรยี นไม1สามารถเปดิ เรยี นได้
ตอ้ งดำเนนิ การปรบั ปรุงใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานท่กี ำหนด และประเมนิ ตนเองซํา้ )

๓. ระบบ MOECOVID ระบบ MOECOVID ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ประกอบไปด้วย ๒ สว่ น ไดแ้ ก่

๑) การรายงานผลรายภาคการศึกษา มวี ตั ถุประสงค์เพือ่ ใขใ้ นการตดิ ตาม ตรวจสอบ

และรายงานผลการดำเนนิ การของสถานศึกษาหลังการเปดิ เรียน และมาตรการ

ด้านสาธารณสขุ ท้งั ในระหวา่ งและหลงั การเปิดเรยี น (Post Audit) ของสำนกั ตรวจราชการ

และติดตามประเมินผล สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร (ดงั ทป่ี รากฏในประกาศฉบบั น้ี
โดยใชต้ ิดตามประเมินผลหลังจากท่ีไดร้ ับอนุญาตให้เปิดโรงเรยี นหรอื สถาบนั การศึกษา)

๒) การรายงานสถานการณร์ ายวัน มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ ใขใ้ นการติดตาม รายงาน

สถานการณป์ ระจำวนั ของนักเรียน นักศกึ ษา ครแู ละบคุ ลากร ประกอบด้วยข้อมูล ๓ สว่ น

ไดแ้ ก่ ข้อมลู การตดิ เชื้อโควดิ - 19 ข้อมลู การฉดี วัคซนี และข้อมูลการจดั การเรียนการสอน

ของศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร

CU E-

คำศพั ท์ คำอธิบาย
๔. School Isolation
สถานทแ่ี ยกกักตัวของโรงเรยี น หรือในพนื้ ท่ีอ่ืนทมี่ คี วามเหมาะสม สำหรับรองรบั
การดแู ลรกั ษาในเบอ้ื งต้น กรณนี ักเรียน นกั ศกึ ษา ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษา
พบว่ามีการติดเชือ้ โควิด - 19 กอ่ นการสง่ ตอ่ ไปยงั สถานพยาบาลเครอื ข่ายในพื้นที่

๔. Screening Zone การจดั พน้ื ที่ หรอื บรเิ วณ ให้เป็นจุดคดั กรองทเี่ หมาะสมในการเปน็ จดุ รับสง่ สง่ิ ของ
จดุ รบั ส่งอาหาร หรือ จุดเส่ยี งอื่น เพอื่ เปน็ การจำแนกนกั เรยี น นักศึกษา ครู บคุ ลากร ผู้ปกครอง
หรือผมู้ าติดต่อท่เี ขา้ มาในโรงเรียน เพื่อไมใหใ้ กล้ชดิ กับบุคคลในโซนอ่นื รวมท้ัง การจัด
ให้มพี น้ื ที่ปฏิบตั ิงานเฉพาะ สำหรับบุคคลที่ไม่สามารถเข้าปฏบิ ัตงิ านในโซนอืน่ ได้

๖. Quarantine Zone การจดั พ้นื ที่ หรือ บรเิ วณ ให้เป็นจุดกกั กนั และลังเกตอาการสำหรบั นักเรียน นักศึกษา ครู
๗. Safety Zone และบุคลากร ทย่ี ังตอ้ งสงั เกตอาการ ให้ทำกิจกรรมแบบ Small Bubble

การจัดพื้นที่ หรอื บรเิ วณ ใหเ้ ปน็ พน้ื ทป่ี ลอดเช้อื ปลอดภัยสำหรับนกั เรยี น นกั ศึกษา ครู
และบคุ ลากร

๘. COVID Free Zone เป็นพนื้ ท่ปี ลอดเช้อื ปลอดภยั สำหรับนกั เรยี น นกั ศึกษา ครู และบุคลากร ท่สี ามารถ
ปฏิบัตภิ ารกิจและทำกจิ กรรมอยา่ งปลอดภยั

๙. Small Bubble การจดั กลมุ่ ยอ่ ย เพื่อใหน้ ักเรยี น นกั ศกึ ษา ครู และบุคลากร ปฏิบตั ิภารกิจ และทำกิจกรรม
๑๐. State Quarantine ด้วยกัน โดยไม่ข้ามกลุ่ม เพ่ือปอ้ งกนั การตดิ เชอื้ ระหว่างกลุม่

สถานกกั กัน / การกกั กันผเู้ ดินทางเขา้ มาในราชอาณาจกั ร โดยใชส้ ถานประกอบการ
ธุรกิจโรงแรม หรอื สถานทีท่ ่รี ัฐกำหนดใหเ้ ปน็ สถานท่ีกักกัน เพ่ือการเฝ็าระวัง ป้องกนั
และควบคมุ โรคโควิด - 19 เปน็ ระยะเวลาไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๔ วัน หรือ ตามหลักเกณฑ์
แนวทางทร่ี ฐั กำหนด

๑๑. ระบบ Thai Save Thai ระบบคัดกรองและประเมนิ ความเส่ยี งสำหรบั บคุ คลทั่วไป ของกรมอนามัย กระทรวง
(TSC) สาธารณสขุ เพอื่ ประเมนิ ความเสี่ยงการแพร่เชอ้ื โควิด - 19 รายบุคคล ก่อนเขา้ ปฏบิ ตั ภิ ารกิจ

หรือดำเนินกิจกรรมรว่ มกบั ผอู้ ืน่

๑๒. ๖ มาตรการหลกั มาตรการหลกั ดา้ นสุขอนามยั ส่วนบุคคลอยา่ งเขม้ ข้น ๖ ขอ้ ไดแ้ ก่
(DMHT-RC) ๑) เวน้ ระยะหา่ ง (Distancing)
๒) สวมหนา้ กากผา้ หรือหน้ากากอนามัย (Mask wearing)
๓) ลา้ งมอื บอ่ ยๆ (Hand washing)
๔) คดั กรองวัดไข้ (Testing)
๔) ลดการแออัด (Reducing)
๖) ทำความสะอาด (Cleaning)



คำศัพท์ คำอธบิ าย
๑๓. ๖ มาตรการเสรมิ
(SSET-CQ) มาตรการเสริม ดา้ นสขุ อนามยั ส่วนบคุ คลอยา่ งเข้มข้น ๖ ขอ้ ได้แก่
๑) ดูแลตนเอง (Self - care)
๑๔. Seal Route ๒) ใช้ซอ้ นกลางส่วนตวั (Spoon)
๓) กนิ อาหารปรุงสกุ ใหม่ (Eating)
๑๕. School Pass ๔) ลงทะเบยี นเข้าออกโรงเรียน (Track)
๕) สำรวจตรวจสอบ (Check)
๑๖. Thai Stop Covid ๖) กักกนั ตวั เอง (Quarantine)
Plus (TSC+) COVID
free setting การควบคมุ ดูแลการเดนิ ทางไปกลบั ระหวา่ งบา้ นและโรงเรยี น รวมทัง้ ควบคมุ ดแู ล
การเดนิ ทางเข้าและออกสถานศึกษาอย่างเข้มขน้ โดยหลกี เล่ยี งการเข้าไปสัมผสั
๑๗. ขดุ ตรวจภาคสนาม ในพื้นท่ตี า่ ง ๆ ทงั้ กรณี รถรับ - สง่ นกั เรยี น รถสว่ นบคุ คล และพาหนะโดยสารสาธารณะ
(อ.๑๑)
การจัดทำ School Pass สำหรบั นกั เรียน นักศกึ ษา ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษา
ประกอบดว้ ย ๑) ข้อมลู ผลการประเมนิ ระบบ Thai Save Thai (TSC) ๒) ผลตรวจ
Antigen Test Kit (ATK) ภายใน ๗ - ๑๔ วัน ๓) ประวตั กิ ารรับวคั ซนี ฟอ้ งกันโควิด - 19
เพ่ือใหเ้ กดิ ความปลอดภัยในการเข้าออกโรงเรยี น

ระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC+) COVID free setting ของกรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข เฟน้ แบบประเมนิ มาตรการด้วยความปลอดภยั สำหรบั องค์กร
สถานประกอบการ กจิ กรรมที่อยรู่ อบรั้วสถานศึกษา ในพนื้ ที่ควบคมุ สูงสุด (พน้ื ท่สี ีแดง)
และพน้ื ทค่ี วบคุมสงู สดุ และเขม้ งวด (พ้ืนที่ลแี ดงเขม้ ) ประกอบดว้ ย COVID Free
Environm ent (Clean and Safe, Distancing และ Ventilation) COVID Free
P erso n n el (มีภมู ิคมุ้ กนั , ไม่พบเชอ้ื โดยการคดั กรอง และ UP-DMFITA) รวมทงั้
COVID Free Customer ตามมาตรการของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

ขุดตรวจสอบโคลีฟอรม์ แบคทีเรียในนา้ํ เฟน้ การตรวจสอบเบ้อื งต้นทางภาคสนาม
เพือ่ ตรวจหาเช้อื แบคทีเรีย เพื่อการปรบั ปรงุ คณุ ภาพน้าํ ก่อนนำมาใช้อปุ โภคบริโภค
ซ่งึ เฟ้นขดุ ตรวจภาคสนาม ตามมาตรฐานของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

แบบประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่อื ง หลกั เกณฑ์การเปีดโรงเรยี นหรอื สถาบนั การศึกษา ตามข้อกำหนดออกตามความ

ใบมาตรา ๙ แหง่ พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณฉ์ ุกเฉิน พ.ศ. ๒๕:๔๘ (ฉบับท่ี ๓๒)
ในพนื้ ท่ีควบสมุ สงู สดุ และเข้มงวด (พ้ืนท่สี แี ดงเขม้ )

*******************************************

สำหรบั โรงเรียนหรอื สถาบนั การศกึ ษา ประเภทพักนอน (Sandbox: Safety zone in School)

โรงเรียน สังกดั
จังหวัด
.......................................................................โทรสัพท์........................................................................
มิ ไม่มี
ประเดน็ การประเมิน

ด้านกายภาพ

๑. มหี อพักนักเรียบขาย และ/หรอื หอพกั นกั เรียนหญงิ ให้เป็นไปตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ

๒. มีพ้ืนที่/อาคารสนับสนนุ การบรกิ าร ให้เป็นไปตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข

๓. มีพืน้ ที่/อาคารเพือ่ จดั การเรียนการสอน ให้เปน็ ไปตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข

๔. มสี ถานท่ีพักครูและบุคลากร ให้เปน็ ไปตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข
(กรณสี ถานทีพ่ กั ครูและบคุ ลากร ตัง้ อยภู่ ายนอกโรงเรยี นหรอื สถาบันการศึกษาใหด้ ำเนินการตาม
ระบบ Bubble and Seal และ Seal Route)

ดา้ นการมสี ่วนร่วม

๕. จัดใหม้ กี ารประขมุ หารือร่วมกันของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ครู ผู้ปกครอง ผู้นำ ขมุ ซน
และมมี ตใิ หค้ วามเห็นชอบรว่ มกันในการจดั พื้นทก่ี ารเรยี นการสอนในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone
in School ตลอดภาคการศึกษา

ด้านการประเมนิ ความพรอ้ มสู่การปฏบิ ัติ

โรงเรยี น หรอื สถานศกึ ษา

๖. ผา่ นการประเมนิ ความพร้อมผ่าน Thai Stop Covid Plus (TSC+) และให้มกี ารติดตามประเมินผล
ผ่านระบบ MOECOVID

๗. จัดให้มสี ถานท่แี ยกกกั ตวั ของโรงเรียน (School Isolation) หรอื ในพนื้ ท่อี ืน่ ท่ีมคี วามเหมาะสม เพอ่ื รองรบั
การดูแลรักษาเบือ้ งตน้ รวมถึง มแี ผนเผชิญเหตุ และมีความร่วมมือกับสถานพยาบาลเครือข่ายในพื้นที่
ที่ดแู ลอยา่ งใกลช้ ดิ

๘. จัดอาคารและพ้ืนที่โดยรอบใหเ้ ป็นอาณาเขตบริเวณในรปู แบบ Sandbox ประกอบดว้ ย Screening
Zone, Quarantine Zone และ Safety Zone ให้เปน็ ไปตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข

๙. มีระ,บท/แผนรับการติดตามประเมินความพรอ้ ม โดยทมี ตรวจราชการบูรณ าการร่วมกัน

ระหว่างกระทรวงศึกษาธิการกบั กระทรวงสาธารณสุข ทั้งช่วงกอ่ นและระหว่างดำเนนิ การ



ประเดน็ การประเมิน

นกั เรยี น นกั ศึกษา ครู และบคุ ลากร

๑๐. ครู และบุคลากร ไดร้ ับการฉดี วคั ซีนครบโดส รอ้ ยละ ๘๕ ขึน้ ไป ส่วนนกั เรยี น นกั ศกึ ษา
และผู้ปกครอง ได้รบั วคั ซีนตามมาตรการของกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข

๑๑. นกั เรียน นักศึกษา ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษา ทุกคนตอ้ งตรวจคัดกรอง Antigen Test Kit
(ATK) ก่อนเข้า Quarantine Zone

๑๒. นกั เรียน นกั ศกึ ษา ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษา มีการแยกกักตัวใน Quarantine Zone
เพื่อสังเกตอาการครบกำหนด ๑๔ วนั ก่อนเข้าสู่ Safety Zone รวมถึงการทำกจิ กรรม
ในแบบ Small Bubble และหลีกเลย่ี งการทำกจิ กรรมขา้ มกลมุ่ กัน

ดา้ นการดำเนนิ การของโรงเรยี น หรือ สถานศึกษา ในระหวา่ งภาคเรียน

๑๓. สถานศึกษาจัดการเรียนการสอน ไดท้ ้งั รปู แบบ Onsite หรอื Online หรอื แบบผสมผสาน (Hybrid)

๑๔. นักเรยี น นกั ศึกษา ครู และบุคลากร ทุกคนต้องประเมนิ Thai Save Thai (TST) ตามเกณฑ์จำแนก
ตามเขตพ้ืนท่กี ารแพรร่ ะบาด

๑๔. การตรวจคัดกรองหาเชือ้ โดยใหม้ กี ารส่มุ ตรวจ ATK นักเรยี น นกั ศึกษา ครู และบคุ ลากรที่เก่ียวข้อง
กับสถานศึกษาฟ้นระยะๆ (รอ้ ยละ ๑๐ - ๑๔) เพ่อื เฝาื ระวัง ตามเกณฑ์จำแนกตามเขตพ้นื ทกี่ ารแพร่ระบาด

๑๖. ปฏิบตั ติ ามมาตรการสขุ อนามยั ส่วนบุคคลอยา่ งเข้มข้น ได้แก่ ๖ มาตรการหลกั (DMHT-RC)
และ ๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ)

๑๗.ป ฏบิ ัตติ ามแนวทางมาตรการเขม้ สำห รบั สถานศกึ ษาอย่างเครง่ ครดั (TSC+/MOECOVID,
Small Bubble, ระบบการให้บริการอาหาร, อนามยั สิ่งแวดลอ้ ม, School lsolation/แ ผนเผฃิญเหตุ

และ Seal Route)
ลงซือ่ ................................................................. ผปู้ ระเมิน

( .................................................................................................... )

ลงซอ่ื ................................................ ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา
)
( .......................................................................

ผูร้ บั รองขอ้ มลู

วนั ที่.................. / ....................../.

หมายเหตุ ะโรงเรียน หรือ สถาบนั การศึกษา ท,ี ประสงค์จะขอเปดิ การเรยี นการสอนตามรูปแบบ Sandbox: Safety
Zone in School ต้องจัดทำเอกสารขอ้ เสนอโครงการเสนอตอ่ ศึกษาธิการจังหวดั และสาธารณสขุ จังหวดั เพ่ือพิจารณา

และเสนอตอ่ คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร หรือ คณะกรรมการโรคติดต่อจงั หวัด โดยโรงเรยี น หรอื
สถาบนั การศกึ ษา ตอ้ งจัดทำแผนงาบและเอกสารซง่ึ แสดงความพร้อมในการดำเนนิ การ ตามขอ้ ๑ - ๑๗ ให้ครบถว้ น
จงึ จะเสนอขอเปิดการเรียนการสอนได้

แบบประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลกั เกณฑ์การเปดี โรงเรียนหรอื สถาบันการศกึ ษา ตามข้อกำหนดออกตามความ

ในมาตรา ๙ แหง่ พระราขกำหนดการบริหารราขการในสถานการณ์ฉกุ เฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๓๒)
ในพืน้ ท่ีควบสมุ สูงสดุ และเข้มงวด (พน้ื ท่ีสีแดงเข้ม)

*******************************************
สำหรับโรงเรยี นหรือสถาบันการศกึ ษา ประเภทไป - กลบั (Sandbox: Safety zone in School)

โรงเรยี น....................................................................................... ลงั ๆด..............................................................................

จังหวัด........................................................................................ โทรศพั ท.์ ........................................................................

ประเดน็ การประเมิน

มิ ไม่มี ด้านกายภาพ
๑. มีพื้นท่/ี อาคารสนับสนุนการบริการ ให้เปน็ ไปตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ
และมพี นื ที่ COVID free zone

๒. มพี ื้นที/่ อาคารเพื่อจดั การเรยี นการสอน ให้เปน็ ไปตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข
และมีพืน,ท่ี COVID free zone

ดา้ นการมีส่วนรว่ ม

๓. จัดให้มีการประขมุ หารอื รว่ มกันของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน ครู ผปู้ กครอง ผู้นำขุมขน
และมมี ติใหค้ วามเหน็ ขอบรว่ มกัน ในการจดั พ้นื ทก่ี ารเรียนการสอนในรูปแบบ Sandbox: Safety
Zone in School ตลอดภาคการศกึ ษา

ด้านการประเมินความพร้อมสกู่ ารปฏบิ ัติ

โรงเรียน หรือ สถานศกึ ษา

๔. ผ่านการประเมนิ ความพรอ้ มผา่ น Thai Stop Covid Plus (TSC+) และให้มีการติดตามประเมนิ ผล
ผ่านระบบ MOECOVID

๕. จดั ใหม้ ีสถานท่ีแยกกกั ตัวของโรงเรยี น (School Isolation) หรอื ในพื้นที่อืน่ ที่มคี วามเหมาะสม
เพ่ือรองรับการดูแลรกั ษาเบื้องต้น รวมถงึ มแี ผนเผชญิ เหตุ และมคี วามรว่ มมอื กบั สถานพยาบาล
เครอื ข่ายในพื้นทีท่ ด่ี ูแลอย่างใกลช้ ดิ

๖. มีการตดิ ตามควบคุมดูแลการเดินทางระหวา่ งบา้ นกบั โรงเรียนอยา่ งเข้มข้น โดยหลีกเลย่ี งการเขา้ ไป
สมั ผสั ในพื้นทีต่ ่างๆ ตลอดเสน้ ทางการเดินทาง

๗. จดั พ้ืนท่หี รอื บริเวณให้เปน็ จุดคัดกรอง (Screening Zone) ท่เี หมาะสม จดั จุดรบั สง่ สง่ิ ของ
จุดรบั ส่งอาหาร หรอื จดุ เสีย่ งอื่น

๘. มีระบบ/แผนรบั การตดิ ตามประเมนิ ความพร้อม โดยทมี ตรวจราขการบูรณาการร่วมกัน
ระหว่างกระทรวงศกึ ษาธิการกบั กระทรวงสาธารณสุข ทัง้ ข่วงกอ่ นและระหว่างดำเนินการ



ประเดน็ การประเมิน

นักเรยี น นกั ศึกษา ครู และบุคลากร

๙. ครู และบคุ ลากร ได้รบั การฉดี วคั ซีนครบโดส ร้อยละ ๘๕: ข้นึ ไป ส่วนนกั เรียน นกั ศกึ ษา
และผู้ปกครอง ได้รับวคั ซนี ตามมาตรการของกระทรวงศกึ ษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข

๑๐. นักเรยี น นักศึกษา ครู และบคุ ลากรในสถานศกึ ษาที่อยูในพื้นท่ีควบคุมสงู สุดและเข้มงวด
(พืน้ ทีส่ ีแดงเข้ม) ทุกคนต้องตรวจคัดกรอง ATK ในวันแรกของการเปดิ เรยี น

๑๑. นักเรยี น นักศกึ ษา ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษา ให้ทำกิจกรรมรว่ มกันในรปู แบบ
Small Bubble และหลีกเลย่ี งการทำกจิ กรรมขา้ มกลุ่ม

ด้านการดำเนินการของโรงเรยี น หรือ สถานศกึ ษา ะระหว่างภาคเรียน

๑๒. สถานศกึ ษาจัดการเรียนการสอน ไดท้ ้ังรปู แบบ Onsite หรือ Online หรือ แบบผสมผสาน (Hybrid)

๑๓. นักเรียน นกั ศกึ ษา ครู และบุคลากร ท่ีอย่ใู น'พนื้ ท่ี Safety Zone ตอ้ งประเมนิ Thai Save Thai
(TST) อยา่ งต่อเนอื่ ง ตามเกณฑ์จำแนกตามเขตพื้นท่ีการแพร่ระบาด

๑๔. การตรวจคดั กรองหาเชอ้ื โดยใหม้ กี ารลุ่มตรวจ ATK นกั เรยี น นักศกึ ษา ครู และบคุ ลากรที่เกยี่ วขอ้ ง
กบั สถานศึกษาเปน็ ระยะๆ (ร้อยละ ๑๐ - ๑๔) เพือ่ เฝา็ ระวัง ตามเกณฑจ์ ำแนกตามเขตพ้ืนที่การแพร่ระบาด

๑๔. ปฏิบตั ิตามมาตรการสุขอนามยั ส่วนบุคคลอยา่ งเข้มข้น ได้แก่ ๖ มาตรการหลกั (DMHT-RC)
และ ๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ)

๑๖. ปฏบิ ตั ติ ามแนวทาง ๗ มาตรการเขม้ สำหรบั สถานศึกษาไป - กลบั อยา่ งเครง่ ครัด
(TSC+/MOECOVID, Small Bubble, ระบบการให้บรกิ ารอาหาร, อนามัยสงิ่ แวดล้อม,
School lsolation/แ ผนเผชิญเหต,ุ Seal Route และ School Pass)

๑๗. กรณสี ถานศกึ ษาต้งั อยใู่ นพ้ืนที่ควบคมุ สูงสุดและเขม้ งวด (พ้ืนทสี่ แี ดงเข้ม) และพืน้ ทีค่ วบคุมสงู สดุ
(พน้ื ทส่ี แี ดง) กำหนดใหส้ ถานประกอบกจิ การ กจิ กรรมทอ่ี ยู่รอบเวสถานศกึ ษา ใหผ้ า่ นการประเมนิ
Thai Stop COVID plus (TSC+) COVID free setting

ลงขื่อ............................................... ผู้ประเมนิ
)
( .......................................................................
ผูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษา
ลงข่อื ...............................................
)ข
( .......................................................................

ผูร้ ับรองข้อมูล

วนั ที่.................. / ....................../.

หมายเหตุ ะโรงเรียน หรือ สถาบนั การศกึ ษา ท่ีประสงคจ์ ะขอเปดิ การเรยี นการสอนตามรปู แบบ Sandbox: Safety Zone in School
ต้องจดั ทำเอกสารขอ้ เสนอโครงการเสนอต่อศกึ ษาธิการจงั หวัดและสาธารณสขุ จงั หวัด เพื่อพิจารณา และเสนอต่อคณะกรรมการ
โรคตดิ ต่อกรงุ เทพมหานคร หรอื คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวดั โดยโรงเรียน หรอื สถาบันการศึกษา ต้องจดั ทำแผนงานและ

เอกสารซึ่งแสดงความพรอ้ มในการดำเนินการ ตามขอ้ ๑ - ๑๗ ให้ครบถว้ น จึงจะเสนอขอเปดิ การเรียนการสอนได้


Click to View FlipBook Version