The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ในการติดตั้งไฟฟ้านั้น สิ่งที่จำเป็นต้องใช้สำหรับช่างคือ เครื่องมือ ถ้าหากขาดเครื่องมือการติดตั้งก็อาจไม่ สำเร็จหรือไม่สามารถทำงานได้เลย ดังนั้น จึงมีความจําเป็นที่จะต้องรู้จักลักษณะเครื่องมือ ชื่อเครื่องมือ การใช้ เครื่องมือให้ถูกต้องกับลักษณะงานรวมทั้งการบำรุงรักษาเครื่องมือ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tonkidmon, 2022-03-25 06:26:14

หน่วยที่ 3 หน่วยที่ 3 เครื่องมือสำหรับงานติดตั้งไฟฟ้า

ในการติดตั้งไฟฟ้านั้น สิ่งที่จำเป็นต้องใช้สำหรับช่างคือ เครื่องมือ ถ้าหากขาดเครื่องมือการติดตั้งก็อาจไม่ สำเร็จหรือไม่สามารถทำงานได้เลย ดังนั้น จึงมีความจําเป็นที่จะต้องรู้จักลักษณะเครื่องมือ ชื่อเครื่องมือ การใช้ เครื่องมือให้ถูกต้องกับลักษณะงานรวมทั้งการบำรุงรักษาเครื่องมือ

สาขาวิชา : ช่างไฟฟ้ากำลัง ใบความรู้
ชอื่ วชิ า : การติดตง้ั ไฟฟา้ ในอาคาร
รหัสวิชา : 20104-2005
งาน : เคร่อื งมือสำหรบั งานเดินสายไฟฟ้า

เนื้อหาสาระ (Content)
ในการติดตั้งไฟฟ้านั้น สิ่งท่ีจำเป็นต้องใช้สำหรับช่างคือ เครื่องมือ ถ้าหากขาดเครื่องมือการติดตั้งก็

อาจไม่ สำเร็จหรือไม่สามารถทำงานได้เลย ดังนั้น จึงมีความจําเป็นที่จะต้องรู้จักลักษณะเครื่องมือ
ชือ่ เครื่องมอื การใช้ เคร่ืองมือใหถ้ กู ตอ้ งกับลกั ษณะงานรวมท้ังการบำรุงรักษาเคร่อื งมือ

3.1 เครอื่ งมือสำหรับงานเดนิ สายไฟฟา้ ด้วยเข็มขดั รัดสาย
เคร่อื งมือสำหรบั งานเดนิ สายไฟฟา้ ดว้ ยเขม็ ขดั รัดสาย งานติดต้ังทางไฟฟ้าอ่นื ๆ และงานซ่อม เป็น

เครื่องมือพ้นื ฐานสำหรบั ช่างติดตั้งไฟฟา้ และสำหรบั บุคคลทั่วไป เชน่ คอ้ น คมี และไขควง เปน็ ต้น

3.1.1ค้อนเดินสายไฟฟา้
ค้อน (Harmer) คือ ชื่อเครื่องมือที่มีหัวและด้ามสำหรับเคาะ ตอก ตี ทุบบนวัตถุอื่น มีหลายชนิด
ตามรูปร่างและการใช้งาน เช่น ค้อนหงอน ค้อนหัวไม้ ค้อนยาง ค้อนพลาสติก ค้อนปอนด์ ค้อนหัวกลม และ
คอ้ นเดนิ สายไฟฟ้า เปน็ ต้น มีโครงสรา้ งพืน้ ฐานเหมือนกนั คอื ดา้ มจบั และหวั คอ้ น คอ้ นเดนิ สายไฟฟ้า (Electric
Hammer) ใช้สำหรับตอกตะปูในงานเดินสายไฟฟ้าด้วยเข็มขัดรัดสาย บนผนังไม้หรือผนังคอนกรีต หัวค้อน

ทำดว้ ยเหลก็ ชุบแขง็ หนักประมาณ 100-250 กรัม ค้อนมหี น่วยนบั เป็น “เต้า หรอื อนั ” ดังรูปที่ 3.1

รปู ที่ 3.1 ตัวอยา่ งค้อนเดินสายไฟฟ้า
การใช้และการบำรงุ รกั ษาคอ้ นเดินสายไฟฟา้

1. กอ่ นใช้ค้อนตอ้ งตรวจดวู ่าหัวคอ้ นกับด้ามค้อนสวมกันแน่นหรือไม่ โดยการใช้มอื ขา้ งหนงึ่ จับ หวั
ค้อนและอีกข้างหน่ึงจบั ด้าม ทดสอบโยกหัวค้อน หากสวมกนั ไม่แน่นใหแ้ ก้ไขก่อนใช้งาน

2. การใชค้ อ้ น ควรจับค้อนที่บรเิ วณปลายด้ามค้อน และในการตอกงานต้องใหช้ นิ้ งานสมั ผสั กับ หน้า
คอ้ นโดยตรง เพื่อให้ช้นิ งานได้รับน้ำหนกั ท่สี มำ่ เสมอ

3. การตอกให้ใช้เฉพาะด้านหนา้ หวั ค้อนตอกเท่านนั้ ห้ามใช้ดา้ นข้าง
4. ควรทำความสะอาดดา้ มค้อนและหวั ค้อนใหส้ ะอาด หลังจากใชค้ ้อน
5. ควรมที ีเ่ ก็บค้อน อาจจะใส่กลอ่ งเครอ่ื งมอื ตู้ หรอื แผงเครอ่ื งมือ

สาขาวิชา : ช่างไฟฟา้ กำลัง ใบความรู้
ชื่อวชิ า : การตดิ ต้ังไฟฟ้าในอาคาร
รหสั วชิ า : 20104-2005
งาน : เครื่องมือสำหรบั งานเดินสายไฟฟ้า

3.1.2 คีม

คีม (Plier) คือ ชื่อเครื่องมือชนิดหนึ่งมีสองขาคล้ายกรรไกร ใช้สำหรับคืบ จับ ตัด ดัด งอโค้งของ
ต่างมือ ทำด้วยเหล็กเหนียว (High Carbon Steel) หรือเหล็กผสม (Alloy Steel) คีมมีหน่วยนับเป็น “อัน
หรอื เล่ม” มีหลายชนิดหลายขนาด ลกั ษณะการใชง้ านต่างกันเพื่อสะดวกในการใช้งาน ดังน้ี

1. คีมรวม (Combination Plier) หรือเรียกว่า คีมช่างไฟฟ้า ใช้ในงานตัดสายไฟฟ้า ม้วนพัน
สายไฟฟา้ ตัดปลายตะปู จับช้ินงาน ลบคมท่อร้อยสายไฟ และไม่ควรใชแ้ ทนประแจหรือค้อน ดังรปู ที่ 3.2

รปู ท่ี 3.2 ตัวอยา่ งคีมรวม

2. คีมตดั ข้าง ดงั รปู ที่ 3.3 มลี ักษณะคล้ายคีมรวม ปากคมี มคี มใช้สำหรับตัดสายไฟฟ้าด้านข้าง ใช้จับ
ชิ้นงานได้ ไมค่ วรใช้แทนประแจ และไมค่ วรใชต้ ัดลวดสปรงิ

รปู ที่ 3.3 ตัวอยา่ งคีมตัดข้าง

3. คีมตัด (Combination Cutting Plier) หรือเรียกว่า คีมตัดเฉียง ดังรูปที่ 3.4 ปากด้าน ข้างมี
ลักษณะเป็นคมตัดและชุบแข็ง ใช้ตัดสายไฟฟ้าที่มีฉนวนหุ้มและไม่มีฉนวนหุ้ม ไม่ใช้แทนประแจ และไม่ ควร
ใช้ตัดลวดสปรงิ

รปู ที่ 3.4 ตัวอยา่ งคีมตดั

สาขาวชิ า : ช่างไฟฟา้ กำลัง ใบความรู้
ช่อื วชิ า : การติดตง้ั ไฟฟา้ ในอาคาร
รหสั วชิ า : 20104-2005
งาน : เครื่องมือสำหรับงานเดินสายไฟฟ้า

4. คีมปากยาว (Long Nose Plier) หรือเรียกว่า คีมปากแหลม ดังรูปท่ี 3.5 ปากมีลักษณะ เรียว
แหลม ใช้ตัดสายไฟฟ้าขนาดเล็กได้ เหมาะสำหรับงานในที่แคบ ใช้ในงานหยิบจับสิ่งของเล็ก ๆ หรือพับ แผ่น
โลหะบาง ๆ เล็ก ๆ ได้ ไมค่ วรใชแ้ ทนประแจ และไม่ควรใช้ตดั ลวดสปริง

3.5 ตัวอย่างคีมปากยาว
5. คีมมว้ นสาย (Round Nose Plier) ดังรูปที่ 3.6 ใชม้ ้วนทำหูสายไฟฟา้

รปู ที่ 3.6 ตัวอยา่ งคีมม้วนสาย
6. คีมปอกสาย (Wire Stripper Plier) ดังรูปที่ 3.7 ใช้ในงานปอกฉนวนของสายไฟฟ้า คีม ปอกสาย
มที ง้ั แบบก่ึงอัตโนมตั ิ แบบปอกสายธรรมดา และแบบใชก้ บั สายเคลือบน้ำยา

รปู ที่ 3.7 ตวั อยา่ งคีมปอกสาย
7. คีมย้ำหางปลา (Crimper) ดังรูปท่ี 3.8 เป็นคีมใช้งานย้ำหางปลาเข้ากับสายไฟฟ้า เพื่อต่อ เข้ากับ
หลกั ต่อสายไฟ มีรูปร่างหลายรูปแบบและหลายขนาด

รปู ท่ี 3.8 ตัวอย่างคีมย้ำหางปลา

สาขาวิชา : ชา่ งไฟฟา้ กำลงั ใบความรู้
ช่อื วิชา : การติดต้งั ไฟฟ้าในอาคาร
รหสั วิชา : 20104-2005
งาน : เครอ่ื งมือสำหรับงานเดินสายไฟฟ้า

8. คีมล็อก (Locking Plier) เป็นคีมที่ออกแบบใช้งานเฉพาะ มีรูปร่างหลายรูปแบบ ปลายด้าม มีสก
รูปรับ ใช้จับหรือบีบชิ้นงานที่แน่นมาก ๆ เช่น บีบท่อน้ำยาเครื่องปรับอากาศ ไม่ควรใช้แทนประแจ และไม่
ควรใช้แทนค้อน เป็นต้น ดงั รปู ที่ 3.9

รปู ท่ี 3.9 ตวั อยา่ งคีมล็อก

การใชง้ านและการบำรุงรักษาเครื่องมือประเภทคมี
1. ใช้คมี ให้ถกู ตอ้ งและเหมาะสมกับงาน
2. ก่อนใช้ตรวจฉนวนหุม้ ใหเ้ รียบรอ้ ย ถา้ ชํารดุ ห้ามใช้
3. ไมค่ วรใชค้ มี แทนค้อน
4. ไม่ควรใช้คีมขันสกรหู รอื เกลยี ว เพราะอาจทำใหป้ ากคีมเสียหาย
5. ควรทำความสะอาดคีมใหส้ ะอาด หลังจากใชแ้ ละควรหยอดน้ำมนั ท่จี ุดหมุนของดื่มเสมอ
6. ควรมีทีเ่ ก็บคม อาจจะใสก่ ล่องเคร่ืองมือ ตู้ หรือแผงเคร่ืองมือ

3.1.3 ไขควง
ไขควง (Screwdriver) คือ ชือ่ เหลก็ เคร่ืองมือมีดา้ ม ทางปลายแบนหรือเปน็ แฉก ๆ สําหรบั ไข ตะปู
ควง มีมากมายหลายรปู แบบให้เลือกใชต้ ามต้องการ มสี ่วนประกอบหลัก 3 ส่วน คอื ดา้ มไขควง ใช้สาํ หรับ จับ
ทาํ จากไม้ โลหะ หรอื พลาสตกิ ก้านไขควง ทําจากโลหะ มีลกั ษณะเปน็ เหลย่ี มหรอื กลม ใชส้ าํ หรับสง่ แรงบิด
ไปยงั ส่วนปลาย และปลายไขควง ใชส้ อดหรือสวมเขา้ ไปยงั ร่องของหวั สกรูหรอื สลักเกลียวทาํ จากโลหะ ไขควง
มี หน่วยนบั เป็น “อัน เล่ม หรือด้าม” ทใ่ี นงานติดต้ังไฟฟ้า ดังนี้
1. ไขควงปลายแฉก (Philips Head Screwdriver) เป็นไขควงมลี กั ษณะปากเป็นสีแ่ ฉก (Philip) การ
นาํ ไปใชง้ านเลอื กใชป้ ากของไขควงให้เหมาะสมกบั รอ่ งของหัวสกรู หรือสลักเกลยี ว ความหนาของ ปลายไข
ควงต้องพอดกี บั ร่องของหัวสกรู ซ่ึงปากสแ่ี ฉก ร่องของหัวสกรูต้องเป็นสี่แฉก ดงั รูปท่ี 3.10

รูปท่ี 3.10 ตัวอยา่ งไขควงปลายแฉก

สาขาวชิ า : ช่างไฟฟา้ กำลัง ใบความรู้
ชื่อวชิ า : การติดตงั้ ไฟฟา้ ในอาคาร
รหสั วชิ า : 20104-2005
งาน : เคร่ืองมือสำหรบั งานเดินสายไฟฟา้

รูปที่ 3.10 ตัวอยา่ งไขควงปลายแฉก (ตอ่ )
2. ไขควงปลายแบน (Flat Head Screwdriver) ดงั รูปที่ 3.11 เป็นไขควงมลี กั ษณะปาก แบน (Flat)
การนําไปใช้งานเลือกใช้ปากของไขควงใหเ้ หมาะสมกบั ร่องของหัวสกรู หรือสลักเกลียว ความหนา ของปลาย
ไขควงต้องพอดีกบั ร่องของหัวสกรู

รปู ท่ี 3.11 ตัวอยา่ งไขควงปลาแบน
3. ไขควงอื่น ๆ เช่น ไขควงวัดไฟ ใช้ตรวจวัดกระแสไฟฟ้ารั่ว และไขควงหกเหลี่ยม ใช้ขันสกรูหก
เหลี่ยม เปน็ ตน้ เปน็ ไขควงทีใ่ ช้งานเฉพาะอยา่ ง ดังรปู ที่ 3.12-3.13

รปู ท่ี 3.12 ตัวอย่างไขควงวัดไฟ

รูปที่ 3.13 ตัวอย่างไขควงหกเหลี่ยม

สาขาวชิ า : ช่างไฟฟ้ากำลัง ใบความรู้
ชื่อวิชา : การตดิ ต้ังไฟฟา้ ในอาคาร
รหัสวชิ า : 20104-2005
งาน : เครื่องมือสำหรับงานเดินสายไฟฟ้า

การใช้งานและการบำรุงรักษาไขควง
1. เลอื กใชป้ ลายของไขควงให้เหมาะสมกับร่องของหวั สกรู หรือสลกั เกลยี ว เช่น ปากส่แี ฉก ร่อง ของ
หวั สกรตู อ้ งเป็นส่แี ฉก ถ้าปลายแบน ร่องของหวั สกรูต้องเป็นแบบแบน
2. ความหนาของปลายไขควงตอ้ งพอดกี ับร่องของหัวสกรู
3. การจับไขควงสำหรับผู้ถนัดมือขวา ให้ใช้มือขวาจับด้าม ส่วนมือซ้ายจับที่แกน แล้วออก แรงบิด
ด้วยมือขวา สว่ นมือซา้ ยเพียงแตป่ ระคอง
4. ขณะทใ่ี ช้งานไขควงตอ้ งต้ังตรง หรือตัง้ ฉากกับหวั สกรู เมื่อตอ้ งการคลายสกรใู หบ้ ิดไขควง ทวนเข็ม
นาฬกิ าและบิดตามเข็มนาฬิกาเมื่อต้องการขันแนน่ ออกแรงบดิ ไขควงเท่านั้น ไม่ควรออกแรงกดมากเกนิ ไป
5. ไม่ควรถอื ชิ้นงานไว้ในมอื ขณะใชไ้ ขควง เพราะอาจพลาดถกู มือได้
6. อย่าใช้ไขควงท่ชี ํารดุ เชน่ ด้ามแตกหรือร้าว ปากงอหรอื บิดงอ เป็นต้น
7. การขนั สกรูยดึ ชนิ้ งานท่เี ป็นไมค้ วรใช้เหลก็ ตอกหรอื สว่านเจาะนาํ ก่อน
8. ปลายไขควงและหัวสกรูตอ้ งไมม่ ีน้ำมันหรอื จาระบี
9. ห้ามใชไ้ ขควงแทนสวิ สกดั เหลก็ นาํ ศูนย์ เหลก็ งดั หรอื ใชด้ า้ มไขควงแทนค้อน
10. ห้ามใช้ค้อนตอกท่ดี า้ มไขควง ยกเวน้ ไขควงทอี่ อกแบบมาใหใ้ ชค้ ้อนตอกได้
11. การใช้ไขควงวัดไฟตรวจสอบวงจรไฟฟ้า ด้ามของไขควงที่เป็นฉนวนต้องไม่แตกหรือร้าว และไม่
ควรใช้ตรวจสอบวงจรที่มีกระแสและแรงดนั ไฟฟา้ สูง
12. ภายหลงั ใชง้ านต้องทำความสะอาดแลว้ เก็บไวใ้ นทแี่ ห้ง กลอ่ งเครอ่ื งมือ ตู้ หรอื แผงเครอื่ งมอื

3.1.4 มดี ปอกสาย
มีดปอกสาย (Knife) ดังรูปท่ี 3.14 ใช้สำหรับปอก ตัด พูดทำความสะอาดสายไฟฟ้า มีให้เลือกใช้
หลากหลายรปู แบบตามการใช้งาน มดี ปอกสายมหี น่วยนับเป็น “เล่ม”

รูปท่ี 3.14 ตัวอยา่ งมีดปอกสาย

สาขาวชิ า : ชา่ งไฟฟา้ กำลงั ใบความรู้
ช่อื วชิ า : การตดิ ตงั้ ไฟฟ้าในอาคาร
รหสั วิชา : 20104-2005
งาน : เครอื่ งมือสำหรับงานเดินสายไฟฟ้า

การใชแ้ ละการบำรุงรักษามีดปอกสาย
1. การปอกสายไฟควรตะแคงมีดทำมุม 45 องศากับสายไฟฟ้า ลักษณะเดียวกบั การเหลาดนิ สอ อย่า
กดใบมีดลึกจนเกนิ ไป เพราะใบมีอาจตัดถกู ลวดทองแดงภายในขาด หรอื ชาํ รดุ เสียหายได้
2. ทำความสะอาดหลงั เลิกใชแ้ ละจัดเก็บมดี ปอกสายในกลอ่ งเคร่ืองมือ ตู้ หรือแผงเครือ่ งมอื

3.1.5 ตลับเมตร

ตลับเมตร (Steel Tape Rule) คอื เคร่ืองมือสำหรบั ใชว้ ัดระยะ มีเทปวัดเกบ็ ในตลับมดิ ชดิ เทปวดั
ทำด้วยเหล็กบางเคลือบสี ปลายของเทปวัดมขี อเก่ียวเลก็ ๆ ติดอยู่และมว้ นเก็บไวใ้ นตลับ ดังรูปท่ี 3.15 เมื่อ
ใช้จะดึงออกมาวดั ได้ ซึ่งมคี วามยาวหลายขนาด มีหนว่ ยวัดเปน็ เซนติเมตร และเปน็ เมตร

รูปที่ 3.15 ตัวอยา่ งตลบั เมตร

การใช้และการบำรุงรกั ษาตลบั เมตร
1. มือหนึง่ จับปลายเทปวดั แล้วดึงออกจากตลับ ใช้ขอปลายเทปเก่ียวจุดวัดให้ตรงและได้ฉาก และไม่
ควรดึงออกมาวัดจนสดุ
2. ทำเคร่ืองหมายตามระยะทต่ี อ้ งการ
3. เมื่อปล่อยแถบเทปวัดกลับ ควรใช้มือจับช่วยผ่อนแรงไม่ให้เทปวัดม้วนเข้าตลับเร็วเกินไป ถ้า
ปล่อยให้กลับเรว็ เกินไปปลายขอเกี่ยวจะไปกระทบกับตัวตลับซึ่งจะทำให้ขอเกี่ยวหลุดคลาดเคลื่อนอาจชํารุด
เสยี หาย และอาจทำให้เทปวดั ตดิ ขดั เสียหายได้
4. หลีกเลี่ยงการใช้ของแข็งหรือของมีคม ขูดลงบนหน่วยการวัดซึ่งทำให้หนว่ ยการวัดไม่ชัดเจน เกิด
การวดั ท่ีผดิ พลาดได้
5. ทำความสะอาดหลังเลิกใช้และจัดเกบ็ ตลบั เมตรในกล่องเครอ่ื งมือ ตู้ หรือแผงเครอ่ื งมอื
3.1.6 ระดับน้ำ

ระดับนำ้ (Torpedo Level) คอื เคร่ืองมือท่ีใชว้ ดั ระดับความเอียงของพน้ื ทำมาจากอะลมู เิ นียม
มีหลากหลายขนาด ประกอบดว้ ยชอ่ งวงกลม 3 ชอ่ ง ภายในช่องวงกลมมีหลอดแก้วใส ๆ มีเส้น 2 เสน้ ดังรปู ที่
3.16 เพื่อใช้วดั จุดกงึ่ กลาง ภายในหลอดแกว้ มีของเหลวไม่เต็มอยู่ ทำให้เกิดฟองอากาศขนาดเทา่ เมล็ดถ่ัว ท่ใี ช้

สาขาวิชา : ชา่ งไฟฟา้ กำลัง ใบความรู้
ชอ่ื วชิ า : การติดต้งั ไฟฟ้าในอาคาร
รหสั วิชา : 20104-2005
งาน : เครอ่ื งมือสำหรบั งานเดินสายไฟฟา้

งานโดยทั่วไปมีความยาวประมาณ 60 เซนติเมตร และมีความหนาประมาณ 5 เซนติเมตร ใช้ในการทาบกับ
แนวราบและแนวด่งิ เพือ่ วัดความเอียงของพื้น

รปู ท่ี 3.16 ตัวอยา่ งระดับน้ำ
การใชแ้ ละบำรงุ รักษาระดับน้ำ
1. ระดับน้ำ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวัดความลาดเอียงของพื้นท่ี โดยสามารถวัดระดับได้ทั้งใน
แนวราบ และแนวด่ิง
2.เมื่อต้องการวัดความลาดเอียงของพื้นที่ให้นําระดับน้ำวางลงบนพื้นที่ที่ต้องการตรวจสอบและ
สังเกตท่ฟี องอากาศภายในหลอดแกว้ ถ้าหากพืน้ ที่นั้นไม่มีความลาดเอยี ง ฟองอากาศจะอยตู่ รงกลาง ระหว่าง
เสน้ 2 เส้นบนหลอดแก้ว
3. ทดลองหมุนระดับน้ำ 90 องศาบนพื้นที่ตรวจสอบ แล้วสังเกตฟองอากาศภายในหลอดแก้ว ต้อง
อยู่ตรงจุดก่งึ กลางตลอด จงึ จะแนใ่ จได้วา่ พืน้ ทที่ ต่ี รวจสอบอยูน่ ้ันไมม่ ีความเอยี งจรงิ ๆ
4. ทำความสะอาดหลงั เลิกใชแ้ ละจัดเก็บระดับน้ำในกล่องเครื่องมือ ตู้ หรอื แผงเครื่องมือ

3.1.7 เหล็กนําศนู ย์
เหล็กนําศูนย์ (Center Punch) คือ เครื่องมือที่ใช้ในการตอกนําบนคอนกรีต บนแผ่นเหล็กหรือ บน
แผ่นไม้ ดังรูปที่ 3.17 ทำด้วยเหล็กกล้าชุบแข็งหรือโลหะผสม ที่มีความสามารถตอกบนโลหะให้เป็นจุดได้ใน
การเดนิ สายไฟฟา้ บนผนังคอนกรีตจะใช้เหล็กนาํ ศูนย์ตอกคอนกรีตใหเ้ ปน็ รูเล็ก ๆ สำหรับเปน็ รตู ะปู จะช่วยให้
ตอกตะปูยึดเข็มขัดรัดสายได้ง่ายขึ้น (ในทางปฏิบัติอาจใช้ตะปูตอกคอนกรีตเจียรปลายให้เล็กและแหลมแทน
การใชเ้ หลก็ นาํ ศนู ยไ์ ด)้ เหล็กนาํ ศนู ยม์ ีหน่วยนับเปน็ “ตัวหรือดอก”

รปู ท่ี 3.17 ตวั อยา่ งเหล็กนำศนู ย์

สาขาวิชา : ช่างไฟฟา้ กำลัง ใบความรู้
ชอื่ วชิ า : การตดิ ตั้งไฟฟ้าในอาคาร
รหัสวิชา : 20104-2005
งาน : เครือ่ งมือสำหรับงานเดินสายไฟฟา้

การใชแ้ ละการบำรุงรักษาเหล็กนําศูนย์
1. ตอ้ งให้ปลายของเหลก็ นําศูนย์แหลมอย่เู สมอ
2. ก่อนตอกจะตอ้ งถือเหลก็ นําศูนย์ใหท้ ำมุม 45 องศากบั ชิ้นงาน
3. คอ่ ย ๆ ตงั้ ให้เหลก็ นาํ ศูนย์ ตง้ั ตรงได้ฉากกับงานและตอกเบา ๆ พอเหน็ เปน็ รอย
4. ตรวจตำแหน่งท่ตี อกครงั้ แรกว่าตรงตามตำแหนง่ หรือไม่ ถา้ ถกู ต้องก็ตอกซ้ำรอยเดมิ โดยแรง
5. ทำความสะอาดหลงั เลกิ ใชแ้ ละจัดเก็บเหล็กนาํ ศนู ยใ์ นกล่องเคร่ืองมือ ตู้ หรอื แผงเครื่องมือ

3.1.8 เหล็กสง่
เหล็กส่ง (Drift Punch) คือ เครื่องมือมีลักษณะเป็นเหล็กแท่งเล็ก ๆ สั้น ๆ ปลายข้างหนึ่งแหลม
มนคล้ายกันแมลงสาบ ดังรูปท่ี 3.18 ใช้กดลงที่หัวตะปูแล้วตอกปลายอีกข้างหนึ่งให้หัวตะปูจมลงในเนื้อไม้
ยาว ประมาณ 7-10 เซนตเิ มตร

รูปที่ 3.18 ตัวอยา่ งเหล็กส่ง

การใชแ้ ละการบำรุงรกั ษาเหล็กส่ง

1. เหล็กส่งใช้ตอกเข็มขัดรดั สายชิดมมุ ผนงั โดยนาํ เขม็ ขดั รัดสายร้อยตะปเู รียบร้อยแล้ว งอหมุ้ ปลาย
ดา้ นหนึง่ ของเหลก็ ส่งไว้ ส่วนอกี ปลายหนงึ่ ใชค้ ้อนตอกลงไป

2. ทำความสะอาดหลงั เลกิ ใช้และจดั เก็บเหลก็ ส่งในกล่องเคร่ืองมอื ตู้ หรือแผงเครอ่ื งมือ
3.1.9 สกดั
สกัด (Chisel) เครื่องมือสำหรับตัดหรือเฉือนซึ่งต้องนำมาใช้ร่วมกันกับค้อน ดังรูปที่ 3.19 ปกติ
นยิ มใชต้ ัดเศษโลหะส่วนเกินบนผิวโลหะ ตดั แผ่นโลหะและใชเ้ ซาะร่อง ตัดผนงั คอนกรตี เพอื่ ฝงั กลอ่ งสวิตช์หรือ
กลอ่ งเต้ารบั ทำมาจากเหล็กกล้าช้ันดี มคี วามแขง็ แรงและเหนียวมากกวา่ เหลก็ ทว่ั ๆ ไป มขี นาดยาวประมาณ
10.16-20.32 เซนติเมตร (4-8 นิ้ว) ลําตัวจะทำเป็นรูปหกเหลี่ยม ส่วนหัวเป็นรูปทรงกลมแบน ส่วนปลายใช้
เปน็ คมตดั จะมหี ลายแบบ เช่น ปลายแบน ปลายแหลม และปลายมน ตามการใชง้ านท่ีแตกตา่ งกัน

สาขาวิชา : ช่างไฟฟ้ากำลัง ใบความรู้
ชอ่ื วิชา : การตดิ ตั้งไฟฟ้าในอาคาร
รหสั วชิ า : 20104-2005
งาน : เครื่องมือสำหรับงานเดินสายไฟฟ้า

รปู ที่ 3.19 ตัวอย่างสกัด
การใชแ้ ละการบำรุงรกั ษาสกดั
1. สกดั ท่ีหวั บานมีลักษณะคลา้ ยกับดอกเหด็ ควรตกแต่งใหเ้ รยี บรอ้ ยกอ่ นการใช้งาน เพ่ือป้องกัน การ
ล่นื ไถลเวลาใช้คอ้ นตี
2. จบั สกัดให้แข็งแรง อย่าใหแ้ น่นจนเกนิ ไป
3. เอียงสกดั ดว้ ยมมุ ตา่ ง ๆ กันให้มคี วามเหมาะสม โดยเริม่ ตน้ ควรทำมมุ กบั ชิ้นงานให้มาก จากน้ัน จงึ
ลดมุมลง แตอ่ ย่าให้น้อยเกนิ ไปเพราะอาจเกดิ การไถลได้
4. เวลาใช้ในการตัดให้ดูที่ปากสกัด อย่าดูที่หัวของสกัด 5. ตอกหัวสกัดด้วยค้อน ซึ่งใช้แรงที่เท่ากัน
โดยจับค้อนตรงบริเวณปลายด้าม
6. ควรเรมิ่ สกัดจากขอบชิ้นงานจนเขา้ มาบริเวณกลาง ๆ และป้องกนั เศษวสั ดุกระเด็นเขา้ ตา
7. ทำความสะอาดหลังเลิกใช้และจัดเก็บสกัดในกล่องเคร่ืองมือ ตู้ หรือแผงเครือ่ งมือ

3.1.10 สว่ิ
สิ่ว คือ เครื่องมือที่ใช้ตัดไม้ หิน หรือโลหะ ให้เป็นรูปร่างต่าง ๆ โดยอาศัยการตอก ให้ส่วนคมท่ี
ปลายศิวกินเข้าไปในเน้ือวัตถุ เพือ่ ให้สว่ นท่ีไม่ต้องการหลดุ แตกออกมา จนเหลอื เปน็ รูปรา่ งที่ต้องการ ดังรูปที่
3.20 มีส่วนประกอบหลัก ๆ คือตัวสิวที่เป็นโลหะ ส่วนปลายจะแบนคมคล้ายลิ่ม และมีด้ามจับที่เป็นไม้ มี
รปู ร่าง หลายแบบ เชน่ สิวปากบาง ส่วิ ปากหนา ใช้รว่ มกบั คอ้ น ใชข้ ดุ เซาะรอ่ งแผงควบคุมไฟฟา้ ตกแต่งไม้ใน
การเขา้ เดอื ย ตดิ บานพับล้นิ ชกั ตู้หรือโตะ๊ สวิ่ มีหน่วยนบั เปน็ “อัน ปาก หรือเล่ม”

รูปท่ี 3.20 ตัวอย่างสิ้ว

สาขาวชิ า : ชา่ งไฟฟ้ากำลงั ใบความรู้
ช่อื วิชา : การติดต้ังไฟฟ้าในอาคาร
รหสั วิชา : 20104-2005
งาน : เครื่องมือสำหรับงานเดินสายไฟฟ้า

การใช้และการบำรงุ รักษาส่ิว
1. เลือกสิ่วท่ใี ช้ให้มขี นาดตามความเหมาะสมสำหรบั การใช้งานและส่วิ ตอ้ งมีความคมอยเู่ สมอ
2. กอ่ นใชส้ วิ่ ควรตรวจสอบใหแ้ นใ่ จกอ่ นว่า ไมม่ นี อต ตะปู สกรหู รอื ส่งิ อน่ื กอ่ นการใช้สวิ่
3. เลือกใช้สว่ิ ทีม่ ีดา้ มเปน็ เหลยี่ มเรียบ ไมม่ เี สย้ี นและยดึ ติดแนน่ กบั แกนของสิ่ว
4. ไมค่ วรใช้ค้อนเหลก็ หรอื ใช้มอื ทบุ จว๋ิ ในการสกดั ควรใช้คอ้ นไม้หรอื คอ้ นพลาสตกิ แทน
5. ใหเ้ ศษของชนิ้ งานจําพวกเศษไมก้ ระเด็นออกจากตัวขณะสกัด
6. เม่ือสว่ิ มกี ารชํารดุ หรอื หัก งอ บิน ควรเปล่ยี นทนั ที
7. อย่าใชส้ วิ่ ในการงดั หรอื ตอก และอยา่ เจยี รจ๋ิวเพ่ือปรับแตง่ ให้เปลี่ยนมาใชห้ ินลับแทน
8. ทำความสะอาดหลงั เลกิ ใช้ เก็บปลายส่ิวดว้ ยปลอกพลาสติก หรอื เกบ็ สวิ โดยการม้วนใส่กับ ผ้าและ
จดั เกบ็ สิว่ ในกลอ่ งเคร่อื งมือ ตู้ หรือแผงเครื่องมอื

3.1.11 บดิ หล่า
บิดหล่า คือ เครื่องมือสำหรับเจาะไม้ชนิดหนึ่ง ใช้มือดึงเชือกบิดเป็นเกลียว ปลายมีคม คล้าย สว่าน
ดงั รปู ที่ 3.21 ในงานตดิ ตั้งไฟฟ้าจะใช้เจาะรแู ผงไมเ้ พอ่ื ช่วยติดตั้งอุปกรณไ์ ฟฟา้ เชน่ คัตเอาต์ เปน็ ตน้

รูปท่ี 3.21 ตัวอยา่ งบิดหลา่

3.1.12 ปกั เตา้
ปกั เต้า คือ เครื่องมือท่ีใชต้ ีแนวเส้น กอ่ นตอกตะปยู ึดเข็มขัดรดั สาย ดังรปู ท่ี 3.22 ช่วยให้ได้ แนวสาย
ทต่ี รงสวยงาม ภายในปักเต้าจะประกอบด้วยเส้นดา้ ยและสีฝุ่น

รปู ท่ี 3.22 ตัวอยา่ งปักเต้าและสีฝ่นุ ทใี่ ช้เติม

สาขาวชิ า : ช่างไฟฟ้ากำลัง ใบความรู้
ชอ่ื วชิ า : การติดตงั้ ไฟฟ้าในอาคาร
รหสั วชิ า : 20104-2005
งาน : เคร่อื งมือสำหรบั งานเดินสายไฟฟ้า

การใชแ้ ละการบํารงุ รักษาปักเตา้
1. หาตำแหน่งของปลายเสน้ ทต่ี ้องการตเี สน้ แล้วเก่ยี วตะขอตรงตำแหน่งนัน้ หรอื ใช้เหลก็ ตอกลงไป
จึงเกี่ยวตะขอ ดึงเชือกท่ีปลายของเสน้ ทีจ่ ะตแี ละคลายขดเชอื กออก ดึงเชือกให้ตึงอีกคร้ังดว้ ยมอื อีก ข้างหน่ึง
แลว้ ใช้น้วิ สองนว้ิ เก่ียวเสน้ เชือกให้ลอยเหนือพ้ืน แล้วปล่อยใหเ้ ชอื่ กดดี ตัวลงไปยังผนงั จากนั้นปลด ตะขอแล้ว
จงึ ม้วนเชือกกลบั ก็จะเหน็ แนวเสน้ ตามตอ้ งการ
2. ทำความสะอาดหลังเลกิ ใชแ้ ละจดั เกบ็ ปักเตา้ ในกล่องเคร่ืองมือ ตู้ หรือแผงเคร่ืองมอื

3.1.13 เลือ่ ย
เลอื่ ย (Saw) คอื เครือ่ งมือสำหรบั ตัด ใบเลื่อยทำด้วยเหลก็ กลา้ ด้านท่ใี ชเ้ ลือ่ ยมคี มเปน็ ฟันจัก มหี ลาย
ชนิด เช่น เลื่อยลันดา เลื่อยตัดเหล็ก เลื่อยพับ เลื่อยหางหนู เลื่อยหางหมู เลื่อยฉลุ และเลื่อยไฟฟ้าใบ แคบ
(เลือ่ ยฉลไุ ฟฟา้ ) เปน็ ต้น ท่ใี ช้ทัว่ ไปและใช้ในงานติดต้ังไฟฟ้า ดังน้ี
1. เลื่อนลันดา (Hand Saw) เป็นเครื่องมือช่างพื้นฐานของงานช่างไม้ เลือกใช้ตามขนาด หน้าตัด
ของไม้ ดังรปู ท่ี 3.23 แบ่งตามลักษณะของฟนั ได้ 3 ชนดิ คือ ชนิดฟันตัด มฟี นั ท่ีคอ่ นข้างถ่ี ใชต้ ดั ขวาง เน้ือไม้
เพื่อให้รอยตัดที่เรียบ ชนิดฟันหยาบ มีฟันที่หยาบ ตัดได้เร็ว ใช้ตัดตามแนวยาวของเนื้อไม้ แล ะชนิดฟัน
อเนกประสงค์ มีฟนั ถพี อสมควร ใชง้ านทัง้ ตัดขวางและตัดตามแนวยาว เล่ือยลนั ดามีหนว่ ยนับเป็น “ขึ้น”

รูปที่ 3.23 ตัวอย่างเลอ่ื ยลันดา
2. เลื่อยตัดเหล็ก (Hack Saw) ใช้ตัดเหล็กและโลหะอื่น ๆ เช่น อะลูมิเนียม เป็นต้น ดังรูปที่ 3.24
หากนาํ ไปใช้เล่อื ยไม้จะเล่ือยได้ช้าเพราะฟันเลื่อยจะไมล่ ึก ตวั โครงของเลือ่ ยตดั เหล็กจะทำมากจากเหล็ก แต่มี
น้ำหนักเบา มีแบบความยาวที่มาตรฐาน และแบบปรับความยาวได้ตามขนาดของใบเลื่อย เมื่อเปลี่ยนใบ
เลือ่ ยต้องหันปลายฟันเล่ือยซื้ออกนอกตัวผู้เลื่อยเสมอ เล่ือยตดั เหลก็ มีหนว่ ยนับเปน็ “คนั ”

รูปที่ 3.24 ตัวอยา่ งเลือ่ ยตัดเหลก็

สาขาวชิ า : ชา่ งไฟฟา้ กำลงั ใบความรู้
ชือ่ วชิ า : การติดตงั้ ไฟฟ้าในอาคาร
รหัสวชิ า : 20104-2005
งาน : เครื่องมือสำหรับงานเดินสายไฟฟา้

3. เลื่อยลอ หรือเรียกว่า เลื่อยบังตอ เป็นเครื่องมือสำหรับตัดไม้ใบเลื่อยมีลักษณะเป็นปืน
รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ปลายข้างหนึ่งมีด้ามสำหรับจับ ดังรูปที่ 3.25 มีให้เลือกใช้หลายขนาด ใช้ปรับงานประณตี
เช่น ผ่าเดือย เข้ามุมไม้ เข้าหน้าไม้ ทำเครื่องเรือน ตัดร่องสำหรับสายไฟของแผงควบคมุ ไฟฟ้า เป็นต้น เลื่อย
ลอ มีหน่วยนบั เปน็ “อนั ”

รูปท่ี 3.25 ตัวอย่างเล่ือยลอ
การใช้และการบำรุงรกั ษาเครอ่ื งมือประเภทเลือ่ ย
1. ใช้ฉาก มาทำการวดั แนวท่ีจะตัดหรือเลอ่ื ยไม้ แลว้ ใช้ดินสอขีดเสน้ ลงบนเนื้อไม้
2. วางเลื่อยให้รอยเลื่อยอยู่ชิดริมเส้นดินสอ เมื่อไม้ขาดแล้วเหลือเส้นดินสอไว้ส่วนหนึ่ง อย่าตัดโดย
วางเลอ่ื ยทบั เส้นดินสอ เพราะจะทำใหไ้ มส้ ั้นกวา่ ขนาดทีว่ ัดไว้
3. จับเล่ือยให้มน่ั อยา่ ให้เลื่อยโคลงไปโคลงมาระหวา่ งดงึ เล่อื ยและดันเลื่อย
4. อยา่ กดเล่อื ยระหวา่ งทำการเล่อื ย และปล่อยให้น้ำหนกั เลือ่ ยถ่ายลงบนคลองเล่อื ยเท่านั้น
5. ทำความสะอาดหลังเลกิ ใชแ้ ละจัดเกบ็ เล่อื ยในกลอ่ งเคร่อื งมือ ตู้ หรอื แผงเคร่อื งมือ
4. เลื่อยไฟฟ้าใบแคบ (The Portable Electric Jig Saw) หรือเรียกว่า เลื่อยฉลุไฟฟ้า ใช้ ในการตัด
พลาสตกิ ไม้ โลหะ และวัสดุอ่ืน ๆ เล่อื ยไฟฟา้ ใบแคบมหี น่วยนบั เป็น “ตวั หรอื เคร่ือง” ดังรปู ที่ 3.26

รปู ที่ 3.26 ตัวอย่างเล่อื ยไฟฟา้ ใบแคบ (เลอ่ื ยฉลุไฟฟ้า)
การใชแ้ ละการบำรงุ รกั ษาเลื่อยไฟฟ้าใบแคบ
1. การใช้เลื่อยไฟฟ้าใบแคบ ให้ใช้ตามคู่มือของแต่ละยี่ห้อ และคำนึงถึงความปลอดภัย ในการใช้
เนื่องจากเปน็ เครื่องมือที่ใชไ้ ฟฟ้า ทำใหต้ อ้ งระมดั ระวังกว่าเครอ่ื งมอื ที่ไม่ใช้ไฟฟา้ อน่ื
2. ทำความสะอาดหลงั เลกิ ใชแ้ ละจดั เกบ็ ในตูเ้ ครอ่ื งมือ

สาขาวิชา : ช่างไฟฟา้ กำลัง ใบความรู้
ชอื่ วิชา : การติดตง้ั ไฟฟ้าในอาคาร
รหสั วชิ า : 20104-2005
งาน : เครอ่ื งมือสำหรับงานเดินสายไฟฟา้

3.114 สว่านไฟฟ้า
สว่านไฟฟ้า (Electric Dr) คือ เครื่องมือใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ใช้สำหรับเจาะรูบนไม้ เหล็ก และผนัง
คอนกรีตเป็นเครื่องมือที่นิยมใช้ในงานไม้และงานโลหะ ขนาดของสว่านไฟฟ้าจะเรียกตามขนาดของ หัวจับ
ดอกสว่าน เช่น ขนาด 13 มม. (4 หุน) และ 19 มม. (6 หุน) เป็นต้น ดังรูปที่ 3.27-3.28 ประกอบด้วย ส่วน
สำคัญคือ ดอกสว่านที่หมุนได้ โดยดอกสว่านยึดอยู่กับหัวจับของสว่าน และถูกกดลงไปบนวัสดุที่ต้องการ
จากนน้ั จึงถกู ทำใหห้ มนุ ปลายดอกสวา่ นจะทำงานตดั เจาะวัสดแุ ละกําจดั เศษวสั ดรุ ะหว่างการเจาะ

รูปที่ 3.27 ตัวอยา่ งสว่านไฟฟ้า
ก) ดอกสวา่ นเจาะเหลก็ /ไม้
ข) ดอกสวา่ นเจาะไม้
ค) ดอกสวา่ นเจาะปนู
ง) ดอกสวา่ นเจาะปนู (แบบโรตารี)
จ) ดอกสว่านเจาะรูไม้ (Hole Saw)

รูปท่ี 3.28 ตัวอย่างดอกสวา่ น

สาขาวิชา : ช่างไฟฟ้ากำลงั ใบความรู้
ชื่อวชิ า : การตดิ ตัง้ ไฟฟา้ ในอาคาร
รหัสวชิ า : 20104-2005
งาน : เคร่อื งมือสำหรับงานเดินสายไฟฟ้า

การใชแ้ ละการบาํ รุงรกั ษาสว่านไฟฟา้
1. การใช้สว่านไฟฟ้า ให้ใช้ตามคู่มือของแต่ละยี่ห้อ และคำนึงถึงความปลอดภัยในการใช้ เนื่องจาก
เป็นเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชไ้ ฟฟ้า เชน่ ใช้เจาะเหล็ก เจาะไม้ และเจาะผนังคอนกรีต เป็นต้น
2. ทำความสะอาดหลงั เลกิ ใช้และจัดเก็บในตเู้ ครื่องมือ

3.1.15 บันไดอะลูมิเนียม
บันไดอะลูมิเนียม ดังรูปที่ 3.29 ทำจากอะลูมิเนียม น้ำหนักเบา เคลื่อนย้ายสะดวก ใช้ยืน ติดต้ัง
ไฟฟ้าในที่สูงกว่ายนื ปกติเพื่อสะดวกใน การทำงาน มีหลายแบบให้เลือกใช้ เช่น บันไดทรงเอทางเดียว บันได
พาด และบันไดพืน้ ยนื พร้อมถาดวางเครือ่ งมือ เป็นตน้ หนว่ ยวัดความสูงเรยี กเป็นเมตรและฟตุ

รูปที่ 3.29 ตัวอย่างบนั ไดอะลูมเิ นยี ม แบบทรงเอทางเดียว

8.2 เคร่ืองมอื สำหรับงานเดินสายไฟฟ้าด้วยทอ่ ร้อยสาย
เครื่องมือสำหรับงานเดินสายไฟฟ้าด้วยท่อร้อยสาย งานติดตั้งทางไฟฟ้าอื่น ๆ และงานซ่อม เป็น
เคร่ืองมือพน้ื ฐานสำหรับชา่ งติดตงั้ ไฟฟา้ และบุคคลทัว่ ไป เชน่ ลวดร้อยสายไฟและเครือ่ งมอื ดดั ท่อ เป็นตน้

3.2.1 ลวดรอ้ ยสายไฟ
ลวดร้อยสายไฟ (Fish Tape) คอื เครือ่ งมอื ในการดงึ สายไฟฟ้าในท่อรอ้ ยสาย มหี ลายชนดิ เช่น แบบ
หุ้ม แบบเปลือย และแบบมีวงล้อ หรือถ้าไม่มีอาจจะใช้ตัวนําดึงสายไฟ (Cable Pulling) ลวดร้อยสายไฟมี
ขนาดยาวให้เลอื กหลายขนาด เช่น 15, 30, 45 และ 60 เมตร เป็นต้น ดังรูปที่ 3.30 การใช้โดยการสอดลวด
โลหะเข้าท่อให้ปลายโผล่อีกด้านหนึ่งของท่อแล้วมัดสายที่ต้องการเข้ากับปลายฟิชเทปแล้วออกแรงดึงอย่าง
สม่ำเสมอใหส้ ายร้อยเข้าในทอ่ ระวงั ไมใ่ ห้สายขดู กับทอ่ จนฉนวนเสียหาย

สาขาวชิ า : ช่างไฟฟ้ากำลัง ใบความรู้
ชอื่ วิชา : การติดต้งั ไฟฟ้าในอาคาร
รหสั วชิ า : 20104-2005
งาน : เครือ่ งมือสำหรบั งานเดินสายไฟฟ้า

รูปท่ี 3.30 ตัวอยา่ งฟชิ เทป
การใชแ้ ละการบาํ รงุ รักษาลวดรอ้ ยสายไฟฟ้า
1. ใชต้ ามค่มู ือของผ้ผู ลติ ใชด้ งึ สายไฟฟ้าในทอ่ ร้อยสายหลงั จากเดินระบบท่อเสรจ็ แล้ว
2. ทำความสะอาดหลงั ใช้ จัดเก็บเขา้ ตลับหุ้มหรือม้วนให้เรยี บรอ้ ยและจัดเกบ็ ในกลอ่ งเคร่ืองมือ
3.2.2 เคร่ืองมือดดั ท่อ
เครือ่ งมือดัดท่อ (Bender) คือ เคร่ืองมือใชส้ าํ หรบั ดดั ท่อโลหะบางและดัดท่อโลหะหนา
1. เคร่ืองมือดดั ท่อโลหะบาง (EMT Bender) ดงั รูปที่ 3.31 ใชส้ ำหรับดดั ท่อโลหะบาง (Electrical
Metallic Tubing: EMT) เชน่ ดัดคอม้าเข้ากล่องต่าง ๆ และดดั ท่อโคง้ 90 องศา เป็นต้น เบนเดอร์ ทีใ่ ช้กัน
ท่วั ไปมีขนาดประมาณต้ังแต่ -1 นว้ิ แต่ละขนาดจะบอกระยะ Take up ไว้ ซ่ึงขึ้นอยู่กบั ขนาดของ เบนเดอร์
เช่น ขนาด 5 นว้ิ ระยะ Take up = 5 นว้ิ เป็นตน้ นอกจากน้ียังกำหนดลูกศรไว้ 2 จดุ คอื จุด A และ จดุ B
เพ่อื ใชเ้ ป็นจุดอา้ งอิงในการดดั ท่อ

รูปที่ 3.31 ตัวอยา่ งเบนเดอร์สาํ หรับดดั ท่อ EMT

สาขาวชิ า : ช่างไฟฟ้ากำลงั ใบความรู้
ชือ่ วชิ า : การติดตง้ั ไฟฟ้าในอาคาร
รหสั วิชา : 20104-2005
งาน : เครอ่ื งมือสำหรบั งานเดินสายไฟฟ้า

2. เครื่องมือดัดท่อโลหะหนา (Hickey) เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับดัดท่อโลหะหนา (Rigid Metal
Conduit: RSC) และท่อโลหะหนาปานกลาง (Intermediate Metal Conduit: IMC) การใช้ฮิคกี เหมาะ
สำหรับทอ่ ที่มีขนาดเล็ก เชน่ นว้ิ และ 4 นิ้ว เป็นต้น ดงั รูปท่ี 3.32 ท่อทีม่ ีขนาดใหญ่นิยมดัดด้วย เคร่ืองดัดไฮ
ดรอลกิ ส์ การดัดทอ่ มขี นาดใหญ่อาจกระทำได้ค่อนข้างยาก เน่อื งจากตอ้ งออกแรงมาก ถา้ ไมม่ ี เคร่อื งดัด ไฮด
รอลิกส์อาจใช้ขอ้ โคง้ สําเร็จรปู เช่น ขอ้ โคง้ 90 องศา หรือข้อโค้ง 45 องศา เปน็ ตน้

รูปท่ี 3.32 ตัวอย่างฮิคที่สำหรบั ดัดท่อ IMC และ RSC
การใช้และการบำรุงรักษาเครือ่ งมือดัดท่อ
ใช้ตามคู่มือของผู้ผลิต เบนเดอร์ใช้ดัดท่อโลหะบางและฮิคที่ใช้ดัดท่อโลหะหนาและโลหะหนา
ปานกลาง ทาํ ความสะอาดหลงั ใช้และจดั เก็บในกล่อง ตหู้ รอื แผงเครื่องมอื

3.2.3 เครื่องมือตดั ท่อ
เครื่องมอื ตัดท่อ (Conduit Cutting Tool or Cutter) คือ เคร่ืองมอื สำหรบั ตัดท่อโลหะหนา และท่อ
โลหะบาง ดังรูปที่ 3.33 ไม่สามารถใช้ตัดท่อโลหะอ่อนได้ ขนาดของคัตเตอร์ตัดท่อจะระบุไว้ว่า ใช้กับ ท่อ
ขนาดเท่าไร เช่น 25.4-76 มม. (1-3 นวิ้ ) เป็นต้น ใบมดี ของคัตเตอร์ตัดท่อสามารถถอดเปลย่ี นได้ หากมี การ
แตกบินหรือหมดคม การใช้คัตเตอร์ตัดท่อจะทำให้ท่อมีคมที่เกิดจากรอยตัด อาจทำอันตรายกับสายไฟใน
ทอ่ ได้ จึงตอ้ งลบคมทกุ ครง้ั ที่ตดั ท่อ

รูปที่ 3.33 ตัวอยา่ งคัตเตอร์ตดั ทอ่

สาขาวิชา : ชา่ งไฟฟา้ กำลัง ใบความรู้
ชอื่ วชิ า : การติดตัง้ ไฟฟ้าในอาคาร
รหสั วชิ า : 20104-2005
งาน : เครื่องมือสำหรบั งานเดินสายไฟฟ้า

การใช้และการบำรงุ รักษาเครือ่ งมือตัดท่อ
ใช้ตามคู่มือของผู้ผลิต คัตเตอร์ตัดท่อใช้ตัดท่อโลหะหนาและโลหะหนาปานกลาง ทำความ สะอาด
หลงั ใชแ้ ละจดั เกบ็ ในกลอ่ ง ตู้ หรอื แผงเครอ่ื งมือ
3.2.4 เคร่อื งมือลบคมท่อ
เคร่ืองมอื ลบคมทอ่ (Conduit Debarring Tool or Reamer) หรอื รีมเมอร์ คือ เครื่องมือทใี่ ช้ ลบคม
ท่อโลหะหนาและโลหะหนาปานกลาง หลังจากตัดท่อแลว้ เพอ่ื ปอ้ งกนั คมท่อบาดสายไฟ ดังรูปที่ 3.34

รูปท่ี 3.34 ตัวอยา่ งรีมเมอร์
การใชแ้ ละการบํารุงรักษารีมเมอร์
ใชต้ ามคูม่ ือของผู้ผลติ รมี เมอรใ์ ช้ลบคมท่อหลังการตัด ทาํ ความสะอาดหลังใช้และจัดเกบ็ ใน กล่อง ตู้
หรือแผงเครือ่ งมอื
3.2.5 เคร่อื งมอื ทาํ เกลยี วนอก
เครื่องมอื ทําเกลียวนอก (Die) คือ เครื่องมอื สําหรับทําเกลียวนอกกบั ทอ่ โลหะหนาและท่อโลหะ หนา
ปานกลาง ดงั รูปที่ 3.35 มลี ักษณะกลมหรือเป็นรูปแทง่ สี่เหลย่ี ม ซงึ่ มีรูอยูต่ รงกลางมีเกลียวและมีร่องเป็น คม
ตัดสามารถตัดหรือทําเกลียวบนชิ้นงานกลมได้ เพื่อต่อเข้ากับกล่องต่อสายต่าง ๆ หรือต่อท่อเข้าด้วยกัน
เนื่องจากท่อชนิดนี้ต้องทําเกลียวที่ปลายท่อ และไม่สามารถใช้ทําเกลียวกับท่อโลหะบางได้ ขนาดดายที่ใช้
ขึ้นอยู่ กับขนาดของท่อ

รูปที่ 3.35 ตัวอยา่ งเครือ่ งมอื ทำเกลียวนอก

สาขาวิชา : ชา่ งไฟฟา้ กำลงั ใบความรู้
ชอ่ื วชิ า : การติดตงั้ ไฟฟา้ ในอาคาร
รหสั วิชา : 20104-2005
งาน : เคร่ืองมือสำหรบั งานเดินสายไฟฟ้า

การใชแ้ ละการบํารงุ รกั ษาเครอื่ งมือทาํ เกลียวนอก
ใชต้ ามคมู่ ือของผผู้ ลิต ทาํ ความสะอาดหลงั การใช้ และจัดเก็บในกล่อง ตู้ หรือแผงเคร่ืองมือ

3.2.6 ปากกาจบั ท่อ
ปากกาจับท่อ (Pipe Vise) คือ เครื่องมือสําหรับจับท่อให้แน่นโดยเฉพาะ ทั้งท่อโลหะหนา โลหะ
หนาปานกลาง และท่อโลหะบางก่อนที่จะตดั ท่อหรือลบคมท่อ ดังรูปที่ 3.36 มีทั้งแบบยึดตดิ กับโต๊ะงานและ
แบบสามขา

รูปท่ี 3.36 ตัวอย่างปากกาจับทอ่

การใชแ้ ละการบํารุงรักษาปากกาจบั ท่อ
ใช้ตามค่มู ือของผ้ผู ลติ ทําความสะอาดหลงั การใช้ และจดั เก็บในทีจ่ ัดเก็บให้เรยี บรอ้ ย

3.2.7 เครอ่ื งมอื เจาะรูเหลก็ แผน่ บาง
เคร่อื งมือเจาะรเู หล็กแผน่ บาง (Hole Cutter) หรอื เรียกวา่ โฮลซอ (Hole Saw) คือ เคร่ืองมือท่ี
ใช้เจาะรูเหล็กแผ่นบาง ดังรูปที่ 3.37 ใช้งานร่วมกับสว่านไฟฟ้า เช่น ใช้เจาะรูฝาตู้สวิตช์บอร์ด แผงควบคุม
ไฟฟา้ เพ่ือติดต้ังทอ่ ร้อยสายไฟหรืออปุ กรณ์อืน่ เป็นต้น มหี ลายขนาดให้เลอื กใช้

สาขาวิชา : ช่างไฟฟ้ากำลงั ใบความรู้
ชอ่ื วชิ า : การตดิ ต้ังไฟฟ้าในอาคาร
รหัสวชิ า : 20104-2005
งาน : เคร่ืองมือสำหรับงานเดินสายไฟฟ้า

รปู ที่ 3.37 ตัวอย่างโฮลซอ
การใชแ้ ละการบาํ รงุ รกั ษาโฮลซอ
1. ใช้โฮลซอตามขนาดรูท่ตี ้องการเจาะ กาํ หนดจุดและใชเ้ หล็กนําศนู ย์ตอกนาํ กอ่ น
2. ทําความสะอาดหลังการใช้ และจัดเกบ็ ในกลอ่ ง ตู้ หรือแผงเครือ่ งมอื

3.3 สรปุ สาระสาํ คัญ
1. เครื่องมือสาํ หรับงานเดนิ สายไฟฟา้ ด้วยเข็มขัดรัดสาย เช่น ค้อนเดินสายไฟฟ้า คีมรวม คีมปากยาว
คีมตัดข้าง คีมปอกสาย คีมย้ําหางปลา ไขควงปลายแบน ไขควงปลายแฉก มีดปอกสาย ตลับเมตร ระดับน้ํา
เหลก็ นําศนู ย์ เหล็กส่ง สกัด สิ่ว บิดหล่า ปักเต้า เล่ือยลันดา เลือ่ ยตัดเหลก็ เล่ือยลอ และสวา่ นไฟฟ้า เปน็ ต้น
2. เครอ่ื งมือสําหรับงานเดินสายไฟฟ้าด้วยท่อร้อยสาย เช่น เบนเดอร์ ลวดรอ้ ยสายไฟ ฮิคกี คัตเตอร์
ตัดท่อ รม่ิ เมอร์ ปากกาจบั ท่อ และโฮลซอ เปน็ ต้น

คําศัพท์ประจาํ หนว่ ย เครอ่ื งมอื ดดั ท่อโลหะบาง
Bender การติดตงั้ ทางไฟฟา้
Electrical Installation สวา่ นไฟฟ้า
Electric Drill ลวดร้อยสายไฟ
Fish Tape ค้อน
Hammer เครอ่ื งมอื ดดั ท่อโลหะหนา
Hickey คมี
Plier ไขควง
Screwdriver เลอื่ ย
Saw


Click to View FlipBook Version