The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานโครงการนิเทศภายในรร.บ้านตาเปาว์ปีกศ.2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thitirat Jinpala, 2022-09-04 01:17:26

รายงานโครงการนิเทศภายในรร.บ้านตาเปาว์ปีกศ.2564

รายงานโครงการนิเทศภายในรร.บ้านตาเปาว์ปีกศ.2564

การนิเทศภายใน
ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

สำนกั งำนเขตพนื้ ทกี่ ำรศึกษำประถมศกึ ษำสรุ นิ ทร์ เขต 1
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพ้ืนฐำน
กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร



บทสรปุ สำหรับผูบ้ รหิ าร

โครงการนิเทศภายใน โรงเรียนบ้านตาเปาว์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑
ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ จดั ทำข้นึ โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพื่อ

๑. เพื่อพัฒนาครูให้สามารถจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมและมีประสิทธภิ าพมากยิ่งขึ้น มีการจัดการ
เรียนรู้เซงิ รกุ (Active Learning) ใช้สื่อและแหล่งการเรียนรู้ที่เน้นเทคโนโลยีและการสือ่ สารอย่างหลากหลายและ
เหมาะสมกบั ผ้เู รียน

๒. เพื่อให้ครูมีขวัญและกำลังใจอุทิศตนในการปฏิบัติงานเต็มความรู้ความสามารถ และทำงานร่วมกัน
อย่างมคี วามสขุ

๓. เพือ่ สง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอนภายในโรงเรยี น
๔. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรยี นสงู ขึน้
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการดำเนินงานครั้งนี้ ได้แก่ ครูผู้สอน โรงเรียนบ้านตาเปาว์ สำนักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต ๑ ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ จำนวน ๑๐ คน
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงานครั้งนี้ ประกอบด้วย แบบนิเทศ ติดตาม การนิเทศเพื่อการนิเทศการจัดการ
เรียนรู้ Active Learning ด้วยการสงั เกตชัน้ เรียนและแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ Coaching & PLC ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ แบบ
ประเมินความพงึ พอใจของครูทมี่ ตี ่อการนิเทศภายใน โรงเรยี นบา้ นตาเปาว์ และเอกสารการดำเนนิ งานนเิ ทศภายใน
ผลการประเมินพบว่า
๑. ครผู ู้สอนไดร้ ับการนิเทศการจดั การเรียนการสอน จำนวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
๒. นักเรียนระดับปฐมวัยมีผลการประเมินพัฒนาการทกุ ด้านในระดับ ๓ ขึ้นไป ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ด้าน
ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญา จำนวน ๑๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ คะแนนแต่ละด้านระดับ ๓ ขึ้นไป
รอ้ ยละ ๑๐๐ ซง่ึ สูงกวา่ รอ้ ยละ ๘๐
๓. นักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกวิชาในระดับ ๓ ขึ้นไป
ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ ร้อยละ ๘๒.๗๘ เมื่อพิจารณาในแต่ละวิชา พบว่า มีนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนในแต่ละรายวิชาในระดับ ๓ ขึ้นไป สูงกว่าร้อยละ ๘๐ จำนวน ๕ วิชา คือ สังคมศึกษาฯ
ประวัติศาสตร์ สุขศึกษาฯ ศิลปะ การงานอาชีพฯ คะแนนแต่ละวิชาระดับ ๓ ขึ้นไป ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐ จำนวน
๔ วิชา คือ วิชาภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ



๔. นกั เรยี นระดับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึง ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ มีผลการ
ประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ในระดับดขี ึ้นไป รอ้ ยละ ๘๘.๐๐ ซง่ึ สูงกวา่ ร้อยละ ๘๐

๔. นักเรียนระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถงึ ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ มีผลการ
ประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ในระดบั ดีข้ึนไป ร้อยละ ๑๐๐ ซง่ึ สูงกว่าร้อยละ ๘๐

๕. นกั เรยี นที่สำเร็จการศกึ ษ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ นกั เรยี นชัน้ อนบุ าลปีท่ี ๓ สำเรจ็ การศึกษา จำนวน ๑๕
คน คิดเป็น รอ้ ยละ ๑๐๐ นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ สำเรจ็ การศึกษา จำนวน ๑๙ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐

๖. ผลการประเมินการทดสอบความสามารถด้านการอ่าน (RT) ของผู้เรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
ปีการศึกษา ๒๕๖๔ พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนบ้านตาเปาว์ มีผลการประเมินความสามารถ
ดา้ นการอ่าน สมรรถนะการอา่ นออกเสยี ง คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ ๗๔.๒๐ สมรรถนะการอา่ นรเู้ รือ่ ง คะแนนเฉลี่ยร้อย
ละ ๖๐.๘๐ รวม ๒ สมรรถนะ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๖๗.๕๐ เมื่อเปรียบเทียบผลการประเมินการทดสอบ
ความสามารถดา้ นการอา่ น (RT) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔ พบว่า รอ้ ยละของผลตา่ งระหว่างปกี ารศึกษาลดลง
- ๕.๙

๗. ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ระดับช้นั ประถมศึกษาปีที่
๓ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนบ้านตาเปาว์ มีผลการประเมินการ
ทดสอบด้านคณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๓๗.๕๐ ด้านภาษาไทย คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๕๒.๑๗ รวม
ความสามารถทุกด้าน คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๔๔.๘๔ การเปรียบเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถ
พน้ื ฐานของผ้เู รยี นระดับชาติ (NT) ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ พบว่า มพี ัฒนาการเพิม่ ขึน้ +๑๐.๕๔

๘. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๖๔ พบว่า นักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนบ้านตาเปาว์ มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) วิชา
ภาษาไทย ร้อยละ ๖๒.๕๔ วิชาคณิตศาสตร์ ร้อยละ ๔๐.๑๘ วิชาวิทยาศาสตร์ ร้อยละ ๔๔.๔๕ วิชาภาษาอังกฤษ
ร้อยละ ๓๗.๕ รวม ๔ รายวิชา ร้อยละ ๔๖.๑๗ เมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ (คะแนนเฉล่ีย
๔๐.๑๙) พบว่า โรงเรียนบา้ นตาเปาว์ มคี ะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ +๕.๙๘ เมอื่ เปรียบเทียบผลการทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ พบว่า มพี ฒั นาการเพม่ิ ขน้ึ +๕.๖๕

๙. ผลการประเมินความพึงพอใจของครูที่มีต่อการนิเทศภายในโรงเรียนบ้านตาเปาว์ โดยการประเมิน
ด้านการดำเนินงานตามกระบวนการนิเทศ และด้านผลการดำเนินงานตามกระบวนการนิเทศภายใน การประเมิน
กับครูผู้สอน จำนวน ๑๐ คน พบว่า มีผลการประเมินระดับ ๔ (พึงพอใจมาก) ขึ้นไปทุกรายการ คิดเป็นร้อยละ
๑๐๐ โดยมีระดับความพึงพอใจในการประเมิน ระดับ ๕ (พึงพอใจมากที่สุด) จำนวน ๑๙๘ ข้อ พึงพอใจมากที่สุด
๔ (พึงพอใจมาก) ๑๒ ข้อ



คำนำ

โครงการนิเทศภายใน จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาครูให้มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับวิธีการจัดการ
เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ นำไปใช้ปรับปรุงพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนการสอนของตนได้ และเพื่อ
ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิของผู้เรียนใหส้ ูงข้ึน โดยดำเนินโครงการอยา่ งเป็นระบบ มีการศกึ ษาสภาพปัจจบุ ัน ปัญหาและ
ความต้องการ การกำหนดเป้าหมายในการพัฒนา การวางแผนการปฏิบัติงาน การนิเทศติดตามผล และประเมิน
โครงการ เพื่อนำผลการประเมินโครงการไปใช้ในการพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง และเป็นระบบ ผลการดำเนินงาน
ชว่ ยใหโ้ รงเรยี นไดพ้ ฒั นากระบวนการจดั การเรยี นการสอน และยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเ้ รียนใหส้ งู ข้นึ

ขอขอบคุณบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการทุกท่าน ที่ให้ความร่วมมือในการดำเนินงาน
ตามโครงการและประเมินโครงการนิเทศภายใน ทำให้การดำเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งเกิด
ประโยชนส์ ูงสุดกบั โรงเรียนบ้านตาเปาว์ และผู้เก่ยี วข้อง สำหรบั ใชใ้ นการพัฒนางานให้มีความกา้ วหนา้ ต่อไป

นางสาวฐิตริ ัตน์ จินพละ
ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นตาเปาว์



สารบัญ

เรอ่ื ง หนา้

บทสรุปสำหรบั ผ้บู รหิ าร............................................................................................................................... ก

คำนำ............................................................................................................................ ................................ ค

สารบญั ....................................................................................................................... .................................. ง

บทท่ี ๑ บทนำ

ความสำคัญและความเป็นมา......................................................................................................... ๑

วตั ถุประสงค์.................................................................................................................................. ๒

เป้าหมาย........................................................................................................................................ ๒

ขอบเขตการดำเนินการ.................................................................................................................. ๒

นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ.......................................................................................................................... ๓

ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั ............................................................................................................. ๔

บทท่ี ๒ วธิ ีดำเนนิ การ

วธิ ดี ำเนินงาน.................................................................................................................................... ๕

เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการดำเนินงาน......................................................................................................... ๕

กลุ่มเป้าหมาย.................................................................................................................... ............ ๕

การเก็บรวบรวมข้อมูล................................................................................................................... ๖

การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและการประเมินผล......................................................................................... ๖

บทที่ ๓ ผลการดำเนนิ งาน

แผนการนเิ ทศภายใน....................................................................................................................... ๗

ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลการนิเทศภายใน........................................................................................... ๘

ผลการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา...................................................................................................... ๙

ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของครู............................................................................................... ๑๑

บทท่ี ๔ สรปุ อภิปรายผลผลและขอ้ เสนอแนะ

สรุปผลและอภิปรายผล.................................................................................................................. ๑๒

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ................................................................................................... ๑๔

ภาคผนวก ๑๖

ภาคผนวก ก เอกสารการดำเนินงานนิเทศภายใน........................................................................ ๓๗

ภาคผนวก ข ภาพกจิ กรรมการนิเทศภายใน...................................................................................



สารบัญ หนา้

เรื่อง หนา้
๔๗

ภาคผนวก ค ผลการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา..................................................... ๖๙
คณะทำงาน



บทท่ี ๑
บทนำ

ความสำคญั และความเปน็ มา

การศึกษามีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพการณ์ ไม่ว่าจะเป็นวิธีการสอน หลักสูตรเทคโนโลยี
ตลอดจนบุคลากร ซึ่งสิ่งเหล่านี้ย่อมมีผลกระทบต่อการเรียนการสอนของสถานศึกษา ภารกิจสำคัญของการ
ดำเนินงานในโรงเรียน คอื การพัฒนาผูเ้ รยี นให้มคี ุณภาพตามจุดหมายของหลักสูตร การจดั การศึกษาเพ่ือให้ผู้เรียน
บรรลุผลสำเร็จตามจุดหมายของหลักสูตรดังกล่าวอย่างมีคุณภาพ และเป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ นั้น จะต้องอาศัยกระบวนการ ๓ อย่าง คือ กระบวนการบริหาร กระบวนการนิเทศ และ
กระบวนการเรียนการสอน ทั้ง ๓ อย่างนี้เกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย
จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม จริยธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขหรือ
กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ จัดการศึกษาให้นักเรียนเป็นคนดีคนเก่งและมีความสุขได้นั้น กระบวนการนิเทศเป็น
กระบวนการหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนและพัฒนาโรงเรียนให้มีคุณภาพตามเกณฑ์
มาตรฐานการศึกษาการนิเทศภายในโรงเรียนเป็นกระบวนการหนึ่งของการนิเทศที่มีความสำคัญต่อ การพัฒนา
โรงเรียน ๒ ประการ คือ ส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนและให้ความช่วยเหลือแก่ครูในการ
ปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนให้มีประสทิ ธิสูงขึน้

การบริหารงานวิชาการของโรงเรียนจะให้เกิดผลดีทั้งครูและนักเรียน มีประสิทธิภาพจำเป็นต้อง มีการ
นิเทศภายในเพื่อให้เกิดการพัฒนางานวิชาชีพของครู ให้มีความสามารถตัดสินใจลงมือกระทำได้ด้วยตนเอง สร้าง
บรรยากาศท่ดี ใี นการทำงานรว่ มกัน ช่วยเหลอื ซ่งึ กนั และกัน จะกอ่ ใหเ้ กิดการเรียนรูแ้ ละการเปลยี่ นแปลงพฤติกรรม
การสอนไปในทางที่พึงประสงค์อย่างถาวร และต่อเนื่อง พัฒนาศักยภาพของครูให้ปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็ม
ความสามารถ ส่งผลต่อการพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนการสอนและคุณลักษณะของนักเรียนตามหลักสูตร
โรงเรียนบา้ นตาเปาว์ ไดต้ ระหนักในความสำคญั ดังกลา่ วขา้ งตน้ จึงกำหนดให้มีโครงการนิเทศภายในข้ึน

วตั ถุประสงค์

๑. เพื่อพัฒนาครูให้สามารถจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน้ มีการจัดการ
เรียนรู้เซงิ รุก (Active Learning) ใช้สื่อและแหล่งการเรียนรู้ทีเ่ น้นเทคโนโลยีและการสื่อสารอย่างหลากหลายและ
เหมาะสมกบั ผูเ้ รียน



๒. เพื่อให้ครูมีขวัญและกำลังใจอุทิศตนในการปฏิบัติงานเต็มความรู้ความสามารถ และทำงานร่วมกัน
อยา่ งมคี วามสขุ

๓. เพื่อส่งเสรมิ และพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนภายในโรงเรยี น
๔. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรยี นสูงข้นึ

เป้าหมาย

เชงิ ปริมาณ
๑. ร้อยละ ๘๐ ครไู ดร้ บั การนิเทศ แนะนำชว่ ยเหลือในการจัดการเรียนการสอน
๒. ร้อยละ ๘๐ ครูมีการเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมการสอน สามารถจัดการเรียนการสอนใหเ้ หมาะสมและมี
ประสิทธิภาพมากยง่ิ ข้นึ ยิง่ ขึน้
๓. รอ้ ยละ ๘๐ ผู้เรียนมคี า่ เฉล่ยี ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลักสูตร
สถานศกึ ษา เพิ่มขึน้ หรืออยู่ในระดับดีขน้ึ ไป
เชิงคุณภาพ
ครูมีการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมและมีประสิทธภิ าพมากย่ิงข้ึน สามารถพัฒนาผู้เรยี น
ใหม้ ีความรู้ มคี ณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ตามหลักสตู ร และยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหส้ ูงขึ้น ประกอบดว้ ย
กลุ่มบุคคล ๔ กลุ่ม จำนวน ๑๕๕ คน คือ ผู้บริหารสถานศกึ ษา จำนวน ๑ คน ครูผู้สอน จำนวน ๑๐ คน บุคลากร
ในสถานศกึ ษา จำนวน ๓ คน และนักเรยี นจำนวน ๑๔๑ คน

ขอบเขตการดำเนินการ

๑. ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง
๑.๑ ประชากรที่ใช้ในการดำเนินงานในครั้งน้ี ได้แก่ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) เกี่ยวกับ

การดำเนินโครงการนิเทศภายใน โรงเรียนบ้านตาเปาว์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑
ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

๑.๒ กลุม่ ตวั อยา่ งท่ใี ช้ในการดำเนินงานครัง้ น้ี ได้แก่ ครผู ้สู อน จำนวน ๑๐ คน



๒. ขอบเขตเนอ้ื หา

การดำเนินโครงการนิเทศภายใน โรงเรียนบ้านตาเปาว์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สุรินทร์ เขต ๑ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ครั้งนี้ กำหนดเนื้อหาและแนวทางในการนิเทศภายในด้วยกิจกรรม ๓
กจิ กรรม คอื

กจิ กรรมที่ ๑ : การนิเทศการสอนและสงั เกตการสอนตามปฏทิ นิ
กิจกรรมท่ี ๒ : การประชมุ ทางวิชาการ ใหค้ ำปรึกษาแนะนำ แลกเปลี่ยนเรียนรู้
กจิ กรรมที่ ๓ : การจัดทำข้อมลู สารสนเทศการนเิ ทศภายใน
๓. ขอบเขตระยะเวลา
การดำเนินโครงการนิเทศภายใน โรงเรียนบ้านตาเปาว์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สุรินทร์ เขต ๑ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ครั้งนี้ ได้ดำเนินการในปีการศึกษา ๒๕๖๔ หรือระหว่างปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๔ และ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ (โรงเรียนจัดทำแผนปฏิบัติการเป็นปีงบประมาณ) ระหว่าง ๑๖
พฤษภาคม ๒๕๖๔ - ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๕ โดยแบ่งเป็น ๒ ระยะ คอื
ระยะท่ี ๑ : ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๔ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๔
ระยะที่ ๒ : ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ - ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๕

นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ

๑. โครงการนิเทศภายใน โรงเรียนบ้านตาเปาว์ สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑
ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ หมายถึง โครงการที่โรงเรียนได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านตาเปาว์ ให้ดำเนินโครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ และ
๒๕๖๕ ระยะเวลาดำเนินการ ระหว่าง ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๔ - ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๕ แบง่ เปน็ ๒ ระยะ คือ ระยะท่ี
๑ : ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๔ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๔ ระยะที่ ๒ : ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ - ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๕

๒. การนิเทศภายใน โรงเรียนบ้านตาเปาว์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑
ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ หมายถงึ การนเิ ทศภายในด้วยกิจกรรม ๓ กจิ กรรม คอื กจิ กรรมการนิเทศการสอนและ
สังเกตการสอนตามปฏิทิน กิจกรรมการประชุมทางวิชาการ ให้คำปรึกษาแนะนำ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กิจกรรมการ
จัดทำขอ้ มลู สารสนเทศการนิเทศภายใน



๓. ผู้บริหาร หมายถึง ผู้ที่ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านตาเปาว์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

๔. ครูผู้สอน หมายถึง ครูโรงเรียนบ้านตาเปาว์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑
ท่ปี ฏิบัติหน้าท่ีจัดกิจกรรมการเรียนการสอนระดับช้นั อนุบาล ๑ ถงึ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ในปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

๕. คณะกรรมการดำเนินงาน หมายถึง ครูและบุคลากร โรงเรียนบ้านตาเปาว์ สำนัก งานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ ที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นคณะกรรมการดำเนินงานในโครงการนิเทศภายใน ปี
การศึกษา ๒๕๖๔

๖. นักเรียน หมายถึง นักเรียนโรงเรียนบ้านตาเปาว์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์
เขต ๑ ระดับชัน้ อนบุ าล ๑ ถึง ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ

๑. ครูสามารถจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มีการจัดการเรียนรู้เซิงรุก
(Active Learning) ใช้สื่อและแหล่งการเรียนรู้ที่เน้นเทคโนโลยีและการสื่อสารอย่างหลากหลายและเหมาะสมกับ
ผู้เรียน

๒. ครูมีขวัญและกำลังใจอุทิศตนในการปฏิบัติงานเต็มความรู้ความสามารถ และทำงานร่วมกันอย่างมี
ความสุข

๓. ผู้เรยี นมีความรูแ้ ละคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลักสูตร และมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนสูงข้ึน



บทที่ ๒
วธิ ดี ำเนนิ การ

การดำเนนิ การโครงการนเิ ทศภายใน โรงเรยี นบ้านตาเปาว์ สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
สรุ นิ ทร์ เขต ๑ ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ครั้งน้ี คณะกรรมการดำเนนิ งานตามลำดับขั้นตอนดงั น้ี

วธิ ดี ำเนนิ การ ระยะเวลา ผรู้ บั ผดิ ชอบ
ระยะท่ี ๑ :
รายการ/กิจกรรมสำคัญ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๔ ผู้อำนวยการโรงเรยี น
กิจกรรมที่ ๑ : การนเิ ทศการสอนและสังเกตการ นางสาวปรี ์พฤจิกาล หมายเจริญ
สอนตามปฏทิ นิ - คณะกรรมการดำเนนิ งาน
๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๔
กจิ กรรมที่ ๒ : การประชมุ ทางวิชาการ ให้
คำปรึกษาแนะนำ แลกเปลย่ี นเรียนรู้ ระยะท่ี ๒ :
๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔
กิจกรรมท่ี ๓ : การจดั ทำข้อมูลสารสนเทศการ
นเิ ทศภายใน -
๓๑ มีนาคม ๒๕๖๕

เครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการดำเนินงาน

๑. แบบนิเทศ ตดิ ตาม การนิเทศเพื่อการนเิ ทศการจัดการเรียนรู้ Active Learning ดว้ ยการสังเกตช้ัน
เรยี นและแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ Coaching & PLC ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรยี นบา้ นตาเปาว์ สำนักงานเขตพนื้ ที่
การศึกษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต ๑

๒. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของครทู ่ีมีต่อการนิเทศภายใน โรงเรียนบ้านตาเปาว์ สำนกั งานเขตพืน้ ที่
การศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต ๑

๓. เอกสารการดำเนินงานนิเทศภายใน



กลุ่มเปา้ หมาย

ครผู ้สู อน โรงเรียนบา้ นตาเปาว์ สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต ๑ ที่ปฏิบตั ิหน้าที่
จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนระดับชน้ั อนุบาล ๑ ถึง ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ จำนวน ๑๐
คน

การเก็บรวบรวมข้อมลู

ผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารหลักฐานจากการนิเทศภายใน กิจกรรมการ
นิเทศการสอนและสังเกตการสอน กิจกรรมการประชุมทางวิชาการ ให้คำปรึกษาแนะนำ แลกเปลี่ยนเรียนรู้
กิจกรรมการจดั ทำข้อมูลสารสนเทศการนิเทศภายใน และการประเมินความพึงพอใจของครทู ี่มีต่อการนเิ ทศภายใน
โรงเรียนบ้านตาเปาว์ นำเอกสารหลักฐานและแบบประเมินที่รวบรวมได้ทั้งหมดมาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสรุปและ
อภิปรายผล

การวเิ คราะหข์ ้อมูลและการประเมินผล

นำเอกสารหลักฐานและแบบประเมนิ ทร่ี วบรวมได้ทัง้ หมดมาวเิ คราะห์ข้อมลู เพ่อื หาคา่ ร้อยละ ค่าเฉลย่ี
เพอ่ื ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู



บทที่ ๓
ผลการดำเนินการ

การดำเนินการโครงการนิเทศภายใน โรงเรียนบ้านตาเปาว์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สรุ ินทร์ เขต ๑ ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ คร้งั น้ี คณะดำเนนิ งานไดน้ ำข้อมลู มาวิเคราะห์ ประกอบดว้ ยข้อมูลดังน้ี

แผนการนิเทศภายใน



ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลการนเิ ทศภายใน

➢ ขอ้ มูลการนิเทศภายใน

จากการดำเนนิ การนเิ ทศภายในด้านการจดั การเรียนการสอน ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ ครผู ู้สอนได้รบั การ

นเิ ทศ ข้อมูลดงั น้ี

ชนั้ อนุบาล ๑-๓

ครูและบคุ ลากร จำนวน ๓ คน

นเิ ทศการเรียนการสอน จำนวน ๓ คน

คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐

ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑

ครแู ละบุคลากร จำนวน ๑ คน

นิเทศการเรยี นการสอน จำนวน ๑ คน

คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๒

ครแู ละบคุ ลากร จำนวน ๑ คน

นิเทศการเรยี นการสอน จำนวน ๑ คน

คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐

ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓

ครแู ละบคุ ลากร จำนวน ๑ คน

นิเทศการเรยี นการสอน จำนวน ๑ คน

คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔

ครแู ละบุคลากร จำนวน ๑ คน

นิเทศการเรียนการสอน จำนวน ๑ คน

คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕

ครูและบุคลากร จำนวน ๒ คน

นิเทศการเรยี นการสอน จำนวน ๒ คน

คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐



ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖

ครูและบคุ ลากร จำนวน ๑ คน

นิเทศการเรียนการสอน จำนวน ๑ คน

คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐

จากข้อมูลสรปุ ได้ว่า ครูผสู้ อน จำนวน ๑๐ คน ไดร้ บั การนเิ ทศการจดั การเรียนการสอน จำนวน ๑๐ คน

คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐

กราฟที่ ๑ แสดงจำนวนครูสายผู้สอนทกุ คนและจำนวนครูท่ไี ด้รับการนิเทศ โรงเรียนบ้านตาเปาว์ ประจำ
ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

แสดงจานวนครสู ายผู้สอนทกุ คนและจานวนครูที่ได้รับการนเิ ทศ โรงเรยี นบา้ นตาเปาว์
ประจาภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

3.5

3
2.5

2

1.5
1

0.5

0
อนบุ าล ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
จานวนครูทงั้ หมด จานวนครูท่ไี ดร้ บั การนเิ ทศภายใน

ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นบา้ นตาเปาว์

จากการดำเนนิ การนเิ ทศภายในด้านการจัดการเรยี นการสอน ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ ส่งผลต่อการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาโรงเรียนบ้านตาเปาว์ ดงั นี้

➢ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นระดับสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

๑. รอ้ ยละของนักเรียนระดับปฐมวยั ท่ีมผี ลการประเมินพัฒนาการแตล่ ะด้านในระดับ ๓ ขนึ้ ไป ปี
การศึกษา ๒๕๖๔ ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สตปิ ัญญา ในทุกดา้ น จำนวน ๑๘ คน คิดเปน็
รอ้ ยละ ๑๐๐

๑๐

๒. ร้อยละของนักเรยี นระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ท่ีมเี กรดเฉล่ียผลสัมฤทธิท์ างการเรียนแต่ละรายวชิ า
ในระดบั ๓ ข้ึนไป ปีการศึกษา ๒๕๖๔
- ภาษาไทย จำนวน ๗๖ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๗๖
- คณติ ศาสตร์ จำนวน ๗๑ คน คิดเป็น รอ้ ยละ ๗๑
- วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน ๖๗ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๖๗
- สังคมศึกษาฯ จำนวน ๘๖ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๘๖
- ประวตั ิศาสตร์ จำนวน ๘๖ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๘๖
- ภาษาองั กฤษ จำนวน ๖๔ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๖๔
- สุขศึกษาฯ จำนวน ๙๗ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๗
- ศิลปะ จำนวน ๙๙ คน คิดเป็น ร้อยละ ๙๙
- การงานอาชพี ฯ จำนวน ๙๙ คน คิดเป็น รอ้ ยละ ๙๙
- ทกุ วิชา จำนวน ๗๔๕ คน คดิ เป็น ร้อยละ ๘๒.๗๘

จากขอ้ มูลสรุปได้ว่า โรงเรยี นบา้ นตาเปาว์มผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนระดบั สถานศึกษา ของนกั เรียนระดับ

ปฐมวัยและนกั เรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ในทุกวิชาระดับ ๓ ขึ้นไป พบว่า สูงกว่าร้อย

ละ ๘๐ โดยระดับปฐมวัย ร้อยละ ๑๐๐ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร้อยละ ๘๒.๗๘ เมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน

หรือวิชา พบว่า มีนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในแต่ละรายวิชาในระดับ ๓ ขึ้นไป ในระดับ

ปฐมวัย คะแนนระดบั ๓ ขึ้นไป สูงกวา่ ร้อยละ ๘๐ ทกุ ด้าน ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คะแนนระดบั ๓ ข้ึนไป สูง

กว่าร้อยละ ๘๐ จำนวน ๕ วิชา คือ สังคมศึกษาฯ ประวัติศาสตร์ สุขศึกษาฯ ศิลปะ การงานอาชีพฯ คะแนน

คะแนนระดับ ๓ ขึ้นไป ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐ จำนวน ๔ วิชา คือ วิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ

๓. รอ้ ยละของนักเรียนท่ีมีผลการประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ในระดับดี ขึ้นไป

ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ถงึ ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ รอ้ ยละ ๘๘.๐๐ ซง่ึ

สูงกวา่ รอ้ ยละ ๘๐

๔. ร้อยละของนักเรียนท่ีมีผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป

ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ระดับช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ร้อยละ ๑๐๐ ซง่ึ สูง

กวา่ รอ้ ยละ ๘๐

๕. ร้อยละของนักเรียนท่สี ำเร็จการศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๔

ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ นกั เรยี นช้ันอนบุ าลปีที่ ๓ สำเรจ็ การศกึ ษา จำนวน ๑๕ คน คดิ เป็น ร้อยละ ๑๐๐

นกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ สำเร็จการศกึ ษา จำนวน ๑๙ คน คดิ เป็น รอ้ ยละ ๑๐๐

➢ ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผูเ้ รียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑

ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถด้านการอา่ น (RT) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ พบวา่ นักเรยี น

ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนบา้ นตาเปาว์ มีผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ น สมรรถนะการอ่านออก

๑๑

เสียง คะแนนเฉล่ียร้อยละ ๗๔.๒๐ สมรรถนะการอ่านรเู้ ร่ือง คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ ๖๐.๘๐ รวม ๒ สมรรถนะ
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๖๗.๕๐ เม่อื เปรยี บเทยี บผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถดา้ นการอ่าน (RT) ปี
การศึกษา ๒๕๖๓- ๒๕๖๔ พบวา่ รอ้ ยละของผลตา่ งระหว่างปกี ารศึกษาลดลง - ๕.๙

➢ ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู้ รียนระดบั ชาติ (NT) ระดับชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี ๓

ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผ้เู รียนระดับชาติ (NT) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔
พบวา่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๓ โรงเรยี นบ้านตาเปาว์ มผี ลการประเมินการทดสอบด้านคณิตศาสตร์ คะแนน
เฉลี่ยร้อยละ ๓๗.๕๐ ด้านภาษาไทย คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๕๒.๑๗ รวมความสามารถทุกด้าน คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
๔๔.๘๔ การเปรียบเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ประจำปี
การศึกษา ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ พบว่า มีพฒั นาการเพม่ิ ขึ้น +๑๐.๕๔

➢ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๖๔ พบว่า นักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนบ้านตาเปาว์ มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) วิชา
ภาษาไทย ร้อยละ ๖๒.๕๔ วิชาคณิตศาสตร์ ร้อยละ ๔๐.๑๘ วิชาวิทยาศาสตร์ ร้อยละ ๔๔.๔๕ วิชาภาษาอังกฤษ
ร้อยละ ๓๗.๕ รวม ๔ รายวิชา ร้อยละ ๔๖.๑๗ เมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ (คะแนนเฉล่ีย
๔๐.๑๙) พบว่า โรงเรียนบา้ นตาเปาว์ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ +๕.๙๘ เมอ่ื เปรยี บเทยี บผลการทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้ันพ้นื ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ พบว่า มพี ัฒนาการเพิม่ ขน้ึ +๕.๖๕

ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของครูท่ีมีตอ่ การนเิ ทศภายในโรงเรียนบา้ นตาเปาว์

โรงเรียนบ้านตาเปาว์ใช้แบบประเมินความพึงพอใจของครูที่มีต่อการนิเทศภายในโรงเรียนบ้านตาเปาว์
โดยการประเมิน ด้านการดำเนินงานตามกระบวนการนิเทศ และด้านผลการดำเนินงานตามกระบวนการนิเทศ
ภายใน จำนวน ๒๑ ข้อ ระดับความพึงพอใจในการประเมิน มี ๕ ระดับ ๕ หมายถึง พึงพอใจมากท่ีสุด ๔ หมายถึง
พึงพอใจมาก ๓ หมายถึง พึงพอใจ ๒ หมายถึง พึงพอใจน้อย ๑ หมายถึง พึงพอใจน้อยที่สุดหรือไม่มีเลย การ
ประเมินกับครูผู้สอน จำนวน ๑๐ คน พบว่า มีผลการประเมินระดับ ๔ (พึงพอใจมาก) ข้ึนไปทุกรายการ คิดเป็น
ร้อยละ ๑๐๐ โดยมีระดับความพึงพอใจในการประเมิน ระดับ ๕ (พึงพอใจมากที่สุด) จำนวน ๑๙๘ ข้อ พึงพอใจ
มากท่ีสุด ๔ (พงึ พอใจมาก) ๑๒ ข้อ

๑๒

บทที่ ๔
สรุปอภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ

การดำเนินการโครงการนิเทศภายใน โรงเรียนบ้านตาเปาว์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สุรินทร์ เขต ๑ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในทุกมิติ คือ ครู ผู้เรียน และ
สถานศึกษา สรุปผลดังนี้

สรปุ ผลและอภิปรายผล

๑. ครูผู้สอนได้รับการนิเทศการจัดการเรียนการสอน จำนวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ผลการ
ดำเนินงานที่ปรากฏเช่นนี้ แสดงให้เห็นถึงครมู ีขวญั และกำลงั ใจอุทศิ ตนในการปฏบิ ัติงานเต็มความรู้ความสามารถ
และทำงานร่วมกันอย่างมีความสุข พร้อมรบั การนิเทศภายใน ผลจากการดำเนนิ งานสามารถใช้เป็นแนวทางในการ
วางแผนปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนต่อไป เป็นข้อมูลและแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอน และ
เป็นขอ้ มูลเบอ้ื งตน้ สำหรับผู้ที่จะศึกษาตอ่ ไป

๒. นักเรียนระดบั ปฐมวัยมีผลการประเมินพัฒนาการทุกด้านในระดบั ๓ ขึ้นไป ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ด้าน
ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญา จำนวน ๑๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ คะแนนแต่ละด้านระดับ ๓ ขึ้นไป
ร้อยละ ๑๐๐ ซึ่งสูงกว่าร้อยละ ๘๐ ผลจากการดำเนินงานที่ปรากฎเช่นนี้เนื่องจากพัฒนาการของนักเรียนระดับ
ปฐมวัยได้รับการส่งเสริมพัฒนาจากผู้ปกครองนักเรียนและครูผู้สอน ซึ่งเป็นพัฒนาการพื้นฐานที่ทุกส่วนสามารถ
พัฒนารว่ มกันได้ การนเิ ทศภายในส่งผลต่อการพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนบ้านตาเปาว์

๓. นักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกวิชาในระดับ ๓ ขึ้นไป
ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ ร้อยละ ๘๒.๗๘ เมื่อพิจารณาในแต่ละวิชา พบว่า มีนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนในแต่ละรายวิชาในระดับ ๓ ขึ้นไป สูงกว่าร้อยละ ๘๐ จำนวน ๕ วิชา คือ สังคมศึกษาฯ
ประวัติศาสตร์ สุขศึกษาฯ ศิลปะ การงานอาชีพฯ คะแนนแต่ละวิชาระดับ ๓ ขึ้นไป ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐ จำนวน
๔ วิชา คือ วิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ ทั้งน้ีเนื่องจากสถานการณก์ าร
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ ทำให้การจัด
กจิ กรรมการเรียนการสอนไมเ่ ต็มที่ มผี ลกระทบกบั วิชาทจ่ี ำเปน็ ตอ้ งมคี รูคอยสอน แนะนำ และฝึกทักษะ นกั เรียน
ไม่สามารถเรียนด้วยตัวเองได้ ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ในวิชา
ดังกล่าวมีนักเรียนที่มีผลระดับ ๓ ขึ้นไป น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ แต่เป็นที่น่าพอใจเมื่อเปรียบเทียบกับสถานการณ์
และการนิเทศภายในส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนบ้านตาเปาว์ ช่วยส่งเสริมสนับสนุนครูให้
พฒั นาผู้เรยี นในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ไดด้ ียง่ิ ขนึ้

๑๓

๔. นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถงึ ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ มีผลการ
ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ ๘๘.๐๐ ซึ่งสูงกว่าร้อยละ ๘๐ ผลการ
ดำเนินงานท่ีปรากฏเช่นน้ีเน่ืองจากการนิเทศภายในสง่ ผลตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรยี นบา้ นตาเปาว์

๔. นกั เรยี นระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถงึ ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ มีผลการ
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ ๑๐๐ ซึ่งสูงกว่าร้อยละ ๘๐ ผลการดำเนินงานท่ี
ปรากฏเช่นนี้เนอ่ื งจากการนิเทศภายในส่งผลต่อการพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนบ้านตาเปาว์

๕. นักเรียนที่สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๔ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ ๓ สำเร็จการศึกษา จำนวน
๑๕ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐ นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ สำเร็จการศึกษา จำนวน ๑๙ คน คดิ เป็น รอ้ ยละ
๑๐๐ ผลการดำเนินงานที่ปรากฏเช่นนี้เนื่องจากการนิเทศภายในส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียน
บา้ นตาเปาว์

๖. ผลการประเมินการทดสอบความสามารถด้านการอ่าน (RT) ของผู้เรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
ปีการศึกษา ๒๕๖๔ พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนบ้านตาเปาว์ มีผลการประเมินความสามารถ
ดา้ นการอ่าน สมรรถนะการอ่านออกเสียง คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ ๗๔.๒๐ สมรรถนะการอา่ นร้เู รื่อง คะแนนเฉลย่ี ร้อย
ละ ๖๐.๘๐ รวม ๒ สมรรถนะ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๖๗.๕๐ เมื่อเปรียบเทียบผลการประเมินการทดสอบ
ความสามารถดา้ นการอา่ น (RT) ปีการศึกษา ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔ พบว่า ร้อยละของผลตา่ งระหวา่ งปีการศึกษาลดลง
- ๕.๙ ผลจากการดำเนินงานที่ปรากฎเช่นนี้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ ทวีความรุนแรงเพิม่ ข้นึ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ทำให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไมเ่ ตม็ ท่ี ส่งผลให้ผล
การประเมินการทดสอบความสามารถด้านการอ่าน (RT) ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ลดลงเล็กน้อย แต่ผลการทดสอบ
เป็นที่น่าพอใจเมื่อเปรียบเทียบกับสถานการณ์ และผลการดำเนินงานที่ปรากฏเช่นน้ีเนื่องจากการนิเทศภายใน
ส่งผลต่อการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรยี นบา้ นตาเปาว์

๗. ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผู้เรยี นระดับชาติ (NT) ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่
๓ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนบ้านตาเปาว์ มีผลการประเมินการ
ทดสอบด้านคณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๓๗.๕๐ ด้านภาษาไทย คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๕๒.๑๗ รวม
ความสามารถทุกด้าน คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๔๔.๘๔ การเปรียบเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถ
พืน้ ฐานของผูเ้ รียนระดับชาติ (NT) ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ พบว่า มพี ัฒนาการเพ่ิมข้นึ +๑๐.๕๔ ผล
การดำเนินงานที่ปรากฏเชน่ น้ีเน่ืองจากการนิเทศภายในส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนบา้ นตาเปาว์

๘. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๖๔ พบว่า นักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนบ้านตาเปาว์ มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) วิชา

๑๔

ภาษาไทย ร้อยละ ๖๒.๕๔ วิชาคณิตศาสตร์ ร้อยละ ๔๐.๑๘ วิชาวิทยาศาสตร์ ร้อยละ ๔๔.๔๕ วิชาภาษาอังกฤษ
ร้อยละ ๓๗.๕ รวม ๔ รายวิชา ร้อยละ ๔๖.๑๗ เมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ (คะแนนเฉลี่ย
๔๐.๑๙) พบว่า โรงเรยี นบา้ นตาเปาว์ มคี ะแนนเฉลย่ี สูงกว่าระดบั ประเทศ +๕.๙๘ เมอ่ื เปรยี บเทยี บผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ พบวา่ มีพฒั นาการเพ่มิ ข้นึ +๕.๖๕ ผล
การดำเนินงานทป่ี รากฏเชน่ น้ีเนอ่ื งจากการนิเทศภายในส่งผลตอ่ การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนบา้ นตาเปาว์

๙. ผลการประเมินความพึงพอใจของครูที่มีต่อการนิเทศภายในโรงเรียนบ้านตาเปาว์ โดยการประเมิน
ด้านการดำเนินงานตามกระบวนการนิเทศ และด้านผลการดำเนินงานตามกระบวนการนิเทศภายใน การประเมิน
กับครูผู้สอน จำนวน ๑๐ คน พบว่า มีผลการประเมินระดับ ๔ (พึงพอใจมาก) ข้ึนไปทุกรายการ คิดเป็นร้อยละ
๑๐๐ โดยมีระดับความพึงพอใจในการประเมิน ระดับ ๕ (พึงพอใจมากที่สุด) จำนวน ๑๙๘ ข้อ พึงพอใจมากที่สุด
๔ (พึงพอใจมาก) ๑๒ ขอ้ ผลการดำเนนิ งานทีป่ รากฏเช่นน้ีแสดงใหเ้ หน็ วา่ ครไู ด้รบั การนเิ ทศการเรียนการสอน ครูมี
ขวัญและกำลังใจอุทิศตนในการปฏิบัติงานเต็มความรู้ความสามารถ และทำงานร่วมกันอย่างมีความสุข พร้อมรับ
การนิเทศภายในเพอ่ื การพฒั นา

ปญั หาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

๑. ปัญหาอุปสรรค
เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ทวคี วามรุนแรงเพิ่มข้ึน

ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ทำให้การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนไม่เต็มที่ และการดำเนนิ งานคลาดเคลือ่ นไปจากแผน
และปฏิทนิ การดำเนนิ งาน

๒. ขอ้ เสนอแนะ
- ควรออกแบบรูปแบบการนเิ ทศที่หลากหมายให้เหมาะสมกบั สถานการณ์มากย่งิ ข้นึ
- ควรนิเทศการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องต่อไป เพือ่ สร้างและพัฒนางาน พฒั นาคน และพัฒนา

นวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา และองค์ความรู้ในศาสตร์สาขาต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา
กระบวนการเรยี นรู้ที่สอดคล้องและเหมาะสมกบั ความเปลยี่ นแปลงของสังคมโลกท้ังในปจั จบุ ันและอนาคตต่อไป

๑๕

ภาคผนวก

๑๖

ภาคผนวก ก เอกสารการดำเนินงานนเิ ทศภายใน

- โครงการนิเทศภายใน
- แผนการนเิ ทศภายใน
- ปฏิทนิ การนิเทศภายใน
- คำสัง่ คณะกรรมการนิเทศภายใน
- เครอื่ งมือการนเิ ทศ
- แบบประเมินความพึงพอใจ
- รายงานผลการปฏิบตั งิ านตามโครงการ

๑๗

ช่ือโครงการ : โครงการนิเทศภายใน

กลุ่มงาน/กลุ่มสาระ : กล่มุ บรหิ ารงานวิชาการ

สนองตอบกลยุทธแ์ ละมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

กลยุทธ์ : กลยทุ ธท์ ่ี ๑ การจดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ

ตามหลักสูตร ส่งเสริมความสามารถก้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้

ส่งเสรมิ ทักษะและคณุ ลักษณะในศตวรรษท่ี ๒๑ ให้เกิดขึน้ กับผเู้ รียน

: กลยุทธท์ ี่ ๔ พัฒนาครแู ละบุคลากรการศึกษาทัง้ ระบบ ใหส้ ามารถจดั การเรียนการ

สอนไดอ้ ยา่ งมคี ุณภาพ ตามเกณฑม์ าตรฐานวชิ าชพี

มาตรฐานการศกึ ษา : มาตรฐานการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ; มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ที่ ๘ , ๙

มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย ; มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี

ลักษณะโครงการ : โครงการใหม่ โครงการตอ่ เน่ือง

ผู้รับผดิ ชอบโครงการ : นางสาวปีร์พฤจกิ าล หมายเจริญ ตำแหนง่ ครชู ำนาญการ

ระยะเวลาดำเนินการ : ปีงบประมาณ ๒๕๖๕

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. หลักการและเหตผุ ล

การศึกษามีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพการณ์ ไม่ว่าจะเป็นวิธีการสอน หลักสูตร
เทคโนโลยี ตลอดจนบุคลากร ซึ่งสง่ิ เหลา่ นี้ย่อมมผี ลกระทบต่อการเรียนการสอนของสถานศึกษา ภารกิจสำคัญ
ของการดำเนินงานในโรงเรียน คือ การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามจุดหมายของหลักสูตร การจัดการศึกษา
เพ่ือให้ผ้เู รยี นบรรลผุ ลสำเรจ็ ตามจุดหมายของหลักสูตรดังกล่าวอยา่ งมคี ุณภาพ และเปน็ ไปตามพระราชบัญญัติ
การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ นัน้ จะตอ้ งอาศัยกระบวนการ ๓ อยา่ ง คือ กระบวนการบริหาร กระบวนการ
นิเทศ และกระบวนการเรียนการสอน ทั้ง ๓ อย่างนี้เกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมบูรณ์ท้ัง
ทางรา่ งกาย จติ ใจ สติปญั ญา ความรู้และคุณธรรม จริยธรรมในการดำรงชวี ิตสามารถอยู่รว่ มกับผู้อื่นได้อย่างมี
ความสุขหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ จัดการศึกษาให้นักเรียนเป็นคนดีคนเก่งและมีความสุขได้นั้น กระบวนการ
นิเทศเป็นกระบวนการหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนและพัฒนาโรงเรียนให้มีคุณภาพ
ตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาการนเิ ทศภายในโรงเรียนเป็นกระบวนการหนึ่งของการนิเทศที่มคี วามสำคัญต่อ
การพัฒนาโรงเรียน ๒ ประการ คือ ส่งเสริมประสทิ ธิภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนและให้ความช่วยเหลอื
แกค่ รใู นการปรับปรุงพฒั นากระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนให้มปี ระสิทธสิ งู ขนึ้

๑๘

การบรหิ ารงานวิชาการของโรงเรยี นจะใหเ้ กดิ ผลดีทั้งครูและนักเรียน มปี ระสทิ ธภิ าพจำเป็นต้อง มีการ
นิเทศภายในเพื่อให้เกิดการพัฒนางานวิชาชีพของครู ให้มีความสามารถตัดสินใจลงมือกระทำได้ด้วยตนเอง
สร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงานร่วมกัน ช่วยเหลือซึง่ กันและกัน จะกอ่ ใหเ้ กิดการเรยี นรู้และการเปลี่ยนแปลง
พฤตกิ รรมการสอนไปในทางท่ีพึงประสงค์อยา่ งถาวร และต่อเนื่อง พฒั นาศักยภาพของครูให้ปฏบิ ัติหน้าที่อย่าง
เต็มความสามารถ ส่งผลต่อการพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนการสอนและคุณลักษณะของนักเรียนตาม
หลักสูตร โรงเรียนบา้ นตาเปาว์ ไดต้ ระหนกั ในความสำคญั ดงั กล่าวข้างตน้ จงึ กำหนดใหม้ ีโครงการนเิ ทศภายใน
ขึน้

๒. วตั ถุประสงค์
๑. เพื่อพัฒนาครูให้สามารถจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มีการ

จัดการเรียนรู้เซิงรุก (Active Learning) ใช้สื่อและแหล่งการเรียนรู้ที่เน้นเทคโนโลยีและการสื่อสารอย่าง
หลากหลายและเหมาะสมกับผ้เู รียน

๒. เพอื่ ให้ครูมีขวัญและกำลังใจอุทิศตนในการปฏิบัติงานเต็มความรู้ความสามารถ และทำงานร่วมกัน
อย่างมคี วามสขุ

๓. เพือ่ สง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภายในโรงเรยี น
๔. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นสูงขึน้

๓. เปา้ หมาย

เชิงปริมาณ
๑. ร้อยละ ๘๐ ครไู ด้รับการนิเทศ แนะนำช่วยเหลอื ในการจัดการเรียนการสอน
๒. ร้อยละ ๘๐ ครูมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอน สามารถจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสม
และมปี ระสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึน
๓. ร้อยละ ๘๐ ผู้เรียนมีค่าเฉลีย่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ตามหลักสตู ร
สถานศึกษา เพ่ิมข้ึนหรืออยใู่ นระดบั ดีข้ึนไป
เชงิ คณุ ภาพ
ครูมีการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สามารถพัฒนา
ผูเ้ รยี นใหม้ ีความรู้ มคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ตามหลักสตู ร และยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นใหส้ ูงขนึ้

๑๙

๔. วิธีดำเนินการ

รายการ/กจิ กรรมสำคัญ ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบ

๑. ขั้นเตรียมการ (P: Plan) กันยายน ๒๕๖๔ -

๑.๑ ศกึ ษานโยบาย บรบิ ทและสภาพของโรงเรยี น ผอู้ ำนวยการโรงเรียน

ทเ่ี กย่ี วข้องกบั โครงการ นางสาวปีร์พฤจกิ าล

๑.๒ ศกึ ษาเอกสารทางวชิ าการที่เกยี่ วข้องกับ

โครงการ

๑.๓ จัดทำโครงการนำเสนอต่อฝ่ายบริหาร

๑.๔ แต่งต้ังคณะกรรมการดำเนินงาน

๑.๕ ประชุมคณะทำงานเพอ่ื ช้ีแจงโครงการ

มอบหมายภาระงาน

๒. ขนั้ ดำเนนิ การ (D)

กจิ กรรมท่ี ๑ : การนเิ ทศการสอนและสงั เกตการ ระยะท่ี ๑ : - ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน
สอนตามปฏทิ ิน ๑ พฤศจิกายน๒๕๖๔ - นางสาวปีร์พฤจกิ าล
กิจกรรมท่ี ๒ : การประชุมทางวชิ าการ ให้ ๑,๖๖๗ คณะกรรมการดำเนนิ งาน
คำปรกึ ษาแนะนำ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ -
กจิ กรรมท่ี ๓ : การจัดทำขอ้ มูลสารสนเทศการ ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๕
นเิ ทศภายใน
ระยะที่ ๒ :
๑๗ พฤษภาคม

๒๕๖๕ -

๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๕

๓. ขน้ั นเิ ทศตดิ ตามผล (C) ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๔ -

ผู้บรหิ ารนเิ ทศติดตามผลการดำเนนิ งานและ ถึง ผู้อำนวยการโรงเรียน

คอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกจิ กรรม ๓๐ กนั ยายน

ของผู้เกี่ยวข้องใหเ้ ปน็ ไปตามแผนงาน/โครงการที่ ๒๕๖๕

กำหนด

๔. ข้นั สรปุ ผล/ประเมินผล (A) -

๔.๑ ประเมินผลการดำเนนิ งานของโครงการ ระยะท่ี ๑ : นางสาวปีรพ์ ฤจิกาล
๔.๒ สรปุ และรายงานผลการดำเนินงานของ เมษายน ๒๕๖๕ นางสาวนวลจันทร์
โครงการ นางสาวพัชรีกรณ์ บญุ ม่นั
ระยะท่ี ๒ :
ตลุ าคม ๒๕๖๕

รวมงบประมาณทงั้ หมด ๑,๖๖๗

๒๐

๕. รายละเอยี ดกิจกรรม และคำช้ีแจงงบประมาณ

กิจกรรม งบประมาณ รวม ระยะเวลา ผรู้ ับผดิ ชอบ
- ท่ดี ำเนนิ การ
ค่าตอบแทน คา่ ใช้สอย ค่าวัสดุ - ผอู้ ำนวยการโรงเรียน
๑,๖๖๗ ระยะที่ ๑ : นางสาวปรี พ์ ฤจิกาล
กิจกรรมท่ี ๑ : การนเิ ทศการ - - - ๑,๖๖๗ ๑ พฤศจกิ ายน

สอนและสังเกตการสอนตาม ๒๕๖๔ -
๓๑ มนี าคม
ปฏิทนิ
๒๕๖๕
กิจกรรมท่ี ๒ : การประชมุ - -- ระยะท่ี ๒ :
๑๗ พฤษภาคม
ทางวิชาการ ใหค้ ำปรึกษา ๒๕๖๕ -
๓๑ กันยายน
แนะนำ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้
๒๕๖๕
กจิ กรรมที่ ๓ : การจัดทำ - ๑,๖๖๗ -

ข้อมลู สารสนเทศการนิเทศ

ภายใน

รวม - ๑,๖๖๗ -

หมายเหตุ : สามารถถวั จา่ ยได้ทุกรายการ

๖. หนว่ ยงาน / ผู้ทเ่ี ก่ยี วข้อง

๖.๑ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
๖.๒ ครผู สู้ อนโรงเรียนบา้ นตาเปาว์
๖.๓ นักเรียนทุกคน

๗. ระดบั ความสำเร็จ

ตวั บ่งชีค้ วามสำเร็จ วธิ ีการประเมิน เคร่อื งมอื
- แบบสอบถาม
๑. ครไู ด้รับการนิเทศ แนะนำชว่ ยเหลอื ในการ - ตรวจสอบเอกสาร - แบบสัมภาษณ์
- แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
จดั การเรยี นการสอน - สอบถาม สมั ภาษณ์ - แบบสังเกตพฤติกรรม

๒. ครูมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอน - สอบถาม - แบบสอบถาม

สามารถจัดการเรียนการสอนใหเ้ หมาะสมและมี - สังเกตพฤติกรรม

ประสทิ ธิภาพมากยงิ่ ขึ้น

๓. ผ้เู รียนใหม้ คี วามรแู้ ละคุณลกั ษณะอนั พงึ - ตรวจสอบเอกสาร

ประสงคต์ ามหลักสตู ร มีผลสมั ฤทธิท์ างการ

เรียนสงู ขน้ึ หรอื อยู่ในระดบั ดีข้นึ ไป

๒๑

๘. ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั
๘.๑ ครูสามารถจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มีการจัดการเรียนรู้

เซิงรุก (Active Learning) ใช้สื่อและแหล่งการเรียนรู้ที่เน้นเทคโนโลยีและการสื่อสารอย่างหลากหลายและ
เหมาะสมกบั ผเู้ รยี น

๘.๒ ครูมีขวัญและกำลังใจอุทิศตนในการปฏิบัติงานเต็มความรู้ความสามารถ และทำงานร่วมกัน
อยา่ งมคี วามสขุ

๘.๓ ผเู้ รยี นมคี วามรแู้ ละคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลกั สตู ร และมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นสูงข้นึ

๙. ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ

ลงช่อื ผูเ้ สนอโครงการ
(นางสาวปรี ์พฤจิกาล หมายเจรญิ )

ตำแหน่ง ครชู ำนาญการ

ลงชอ่ื ผู้เสนอโครงการ
( นางสาวฐิติรัตน์ จนิ พละ )

ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านตาเปาว์

ลงชื่อ ผเู้ หน็ ชอบโครงการ (หัวหน้ากลุม่ งาน)
(นางสาวปรี พ์ ฤจกิ าล หมายเจรญิ )
ตำแหนง่ ครชู ำนาญการ

ลงชือ่ ผู้อนมุ ตั ิโครงการ
( นางสาวฐิตริ ัตน์ จนิ พละ )

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นตาเปาว์

๒๒

~ ๒๓ ~

~ ๒๔ ~

~ ๒๕ ~

~ ๒๖ ~

~ ๒๗ ~

~ ๒๘ ~
ตวั อยา่ งแบบนเิ ทศติดตาม ที่เก็บรวบรวม

~ ๒๙ ~

~ ๓๐ ~

แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของครทู ม่ี ตี ่อการนเิ ทศภายใน
โรงเรียนบ้านตาเปาว์ เครอื ข่ายบริหารสถานศกึ ษาแบบบรู ณาการเมอื งสุรนิ ทร์ ๖

สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต ๑
๑. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของครทู ่มี ตี ่อการนิเทศภายในใชเ้ มื่อสิน้ สดุ การนเิ ทศภายใน
๒. ครูผรู้ ับการนเิ ทศเป็นผปู้ ระเมนิ และทำเคร่อื งหมาย ✓ ท่ตี รงกับสภาพความพงึ พอใจ
๓. ระดบั ความพึงพอใจมี ๕ ระดับ

๕ หมายถงึ พึงพอใจมากท่สี ดุ ๔ หมายถึง พึงพอใจมาก ๓ หมายถงึ พงึ พอใจ
๒ หมายถึง พงึ พอใจน้อย ๑ หมายถงึ พึงพอใจน้อยทีส่ ุดหรอื ไมม่ เี ลย

รายการประเมิน ระดบั ความพึงพอใจ หมายเหตุ
การดำเนินงานตามกระบวนการนเิ ทศ ๕๔๓๒๑
๑. การศกึ ษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และการวางแผน
๑.๑ นโยบายการนิเทศภายใน
๑.๒ โครงการนิเทศภายใน
๑.๓ ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการนิเทศภายใน
๑.๔ กิจกรรมทก่ี ำหนดในโครงการนิเทศภายใน
๑.๕ แบบประเมนิ ผล และวธิ ีการประเมนิ ผล
๒. การปฏบิ ัติ
๒.๑ การปฏิบัติตามกำหนดในปฏทิ นิ ปฏิบัติงาน
๒.๒ ความรว่ มมือของคณะครูในการดำเนินกิจกรรมการนิเทศภายใน
๒.๓ บรรยากาศการนเิ ทศภายในโรงเรยี น
๒.๔ การใชส้ อ่ื / เครอื่ งมือในการนิเทศภายในโรงเรียน
๒.๕ การให้ขวญั และกำลงั ใจในการปฏิบตั งิ าน
๓. การประเมนิ ผล
๓.๑ วธิ กี ารประเมนิ ผล
๓.๒ การมสี ว่ นรว่ มประเมินผล
๓.๓ ระยะเวลาในการประเมินผล

~ ๓๑ ~
ผลการดำเนนิ งานตามกระบวนการนเิ ทศภายใน
๑. ครู
๑.๑ ครมู ีความรู้ ความเขา้ ใจและทักษะในการปฏบิ ัตงิ านเพิม่ ขน้ึ
๑.๒ ครปู ฏบิ ัตงิ านอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
๑.๓ ครมู ีความสมั พนั ธ์อนั ดีต่อกัน
๑.๔ ครูใหก้ ารยอมรบั ซึ่งกันและกัน
๑.๕ ครจู ดั ทำผลงานเพอื่ พัฒนาการเรยี นการสอน( สื่อ แบบฝกึ แบบ
วัดผลประเมินผล ฯ ล ฯ
๒. นกั เรยี น
๒.๑ นักเรียนมีความสนใจและความกระตือรอื รน้ ในการเรียนมากข้ึน
๒.๒ นกั เรียนมคี วามร่วมมือในการปฏิบตั งิ านดขี ึ้น
๒.๓ นักเรียนมีผลการเรยี นดขี ้นึ

รวม
เฉลี่ย

ลงช่ือ..........................................ผู้ทำแบบประเมิน ลงชอ่ื .............................................
(...................................................) (นางสาวฐิติรตั น์ จนิ พละ)

ตำแหน่ง....................................... ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นตาเปาว์

~ ๓๒ ~
ตัวอย่างแบบประเมนิ ความพึงพอใจท่เี กบ็ รวบรวม

~ ๓๓ ~

~ ๓๔ ~

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการนเิ ทศภายใน จำนวน ๓ คน
จำนวน ๓ คน
ชน้ั อนุบาล ๑-๓
ครูและบคุ ลากร จำนวน ๑๐๐.๐๐
นิเทศการเรยี นการสอน จำนวน
คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑ คน
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ จำนวน ๑ คน
ครแู ละบุคลากร จำนวน
นเิ ทศการเรียนการสอน ๑๐๐.๐๐
คิดเปน็ รอ้ ยละ จำนวน
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ จำนวน ๑ คน
ครูและบคุ ลากร ๑ คน
นิเทศการเรียนการสอน จำนวน
คิดเปน็ ร้อยละ จำนวน ๑๐๐.๐๐
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓
ครแู ละบุคลากร จำนวน ๑ คน
นิเทศการเรียนการสอน จำนวน ๑ คน
คิดเป็นรอ้ ยละ
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๔ ๑๐๐.๐๐
ครแู ละบคุ ลากร
นิเทศการเรยี นการสอน ๑ คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑ คน
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕
ครแู ละบคุ ลากร ๑๐๐.๐๐
นิเทศการเรียนการสอน
คิดเปน็ ร้อยละ ๒ คน
๒ คน

๑๐๐.๐๐

~ ๓๕ ~

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๖

ครแู ละบุคลากร จำนวน ๑ คน

นิเทศการเรยี นการสอน จำนวน ๑ คน

คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐

จากข้อมลู สรปุ ได้วา่ ครูผู้สอน จำนวน ๑๐ คน ไดร้ ับการนเิ ทศการจัดการเรยี นการสอน จำนวน ๑๐ คน

คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐

กราฟท่ี ๑ แสดงจำนวนครสู ายผู้สอนทกุ คนและจำนวนครูทีไ่ ด้รบั การนิเทศ โรงเรยี นบา้ นตาเปาว์ ประจำ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

แสดงจานวนครูสายผู้สอนทุกคนและจานวนครูที่ไดร้ บั การนิเทศ โรงเรยี นบ้านตาเปาว์
ประจาภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

3.5

3
2.5

2

1.5
1

0.5

0
อนบุ าล ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
จานวนครูทง้ั หมด จานวนครูท่ไี ดร้ บั การนิเทศภายใน

~ ๓๖ ~

~ ๓๗ ~

ภาคผนวก ข ภาพกจิ กรรมการนเิ ทศภายใน

~ ๓๘ ~

~ ๓๙ ~

~ ๔๐ ~

~ ๔๑ ~

~ ๔๒ ~

~ ๔๓ ~

~ ๔๔ ~


Click to View FlipBook Version