The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ด้านที่1.1ด้านการจัดการเรียนการสอน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ระพีพรรณ เดื่อคำ, 2020-03-28 08:12:12

ด้านที่ 1.1 ด้านการจัดการเรียนการสอน

ด้านที่1.1ด้านการจัดการเรียนการสอน

ตอนท่ี 2 อธบิ ายการทางานของคาสั่งต่อไปนม้ี าพอสังเขป

1. pinMode (7,OUTPUT);
ตอบ
............................................................................................................................. .........................

2. digitalWrite(10,HIGH);
ตอบ
......................................................................................................................................................

3. digitalRead (sw1);
ตอบ
............................................................................................................................. .........................

4. void setup()
ตอบ
......................................................................................................................................................

5. void loop()
ตอบ
............................................................................................................................. .........................

6. Serial.begin(9600);
ตอบ
............................................................................................................................. .........................

7. Serial.print(“HELLO”);
ตอบ
............................................................................................................................. .........................

8. Serial.println(“HELLO”);
ตอบ
......................................................................................................................................................

9. delay(1000);
ตอบ
............................................................................................................................. .........................

ตอนท่ี 3 หาจุดผดิ ของโปรแกรมพร้อมแก้ไขใหถ้ ูกตอ้ ง

int led13 = 13; .................................................................................................
.................................................................................................
void setup() { ................................................................................................
.................................................................................................
pinMode(led13 ,

OUTPUT); .................................................................................................
} ................................................................................................
.................................................................................................
void loop() { .................................................................................................
................................................................................................
digitalWrite(13, HIGH); .................................................................................................
delay(1000) .................................................................................................
digitalWrite(Led13, ................................................................................................
.................................................................................................
LOW); .................................................................................................
................................................................................................
delay(1000); .................................................................................................
.................................................................................................
} ................................................................................................

}

.................................................................................................

.................................................................................................

................................................................................................

วชิ า ไมโครคอนโทรลเลอร์ ข้อสอบปลายภาคเรยี นท่ี 2/2562
ชือ่ – สกลุ รหัสวิชา 2105-2105 ผ้สู อน นางสาวระพีพรรณ เดอ่ื คา

รหสั นกั เรยี น

คาสง่ั ทาเครอ่ื งหมาย X ลงในช่องทถ่ี กู ทส่ี ุด

1. ข้อใดไมใ่ ชโ่ ครงสรา้ งหลกั ของโปรแกรมควบคุมArduino

ก. Header ข. setup ค. loop ง. Int

จากขอ้ 2-5 จงบอกโครงสรา้ งของโปรแกรมท่ีกาหนดให้ต่อไปนี้

2. โครงสร้างของ A จัดเปน็ โครงสรา้ งใด

A

ก. Header ข. setup ค. loop ง. Function

3. ส่วนทเ่ี ป็น Function อยใู่ นโครงสร้างใด

B

ก. A ข. B ค. C ง. D

4. โครงสร้างใดมีคุณสมบตั ิ “ให้คาสง่ั ภายในทางานเพยี งครง้ั เดยี วเมื่อมีการ
C ทางานของโปรแกรม”

ก. A ข. B ค. C ง. D

5. หากต้องการใหแ้ สดงขอ้ ความ “Pirate”วนซ้าไม่หยดุ จะต้องป้อนคาส่งั ลงใน

D

โครงสร้างใด

ก. A ข. B ค. C ง. D

จากข้อ 6-15 บอกส่วนประกอบและหนา้ ท่ขี องบอร์ด Arduino ตอ่ ไปน้ี

6. สว่ นประกอบท่ที าหน้าท่ี “เริ่มตน้ การทางานของโปรแกรมใหมอ่ กี คร้ัง” คอื หมายเลขใด

ก. หมายเลข 1 ข. หมายเลข 2 ค. หมายเลข 4 ง. หมายเลข 5
ง. หมายเลข 5
7. สว่ นประกอบที่ทาหน้าที่ “รับคา่ ขอ้ มูลแบบแอนะล็อก” คือหมายเลขใด ง. Analog Input Port
ง. Analog Input Port
ก. หมายเลข 1 ข. หมายเลข 2 ค. หมายเลข 4 ง. Analog Input Port
ง. Pin. 3
8. ข้อใดคอื ชอ่ื ส่วนประกอบในหมายเลข 3 ง. 7

ก. Reset ข. Power Port ค. Digital I/O Port

9. ข้อใดคือชอ่ื ส่วนประกอบในหมายเลข 5

ก. Reset ข. Power Port ค. Digital I/O Port

10. หากต้องการรับขอ้ มลู จากสวิตช์ จะตอ้ งเช่ือมต่อสวิตชท์ ีพ่ อรต์ ใด

ก. Reset ข. Power Port ค. Digital I/O Port

11. Pin ในขอ้ ใดสามารถสง่ ค่าได้ท้งั สญั ญาณแบบแอนะลอ็ กและดิจิตอล

ก. Pin. 0 ข. Pin. 1 ค. Pin. 2

12. Pin ท่สี ามารถสรา้ งสัญญาณ PWM ได้ มีจานวนเทา่ ใด

ก. 2 ข. 5 ค. 6

13. Pin ในขอ้ ใดสามารถรับคา่ สัญญาณทัง้ แบบแอนะล็อกและดจิ ิตอลได้

ก. Pin. A0 ข. Pin. 0 ค. Pin. 1 ง. Pin. AREF

14. Pin ในขอ้ ใดใชใ้ นการสอื่ สารขอ้ มูล

ก. Pin 0 , 1 ข. Pin 2 , 3 ค. Pin 10 , 11 ง. Pin 12 , 13

15. ข้อใดคอื ชว่ งของระดบั สญั ญาณอนิ พตุ แบบแอนะลอ็ ก

ก. 1 – 1023 ข. 0 – 1023 ค. 1 – 1024 ง. 0 – 1024

16. หากต้องการกาหนดสถานะ INPUT ให้ pin 3 ตอ้ งใชค้ าสงั่ ใด

ก. PinMode(3,INPUT); ข. Pinmode(3,INPUT); ค. pinmode(3,INPUT); ง. pinMode(3,INPUT);

17. ข้อใดไมใ่ ชก่ ารทางานของคาส่ัง int sw = 3 ;

ก. อ่านขา sw จากขา 3 ข. ตัวแปร sw รบั คา่ ไดเ้ ฉพาะเลขจานวนเตม็

ค. ตวั แปร sw มคี ่าเท่ากบั 3 ง. ประกาศตวั แปรแบบค่าคงท่ี

จากโปแกรมท่กี าหนดให้ จงตอบคาถามในข้อ 13-16

หมายเลขบรรทดั

18. โปรแกรมดงั กลา่ วจะยังรับคา่ จากสวิตช์มาใช้ไม่ไดห้ ากไม่เพม่ิ คาส่งั ในขอ้ ใด

ก. digitalRead (Rsw1); ข. digitalRead (sw1);

ค. sw1 = digitalRead (Rsw1); ง. Rsw1 = digitalRead (sw1);

19. หากสวิตชท์ ใี่ ชเ้ ปน็ ประเภท Active HIGH คาสั่งในบรรทัดท่ี 9 ควรเขียนอย่างไร

ก if (Rsw1 == 0) ข. if (Rsw1 == 1) ค. if (sw1 == 1) ง. if (sw1 == 0)

20. เม่ือแก้โปรแกรมในข้อ 13 – 14 และอพั โหลดโปรแกรมแล้ว เมอื่ กดสวติ ช์ครัง้ แรก จะเกดิ ผลอยา่ งไร

ก. ไฟติดคา้ ง ข. เมื่อกดไฟติด เมอ่ื ปลอ่ ยไฟดับ ค. เมอ่ื กดไฟกระพรบิ เมือ่ ปล่อยไฟดบั ง.ไฟดับค้าง

21. จากข้อ 15 เม่ือกดสวิตชค์ ร้ังท่ี 2 จะเกดิ ผลอย่างไร

ก. ไฟติดค้าง ข. เม่อื กดไฟติด เมอื่ ปลอ่ ยไฟดับ ค. เมอื่ กดไฟกระพริบ เมือ่ ปลอ่ ยไฟดบั ง.ไฟดับค้าง

22. อปุ กรณใ์ นขอ้ ใดตอ่ ไปนเี้ ป็น INPUT ให้บอร์ด Arduino

ก. LED ข. Volume ค. Motor ง. Buzzer

23. “สามารถตรวจจบั การเคลือ่ นไหวของวัตถุทม่ี คี วามร้อนของคลืน่ รังสอี นิ ฟราเรด” เป็นคุณสมบตั ขิ องเซ็นเซอร์ใด

ก. Infrared Sensor ข. Smoke Sensor ค. PIR Sensor ง. Light Sensor

24. อปุ กรณใ์ นขอ้ ใด สามารถคา่ แบบแอนาลอคให้แก่บอร์ด Arduino ได้

ก. Infrared Sensor ข. Smoke Sensor ค. PIR Sensor ง. Light Sensor

25. ในการกาหนดคา่ ความเรว็ ของพอร์ตส่ือสาร ต้องใช้คาสั่งในขอ้ ใด

ก. Serial.read ( … ); ข. Serial.Write ( … ); ค. Serial.println ( … ); ง. Serial.begin ( … );

26. คา่ ความเรว็ ท่ใี ชใ้ นการสอ่ื สารกบั Arduino UNO R3 คือคา่ ความเรว็ ในข้อใด

ก. 1200 ข. 2400 ค. 4800 ง. 9600

27. จากผลการทางานดงั รปู ที่กาหนดให้ ต้องเขียนคาส่ังในข้อใด

ก. Serial.print (“I am a KING of THE world!!!”);
ข. Serial.println (“I am a KING of THE world!!!”);
ค. Serial.write (“I am a KING of THE world!!!”);
ง. Serial.writeln (“I am a KING of THE world!!!”);

กาหนดให้ ในการเขยี นโปรแกรมควบคมุ หุ่นยนตร์ ถแบบ 2 ล้อ ใชม้ อเตอร์ 2 ตวั ดงั ภาพ จงตอบคาถามข้อ 23 – 25

Left Motor Right Motor
ML1 MR1

ML2 MR2

28. หากต้องการเขยี นโปรแกรมให้หุน่ ยนต์เดินหนา้ ควรใช้คาสง่ั ในข้อใด
ก. ข.

ค. ง.

29. หากต้องการเขยี นโปรแกรมให้หนุ่ ยนต์เล้ยี วซ้าย ควรใช้คาสงั่ ในข้อใด
ก. ข.

ค. ง.

30. หากตอ้ งการเขยี นโปรแกรมใหห้ ุ่นยนต์เลี้ยวขวา ควรใช้คาสง่ั ในข้อใด
ก. ข.

ค. ง.

1.1.9 การวจิ ยั การแกป้ ัญหาการเรียนการสอน

รายงานการวจิ ยั
เรอ่ื ง

การพัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างด้านการเรียนวชิ าหุน่ ยนต์เบื้องต้น
ระดบั ช้ัน ปวช.1/4

แผนกวิชาอเิ ลก็ ทรอนิกส์ โดยใชส้ ่ือการเรียนหลักสูตร iKids

โดย
นางสาวระพีพรรณ เดือ่ คา

ครอู ัตราจ้าง

วิทยาลยั เทคนิคระยอง
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2562

รายงานการวจิ ัย
เรื่อง

การพฒั นาผลสัมฤทธิท์ างด้านการเรียนวิชาหุ่นยนตเ์ บ้ืองตน้ ระดับชนั้ ปวช.1/4
แผนกวิชาอเิ ลก็ ทรอนิกส์ โดยใช้สือ่ การเรียนหลกั สตู ร iKids

โดย
นางสาวระพพี รรณ เด่อื คา

ครูอตั ราจา้ ง

วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562



คานา

งานวจิ ัยเรื่อง การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการดา้ นเรยี นวชิ าหนุ่ ยนต์เบ้ืองต้น ระดบั ชน้ั ปวช.1/4 แผนก
วชิ าอิเลก็ ทรอนกิ ส์ โดยใช้ส่อื การเรยี นหลักสูตร iKids มาใชร้ ว่ มสอน รหสั วชิ า 20105-2121 รายวิชาหนุ่ ยนต์
เบื้องตน้ วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง ได้จัดทาข้ึนเพ่ือประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนกั ศกึ ษาทมี่ ี ผวู้ จิ ยั หวัง
เป็นอยา่ งย่งิ วา่ การวิจัยครัง้ นจ้ี ะเป็นประโยชน์ตอ่ ผู้ที่ศึกษาวิชาห่นุ ยนตเ์ บอื้ งตน้ เพอื่ เป็นแนวทางในการพัฒนา
ทางด้านการเรยี นการสอนให้มปี ระสิทธภิ าพมากยิ่งข้นึ

งานวิจัยครั้งน้ีสาเร็จได้ด้วยดี ผู้วิจัยขอขอบคุณครูและนักเรียนที่ให้ความร่วมมือในการทาวิจัยใน
ครงั้ น้ี

นางสาวระพพี รรณ เดือ่ คา
ผวู้ ิจยั



ช่ือผู้วจิ ัย : นางสาวระพีพรรณ เด่อื คา
ชื่อเรื่อง : การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการดา้ นเรียนวชิ าห่นุ ยนตเ์ บือ้ งต้น ระดบั ช้ัน ปวช.1/4 แผนกวิชา

อิเลก็ ทรอนกิ ส์ โดยใชส้ ือ่ การเรยี นหลกั สูตร iKids

ปกี ารศกึ ษา : 2562

บทคัดย่อ

การวจิ ัยครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์เพ่ือ 1) เพือ่ ยกระดับความรคู้ วามเข้าใจให้อย่ใู นเกณฑ์เดยี วกนั 2) เพ่ือ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการดา้ นเรยี นวชิ าหนุ่ ยนต์เบ้ืองตน้ ระดบั ชัน้ ปวช.1/4 แผนกวิชาอิเลก็ ทรอนกิ ส์

กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้คือในการวิจัยเป็นนักเรียนระดับชั้นปวช.1/4 แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์
วิทยาลัยเทคนิคระยอง ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562 จานวน 20 คน

เครือ่ งมอื ท่ีใช้ในการวจิ ยั ได้แก่แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น
วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใชส้ ถติ ิทาการวิเคราะหข์ อ้ มลู /เพื่อหาคา่ เฉลีย่ //( X )//สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน//( S.D.)/

ผลการวิจัยผลการเปรยี บเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยใช้ส่ือการเรียนหลักสูตร
iKids พบว่า นักเรียนที่เรียนใช้ใช้ส่ือการเรียนหลักสูตร iKids มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลัง
เรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ซ่ึงเมื่อทาการเปรียบเทียบกับผลก่อนมีระดับดี โดยมนี ัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ
12.37 จากก่อนสอบมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 1.11 และนักเรียนท่ีเรียนใช้สื่อการเรียนหลักสูตร iKids มี
คะแนนเฉล่ียผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนหลังเรียนสงู กว่าเกณฑร์ อ้ ยละ 50 จานวน 19 คน คิดเปน็ ร้อยละ 95

สารบญั หน้า

คานา...................................................................................................................... ก
บทคดั ยอ่ .......................................................................................................... ข
บทท่ี 1 บทนา 1
1
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา.................................................. 1
วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั ......................................................................... 2
สมมตฐิ านการวิจัย (ถา้ มี) ........................................................................ 2
ขอบเขตของการวิจัย................................................................................ 2
นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ..................................................................................... 2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั .......................................................................
3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ียวขอ้ ง 3

เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง..................................................................................... 6
6
บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการวจิ ัย 6
6
กลุม่ เป้าหมาย........................................................................................... 7
การสรา้ งและการหาคณุ ภาพของเคร่อื งมือท่ใี ช้การวิจัย............................ 7
การสรา้ งและการหาคุณภาพของเครื่องมือทใ่ี ชเ้ ก็บขอ้ มลู ......................... 7
การออกแบบการทดลอง...........................................................................
การดาเนนิ การวจิ ยั /การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ............................................... 8
สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มลู ..................................................................
10
บทที่ 4 ผลการวจิ ัย............................................................................................. 10
10
บทที่ 5 สรุปและขอ้ เสนอแนะ........................................................................ 10
11
ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง.............................................................................
สรุปผลการวจิ ัย..........................................................................................
อภิปรายผล................................................................................................
ข้อเสนอแนะ..............................................................................................

สารบญั (ต่อ) หน้า

. 12
13
บรรณานกุ รม...........................................................................................................
ภาคผนวก...............................................................................................................

บทท่ี 1

บทนา

ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา

ตามที่สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา//ได้กาหนดนโยบายการจัดการเรียนการสอนให้ครูได้
ปรับวิธีเรียนเปล่ียนวิธสี อน/โดยผสมผสานสาระความรูด้ ้านต่าง//เพ่ือให้ผู้เรียนได้ใช้บทเรียนและทฤษฎีจากการ
เรียนในห้องเรียนมาปฏิบัติใช้งานจริง รวมทั้งนาเอาความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมา
ประยุกต์ใช้ในการสอน จึงได้ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 และ
เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 เพ่ือผลิตกาลังคนเป็นช่างฝีมือ และ
ผู้ชานาญการที่มีความรู้ทักษะ ความชานาญในวิชาชีพ และก้าวทันต่อความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี มีคุณธรรม มี
วินัย//มีเจตคติและบุคลิกภาพท่ีดี//ตลอดจนเป็นผู้มีปัญญาเหมาะสมสามารถนาความรู้และประสบการณ์ไปใช้ได้
ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานสอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจและสังคมท่ังในระดับชุมชน//ระดับท้องถิ่น
และระดับชาติ//เปิดโอกาสของตน//โดยการประสานความร่วมมือกันระหว่างสถาบัน//หน่วยงานและองค์การต่าง/
ๆ/ท้ังภาครัฐและเอกชนทุกระดับในการพัฒนาหลักสูตรและจัดการศึกษามุ่งให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม/และเน้นจะ
ทา//(สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา//://2548)

จากการท่ีผู้วิจยั ได้รับมอบหมายให้สอนในรายวิชาหุ่นยนต์เบื้องต้น ซึ่งทาการสอนเรยี นระดับชั้น ปวช.
1/4 แผนกวิชาอิเลก็ ทรอนิกส์วิทยาลัยเทคนิคระยอง ซึ่งมียังไม่มีพื้นฐานในการประกอบหุ่นยนต์ ส่งผลให้การ
เรียนการสอนเป็นไปได้ยากเนื่องจากขาดพื้นฐาน รวมท้ังขาดความสนใจและใส่ใจต่อการเรียน ทาให้
นกั ศกึ ษามผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นในวิชาตา่ และไม่ผ่านเกณฑ์ โดยได้นาวธิ กี ารประกอบห่นุ ยนตโ์ ดยใชส้ ่ือการ
เรียนหลกั สูตร iKids เข้ามาสอนเพิ่มและใช้บททดสอบเป็นข้อสอบก่อนและหลังการสอนประกอบหุน่ ยนต์โดย
ใชส้ ื่อการเรียนหลักสตู ร iKids เป็นเครื่องมือในการสังเกตดูวา่ นักเรียนมกี ารพัฒนาการเรยี นรูม้ ากน้อยเพียงใด
ใชต้ รวจสอบลาดับข้ัน ปรับปรงุ การเรียนการสอนไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย

1. เพือ่ ยกระดับความรู้ความเขา้ ใจให้อยู่ในเกณฑเ์ ดียวกัน
2. เพอ่ื พัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวิชาห่นุ ยนต์เบือ้ งตน้

สมมติฐานการวิจัย
1. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นในวิชาหนุ่ ยนตเ์ บื้องต้น โดยใชว้ ิธกี ารประกอบห่นุ ยนต์ตามสือ่ การสอนโดย
ใช้สอ่ื การเรยี นหลักสตู ร iKids แลว้ สอบสงู กวา่ เกณฑ์ทีก่ าหนด

2

ขอบเขตของการวิจยั

1.//ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง

1.1//ประชากรท่ีใชใ้ นการวิจยั ในครง้ั น้ี//ได้แก/่ /นกั เรยี นระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) ปี 1
แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์/วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง ท่ีลงทะเบียนเรยี น ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2562 โดย
มีจานวน 112/คน//

1.2//กลุม่ ตวั อย่างทใ่ี ช้ในการวจิ ัยในคร้งั น้ี//ไดแ้ ก/่ /นักเรยี นระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพ(ปวช.) 1/4
แผนกวิชาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์/ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ทีล่ งทะเบียนเรียน ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2562 โดย
สมุ่ จานวน 20//คน//การกาหนดกลุ่มตวั อย่างการเลอื กกลุ่มตวั อยา่ งแบบเจาะจง//(Purposive sampling)//

2.//ตัวแปร ประกอบดว้ ย

2.1//ตวั จดั กระทำ คอื ใช้สื่อการเรียนหลักสตู ร iKids และการสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน
2.2 ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นในวชิ าห่นุ ยนตเ์ บ้ืองตน้

นยิ ามคาศพั ท์เฉพาะ
1.//ส่ือการเรยี นหลักสตู ร iKids/หมายถงึ ชุดฝึกสาหรบั การประกอบหนุ่ ยนตข์ นาดเลก็ เป็นระดบั

Senior Engineering – Basic Level

2.//นกั เรียน//หมายถงึ //นกั เรียนระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพ//(ปวช.) 1/4 แผนกวิชาอเิ ลก็ ทรอนิกส์/
วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง//วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง//ภาคเรียนที่/2//ปกี ารศกึ ษา//2562

3. การประเมินผล หมายถึง การประเมินผลระหว่างการเรียนการสอนตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้
ระหว่างการเรยี นการสอน

4. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น หมายถึง คะแนนที่ได้จากการสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน

ประโยชนท์ ีจ่ ะได้รับจากการวิจัย
1.// นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนอย่ใู นเกณฑเ์ ดยี วกนั

บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ัยท่เี กย่ี วขอ้ ง

ทฤษฎีและหลักการเกยี่ วกบั การวดั และประเมินผลการศึกษา

การประเมนิ ผลการศึกษา
ไพศาล หวงั พานิช (2526: 3-4) การประเมินผลการเรียนการสอนในระหว่างการเรียนการสอนเพ่ือ

ปรับปรุงช่วยเหลือแก้ไขในส่วนท่ีบกพร่อง การประเมินผลลักษณะนี้เรียกว่า การประเมินเพ่ือปรับปรุงการ
เรียนการสอน (Formative Evaluation) ได้จากการวดั ผลการสอบย่อย การทาแบบฝึกหัดหรอื ใหง้ านอยา่ งอ่ืน
ส่วนการประเมินหลังจากการเรยี นการสอนได้เสร็จสน้ิ เรียบร้อยแล้ว เพื่อลงสรุปตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน
ว่ามีความรู้มากน้อยเพียงใด การประเมินผลลักษณะน้ีเรียกว่า การประเมินผลรวม ( Summative
Evaluation) ประเมินผลเมอื่ สน้ิ สดุ การเรยี นการสอนทง้ั หมดได้จากการวดั ผลการสอบปลายภาพเรยี น

สมบูรณ์ ตันยะ (2538: 13-14) กล่าวว่า การประเมินผลการเรียนการสอนเป็นกระบวนการ
ตรวจสอบผู้เรียนว่าสามารถเปล่ียนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมที่วางไว้หรือไม่ อีกท้ังยังเป็น
ตัวบ่งชถี้ งึ ประสิทธภิ าการสอนของครูอีกดว้ ยโดยทว่ั ไปมีจดุ มงุ่ หมาย 3 ประการดงั น้ี

1.ประเมินเพ่ือวินิจฉัยค้นหาส่วนที่บกพร่องเป็นการตรวจสอบความพร้อม ปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ใน
การดาเนนิ งาน

2. ประเมินเพอื่ ปรับปรงุ การกระทาระหว่างการเรียนการสอน
3. ประเมนิ เพอื่ ตัดสนิ ลงสรุปว่าการเรยี นการสอนนนั้ มีประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลหรือไม่
สมนึก ภัททิยธนี (2544 : 4) กล่าวว่า การประเมินผลการศึกษา หมายถึง การตัดสินหรือวินิจฉัยส่ิง
ต่าง ๆ ทไี่ ด้จากการวดั ผลการศกึ ษา โดยอาศยั เกณฑพ์ จิ ารณาอยา่ งใด อยา่ งหน่งึ
กล่าวโดยสรุปแล้ว การประเมินผลการเรียน หมายถึง การตัดสิน หรือวินิจฉัยส่ิงต่าง ๆ ที่ได้จากการ
วดั ผลการศกึ ษา เพอื่ ตรวจสอบเพ่ือผูเ้ รียนว่ามคี วามรมู้ ากน้อยเพยี งใด

ความหมายของการประเมนิ ผลยอ่ ย
การประเมินผลเป็นกระบวนการตัดสินคุณค่าของส่ิงของหรือกระทาใด ๆ โดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์
มาตรฐานทไี่ ดต้ ง้ั ไว้ สาหรับการประเมนิ ผลย่อย (Formative Evaluation) มีผ้ใู หค้ วามหมายไวห้ ลายทา่ น ดงั นี้
ไพศาล หวังพานิช (2526: 24-26) ได้กล่าวว่า การประเมินผลย่อยเป็นการปรมิ นผลหลังจบเน้ือหา
หนึ่ง ๆ เพื่อตรวจสอบดวู ่าหลังจากนักเรียนได้เรียนในแต่ละเร่ืองแล้วไดผ้ ลในระดับท่ีน่าปรารถนาหรือไม่ หรือ
ยงั มขี ้อบกพร่องในส่วนไหน ตอนใด และควรมกี ารแกไ้ ขปรับปรุงเกยี่ วกับสิ่งใดในเน้ือหานัน้ ๆ ท้ังยงั ช่วยให้ได้
ข้อมลู เพ่อื ปรบั ปรุงการสอนของครู เปน็ ผลให้นักเรยี นเกดิ ความรอบร้ใู นการเรยี นอย่างสมบูรณ์เตม็ ท่ี

4

นิภา เมธธาวีชัย (2533 : 10) ได้กล่าวว่า การประเมินผลระหว่างสอนมีจุดประสงค์เพ่ือทราบว่า
ผเู้ รียนเกดิ การเรียนรู้ตามจุดประสงคห์ รือยัง เคร่ืองมือทีใ่ ช้วัด เช่น การซกั ถาม การสังเกต การให้ลงมือปฏิบัติ
การทดสอบย่อยตามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ และเป็นแนวทางในการปรบั ปรงุ การสอนให้มีประสิทธภิ าพยง่ิ ข้ึน

สทุ ธิวรรณ พีรศักด์ิโสภ (2537: 5) ได้กล่าวไวว้ ่าการประเมินผลระหว่างเรียนเปน็ การประเมนิ ผลตาม
จุดประสงค์ท่ีกาหนดไว้ระหว่างการเรียนการสอนในแต่ละบท เพ่ือให้ครูทราบว่านักเรียนได้บรรลุตาม
จุดประสงค์ท่ีตงั้ ไวห้ รอื ไม่เพยี งใด นักเรียนบกพร่องในเร่อื งใด ครจู ะได้ทาการปรบั ปรงุ การสอนให้เหมาะสม

จากความหมายการประเมินผลย่อยข้างต้น พอสรุปได้ว่า การประเมินผลย่อยเป็นการประเมินผล
ระหว่างการเรียนการสอนตามจุดประสงค์ท่ีกาหนดไว้ระหว่างการเรียนการสอนในแต่ละบท เพื่อวินิจฉัย
ขอ้ บกพร่องของผู้เรยี น และนามาปรับปรงุ การเรยี นการสอนให้อยใู่ นเกณฑ์ท่ีกาหนด

หลักการสร้างแบบทดสอบย่อย
บลูม (Bloom and others. 1971 : 65)ได้กาหนดข้ันตอนในการสร้างแบบทดสอบยอ่ ยไว้ 3 ประการ
ดังน้ี
1.วิเคราะห์หน่วยความรู้ (Analysis of Learning Units) เนื้อหา จุดมุ่งหมายและธรรมชาติของ
บทเรียนนั้น ๆ
2. สรา้ งตารางเฉพาะของหนว่ ยการเรยี นรู้ (Specification for Units)
3. ดาเนินการสรา้ งขอ้ สอบยอ่ ยซึง่ ควรมลี กั ษณะดังน้ี
3.1 สร้างข้อสอบให้ครอบคลุมแต่ละพฤติกรรมท่ีกาหนดไว้ในตารางเฉพาะอย่างน้อยพฤติกรรมละ 1
ข้อ
3.2 ขอ้ สอบตอ้ งรวบรวมเนือ้ หาทง้ั หมดไมใ่ ชส่ มุ่ เฉพาะสว่ นสาคญั เพอื่ เปน็ ตวั แทนเท่าน้ัน
3.3 ขอ้ สอบควรมีความยากง่ายต่อเนื่องกัน ผทู้ ี่ทาข้อสอบส่วนท่ีง่าย ๆ จะได้เกิดการเรียนรู้ท่ียากกว่า
ไดถ้ กู ต้อง ไมใ่ ชท่ าถกู โดยบังเอญิ หรือการเดา
3.4 ข้อสอบจะมีประสทิ ธภิ าพมากขน้ึ ถา้ ไม่เพยี งแต่บอกวา่ เขาทาส่วนใดไม่ได้ แต่ควรบอกสาเหตุท่เี ขา
ทาไมไ่ ด้ด้วย
3.5 คะแนนต่อการสอบย่อยไม่มีผลต่อการตัดสินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แต่จะเป็นเครื่องช้ีนาให้
นักเรยี นรู้ว่าเขาบกพร่องท่ไี หน ควรแก้ไขอยา่ งไร เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้ในเนอ้ื หาน้ันเป็นอย่างดี
สรุ ชยั ขวัญเมือง (2522: 215-217) กล่าวถงึ กระบวนการสรา้ งแบบทดสอบย่อย มดี งั น้ี
1.นาหน่วยการเรียนที่ต้องการสอบมาจัดวิเคราะห์เนื้อหาอย่างย่อย ๆ โดยศึกษาจากคู่มือและ
แบบเรยี น
2. วิเคราะห์พฤติกรรมของเน้ือหายอ่ ยท่ีวเิ คราะห์ไว้แลว้
3. กาหนดนา้ หนักทีต่ อ้ งการวดั ในแตล่ ะเน้ือหาพฤติกรรม
4. ปรบั ปรงุ ตารางวเิ คราะห์ให้สอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงคข์ องวชิ า

5

5. สร้างแบบทดสอบย่อยตามตารางท่ีวิเคราะห์ไว้แล้ว ข้อสอบบางข้ออาจนาไปใช้ในการประเมินผล
รวมอีกกไ็ ด้

5.1 เป็นขอ้ สอบทถ่ี ามตรงจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรมของการเรียนการสอนในแตล่ ะหน่วยโดย
หนึ่งจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมอาจสร้างขอ้ สอบได้หลายข้อ

5.2 การให้คะแนนจากการสอบ ตัดสินว่าบุคคลผ่านหรือไม่ หน่วยย่อยใด ๆ น้ัน อาศัยการ
กาหนดเกณฑไ์ วล้ ่วงหน้า

5.3 การสอบต้องสอบหลงั จากการเรยี นการสอนในหน่วยน้ันสิ้นสดุ ลง
ไพศาล หวงั พานชิ (2526: 86) ไดเ้ สนอหลักการพอสรปุ ได้ว่า การออกขอ้ สอบย่อยนนั้ ไม่จาเปน็ ต้องมี
จานวนข้อมากมาย และใช้เวลาสอบนานเป็นชั่วโมง อาจใช้ข้อสอบ 10-20 ข้อ และใช้เวลาเพียง 10-15 นาทีก็
ได้ ข้อสาคัญอยทู่ วี่ า่ ข้อสอบนน้ั ต้องครอบคลุมและสอดคลอ้ งกบั จุดมงุ่ หมายของการสอนทก่ี าหนด
กรอนลนั ด์ (Gronlund. 1981:137) ไดเ้ สนอหลักการสร้างและการใชแ้ บบทดสอบยอ่ ยดงั นี้
1.เป็นแบบทดสอบอิงเกณฑ์ (Criterion-referenced Mastery Tests) บางคร้ังใช้แบบอิงกลุ่ม
(Norm-referenced Tests)
2. เนือ้ หาท่ีจะนามาทดสอบ กาหนดข้ึนอย่างแนน่ อนอาจเป็น 1 หนว่ ย 1 บท หรือ 1 หมวด กไ็ ด้
3. ความยากงา่ ยข้นึ อยกู่ บั เนอื้ หาและควรเปน็ ขอ้ สอบท่ีคอ่ นข้างงา่ ย
4. ใช้ทดสอบระหวา่ งการเรียนการสอนเพื่อชว่ ยชี้ขอ้ บกพร่องในการเรยี นของนักเรียน
กลา่ วโดยสรุปแลว้ การสร้างแบบทดสอบยอ่ ยจะต้องสร้างตามจุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมในแตล่ ะหน่วย
การเรียนและต้องสร้างจากเนอื้ หาทง้ั หมด ความยากง่ายของข้อสอบขนึ้ อยู่กับเน้ือหาแต่ละตอน ซงึ่ คะแนนของ
การสอบจะไมน่ าไปตดั สนิ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น หรอื การตัดสนิ ได้-ตก
ประโยชนข์ องการทดสอบยอ่ ย
บลูม (Bloom and others. 1971 : 66) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของการทดสอบย่อยว่าก่อให้เกิด
ประโยชน์หลายอย่างดังนี้ สาหรับการประเมินย่อยทาให้นักเรียนได้เรียนรู้มากขึ้น เพราะทาให้นักเรียนต้อง
เตรียมตวั อยูเ่ สมอ ทาให้เรียนรู้ได้ง่ายขน้ึ เพราะต้องแบ่งเนอ้ื หาเป็นส่วนย่อย ๆ ทาให้นกั เรียนทราบขอ้ บกพรอ่ ง
ที่ควรแก้ไขของตนเอง และทาให้เกิดความม่ันใจในการเรียนรู้ กล้าเผชิญปัญหา สาหรับครูผู้สอน ทาให้ครู
ค้นพบวิธีการที่เหมาะสมในการจัดการเรียนการสอน และสาหรับผู้ร่างหลักสูตร ช่วยให้ผู้ร่างหลักสูตร
เรยี งลาดับเน้อื หาไดง้ า่ ยขึ้น
สุรชยั ขวัญเมือง (2522 : 217) กล่าวถึงประโยชน์ของการทดสอบย่อย เป็นเคร่ืองมือในการสงั เกตดู
ว่า นักเรียนมกี ารพัฒนาการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด ใชต้ รวจสอบลาดับขนั้ ปรับปรุงการเรียนการสอนไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ
ไพศาล หวังวานิช (2526: 4) กล่าวถึงประโยชน์ของการทดสอบย่อย ทาให้ข้อบกพร่องของผู้เรียน
เพอ่ื จะไดใ้ หก้ ารช่วยเหลือซ่อมเสริมหรือแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งเหล่าน้ัน
เชนิสา ชน่ื สวุ รรณ (2539: 23) กล่าวว่าแบบทดสอบย่อยมขี ้อดหี ลายประการดังต่อไปน้ี
1.ครูจะทราบว่านักเรียนมคี วามรู้มากนอ้ ยเพยี งใดในแต่ละคน

6

2. ครูสามารถจัดการเรยี นการสอนให้นักเรียนที่ยงั บกพร่อง และสามารถจัดเน้ือหาการเรียนการสอน
ซอ่ มเสริมไดถ้ ูกต้อง

3. ครูจะใชผ้ ลการทดสอบเพื่อเปน็ แนวทางในการวางแผนการจัดการเรียนการสอนในตอนตอ่ ไป
4. นักเรียนจะทราบความสามารถของตนเองและสามารถแก้ไขข้อบกพรอ่ งในการเรยี นของตนเองได้
จากการเฉลยข้อสอบและการแนะนาจากครผู ู้สอน
5. การทดสอบย่อยจะทาให้ทราบข้อมูลความรู้ของนักเรียนทันที สามารถแก้ไขปัญหาการเรียนการ
สอนได้ทันท่วงที ดกี วา่ การทดสอบเพียงครัง้ เดยี วท้ายบทเรียน
กลา่ วโดยสรุปแล้ว การทดสอบยอ่ ยเปน็ ประโยชนส์ าหรบั นักเรียนในด้านความก้าวหน้าในการเรยี นแต่
ละหนว่ ย หรอื ข้อบกพร่องท่ีต้องปรับปรุง และสาหรับครเู ป็นการช่วยให้ครูค้นพบวธิ ีการจัดการเรียนการสอนที่
เหมาะสม
จากการศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยดังกล่าวข้างต้น ผูว้ ิจัยจงึ นาแนวคิดการวดั และประเมินผลระหวา่ ง
เรียนมาเป็นแนวคดิ หลกั ในการพฒั นาวิธีสอนปรับพน้ื ฐานแล้วสอบและนาไปทดลองใช้กบั นักศึกษาสาขาวชิ า
ไฟฟา้ ควบคมุ โดยใชร้ ูปแบบการวิจัยแบบกลุ่มเดียววดั เฉพาะหลงั การทดลองนาคะแนนหลังการทดลองเทยี บ
กับเกณฑก์ ารผา่ น 50 เปอรเ์ ซนต์

บทท่ี 3
วิธีดาเนนิ การวจิ ยั

กลมุ่ เปา้ หมาย
กลุม่ เป้าหมาย ท่ีใช้ในการวจิ ัยครง้ั น้ี นกั เรียนระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) 1/4 แผนกวิชา
อเิ ลก็ ทรอนิกส์/วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง/ภาคเรียนท่ี/2//ปีการศึกษา//2562 จานวน 20 คน ซึ่งไดม้ าโดยการ
สังเกตพฤติกรรมการเรยี นรายวิชาหุ่นยนตเ์ บื้องตน้ จานวน 20 คน/กลุ่ม ที่มีความขาดรู้พื้นฐานทางด้านทกั ษะ
การประกอบหุ่นยนต์

การสร้างและการหาคณุ ภาพของเครอื่ งมอื ท่ใี ช้การวิจยั
เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการวิจัยในคร้ังนี้ คือ ใชส้ อื่ การเรียนหลักสตู ร iKids ซึ่งมขี ั้นตอนในการสร้างและ

การหาคุณภาพดังต่อไปนี้
1. ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ที่เกยี่ วขอ้ งกับการประเมินผลระหวา่ งเรยี น
2. กาหนดขั้นตอนการใชส้ ่อื การเรียนหลักสตู ร iKids
3. ในการตรวจสอบคุณภาพของขั้นตอนการสอนแล้วสอบนั้น ผู้วิจัยได้นาขั้นตอนการใช้สือ่ การเรียน

หลักสูตร iKids ไปให้ผู้เช่ียวชาญ จานวน 3 คน ประเมินความสอดคล้องของข้ันตอนการสอนแล้วสอบกับ
จดุ ประสงค์การเรียนรูท้ ตี่ อ้ งการให้เกดิ กับนกั เรียน จากน้ันผู้วิจัยจึงนาข้นั ตอนการใช้สื่อการเรียนหลกั สตู ร iKids
มาปรับปรงุ แก้ไขแล้วนาไปทาการทดลองใช้กบั นกั เรียนกลุ่มเปา้ หมาย

การสร้างและการหาคุณภาพของเครอื่ งมอื ที่ใชเ้ ก็บขอ้ มูล
การสร้างและการหาคุณภาพของเคร่ืองมอื ท่ใี ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลเคร่อื งมือท่ใี ช้ในการวจิ ัยใน

ครัง้ นี้ คอื แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ซ่งึ มขี ัน้ ตอนในการสรา้ งและการหาคณุ ภาพดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทเี่ กย่ี วข้องกับการวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน

ปฏบิ ตั ิ หัวข้อละ 10 คะแนน ข้ึนอย่กู ับ สาหรบั วัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนหลงั เรียน
3. ในการตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบแบบปฏิบัติน้ัน ผู้วิจัยได้นาข้อสอบไปให้ผู้เช่ียวชาญ

จานวน 3 คน ประเมินความสอดคล้องของข้อสอบกบั จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ต้องการให้เกดิ กับเรียน จากน้ัน
ผูว้ ิจยั จงึ นาขอ้ สอบ มาปรบั ปรงุ แก้ไขแลว้ นาไปทาการทดลองใชก้ ับนกั ศึกษากลมุ่ เป้าหมาย

7

การออกแบบการทดลอง
แบบแผนการทดลอง
การศกึ ษาครงั้ นี้มแี บบแผนการทดลอง(Experimental Design) กลมุ่ เดยี วทดสอบก่อนและหลังการ

ทดลอง One Group Pretest – Posttest Design ( พวงรัตน์ ทวีรตั น์, 2540 : 60-61)

กลมุ่ สอบกอ่ นทดลอง ทดลอง สอบหลงั ทดลอง
กลมุ่ ทดลอง T1 X T2

ความหมายของสัญลกั ษณ์
X หมายถงึ วธิ กี ารสอนแล้วสอบ
T1 หมายถึง การทดสอบกอ่ นการทดลอง (pre-test)
T2 หมายถึง การทดสอบหลังการทดลอง (post-test)
นาคะแนนหลังการทดลองเทียบกับเกณฑ์ การผ่าน 50 เปอรเ์ ซนต์

การเกบ็ รวบรมข้อมลู
1. ช้ีแจงใหน้ ักศกึ ษาไดร้ ับทราบเกี่ยวกบั กระบวนการจดั การเรียนการสอนทั้งหมด เนอ้ื หาทตี่ ้องเรียน

และวนั เวลาท่ีเรยี นและที่ต้องสอบ
2. ดาเนินการสอบก่อนเรยี นโดยใชส้ ่อื การเรยี นหลักสูตร iKids
3. ดาเนินการสอนใชส้ ่ือการเรียนหลักสตู ร iKids กาหนดวนั เวลาท่ีจะสอบ
3. ดาเนินการสอบนักเรยี น โดยนาแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นหุ่นยนตเ์ บื้องตน้ ชดุ เดิมไป

ทดสอบนกั เรียนอีกคร้ัง จากน้นั นาผลทไี่ ด้ไปวิเคราะห์ขอ้ มูลทางสถติ ติ อ่ ไป
6. นาคะแนนท่ีได้ไปเทยี บกับเกณฑท์ ่ีกาหนด ไวค้ ือ รอ้ ยละ 50

สถิติทีใ่ ช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู

ผวู้ ิจัยดาเนนิ การโดยใช้โดยใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ รูปทางสถิตสิ าหรับขอ้ มูลทางสงั คมศาสตร์ ตามขั้นตอน
ดงั น้ี

1.ศึกษาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวชิ า หุน่ ยนต์เบอื้ งตน้ ระดบั ช้นั ปวช. 1/4 วิทยาลัยเทคนคิ ระยองโดย
การหาคะแนนเฉลย่ี สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานและรอ้ ยละ

บทท่ี 4
ผลการวิจัย

ผลการพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นในวชิ าการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้โดยใช้ใช้สอื่ การ
เรยี นหลกั สตู ร iKids ปรากฏผลดงั ตาราง

ตารางท่ี 1 ผลการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในวิชาการวัดและประเมินผลการเรียนร้โู ดยใชว้ ิธกี ารสอบ
กอ่ นสอนปรับพ้ืน (โดยรวม)

การทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ N X S.D. Sig

คะแนนก่อนเรยี น 20 5.89 1.05 1.04**
** มีนัยสาคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั 0.05**

จากตารางท่ี 1 แสดงว่านักเรียนที่เรียนใช้วิธีการสอบก่อนสอน มีคะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนกอ่ นเรยี น ( X  5.89 )

ตารางท่ี 2 ผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้โดยใช้วิธีการสอน
ปรับพ้นื แลว้ สอบ (โดยรวม)

การทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ N X S.D. Sig
20 14.52 3.20 9.72**
คะแนนหลงั เรียน
** มนี ัยสาคัญทางสถิติทร่ี ะดบั 0.05**

จากตารางท่ี 2 แสดงว่านักเรียนท่ีเรียนใช้วิธีการสอนปรับพื้นสอบก่อนสอบสอน มีคะแนนเฉล่ีย
ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นหลงั เรียน ( X 14.52 ) จากคะแนนเตม็ 20 คิดเปน็ ร้อยละ 72.6

9

ตารางที่ 3 ผลการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในวิชาการวัดและประเมินผลการเรยี นร้โู ดยใชว้ ิธีการสอบ

กอ่ นและหลงั การสอนปรับพนื้ (รายบุคคล)

คนที่ คะแนนกอ่ นเรยี น คะแนนเฉลี่ย คะแนนหลังเรยี น คะแนนเฉล่ีย

20 คะแนน (ร้อยละ) 20 คะแนน (ร้อยละ)

15 25 14 70

25 25 12 60

37 35 15 75

45 25 14 70

56 30 12 60

68 40 12 60

77 35 18 90

87 35 18 90

95 25 14 70

10 5 25 12 60

11 6 30 10 50

12 5 25 9 45

13 5 25 20 100

14 8 40 15 75

15 5 25 19 95

16 6 30 18 90

17 6 30 11 55

18 5 25 17 85

19 6 30 16 80

20 8 40 15 75

จากตารางที่ 2 แสดงว่า นักเรียนท่ีเรียนใช้วิธีการสอนปรับพื้นแล้วสอบ มีคะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนหลังเรยี นพอดเี กณฑ์ร้อยละ 50 จานวน 19 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 95

บทท่ี 5
สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยในช้ันเรียน (classroom action research) มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนในวิชาหุ่นยนต์เบื้องตน้ โดยใชส้ ื่อการเรียนหลักสตู ร iKids แล้วสอบ กลมุ่ เป้าหมายท่ใี ช้
ในการวิจัยคร้งั น้ี คือ นักเรียนระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพ//(ปวช.)//ช้ันปที ี่//1/4//สาขาวิชาอิเลก็ ทรอนิกส์
วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง//ภาคเรียนที่/2//ปีการศึกษา//2562 โดยเลือกมาจานวน 20 คนเครื่องมือท่ีใช้ในการ
เก็บรวบรวมขอ้ มูล คือ แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ รปู แบบ
การทดลองท่ีใช้ คือ การศึกษาคร้ังนี้มีแบบแผนการทดลอง(Experimental Design) กลุ่มเดียวทดสอบก่อน
และหลังการทดลอง One Group Pretest – Posttest Design ( พวงรัตน์ ทวีรัตน์, 2540 : 60-61) โดย
การนาคะแนนก่อนและหลังการทดลองไปเทียบกับเกณฑ์การผ่านร้อยละ 50 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ได้แก่ ร้อยละ คา่ เฉลีย่ และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

สรุปผลการวจิ ัย

การดาเนินการทดลองเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาหนุ่ ยนต์เบอื้ งตน้ จากผลการทดลองสรุป
ได้ดงั น้ี

ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี นที่เรียนด้วยวิธีการประกอบหุ่นยนต์โดยใช้ส่ือ
การเรียนหลกั สตู ร iKids แล้วสอบ พบวา่ นักเรียนทเี่ รยี นใช้วิธกี ารประกอบวงจรโดยใช้ส่ือการเรียนหลักสูตร
iKids แล้วสอบ มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ซ่ึงเมื่อทาการ
เปรียบเทียบกับผลก่อนมีระดับดี โดยมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 12.37 จากก่อนสอบมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี
ระดับ 1.11 และนักเรียนที่เรียนใช้สอนปรับพ้ืนแล้วสอบ มีคะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูง
กว่าเกณฑ์รอ้ ยละ 50 จานวน 19 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 95

อภปิ รายผลการวิจยั

จากผลการวิจยั สามารถอภิปรายผลไดด้ งั นี้
ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ีประกอบหุ่นยนต์ใช้สื่อการเรียนหลักสูตร
iKids แล้วสอบ มีคะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ซ่ึงเมื่อทาการ
เปรียบเทียบกับผลก่อนมีระดับดี โดยมีนยั สาคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดับ .00 จากก่อนสอบมนี ยั สาคัญทางสถิติทร่ี ะดับ
1.37 และนักเรียนที่เรียนใช้สอนปรับพื้นแล้วสอบ มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่า
เกณฑ์ร้อยละ 50 จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 95 เนื่องจากการประกอบหุ่นยนต์โดยใช้สื่อการเรียน

11

หลักสูตร iKids แล้วสอบทาให้นักศึกษาได้มีเรียนรู้พ้ืนฐานเพิ่มขึ้น เพ่ือให้ผู้สอนทราบว่าผู้เรียนได้บรรลุตาม
จุดประสงคท์ ตี่ ้ังไว้หรอื ไม่เพียงใด นกั เรยี นบกพร่องในเร่ืองใด ครูจะได้ทาการปรับปรุงการสอนให้เหมาะสม ใน
ขณะเดียวกนั ผสู้ อนก็สามารถนาผลการสอบมาใชใ้ นการปรับปรุงการเรียนการสอนของตนเองให้มปี ระสิทธิภาพ
มากขน้ึ

ขอ้ เสนอแนะ

1. ข้อเสนอแนะจากการวจิ ยั ครัง้ น้ี เน่อื งจากการทดลองคร้งั น้มี ไิ ดเ้ ร่มิ ทดลองต้ังแต่ชว่ งแรก ทาให้ผล
การเรียนของนกั ศึกษามผี ลการเรยี นที่มากนัก ถ้าไดท้ าการทดลองต้ังแต่เริม่ จะมผี ลทาให้นกั เรียนมีผลการเรยี น
ทด่ี มี ากข้ึน

12

บรรณานกุ รม

กมลรตั น์ หล้าสวุ รรณ.จติ วทิ ยาการศึกษา ฉบับปรบั ปรงุ ใหม.่ กรุงเทพฯ : ศรีเดชา, 2528.
ชวาล แพรตั กุล.เทคนิคการวดั ผล. กรงุ เทพฯ : วัฒนาพานิช, 2536.
นิภา เมธธาวีชัย.การประเมนิ ผลและการสรา้ งแบบสอบถาม. กรุงเทพฯ : วิทยาลยั ครูธนบุร,ี

2533.
ไพศาล หวังพานิช.การวัดผลทางการศกึ ษา.กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ , 2526.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2538). เทคนิคการวจิ ยั ทางการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: สุวรี ยิ าสาส์น
ศิริโสภาคย์ บรู พาเดชะ.จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : โรงพิมพจ์ ุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ,

2528.
Bloom, B.S.,and others. Handbook on Foprmative and Summative Evaluation of Student

Learning. New York : McGraw-Hill, 1971.

13

ภาคผนวก

ประวัติผู้วจิ ยั

ชอ่ื นางสาวระพพี รรณ เดอ่ื คา

ภาควิชา ครุศาสตรว์ ศิ วกรรม

หลกั สูตรครุศาสตร์อตุ สาหกรรมบัณฑติ (ครุศาสตรว์ ิศวกรรม)

เบอร์โทรศพั ท์ติดตอ่ 0918175811

ประวัตกิ ารศกึ ษา

ปี พ.ศ. ประวตั ิการทางาน หนว่ ยงาน
2560 – ปจั จุบนั วิทยาลยั เทคนิคระยอง
ตาแหน่ง
ครูอตั ราจา้ ง
ผชู้ ่วยหัวหนา้ งาน

- งานปกครอง
- งานบุคลากร


Click to View FlipBook Version