The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

926 ชาดกศิษย์-อาจารย์114-3-62 เดี่ยว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ICT Banjongrat, 2021-06-16 23:35:03

926 ชาดกศิษย์-อาจารย์114-3-62 เดี่ยว

926 ชาดกศิษย์-อาจารย์114-3-62 เดี่ยว

www.kalyanamitra.org

www.kalyanamitra.org

ชาดก เรือ่ ง ศษิ ย์ - อาจารย์
ISBN : 978-616-8103-08-1
เรยี บเรียง : สิริปุณโฺ ณ
ภาพประกอบ : www.dmc.tv และเวบไซตอ์ นื่ ๆ
ออกแบบปก : วิทยา สุทธศิ รีโยธิน
รูปเล่ม/จดั อารต์ : สุกญั ญา บญุ ทนั
พิมพ์คร้งั ท่ี ๑ : พ.ศ. ๒๕๖๒

ลิขสิทธแ์ิ ละจัดพิมพ์โดย :
สมาคมสมาธเิ พื่อการพฒั นาศีลธรรมโลก
โทร. ๐๓๘-๔๒๐๐๔๓
พมิ พ์ที่ : บริษทั พมิ พ์ดี จำ� กดั
โทร. ๐-๒๔๐๑-๙๔๐๑

ขอ้ มูลทางบรรณานุกรมของสำ� นกั หอสมุดแห่งชาติ
National Library of Thailand Cataloguing in Publication Data
สิริ ปุณฺ โณ.
ชาดกเร่ืองศิษย-์ อาจารย.์ -- นนทบุรี : สมาคมสมาธิเพื่อการพฒั นา
ศีลธรรมโลก, 2562.
200 หนา้
1. ชาดกยอ่ . 2. ธรรมะศิษยก์ บั อาจารย.์
I. สิริปุณฺโณ ผคู้ น้ ควา้ และเรียบเรียง. II. ชื่อเรื่อง.
294.3184

www.kalyanamitra.org

ค�ำ นำ�

ชาดก เรื่องราวระหว่างอาจารย์กับศิษย์ ที่ปรากฎมีอยู่
หลายเร่อื ง จงึ นำ� มารวบรวมเปน็ หนังสือเล่มน้ี
อาจารยท์ างโลกสอนวชิ าความรเู้ พอื่ ใชด้ ำ� รงชวี ติ ประกอบ
สัมมาอาชวี ะในปจั จุบัน อาจารย์ทางธรรมสอนวิชชาเพอ่ื ความรู้
แจง้ และหลุดพ้น ฝึกวชิ าครมู านับภพนบั ชาติไมถ่ ว้ น จนในท่สี ดุ
ไดเ้ ปน็ บรมครูของชาวโลกและชาวสวรรค์
หากผู้อ่านจะได้ประโยชน์ ข้อคิด และหลักธรรมะบ้าง
ก็ถือเปน็ การบชู าคุณของครบู าอาจารย์ทั้งทางโลกและทางธรรม

ขอแสงสว่างแหง่ ธรรมะของพระสมั มาสัมพุทธเจ้า
จงบงั เกิดในดวงใจของทุกๆ ท่านเทอญ
สริ ิปณุ โฺ ณ
มาฆบชู า ๑๙ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒
ไลน์ไอดี Line ID : Siripunno
แฟนเพจ Facebook: Siripunno

อเี มล์ E-mail : [email protected]

www.kalyanamitra.org

สารบัญ

เมื่อศิษยม์ ีความเชือ่ ผดิ ๆ ๗
๑) นามสิทธิชาดก วา่ ด้วย ชอ่ื ไมเ่ ป็นของส�ำคญั

วิธฝี ึกศิษย์โง่
๒) นงั คลสี ชาดก ว่าด้วย คนพาลกล่าวค�ำที่ไม่ควรกล่าว ๑๓

ศิษยร์ เู้ รียนผกู แตไ่ มร่ วู้ ิธแี ก้ ๒๑
๓) สัญชีวชาดก วา่ ด้วย โทษที่ยกยอ่ งอสัตบรุ ุษ

อาจารย์บอกคาถาปอ้ งกนั ภัยให้ลูกศษิ ย์ ๓๑
๔) ถุสชาดก วา่ ด้วย รูจ้ ักแกลบหรอื ข้าวสารในที่มืด ๔๑
๕) มูสิกชาดก วา่ ดว้ ยควรเรียนทุกอย่าง
แตไ่ ม่ควรใช้ทุกอย่าง

ศษิ ย์ดือ้ ไมจ่ ำ� ค�ำเตอื นของอาจารย์ ๕๑
๖) เวนสาขชาดก วา่ ดว้ ย ท�ำดไี ด้ดี ท�ำชั่วได้ชัว่

ศษิ ยค์ ดิ ตเี สมออาจารย์ จึงต้องพบกบั ความพินาศ
๗) อปุ าหนชาดก วา่ ดว้ ย อนารยชนยอ่ มใชศ้ ลิ ปะในทางผดิ ๖๑

๘) คุตตลิ ชาดก วา่ ดว้ ย ลกู ศษิ ยค์ ิดลา้ งครู ๖๗

www.kalyanamitra.org

วธิ ีสอนศิษย์ถอื ดอี วดตัว
๙) มลู ปรยิ ายชาดก วา่ ดว้ ย กาลเวลากนิ สตั วพ์ รอ้ มทงั้ ตวั เอง ๘๓

อาจารย์สอนวิธพี จิ ารณาใหล้ ูกศษิ ย์ ๘๙
เหมือนกันท้ังอดีตและปัจจุบัน
๑๐) สาธศุ ลี ชาดก ว่าดว้ ย เลือกเอาผู้มศี ีล

อาจารยส์ อนวิธแี ก้ปญั หาในครอบครัว ๑ ๙๓
๑๑) อนภริ ติชาดก ว่าด้วย จติ ขุ่นมวั -ไมข่ นุ่ มวั

อาจารย์สอนวธิ แี กป้ ญั หาในครอบครวั ๒
๑๒) อนภริ ตชิ าดก วา่ ดว้ ย เปรยี บหญงิ เหมอื นของ ๕ อยา่ ง ๙๙

อาจารย์สอนวธิ ีแก้ปัญหาในครอบครวั ๓ ๑๐๕
๑๓) ทรุ าชานชาดก วา่ ด้วยความรไู้ ดย้ ากของหญงิ

อาจารยส์ อนวิธีแกป้ ัญหาในครอบครวั ๔ ๑๑๓
๑๔) อมุ มาทันตชี าดก ว่าด้วย เสนาบดถี วาย
นางอุมมาท นั ตี แดพ่ ระราชา
อาจารย์สอนวิธีแกป้ ญั หาในครอบครัว ๕
๑๕) อสาตมนั ตชาดก ว่าด้วย หญิงเลวทราม ๑๒๓

www.kalyanamitra.org

อาจารยส์ อนเรอื่ งความประพฤตทิ เี่ ลวใหล้ กู ศษิ ยพ์ จิ ารณา
๑๖) ลาภครหิกชาดก วา่ ด้วย วิธีการหลอกลวง ๑๒๙

อาจารย์ลงโทษศษิ ย์เปน็ การสั่งสอน
๑๗) ตลิ มุฏฐชิ าดก ว่าด้วย การเฆ่ียนตีเปน็ การส่งั สอน ๑๓๕

อาจารยจ์ ับโกหกของศิษย์ ๑๔๓
๑๘) เสตเกตชุ าดก ว่าด้วย คนที่ได้ชอ่ื วา่ เปน็ ทศิ

ลกู ศิษยไ์ ด้รับทกุ ขเวทนา เพราะไมเ่ ช่อื ฟงั ค�ำสอน
๑๙) โลสกชาดก ว่าดว้ ยคนทีต่ อ้ งเศรา้ โศก ๑๔๙

ลกู ศษิ ย์ดื้อไมเ่ ช่อื คำ� เตือนอาจารย์
1๒0๐) เวฬุกชาดก ว่าด้วย คนท่ีนอนตาย ๑๖๕

๒๑) อนิ ทสมานโคตตชาดก ว่าด้วย การสมาคมกับสตั บุรษุ ๑๗๑

ลูกศิษย์หาอบุ ายเตือนอาจารย์ ๑๗๗
๒๒) การันทยิ ชาดก ว่าดว้ ย การท�ำท่ีเหลอื วสิ ยั

ลกู ศษิ ย์เตือนอาจารย์แลว้ ๑๘๓
๒๓) เวทพั พชาดก วา่ ด้วย ผ้ปู รารถนาประโยชน์
โดยไมแ่ ยบคายยอ่ มเดือดรอ้ น

๒๔) ทพุ พจชาดก ว่าดว้ ย ได้รบั โทษเพราะท�ำเกนิ ไป ๑๘๙

www.kalyanamitra.org

เมอื่ ลกู ศิษยม์ ีความเชือ่ ผิดๆ

๑) นามสทิ ธิชาดก๑

ว่าด้วย ชอ่ื ไมเ่ ปน็ ของส�ำคญั

สถานท่ีตรัส พระวหิ ารเชตวนั เมืองสาวตั ถี
ทรงปรารภ พระภกิ ษผุ หู้ วังความส�ำเรจ็ โดยชือ่ รูปหน่ึง
สาเหตุทีต่ รัส

ได้ยินว่า กุลบุตรผู้หน่ึง โดยนามช่ือว่า “ปาปกะ”
บวชถวายชวี ิตในพระศาสนา เมอ่ื ถูกพวกภกิ ษุเรยี กวา่

“มาเถดิ อาวโุ ส ปาปกะ หยุดเถดิ อาวุโส ปาปกะ”
ก็คดิ ว่า ‘ในโลกผูท้ ่ีมีช่ือวา่ ปาปกะ เขากลา่ วกนั วา่
ลามกเปน็ ตวั กาฬกรรณ๒ี เราตอ้ งใหพ้ ระอปุ ชั ฌายอ์ าจารย์
หาช่ือท่ีประกอบไปด้วยมงคลอย่างอ่นื ’
เธอเข้าไปหาอปุ ัชฌายอ์ าจารย์ กราบเรียนว่า

๑๒ มชกาามตฬรก.กัฏรรฐณกถี นา.อเรสรนถียกดถจาญั ชไารดกลักเษอกณนะิบทาีเ่ ตปช็นาอดัปกม,งลค.ล๕๖, น.๓๗๐,

๑. นามสิทธิ 7

www.kalyanamitra.org

ช่อื นัน้ สำ� คญั ไฉน

“นามน้ันสำ� คญั ไฉน
กหุ ลาบถึงเรียกขานดว้ ยชือ่ ใด
กย็ งั คงความหอมเชน่ เดิม”

8 ศษิ ยอ์ าจารย์

www.kalyanamitra.org

“ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ชื่อของผมเป็นอัปมงคล กรุณา
ตั้งชอ่ื อย่างอืน่ ให้กระผมเถิด.”

ครงั้ นนั้ อาจารยแ์ ละอปุ ชั ฌาย์ กก็ ลา่ วกะเธออยา่ งนวี้ า่
“ช่ือเป็นเพียงบัญญัติส�ำหรับเรียกกัน ขึ้นช่ือว่า
ความส�ำเร็จประโยชน์ไรๆ มิได้มีเพราะชื่อเลย เธอจง
พอใจชอ่ื ของตนนัน้ เถิด.”
เธอคงยงั ออ้ นวอนอยรู่ ำ่� ไป ความทเี่ ธอมงุ่ ความสำ� เรจ็
โดยช่อื น้ี เกิดแพร่หลายกระจายไปในสงฆ์.
อยู่มาวันหนึ่ง ภิกษุท้ังหลายนั่งประชุมกันในธรรม-
สภา ตงั้ เรอื่ งสนทนากนั วา่
“ท่านผู้มีอายุทง้ั หลาย ได้ยนิ ว่า ‘ภิกษุโน้นมุ่งความ
ส�ำเรจ็ โดยชอื่ ’ ขอให้ชว่ ยหาชอ่ื ท่ีเป็นมงคลให้”
พระบรมศาสดาเสดจ็ มาสู่ธรรมสภา ตรสั ถามว่า
“ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย พวกเธอประชุมสนทนากัน
ดว้ ยเรอื่ งอะไร ?”
เมอ่ื ภกิ ษทุ ง้ั หลายกราบทลู ใหท้ รงทราบแลว้ ตรสั วา่
“ดูก่อนภิกษุทง้ั หลาย มิใชแ่ ตใ่ นบัดนเี้ ทา่ น้นั แม้ใน
กาลกอ่ นเธอกม็ ุ่งความสำ� เร็จเพราะชื่อเหมอื นกัน”
แล้วทรงน�ำเอาเรือ่ งในอดีตมาสาธก ดังตอ่ ไปนี้ :

๑. นามสิทธิ 9

www.kalyanamitra.org

เนอ้ื หาชาดก
กาลครั้งหน่ึงนานมาแล้ว พระโพธิสัตว์เกิดเป็น

อาจารยท์ ศิ าปาโมกข์ อยใู่ นเมอื งตกั กสลิ า มลี กู ศษิ ยค์ นหนงึ่
ช่ือว่า “ปาปกะ” (นายบาป) เขาคิดว่าชื่อของเขาไม่เป็น
มงคล จงึ เขา้ ไปหาอาจารยแ์ ละขอใหอ้ าจารยต์ ง้ั ชอ่ื ใหใ้ หม่

อาจารยจ์ งึ บอกใหไ้ ปเทยี่ วแสวงหาชอ่ื ทตี่ นเองชอบใจ
มาแล้วจะท�ำพธิ เี ปลี่ยนชอ่ื ให้

เขาไดอ้ อกเดนิ ทางไปแสวงหาชอื่ ใหม่ จนถงึ เมอื งหนง่ึ
เดนิ ผา่ นขบวนญาตหิ ามศพไปปา่ ชา้ จงึ ถามถงึ ชอ่ื คนตาย
พวกญาติจึงบอกชอื่ วา่ “ชวี กะ” (นายบญุ รอด)

เขาถามว่า
“ช่อื ชีวกะก็ตายหรือ ?”
พวกญาตจิ ึงกล่าววา่
“จะช่ืออะไรๆ ก็ตายทั้งน้ัน ช่ือเป็นเพียงบัญญัติ
สำ� หรับเรยี กกันเท่าน้ัน”
พอเดินเข้าไปในเมือง พบเห็นพวกนายทุนก�ำลัง
จับนางทาสีเฆ่ยี นด้วยเชือกอยู่ จงึ ถามความนัน้ ทราบวา่
‘นางไม่ยอมให้ดอกเบี้ยจึงถูกลงโทษแทน’ ถามถึงชื่อ
นางทาสีนน้ั ทราบวา่ ชือ่ “นางธนปาลี” (นางรวย)

10 ศิษยอ์ าจารย์

www.kalyanamitra.org

จึงถามว่า
“ช่ือรวย ยังไม่มเี งินจา่ ยดอกเบ้ยี หรือ ?”
พวกนายทนุ จงึ ตอบวา่
“จะชื่อรวยหรอื จน เปน็ คนยากจนไดท้ ั้งน้นั ช่ือเป็น
เพียงบัญญัติเรียกกันเท่านัน้ ”
เขาเริ่มรู้สกึ เฉยๆ ในเรื่องช่อื ยิง่ ข้นึ
เขาได้เดินทางออกจากเมืองไป ในระหว่างทาง
พบคนหลงทางคนหน่ึง จึงถามชื่อทราบว่าช่ือ “ปันถกะ”
(นายช�ำนาญทาง) จึงถามวา่
“ขนาดชอื่ ชำ� นาญทาง ยงั หลงทางอย่หู รอื ?”
คนหลงทางจงึ ตอบว่า
“จะช่ือช�ำนาญทางหรือไม่ช�ำนาญทาง ก็มีโอกาส
หลงทางได้เท่ากัน เพราะช่ือเป็นบัญญัติส�ำหรับเรียกกัน
เท่านั้น”
เขาจงึ วางเฉยในเรอื่ งชอื่ เดนิ ทางกลบั ไปพบอาจารย์
แล้วเล่าเรื่องที่ตนพบเห็นมา ให้ฟังและขอใช้ช่ือนายบาป
เช่นเดิม อาจารย์จึงกล่าวคาถานวี้ า่
“เพราะเห็นคนชื่อเป็น ได้ตายไป หญิงช่ือรวย
กลับตกยาก และคนช่ือว่านักเดินทาง แต่กลับหลงทาง
อยู่ในป่า นายปาปกะจงึ ไดก้ ลบั มา”

๑. นามสิทธิ 11

www.kalyanamitra.org

พระบรมศาสดาทรงน�ำอดตี นทิ านนี้มาแล้ว ตรัสว่า
“ดกู อ่ นภิกษุทัง้ หลาย มใิ ช่แต่ในบดั น้เี ทา่ น้ัน แมใ้ น
ปางกอ่ น เธอกม็ งุ่ ความสำ� เรจ็ เพราะชอื่ มาแลว้ เหมอื นกนั ”
ประชุมชาดก
มาณพผูม้ งุ่ ความสำ� เรจ็ เพราะชอื่ ในครั้งน้ัน
ไดม้ าเป็น ภิกษุผ้มู งุ่ ความสำ� เรจ็ เพราะชอื่ ในบัดน้ี
บรษิ ัทของอาจารย ์ ไดม้ าเป็น พุทธบริษัท
สว่ นอาจารย์ ได้มาเปน็ เราตถาคตฉะน้ีแล.

12 ศษิ ยอ์ าจารย์

www.kalyanamitra.org

วธิ ีฝึกศิษยโ์ ง่

๒) นังคลสี ชาดก๓

วา่ ดว้ ย คนพาลกล่าวคำ� ไมค่ วรกลา่ ว

สถานทีต่ รัส พระเชตวันมหาวิหาร
ทรงปรารภ พระโลลุทายเี ถระ
สาเหตทุ ีต่ รสั

ไดย้ นิ วา่ พระเถระนน้ั เมอ่ื กลา่ วธรรม มไิ ดร้ ขู้ อ้ ทค่ี วร
และไม่ควรว่า ‘ในที่น้ีควรกล่าวข้อนี้ ในที่นี้ไม่ควรกล่าว
ขอ้ น’ี้

ในงานมงคล ก็กล่าวอวมงคล กล่าวอนุโมทนา
อวมงคล นวี้ ่า

“เปรตท้ังหลายพากันยืนอยู่ที่นอกฝาเรือน และท่ี
กรอบประตูและเช็ดหนา้ ” เป็นตน้

ครน้ั ถงึ งานอวมงคล เมอื่ กระทำ� อนโุ มทนากลบั กลา่ ววา่
“เทวดาและมนุษยท์ ้ังหลายเปน็ อนั มาก ไดค้ ดิ มงคล
ทั้งหลายกันแล้ว” เปน็ ต้น แลว้ กลา่ วย�ำ้ วา่

๓ ตน้ ฉบับ ชาตกัฏฐกถา อรรถกถาชาดก เอกนิบาตชาดก,
ล.๕๖, น.๔๗๙, มมร.

๒. นงั คลีส 13

www.kalyanamitra.org

14 ศิษยอ์ าจารย์

www.kalyanamitra.org

“ขอให้พวกท่านสามารถกระท�ำมงคลเห็นปานน้ัน
ให้ไดร้ ้อยเทา่ พนั เทา่ เถดิ ”

คร้ันวันหน่ึง ภิกษุทั้งหลาย พากันยกเร่ืองนี้ขึ้น
สนทนากัน ในโรงธรรมวา่

“ผู้มีอายุทั้งหลาย พระโลลุทายีมิได้รู้ข้อที่ควรและ
ไม่ควร กล่าววาจาท่ไี ม่นา่ กลา่ วท่ัวไปทกุ หนทกุ แห่ง.”

พระศาสดาเสดจ็ มา ตรัสถามวา่
“ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย บัดน้ี พวกเธอน่ังประชุม
สนทนากันดว้ ยเร่อื งอะไร ?”
คร้นั ภิกษทุ ้ังหลายกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว.
ตรัสว่า
“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดน้ีเท่านั้น ที่
โลลุทายีน้ี มีไหวพริบช้า เมื่อกล่าวก็ไม่รู้ข้อที่ควรและ
ไม่ควร แม้ในคร้ังก่อน ก็ได้เป็นอย่างนี้ เธอเป็นผู้เล่ือน
เป้อื นเรื่อยทีเดียว”
แล้วทรงน�ำเอาเร่ืองในอดตี มาสาธก ดังต่อไปนี้ :-

เนือ้ หาชาดก
ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติ

อยู่ในพระนครพาราณสี. พระโพธิสัตว์บังเกิดในสกุล
พราหมณม์ หาศาล เจรญิ วยั แลว้ เลา่ เรยี นสรรพศลิ ปวทิ ยา

๒. นงั คลสี 15

www.kalyanamitra.org

ในเมอื งตกั กสลิ า ไดเ้ ปน็ อาจารยท์ ศิ าปาโมกข์ ในพระนคร
พาราณสี บอกศลิ ปวทิ ยาแกม่ าณพ ๕๐๐.

ครั้งนั้น ในบรรดามาณพเหล่าน้ัน มีมาณพผู้หน่ึง
มีไหวพริบย่อหย่อน (ปัญญาอ่อน) เล่ือนเปื้อน๔ เป็น
ธัมมันเตวาสิก๕ เรียนศิลปะ แต่ไม่อาจจะเล่าเรียนได้
เพราะความเปน็ คนทบึ แตไ่ ดเ้ ปน็ ผมู้ อี ปุ การะตอ่ พระโพธ-ิ
สัตว์ ท�ำกจิ ทุกๆ อย่างใหเ้ หมือนทาส.

อยู่มาวันหน่ึง พระโพธิสัตว์บริโภคอาหารเย็นแล้ว
นอนเหนือเตยี งนอน กล่าวกะมาณพนั้น ผู้ท�ำการนวดมอื
เทา้ และหลงั ให้ แล้วจะไปวา่

“พอ่ คณุ เจา้ ชว่ ยหนนุ เทา้ เตยี งใหก้ อ่ น แลว้ คอ่ ยไปเถดิ .”
มาณพหนุนเท้าเตียงข้างหนึ่งแล้ว ไม่ได้อะไรที่จะ
หนุนเท้าเตียงอีกข้างหน่ึง ก็เลยเอาวางไว้บนขาของตน
จนตลอดคนื .
พระโพธิสตั วล์ กุ ขึ้นในตอนเช้า เห็นเขาแล้วถามวา่
“พอ่ คุณ เจ้านง่ั ท�ำไมเล่า ?”
เขาตอบวา่
“ท่านอาจารย์ขอรบั ผมหาอะไรหนุนเท้าเตียงไมไ่ ด้
เลยเอาวางไวบ้ นขาของตน นัง่ อยู่.”

๕๔ ธทรพี่ รูดมจนั าเเตลวอาะสเทกิ อ[ทะหํามาสันา]รนะ.ไมอ่ไันดเ้ตวาสกิ (ศิษย)์ ผ้เู รยี นธรรมวนิ ัย.
(ส. ป. ธมมฺ นฺเตวาสิก).

16 ศิษย์อาจารย์

www.kalyanamitra.org

พระโพธิสตั วส์ ลดใจ คดิ ว่า
‘มาณพมีอุปการคุณแก่เราย่ิงนัก ในกลุ่มมาณพ
มีประมาณเท่าน้ี เจ้าน้ีคนเดียวโง่กว่าเพ่ือน ไม่อาจ
ศึกษาศิลปะได้ ท�ำอย่างไรเล่าหนอ ? เราจึงจะท�ำให้เขา
ฉลาดขนึ้ ได.้ ’
ครัน้ แลว้ กไ็ ดเ้ กิดความคดิ ขึ้นว่า
‘มีอุบายอยู่อย่างหนึ่ง เราต้องคอยถามมาณพน้ี
ผู้ไปหาฟืนหาผักมาแลว้ วา่
“วันน้ี เจ้าเหน็ อะไร เจา้ ท�ำอะไร ?”
เมอื่ เป็นเชน่ น้ี เขาจะต้องบอกเราว่า
“วนั น้ี ผมเห็นสิ่งชื่อนี้ ทำ� กิจช่อื น้.ี ”
คร้นั แล้วเราตอ้ งถามว่า
“ทเ่ี จ้าเหน็ ท่ีเจ้าท�ำเช่นอะไร ?”
เขาจักบอกโดยอุปมาและโดยเหตุว่า อย่างน้ี
ด้วยวิธีน้ี เราให้เขากล่าวอุปมาและเหตุแล้ว จักท�ำให้
เขาฉลาดได้ ด้วยอบุ ายน.ี้ ’
ท่านจงึ เรยี กเขามาบอกวา่
“พ่อมาณพ ตั้งแต่บัดน้ีไป ในท่ีที่เจ้าไปหาฟืนและ
หาผัก เจ้าได้เห็นได้กินได้ดื่มหรือได้เค้ียวส่ิงใด ในท่ีนั้น
คร้ันมาแลว้ ต้องบอกส่งิ นนั้ แกเ่ รา.”

๒. นังคลสี 17

www.kalyanamitra.org

เขารับค�ำวา่
“ดีละ ขอรบั .”
วันหน่ึงไปป่าเพื่อหาฟืนกับมาณพทั้งหลาย เห็นงู
ในป่า. ครั้นมาแล้ว กบ็ อกวา่
“ทา่ นอาจารย์ครบั ผมเหน็ งู.”
ทา่ นอาจารยถ์ ามวา่
“พ่อคณุ ข้ึนชอื่ ว่างู เหมือนอะไร ?”
ตอบว่า
“แมน้ เหมอื นงอนไถครบั .”
อาจารยช์ มวา่
“ดแี ลว้ ดแี ลว้ พอ่ คุณ อปุ มาทเ่ี จ้านำ� มาวา่ งูเหมือน
งอนไถเปน็ ท่พี อใจละ.”
ครั้งนนั้ พระโพธสิ ตั วด์ �ำริวา่ ‘อปุ มานา่ พอใจ มาณพ
นำ� มาได้ เราคงอาจจะทำ� ใหเ้ ขาฉลาดได.้ ’

ฝ่ายมาณพ วันหน่ึงเห็นชา้ งในป่า มาบอกว่า
“ทา่ นอาจารยค์ รับ ผมเหน็ ชา้ ง.”
อาจารยซ์ กั ว่า
“ช้างเหมอื นอะไรเลา่ พ่อคุณ ?”
ตอบว่า
“กเ็ หมือนงอนไถนัน่ แหละ”

18 ศษิ ยอ์ าจารย์

www.kalyanamitra.org

พระโพธิสัตว์คิดว่า ‘งวงช้างก็เหมือนงอนไถ อ่ืนๆ
เช่นงา เป็นต้น ก็พอจะมีรูปร่างเช่นน้ันได้ แต่มาณพน้ี
ไม่อาจจ�ำแนกกล่าวได้ เพราะตนโง่. ชะรอยจะพูดหมาย
เอางวงชา้ ง’ แล้วก็นิง่ ไว.้

อยู่มาวันหนึ่ง มาณพได้กินอ้อยในท่ีที่เขาเชิญไป
กม็ าบอกวา่

“ทา่ นอาจารยค์ รบั วันนี้ ผมไดเ้ คี้ยวอ้อย.”
เมื่อถกู ซกั ว่า
“อ้อยเหมือนอะไรเล่า ?”
กก็ ล่าววา่
“เหมอื นงอนไถอย่างไรเลา่ ครับ.”
อาจารย์คดิ ว่า
‘มาณพ กลา่ วเหตผุ ลสมควรหน่อย’ แล้วคงนง่ิ ไว้.

อีกวันหนึ่ง ในท่ีที่ได้รับเชิญ มาณพบางหมู่บริโภค
นำ�้ ออ้ ยงบกับนมส้ม บางหมูบ่ รโิ ภคน�้ำออ้ ยกบั นมสด.

มาณพน้ันมาแล้วกลา่ วว่า
“ท่านอาจารย์ครับ วันน้ีผมบริโภคทั้งนมส้มและ
นมสด.”
ครน้ั ถกู ซักว่า
“นมสม้ นมสดเหมือนอะไร ?”

๒. นงั คลีส 19

www.kalyanamitra.org

กต็ อบว่า
“เหมอื นงอนไถอยา่ งไรเลา่ ครบั .”
อาจารยก์ ลา่ ววา่
“มาณพน้ี เมอ่ื กลา่ ววา่ งเู หมอื นงอนไถ เปน็ อนั กลา่ ว
ถกู ต้องกอ่ นแล้ว. แม้กล่าวว่า ชา้ งเหมือนงอนไถ ก็ยงั พอ
กลา่ วไดด้ ว้ ยเลห่ ท์ ห่ี มายเอางวง. แมท้ ก่ี ลา่ ววา่ ออ้ ยเหมอื น
งอนไถ กย็ งั เขา้ ทา่ . แตน่ มสม้ นมสดขาวอยเู่ ปน็ นจิ ทรงตวั
อยดู่ ว้ ยภาชนะ ไมน่ า่ จะกลา่ วอปุ มาในขอ้ นไี้ ด้ โดยประการ
ทัง้ ปวงเลย เราไม่อาจใหค้ นเลือ่ นเป้อื นผูน้ ศ้ี ึกษาได.้ ”
จงึ กล่าวคาถานี้ ความวา่ :-
“คนโง่ ยอ่ มกลา่ วคำ� ทไ่ี มค่ วรกลา่ ว ทกุ อยา่ ง ไดใ้ นที่
ทุกแห่ง คนโง่น้ีไม่รู้จักเนยข้น และงอนไถ ย่อมส�ำคัญ
เนยขน้ และนมสด ว่าเหมือนงอนไถ” ดังนี้.

พระโพธิสัตว์คิดว่า ‘ประโยชน์อะไรด้วยมาณพน้ี’
จึงบอกกล่าวแก่ พวกอันเตวาสิกทง้ั หลายใหเ้ สบยี ง แล้ว
สง่ มาณพน้นั กลบั ไป.

ประชุมชาดก
มาณพเลอื่ นเปื้อนในคร้งั น้ัน ได้มาเปน็ โลลทุ ายี
ส่วนอาจารย์ทิศาปาโมกข์ ได้มาเป็น เราตถาคต

ฉะน้ีแล.

20 ศษิ ย์อาจารย์

www.kalyanamitra.org

ศษิ ย์รู้เรยี นผกู แตไ่ ม่ร้วู ธิ ีแก้

๓) สัญชวี ชาดก๖

วา่ ด้วย โทษท่ยี กยอ่ งอสัตบรุ ษุ

สถานทต่ี รสั วัดเวฬวุ ัน เมอื งราชคฤห์
ทรงปรารภ การยกยอ่ งอสตั บรุ ษุ ของพระเจา้ อชาตศตั รู
สาเหตุทต่ี รัส

พระเจ้าอชาตศัตรูน้ัน ทรงเล่ือมใสในพระเทวทัต
ผทู้ ุศลี มีบาปธรรม เปน็ เสีย้ นหนามตอ่ พระพุทธองค์และ
พุทธสาวก ทรงยกย่องพระเทวทัตนั้น ผู้ไม่สงบระงับ
เป็นอสตั บุรุษ ทรงพระด�ำริวา่ ‘จกั ทำ� สักการะแก่เธอ’

ดังนี้แล้ว ทรงบริจาคทรัพย์เป็นอันมาก ให้สร้าง
วหิ ารทค่ี ยาสสี ประเทศ ทรงเชอ่ื ถอ้ ยคำ� ของเธอ สำ� เรจ็ โทษ
พระราชบดิ าผเู้ ปน็ พระราชาผตู้ ง้ั อยใู่ นธรรม เปน็ พระอรยิ -
สาวกชน้ั พระโสดาบันเสยี ตดั รอนอุปนสิ ัยแหง่ โสดาปตั ติ-
มรรคของพระองค์ ถงึ ความพนิ าศใหญ่หลวง.

๖ ลต.้น๕ฉ๖บ, บัน.๖ช๐าต๗ก,ฏั มฐมกรถ. า อรรถกถาชาดก เอกนิบาตชาดก,

๓. สัญชีว 21

www.kalyanamitra.org

22 ศิษยอ์ าจารย์

www.kalyanamitra.org

ครนั้ ทา้ วเธอทรงสดบั วา่ ‘พระเทวทตั ถกู แผน่ ดนิ สบู ’
ก็สะดุ้งตกพระทัยว่า ‘ตัวเราเล่า จักถูกแผ่นดินสูบบ้าง
ไหมหนอ ?’ ไม่ได้รบั ความสุขในราชสมบตั ิ ไม่ได้ประสบ
ความยนิ ดี บนพระแทน่ บรรทม ทรงหวาดผวาอยเู่ ทย่ี วไป
เหมอื นเปรตทถี่ กู ทรมานอยา่ งรนุ แรง ทา้ วเธอนกึ เหน็ เปน็
เสมอื นกำ� ลงั ถกู แผน่ ดนิ สบู เหมอื นเปลวเพลงิ ในอเวจกี ำ� ลงั
แลบออกมา และเหมอื นพระองคถ์ กู บงั คบั ใหบ้ รรทมหงาย
เหนือแผ่นดินเหล็กท่ีร้อน แล้วถูกแทงด้วยหลาวเหล็ก
ฉะน้นั ด้วยเหตนุ ั้น ขึน้ ชือ่ วา่ ความสงบพระทยั แมช้ ว่ั ครู่
จงึ มิได้มแี ก่พระองค์ผหู้ วาดผวาเหมอื นไก่ท่ีถกู เชอื ด

ท้าวเธอมีพระประสงค์จะเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ทรงมีพระประสงค์จะให้พระพุทธองค์ทรงอดโทษ ท้ังมี
พระประสงคจ์ ะทลู ถามปญั หา แตเ่ พราะพระองคม์ คี วามผดิ
อย่างใหญห่ ลวง จงึ มอิ าจทีจ่ ะเขา้ เฝ้าได้.

คร้ังน้ันประจวบกับพระนครราชคฤห์ มีงานราตรี
ประจ�ำเดือนกัตติกา๗ ประชาชนพากันตกแต่งบ้านเมือง
ประหนึ่งเทพนคร

๗ [กัด-] น. ดาวฤกษ์ท่ี ๓ มี ๘ ดวง เหน็ เปน็ รูปธงสามเหลย่ี ม มีหาง
เรียวยาว ดาวธงสามเหล่ียม หรือ ดาวลูกไก่ ก็เรียก (โบ)
เขียนเป็น กฤติกา กม็ ี. (ป. กตตฺ กิ าส. กฤฺ ตฺติกา).

๓. สญั ชวี 23

www.kalyanamitra.org

พระเจ้าอชาตศัตรูแวดล้อมไปด้วยหมู่อ�ำมาตย์
ประทบั นง่ั เหนอื พระราชอาสนท์ องคำ� ในทอ้ งพระโรงหลวง
ทอดพระเนตรเห็นหมอชีวกโกมารภัจน่ังเฝ้าอยู่ไม่ห่าง
ได้ทรงมีพระปริวิตกวา่

‘เราจักชวนหมอชีวกไปเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
แต่เราไม่อาจที่จะชวนไปตรงๆ ทีเดียวว่า ชีวกผู้สหาย
เราไมส่ ามารถทจี่ ะไปตามลำ� พงั ได้ มาเถดิ เธอชว่ ยพาฉนั
ไปเฝ้าพระศาสดาด้วยเถิด’ ดังนี้ ต้องพรรณาถึงความ
เพริศพริ้งงดงามแห่งยามราตรีแก่เขา ด้วยปริยายเป็น
อันมาก แลว้ จงึ คอ่ ยกลา่ วว่า

“ไฉนเล่าหนอ วันน้ีพวกเราน่าจะเข้าไปหาสมณะ
หรอื พราหมณ์ท่เี มอ่ื พวกเราเขา้ ไปหาทา่ น จะพงึ ทำ� จติ ใจ
ใหผ้ อ่ งใสได้”

ฟังค�ำน้ันแล้ว พวกอ�ำมาตย์จักพากันพรรณนาคุณ
ศาสดาท้ังหลายของตน ถึงหมอชีวกเล่า ก็คงจะกล่าว
พรรณนาคุณ แห่งพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ เมื่อเป็นเชน่ น้ัน
เราจกั ชวนเขาไปสูส่ ำ� นกั พระศาสดา’ ดังนี้

ทา้ วเธอจงึ พรรณนาราตรกี าล ดว้ ยบททง้ั ๕ ดงั นี้ :-
ชาวเราเอ๋ย คนื วนั เพ็ญ เจดิ จ้า แท้หนอ
ชาวเราเอย๋ คืนวันเพญ็ งามจรงิ ยิ่งหนอ

24 ศษิ ย์อาจารย์

www.kalyanamitra.org

ชาวเราเอย๋ คืนวนั เพ็ญ น่าทศั นา จริงหนอ
ชาวเราเอย๋ คนื วันเพญ็ แจ่มใส จริงหนอ
ชาวเราเอย๋ คนื วันเพญ็ นา่ รนื่ รมย์ แทห้ นอ
“วันน้ีใครเล่าหนอท่ีชาวเราควรเข้าไปหา ท่านผู้ใด
เล่าทพ่ี วกเราเขา้ ไปหา จิตใจจะพึงเล่อื มใสได”้

คร้งั นั้น อำ� มาตย์ผ้หู น่งึ กล่าวถึงคณุ ของปรู ณกสั สป
คนหน่ึงกล่าวถึงคุณของมักขลิโคศาล คนหนึ่งกล่าวถึง
คณุ ของอชติ เกสกมั พล คนหนงึ่ กลา่ วคณุ ปกทุ ธกจั จายนะ
คนหน่ึงกล่าวคุณของสญชัยเวลัฏฐบุตร คนหนึ่งกล่าว
คณุ ของนิครนถนาฏบุตร.

พระราชาทรงสดับค�ำของเขาเหล่าน้ันแล้ว ได้ทรง
ดุษณีภาพ๘ด้วยว่า ‘ท้าวเธอทรงปรารถนาถ้อยค�ำของ
มหาอำ� มาตย์ชีวกเท่าน้ัน’

ฝ่ายหมอชีวกด�ำริว่า ‘เม่ือพระราชาตรัสกับเรา
นั่นแหละ เราจึงจักกราบทูล’ ดังนี้แล้ว ก็นั่งน่ิงอยู่ในที่
ไม่ไกล.

คร้งั น้ัน พระราชาจึงตรัสกะเขาว่า
“ดกู ่อนสหายชวี ก ทา่ นเล่าทำ� ไมจงึ นงิ่ เสยี ?”

๘ ดุษฎี [ดุดสะดี] น. ความยนิ ดี ความช่นื ชม. (ส.)

๓. สัญชวี 25

www.kalyanamitra.org

ขณะนัน้ ชวี กกล็ กุ จากอาสนะ ประนมอัญชลีไปทาง
ทีพ่ ระผูม้ พี ระภาคเจ้าประทบั อยู่ กราบทลู วา่

“ขอเดชะ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ผเู้ ปน็ พระอรหนั ต์ เปน็
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์น้ัน ก�ำลังเสด็จประทับอยู่
ณ สวนมะม่วงของข้าพระองค์ กับภิกษุสงฆ์ ๑,๒๕๐ รูป
ก็แลกิตติศัพท์อันงามอย่างนี้ เฉพาะพระผู้มีพระภาคเจ้า
พระองคน์ นั้ ระบอื ไปแลว้ พลางประกาศปาฏหิ ารยิ เ์ กา้ รอ้ ย
ประการ อานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้า มีบุรพนิมิต
ตง้ั แตป่ ระสตู เิ ป็นต้น เปน็ ประเภท”๙

แลว้ กราบทลู วา่
“ขอเชิญพระองค์ผู้สมมติเทพ เสด็จเข้าไปเฝ้าพระ-
ผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์น้ัน ทรงสดับธรรม ตรัสถาม
ปญั หาเถดิ พระเจ้าขา้ .”
พระราชาทรงมีพระมโนรถ๑๐เต็มเป่ยี ม ตรสั ว่า
“สหายชวี ก ถา้ เชน่ นั้น เธอจงส่งั ใหจ้ ดั แจงช้างเถดิ ”

คร้ันรับสั่งให้จัดเตรียมยานพาหนะแล้ว จึงเสด็จ
ด�ำเนินไปสู่ชีวกัมพวัน ด้วยราชานุภาพอันใหญ่หลวง

๙ สว่ นทแี่ บง่ ยอ่ ยออกเป็นพวก ชนิด หมู่ เหล่า เป็นต้น
๑ ๐ ความประสงค,์ ความต้องการ, ความใฝฝ่ นั , ความหวงั .

26 ศษิ ย์อาจารย์

www.kalyanamitra.org

ทอดพระเนตรเห็นพระตถาคตเจ้าแวดล้อมด้วยหมู่ภิกษุ
ในโรงโถง ณ ชวี กัมพ

วันนั้น ทรงช�ำเลืองดูหมู่ภิกษุผู้ปราศจากการ
เคลื่อนไหว ประหน่ึงเรือใหญ่ในท่ามกลางทะเลยาม
มีคลื่นลมสงบลงแล้ว ฉะน้ัน โดยถ้วนทั่ว ทรงเลื่อมใส
ในอิรยิ าบถนน้ั แล ดว้ ยทรงพระด�ำรวิ ่า

‘บริษัทเห็นปานดังนี้ เราไม่เคยเห็นเลย’ พลาง
ประคองอัญชลีแด่พระสงฆ์ ตรัสชมเชย ถวายบังคม
พระผู้มีพระภาคเจ้า ประทับน่ัง ณ ท่ีควรส่วนข้างหนึ่ง
แล้วกราบทลู ถามปญั หาในสามัญญผล.

คร้ังน้ัน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงสามัญญผล-
สตู ร ประดบั ดว้ ยภาณวาร๑๑ ๒ ภาณวารแกท่ า้ วเธอ

ในเวลาจบพระสูตร ท้าวเธอดีพระทัย ทูลขอให้
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอดโทษ เสด็จลุกจากอาสนะ
ทรงกระท�ำประทกั ษณิ แลว้ เสด็จหลีกไป.

เมื่อพระราชาเสด็จไปแล้วไม่นาน พระศาสดาตรัส
เรียกภกิ ษุทัง้ หลายมา ตรัสวา่

“ดกู อ่ นภกิ ษทุ งั้ หลาย พระราชาองคน์ ถ้ี กู ขดุ เสยี แลว้
ถูกโค่นเสียแล้ว ถ้าท้าวเธอจักไม่ปลงพระชนม์พระราช-

๑๑ ธรรมท่ีจดั ไว้เปน็ หมวด, หมวดหนงึ่ ๆ.

๓. สัญชวี 27

www.kalyanamitra.org

บิดาผู้ประกอบด้วยธรรม เป็นราชาโดยธรรมเสีย เพราะ
มงุ่ ความเปน็ ใหญไ่ ซร้ ธรรมจกั ษอุ นั ปราศจากธลุ ี ปราศจาก
มลทิน จกั บังเกดิ ในขณะประทบั นง่ั นี้ทีเดียว

แตท่ า้ วเธออาศยั พระเทวทตั ทำ� การยกยอ่ งอสตั บรุ ษุ
จึงเสอ่ื มเสียจากโสดาปัตตผิ ล”

ในวนั รงุ่ ขนึ้ ภกิ ษุท้งั หลายยกเรอ่ื งขึ้นสนทนากนั ใน
ธรรมสภาวา่

“ผู้มีอายุท้ังหลาย ได้ยินว่า ‘พระเจ้าอชาตศัตรู
เสอ่ื มเสยี จากโสดาปตั ตผิ ล เพราะทำ� การยกยอ่ งอสตั บรุ ษุ
อาศัยพระเทวทัตผู้ทุศีล มีบาปธรรม ทรงกระท�ำปิตุฆาต
กรรม เป็นพระราชาทพ่ี ระเทวทัตให้ฉบิ หายแล้ว’.”

พระศาสดาเสดจ็ มาตรัสถามว่า
“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ พวกเธอนั่งประชุม
สนทนากันดว้ ยเร่อื งอะไร ?”
เมอ่ื ภกิ ษทุ งั้ หลายกราบทลู ใหท้ รงทราบแลว้ ตรสั วา่
“ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย มิใช่แต่ในบัดน้ีเท่านั้น ที่
อชาตศัตรูท�ำการยกย่องอสัตบุรุษ ถึงความพินาศอย่าง
ใหญ่หลวง แม้ในกาลก่อน เธอก็ท�ำลายตนเสียด้วยการ
ยกย่องอสตั บุรุษเหมอื นกัน.”
ทรงนำ� เรื่องราวในอดตี มาสาธก ดังตอ่ ไปน้ี :-

28 ศษิ ย์อาจารย์

www.kalyanamitra.org

เนอ้ื หาชาดก
ในกาลครั้งหน่ึงนานมาแล้ว พระโพธิสัตว์เกิดเป็น

อาจารยท์ ิศาปาโมกข์ มลี กู ศิษยป์ ระมาณ ๕๐๐ คน ในนนั้
มีมานพ คนหน่ึงช่ือ “สัญชีวะ” ได้เรียนมนต์ท�ำคนตาย
ให้ฟื้นคนื มาได้ แตไ่ มไ่ ด้เรียนมนต์สำ� หรับปอ้ งกนั

วันหน่ึง เขาเข้าไปหาฟืนกับเพื่อน เห็นเสือตาย
ตัวหนึ่งนอนตายอยู่ ก็พูดกบั เพ่ือนๆ วา่

“เราจะทำ� เสอื ตายตวั น้ี ใหฟ้ น้ื คนื มา พวกทา่ นจะเชอื่
เราหรือไม่ ?”

พวกเพ่อื นๆ ไมเ่ ชือ่ และท้าว่า
“ถา้ ทา่ นมคี วามสามารถ กจ็ งปลกุ ใหม้ นั ตน่ื ขน้ึ มาเถดิ ”
แลว้ ก็ต่างรบี ปีนข้นึ ตน้ ไมไ้ ป
ส่วนนายสัญชีวะ ร่ายมนต์แล้วขว้างเสือตายด้วย
ก้อนหิน ทันใดนั้นเอง เสือได้ลุกขึ้นกระโดดกัดท่ีก้านคอ
ของเขา ทำ� ใหเ้ ขาเสยี ชวี ติ ลม้ ลงตรงนนั้ เอง ทง้ั คนและสตั ว์
นอนตายในทเ่ี ดยี วกนั พวกมานพขนฟนื กลบั ไป แลว้ บอก
เรอ่ื งนน้ั แก่อาจารย์
อาจารย์จึงกลา่ วคาถาว่า

ผู้ใดยกย่องและคบหาคนชั่ว
คนช่วั ย่อมกระท�ำผ้นู ้นั แหละ ให้เปน็ เหย่อื

๓. สญั ชีว 29

www.kalyanamitra.org

เหมือนเสือโคร่งท่ีสัญชวี มานพท�ำใหฟ้ ืน้ ข้นึ
แล้วท�ำเขาน้ันแล ให้เปน็ เหยอ่ื
พระโพธิสัตว์ แสดงธรรมแก่มาณพท้ังหลาย
ด้วยคาถาน้ี กระท�ำบุญมีให้ทานเป็นต้น แล้วก็ไปตาม
ยถากรรม.
ประชุมชาดก
มาณพผทู้ �ำเสอื ตายให้ฟ้ืนในคร้ังนนั้
ไดม้ าเป็น พระเจา้ อชาตศัตรใู นบดั นี้
ส่วนอาจารยท์ ศิ าปาโมกข์ ได้มาเป็น เราตถาคต

30 ศิษยอ์ าจารย์

www.kalyanamitra.org

อาจารยบ์ อกคาถาป้องกนั ภยั ให้ลูกศษิ ย์ ๑

๔) ถุสชาดก๑๒

ว่าด้วย รู้จกั แกลบหรอื ขา้ วสารในทีม่ ดื

สถานทตี่ รสั พระเวฬุวันวิหาร
ทรงปรารภ พระเจา้ อชาตศัตรู
สาเหตุทตี่ รสั

ได้ยินว่า เมื่อพระเจ้าอชาตศัตรูนั้นอยู่ในพระครรภ์
ของพระมารดาน้นั พระมารดาของเธอผู้เป็นพระราชธดิ า
ของพระเจ้าโกศล เกิดแพ้พระครรภ์ อยากด่ืมพระโลหิต
ในพระชานุ๑๓ข้างขวาของพระเจ้าพิมพิสาร เป็นอาการ
แรงกล้า.

พระนางถกู นางสนมผรู้ บั ใชท้ ลู ถาม จงึ บอกความนนั้
แก่นางสนมเหล่านัน้ .

ฝ่ายพระราชาได้ทรงสดับแล้ว รับสั่งให้เรียกโหร
ผูท้ �ำนายนิมิตมาแล้วตรัสถามว่า

๑๒ ต้นฉบบั ชาตกัฏฐกถา อรรถกถาชาดก จตุกกนิบาตชาดก,
๑ ๓ ลพ.ร๕ะ๘ช,านนุ.๖เข๓า่ ๓, มมร.

๔. ถุส 31

www.kalyanamitra.org

32 ศิษยอ์ าจารย์

www.kalyanamitra.org

“เขาว่าพระเทวีทรงเกดิ การแพ้พระครรภ์เหน็ ปานนี้
ความสำ� เร็จของพระนางจะเปน็ อย่างไร ?”

พวกโหรผทู้ �ำนายนมิ ิตกราบทูลว่า
“สตั วผ์ อู้ บุ ตั ใิ นพระครรภข์ องพระเทวี จกั ปลงพระชนม์
พระองคแ์ ล้วยึดราชสมบตั ิ.”
พระราชาตรัสวา่
“บุตรของเราจักฆ่าเราแล้วยึดราชสมบัติ ในข้อนั้น
จะมโี ทษอะไร แลว้ ทรงเฉอื นพระชานขุ า้ งขวาดว้ ยพระแสง๑๔
เอาจานทองรองรับพระโลหิตแลว้ ประทานใหพ้ ระเทวีด่มื
พระเทวนี น้ั ทรงด�ำริว่า
‘ถ้าโอรสผู้เกิดในครรภ์ของเราจักปลงพระชนม์
พระบดิ าไซร้ เราจะประโยชน์อะไรดว้ ยพระโอรสนน้ั ’
พระนางจงึ ใหร้ ีดพระครรภ์ เพอ่ื ใหค้ รรภต์ กไป.
พระราชาทรงทราบ จึงรบั ส่งั ใหเ้ รยี กพระเทวีนน้ั มา
แลว้ ตรัสว่า
“นางผู้เจริญ นัยว่าบุตรของเราจักฆ่าเราแล้วยึด
ราชสมบัติ ก็เราจะไม่แก่ไม่ตายก็หามิได้ เธอจงให้เรา
เห็นหน้าลูกเถิด จ�ำเดิมแต่น้ีไป เธออย่าได้กระท�ำกรรม
เหน็ ปานนี.้ ”

๑๔ มดี

๔. ถุส 33

www.kalyanamitra.org

จ�ำเดิมแต่นั้น พระเทวีเสด็จไปพระราชอุทยานแล้ว
ให้รีดครรภ์. พระราชาได้ทรงทราบ จึงทรงห้ามเสด็จไป
พระราชอุทยาน จ�ำเดิมแตก่ าลนนั้ .

พระเทวีทรงมีพระครรภ์ครบบริบูรณ์ แล้วประสูติ
พระโอรส. ก็ในวันขนานนามพระโอรสน้ัน เขาขนาน
พระนามว่า ‘อชาตศัตรูกมุ าร’ เพราะเป็นศัตรตู ่อพระบดิ า
ตงั้ แตย่ งั ไมป่ ระสตู ิ เมอ่ื อชาตศตั รกู มุ ารนน้ั ทรงเจรญิ เตบิ โต
อยดู่ ้วยกมุ ารบรหิ าร

วนั หนง่ึ พระศาสดาแวดลอ้ มดว้ ยภกิ ษุ ๕๐๐ เสดจ็ ไป
นิเวศนข์ องพระราชาแลว้ ประทบั นงั่ อยู.่

พระราชาทรงอังคาสภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็น
ประธาน ด้วยของเคี้ยวและของฉันอันประณีต ทรง
นมสั การแล้วประทบั น่ังสดับธรรมอยู่.

ขณะนนั้ พระพเ่ี ลีย้ งแต่งองคพ์ ระกุมารแล้วได้ถวาย
พระราชา พระราชาทรงรับพระโอรสด้วยพระสิเนหา๑๕
เป็นก�ำลัง ให้น่ังบนพระเพลา ทรงปลาบปล้ืมอยู่เฉพาะ
พระโอรส ด้วยความรักในพระโอรส มิได้ทรงสดับ
พระธรรม.

๑๕ สเิ นหา สเิ นหะ, สเิ นหา, สิเนห่ า ความรักใคร่, ความมเี ย่ือใย.

34 ศิษย์อาจารย์

www.kalyanamitra.org

พระศาสดาทรงทราบความประมาทของพระราชา
จงึ ตรสั ว่า

“มหาบพิตร พระราชาท้ังหลายในคร้ังก่อน ทรง
ระแวงพระโอรสทั้งหลายถึงกับให้กระท�ำไว้ในท่ีอันมิดชิด
ให้ขัง แลว้ ตรสั สัง่ ไวว้ ่า ‘เมอ่ื เราล่วงไปแล้ว ท่านทง้ั หลาย
จงน�ำออกมาใหด้ ำ� รงอย่ใู นราชสมบตั ิ’.”

เมื่อพระราชาทูลอาราธนาแล้ว จึงทรงน�ำเอาเรื่อง
ในอดตี มาสาธก ดงั ต่อไปน้ี :-

เน้อื หาชาดก
ในอดีตกาล เม่ือพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติ

ในนครพาราณสี พระโพธิสัตว์เป็นอาจารย์ทิศาปาโมกข์
ต้ังส�ำนักสอนศิษย์อยู่ในเมืองตักสิลา ราชตระกูลและ
ตระกูลพราหมณ์ส่งบุตรหลานเข้าเรียนเป็นจ�ำนวนมาก
รวมทงั้ พระโอรสของพระเจา้ พรหมทตั ด้วย

เน่ืองจากเป็นผู้มีความเฉลียวฉลาด สามารถเรียน
จบไตรเพทและศิลปะศาสตร์ เมื่ออายุได้ ๑๖ พรรษา
ก่อนกลับพระนคร พระอาจารย์ได้ตรวจดูชะตาชีวิตตาม
หลักโหราศาสตร์ และได้ผกู คาถาไว้ ๔ ขอ้

๔. ถสุ 35

www.kalyanamitra.org

เนื่องจากพบว่า ‘พระกุมารจะมีอันตราย เม่ือได้
พระโอรสแล้ว’ จงึ บอกวธิ ีใช้ให้

“ถ้าเจ้าได้ข้ึนครองราชย์ในขณะท่ีพระโอรสของเจ้า
มี่อายุได้ ๑๖ พรรษา ก่อนท่ีจะเสวยพระกระยาหาร
จงท่องคาถาบทที่ ๑ เมอ่ื มีการเฝ้า ก็จงท่องคาถาบทท่ี ๒
ตอนขึ้นต�ำหนักยืนอยู่หัวบันได จงท่องคาถาบทท่ี ๓
และก่อนจะเข้าห้องบรรทมอยู่ท่ีหน้าธรณีประตู ก็จงท่อง
คาถาบทท่ี ๔”

ได้รับค�ำแนะน�ำจากอาจารย์แล้ว พระกุมารก็ลา
อาจาย์กลับ ได้รบั ตำ� แหนง่ อุปราช พอบดิ าเสดจ็ สวรรคต
ไดข้ นึ้ ครองราชสมบตั ติ อ่ มา ทรงใชม้ พี ระนามเดยี วกนั กบั
พระบดิ าว่า “พรหมทตั ”

ขณะท่ีพระองค์ครองราชย์นั้นพระโอรสของพระเจ้า
พรหมทัตมพี ระชนมายุ ครบ ๑๖ พรรษาพอดี

เมื่อเห็นราชสมบัติของพระบิดาก็เกิดความโลภขึ้น
คิดอยากครอบครองมาเป็นของตนเอง จึงไปปรึกษากับ
อ�ำมาตยค์ นสนทิ

อ�ำมาตย์ก็ให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่ ในระหว่าง
เสวยพระกระยาหารกบั พระบิดาก็น�ำยาพิษมาดว้ ย

36 ศิษย์อาจารย์

www.kalyanamitra.org

เมอื่ อาหารพรอ้ มแลว้ พระบดิ ากไ็ ดท้ อ่ งคาถาบท ท่ี ๑
ในทมี่ ืด แม้ฝนด�ำ
แกลบกแ็ จม่ แจ้งปรากฏ ว่าเปน็ แกลบ
ขา้ วสารกแ็ จม่ แจง้ ปรากฏ วา่ เปน็ ขา้ วสาร แกพ่ วกหนู
พวกหนกู นิ แตข่ า้ วสาร ไม่กนิ แกลบฉันใด
การทเี่ รามานงั่ กมุ ยาพษิ รา้ ยน้ี
กป็ รากฎแจม่ แจง้ ฉนั นน้ั
ไดฟ้ งั เชน่ นัน้ แลว้ พระโอรสกต็ กใจกลับนกึ วา่
‘พระบดิ าร้แู ลว้ ’
จึงรีบลุกถวายบังคมแล้วเดินออกไป ได้ปรึกษากับ
อำ� มาตย์คนสนิทวา่
“คงจะหมดโอกาสแล้วล่ะ ต้องหาทางลอบปลง
พระชนม์พระบิดา เลือกเอาตอนที่มีการเข้าเฝ้าคร้ังใหญ่
จะเหมาะกว่า”
เมื่อมีการเข้าเฝ้า พระโอรสจึงได้ด�ำเนินตามแผน
ที่วางไว้
พระราชาทรงนกึ ถงึ คำ� สง่ั สอนของพระอาจารยจ์ งึ ได้
ท่องคาถาบทท่ี ๒

๔. ถสุ 37

www.kalyanamitra.org

การท่ีปรกึ ษากนั ในปา่ ก็ดี การพูดกระซบิ กนั ในบ้าน
หรือแมแ้ ต่คดิ ทีจ่ ะหาโอกาสฆา่ เราในตอนน้ีก็ดี
เรารู้หมดแล้ว
พระโอรสหมดช่องทาง จึงได้กลับไปปรึกษากับ
อ�ำมาตยใ์ หม่ นบั จากน้ันมาประมาณ ๗-๘ วัน อำ� มาตย์
กราบทลู วา่
“คงเป็นการคาดคะเนของพระบิดา แท้จริงแล้ว
พระองค์คงยงั ไม่รูแ้ น่ พระโอรสจงพยายามตอ่ เถิด”

เช้ารุ่งข้ึนพระโอรสเหน็บพระขรรค์อันแหลมคม
ไปยนื ดกั รอพระบดิ าทหี่ นา้ ธรณี (ประตหู อ้ ง) ใกลห้ วั บนั ได

พอพระราชามาถึงหัวบนั ได นึกค�ำของพระอาจารย์
ไดจ้ งึ ทอ่ งคาถาบทท่ี ๓ ว่า

ไดย้ ินมาวา่ ลิงตวั ผูท้ ี่เป็นพ่อ
ใชฟ้ นั กดั พวงสวรรคข์ องลกู ลงิ
ตอนเป็นหนมุ่ ท�ำใหค้ วามเป็นตวั ผู้สญู เสยี ไป
พระกุมารได้ยนิ เชน่ นนั้ ทรงคิดวา่
‘พระบิดาคงรู้แน่แล้ว’ จึงรีบกลับไปปรึกษากับ
อำ� มาตยๆ์ ได้ทูลว่า

38 ศิษยอ์ าจารย์

www.kalyanamitra.org

“ถา้ พระบดิ าทรงรจู้ รงิ ๆ คงไมว่ างพระทยั ในพระโอรส
มาจนป่านนี้ ฉะนั้นจงพยายามต่อไปเถดิ ”

วันรุ่งขึ้น พระโอรสได้เหน็บเอาพระขรรค์ แล้ว
ซ่อนตัวอยู่ใต้เตียงที่พระราชาประทับอยู่ พระราชาก็
ทอ่ งคาถาที่ ๔

การท่ีดิน้ รนเหมือนแพะตาบอด
ท่ีอยูใ่ นไร่ผกั กาดกด็ ี หรือนอนอยู่ในนก้ี ด็ ี
เรารู้หมดแลว้ ”
พระโอรสได้ยินพระบดิ าตรัสเชน่ นี้ ก็ทรงตกพระทยั
กลัว รีบคลานออกมา ก้มลงกราบแทบพระบาทของ
พระบดิ า แล้วทลู วิงวอนขออภยั โทษใหย้ กโทษให้
พระราชาทรงข่ไู ปอกี วา่
“สงิ่ ท่ที �ำอยู่น่ี อย่าคดิ ว่าจะไม่มใี ครรู้นะ”
จากนั้นจึงรับสั่งให้มีการจองจ�ำไว้ในคุก พร้อม
อารกั ขาอย่างหนาแน่น พระราชาทรงระลึกถึงวา่
‘ที่ตนเองรอดพ้นจากความตายมาได้ ก็เพราะคุณ
ความดีของพระอาจารย์ท่ไี ดเ้ ตอื นสติและสง่ั สอนมา’

๔. ถุส 39

www.kalyanamitra.org

ต่อมา พระราชานั้นเสด็จสวรรคต พวกอ�ำมาตย์
ราชเสวก๑๖ กระทำ� การถวายพระเพลงิ พระศพของทา้ วเธอ
แล้ว จงึ นำ� พระกุมารออกจากเรือนจำ� ให้ดำ� รงอยใู่ นราช-
สมบัติ.

พระศาสดา ครั้นทรงน�ำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว
จึงทรงตรัสเหตุนี้วา่

“ดกู อ่ นมหาบพติ ร พระราชาในครง้ั กอ่ นทรงรงั เกยี จ
เหตทุ ี่ควรรงั เกียจอย่างนี้”

แม้พระองค์จะทรงตรัสอย่างน้ี พระราชาก็มิได้ทรง
กำ� หนด ไมร่ ้สู กึ พระองค.์
ประชุมชาดก

อาจารย์ทิศาปาโมกข์ในเมืองตักกสิลาในครั้งนั้น
ไดเ้ ปน็ เราตถาคต

๑๖ เสวก (อา่ นวา่ เส-วก) เปน็ คํามาจากภาษาบาลีวา่
เสวก (เส-วะ-กะ) แปลว่า ผรู้ บั ใช้. ผรู้ บั ใช้พระเจา้ แผ่นดนิ เรยี กว่า
ราชเสวก (ราด-ชะ-เส-วก) เป็นคําเรียกข้าราชการพลเรือนใน
ราชสาํ นกั ในสมยั ก่อน
40 ศิษย์อาจารย์

www.kalyanamitra.org

อาจารย์บอกคาถาป้องกันภยั ใหล้ กู ศษิ ย์ ๒

๕) มูสกิ ชาดก๑๗

วา่ ด้วย ควรเรยี นทกุ อย่าง แตไ่ มค่ วรใชท้ กุ อยา่ ง

สถานท่ีตรัส พระเวฬวุ ันวหิ าร
ทรงปรารภ พระเจา้ อชาตศตั รู
สาเหตทุ ่ตี รสั

เรื่องปัจจุบัน พระศาสดาทรงเห็นพระราชาทรง
หยอกเล่นกับพระโอรสพลาง ทรงฟังธรรมพลางอย่างน้นั
ทรงทราบว่า ‘ภัยจักเกิดข้ึนแก่พระราชา เพราะอาศัย
พระโอรสน้นั ’ จึงตรัสวา่

“มหาบพิตร พระราชาครั้งเก่าก่อนท้ังหลายทรง
รังเกียจส่ิงที่ควรรังเกียจ ไดท้ รงกระทำ� โอรสของพระองค์
ไว้ ณ ส่วนข้างหนึ่ง ด้วยทรงด�ำริว่า ‘พระโอรสจงครอง
ราชสมบัตใิ นเวลาเราแกช่ ราตามวั .’”

แล้วทรงน�ำเอาเรือ่ งในอดีตมาสาธก ดงั ต่อไปนี้ :-

๑๗ ลต.น้ ๕ฉ๖บ, ับน.ช๕า๐ต๑ก,ัฏมฐมกรถ.า อรรถกถาชาดก เอกนบิ าตชาดก,

๕. มูสิก 41

www.kalyanamitra.org

42 ศิษยอ์ าจารย์

www.kalyanamitra.org

เน้อื หาชาดก
ในอดตี กาล เมอื่ พระเจา้ พรหมทตั ครองราชสมบตั อิ ยู่

ในนครพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดในสกุลพราหมณ์
ในเมืองตกั กสิลา ไดเ้ ปน็ อาจารยท์ ิศาปาโมกข์.

โอรสของพระเจ้าพาราณสี พระนามว่า ‘ยวกุมาร’
ได้เรียนศิลปะทุกอย่างในส�ำนักของพระโพธิสัตว์น้ัน
แลว้ ใหก้ ารซกั ถาม คอื ทดสอบวชิ าแลว้ ประสงคจ์ ะกลบั มา
บ้านเมือง จงึ อ�ำลาอาจารย์น้นั .

อาจารย์รู้ได้ด้วยอ�ำนาจวิชาดูอวัยวะว่า ‘อันตราย
จกั มแี กก่ มุ ารน้ี เพราะอาศยั บตุ รเปน็ เหต’ุ คิดว่า

‘เราจักบ�ำบัดอันตรายของพระกุมารน้ัน’ จึงเร่ิม
ไตร่ตรองหาข้อเปรียบเทียบสกั ขอ้ หนงึ่ .

ก็ในกาลน้ัน ม้าของอาจารย์ทิศาปาโมกข์นั้นมีอยู่
ตัวหน่ึง แผลเกิดขึ้นท่ีเท้าของม้าน้ัน. พวกคนเลี้ยงม้า
จงึ กระทำ� มา้ ตวั นนั้ ไวเ้ ฉพาะในเรอื น เพอ่ื จะตามรกั ษาแผล.
ในท่ีไม่ไกลเรอื นนัน้ มบี อ่ นำ้� อยบู่ ่อหนึง่

คร้ังน้ัน หนูตัวหนึ่งออกจากเรือน กัดแผลท่ีเท้า
ของม้า. มา้ ไม่สามารถจะหา้ มมันได้.

วันหน่ึง ม้านั้นไม่อาจอดกลั้นเวทนาได้ จึงเอาเท้า
ดีดหนซู ึ่งมากัดกนิ แผลใหต้ ายตกลงไปในบอ่ นำ้� .

๕. มสู ิก 43

www.kalyanamitra.org

พวกคนเลีย้ งม้าไม่เหน็ หนูมาจึงกลา่ วกนั วา่
“ในวนั อนื่ ๆ หนมู ากดั แผล บดั นไี้ มป่ รากฏ มนั ไปเสยี
ทีไ่ หนหนอ.”
พระโพธสิ ตั วก์ ระทำ� เหตนุ น้ั ใหป้ ระจกั ษแ์ ลว้ กลา่ ววา่
“คนอื่นๆ ไมร่ ู้ จงึ พากนั กล่าวว่า ‘หนูไปเสยี ทไ่ี หน’
แตเ่ ราเทา่ นน้ั ยอ่ มรวู้ า่ หนถู กู มา้ ฆา่ แลว้ ดดี ลงไปในบอ่ นำ้� .”
พระโพธิสัตว์นั้นจึงกระท�ำเหตุน้ีนั่นแหละ ให้เป็น
ข้อเปรียบเทียบแล้วประพันธ์เป็นคาถาท่ีหน่ึงมอบให้แก่
พระราชกุมาร.
พระโพธิสัตว์นั้นไตร่ตรองหาข้อเปรียบเทียบข้ออื่น
อีก ได้เห็นม้าตัวนั้นแหละ มีแผลหายแล้ว ออกไป
ที่ไร่ข้าวเหนียวแห่งหน่ึง แล้วสอดปากเข้าไปทางช่องรั้ว
ด้วยหวังว่า ‘จกั กินข้าวเหนยี ว’
จึงกระท�ำเหตุน้ันแหละให้เป็นข้อเปรียบเทียบ แล้ว
ประพนั ธ์เปน็ คาถาที่ ๒ มอบให้แกพ่ ระราชกมุ ารน้ัน.

ส่วนคาถาที่ ๓ พระโพธิสัตว์ประพันธ์โดยก�ำลัง
ปญั ญาของตน มอบคาถาที่ ๓ แมน้ ัน้ ให้แกพ่ ระราชกมุ าร
นั้น แล้วกล่าววา่

“ดกู ่อน พ่อ เธอดำ� รงอย่ใู นราชสมบัตแิ ล้ว เวลาเย็น
เมื่อจะไปสระโบกขรณีส�ำหรับสรงสนาน พึงเดินท่องบ่น

44 ศิษย์อาจารย์

www.kalyanamitra.org

คาถาท่ี ๑ ไปจนถึงบนั ไดอันใกล้ เม่ือจะเขา้ ไปยงั ปราสาท
อันเป็นท่ีอยู่ของเธอ พึงเดินท่องบ่นคาถาท่ี ๒ ไปจนถึง
ที่ใกล้เชิงบันได ต่อจากนั้นไป พึงเดินท่องบ่นคาถาที่ ๓
ไปจนถงึ หัวบันได

คร้ันกล่าวแล้วจึงส่งพระกุมารไป. พระกุมารนั้น
ครั้นไปถึงแล้วได้เปน็ อุปราช

เมอ่ื พระบดิ าสวรรคตแลว้ ได้ครองราชสมบตั .ิ
โอรสองคห์ นงึ่ ของพระองคป์ ระสตู แิ ลว้ พระโอรสนนั้
ในเวลามีพระวัสสา๑๘ ๑๖ ปี คิดว่า ‘จักปลงพระชนม์
พระบดิ า’ เพราะความโลภในราชสมบตั ิ จงึ ตรสั กะอปุ ฏั ฐาก
(มหาดเลก็ ) ทง้ั หลายวา่
“พระบดิ าของเรายงั หนมุ่ เราคอยเวลาถวายพระเพลงิ
พระบดิ านี้ จกั เปน็ คนแกค่ รำ�่ ครา่ เพราะชรา ประโยชนอ์ ะไร
ด้วยราชสมบตั แิ ม้ทีไ่ ดใ้ นกาลเชน่ น้นั .”
อุปัฏฐากเหล่านนั้ ทลู ว่า
“ข้าแต่สมมติเทพ พระองค์ไม่อาจไปยังประเทศ
ชายแดน แลว้ กระทำ� ความเปน็ โจร พระองคจ์ งปลงพระชนม์
พระบิดาของพระองค์ด้วยอุบายบางอย่าง แล้วยึดเอา
ราชสมบตั ิ.”

๑๘ วสั สา [วสฺส วัดสะ] น. ฝน ฤดูฝน พรรษา

๕. มูสกิ 45

www.kalyanamitra.org

พระโอรสนน้ั รบั ว่า “ได้”
แล้วไปยังท่ีใกล้สระโบกขรณีส�ำหรับสรงสนาน
ตอนเย็นของพระราชา ในภายในพระราชนิเวศน์ ได้ถือ
พระขรรคย์ นื อยูด่ ้วยตัง้ ใจวา่ ‘จกั ฆ่าพระบิดานัน้ ณ ท่ีนี’้ .

ในเวลาเยน็ พระราชาทรงสง่ั นางทาสชี อ่ื ‘หน’ู ไปดว้ ย
พระด�ำรสั วา่

“เจา้ จงไปชำ� ระหลงั สระโบกขรณใี หส้ ะอาด แลว้ จงมา
เราจักอาบน�้ำ.”

นางทาสีนั้น ไปช�ำระหลังสระโบกขรณีอยู่ เห็น
พระกุมาร. พระกุมารจึงฟันนางทาสีน้ันขาด ๒ ท่อน
แล้วท้ิงให้ตกลงไปในสระโบกขรณี เพราะกลัวว่า กรรม
ของตนจะปรากฏข้นึ .

พระราชาได้เสด็จไปเพื่อจะสรงสนาน. ชนท่ีเหลือ
กลา่ ววา่ “แมจ้ นวนั นนี้ างหนผู เู้ ปน็ ทาสยี งั ไมก่ ลบั มา นางหนู
ไปไหน ไปทไี่ ร.”

พระราชาตรัสคาถาที่ ๑ วา่ :-
คนพร�่ำบน่ อยวู่ ่า นางหนูไปไหน นางหนไู ปไหน
เราคนเดียวเท่าน้ัน รู้ว่า นางหนูตายอยู่ในบ่อน้�ำ
ดังนี้.

46 ศิษย์อาจารย์

www.kalyanamitra.org

พระองคไ์ ดเ้ สด็จไปถึงฝ่ังสระโบกขรณ.ี
พระราชาได้เสด็จด�ำเนินตรัสคาถาที่ไปถึงฝั่งสระ
โบกขรณี
พระกมุ ารคดิ วา่ ‘พระบดิ าของเราไดท้ รงทราบกรรม
ทเี่ รากระทำ� ไว’้ จงึ กลวั หนไี ปบอกเรอ่ื งนน้ั แกพ่ วกอปุ ฏั ฐาก.

พอล่วงไป ๗-๘ วัน อุปัฏฐากเหล่านั้น จึงทูล
พระกมุ ารน้ันอีกว่า

“ขา้ แตส่ มมตเิ ทพ ถา้ พระราชาจะทรงทราบไซร้ จะไม่
ทรงนงิ่ ไว้ กค็ ำ� นน้ั คงจะเปน็ คำ� ทพี่ ระราชานนั้ ตรสั โดยทรง
คาดคะเนเอา พระองค์จงปลงพระชนม์พระบิดานั้นเถิด.”

วันรุ่งขึ้น พระกุมารนั้นถือพระขรรค์ประทับยืนท่ี
ใกลเ้ ชงิ บนั ได ในเวลาพระราชาเสดจ็ มา ทรงมองหาโอกาส
ท่ีจะประหารไปรอบด้าน.

พระราชาได้เสดจ็ ด�ำเนนิ สาธยายคาถาท่ี ๒ วา่ :-
เหตุใดทา่ นจึงคดิ อยา่ งนี้
และมองหาโอกาสจะประหารทางโนน้ ทางนี้
แล้วกลับไปเสมอื นลา เพราะฉะน้นั เราจึงรูว้ า่
‘ท่านฆา่ ทาสีชื่อวา่ นางหนตู ายทงิ้ ไว้ในบ่อนำ�้ ’
วนั นยี้ งั ปรารถนาจะบรโิ ภคโภชนะขา้ วเหนยี วอกี หรอื .

๕. มูสิก 47

www.kalyanamitra.org

แม้คาถาน้กี ็แสดงเนอ้ื ความน้ี สำ� หรบั พระราชาผ้ไู ม่
ทรงทราบเลยว่า เพราะเหตุที่น้ันคิดอย่างนี้ และมองหา
โอกาสจะประหารอยทู่ างโนน้ ทางนี้ แลว้ กลบั ไปเสมอื นลา
ฉะนน้ั เพราะฉะนนั้ เราจงึ รจู้ กั ทา่ นวา่ วนั กอ่ นทา่ นฆา่ ทาสี
ชื่อนางหนู ท่ีสระโบกขรณี วันนี้ ยังปรารถนาจะบริโภค
โภชนะข้าวเหนียวอีก. (ตรงนี้น่าจะเป็นว่า “วันนี้ยัง
ปรารถนาจะฆ่าพระเจ้ายวราชอีก”)

พระกุมารสะดงุ้ พระทยั หนีไปดว้ ยคดิ วา่
‘พระบดิ าเหน็ เราแล้ว.’
พระกมุ ารนนั้ ใหเ้ วลาลว่ งไปประมาณกง่ึ เดอื นแลว้ คดิ
วา่ ‘จกั เอาทอ่ นไม้ประหารพระราชาใหต้ าย’
จึงถือท่อนไม้ส�ำหรับประหารท่อนหน่ึงมีด้ามยาว
แล้วไดย้ ืนกุมอย.ู่

พระราชาตรสั ว่า :-
แนะ่ เจา้ ผโู้ งเ่ ขลา เจา้ ยงั เปน็ เดก็ ออ่ น ตง้ั อยใู่ นปฐมวยั
มผี มด�ำสนิท มายืนถือท่อนไมย้ าวนี้อยู่
เราจะไม่ยอมยกชีวติ ให้แก่เจา้ .
คาถาแมน้ ก้ี ข็ ม่ ขพู่ ระกมุ าร แสดงเนอ้ื ความนี้ สำ� หรบั
พระราชาผู้ไม่รู้น่ันแลว่า เจ้าคนโง่เจ้าจักไม่ได้บริโภค

48 ศิษย์อาจารย์

www.kalyanamitra.org

ข้าวเหนียวของตน บัดนี้ เราจักไม่ให้ชีวิตแก่เจ้าผู้ไม่มี
ความละอาย เราจักฆ่าตดั ใหเ้ ปน็ ท่อนน้อยท่อนใหญ่ แล้ว
ใหเ้ สยี บไว้บนหลาวนน่ั แหละ.

พระราชาทรงสาธยายคาถาที่ ๓ พลางขน้ึ ถงึ หวั บนั ได.
วนั นน้ั พระกมุ ารนน้ั ไม่อาจหลบหนี กราบทูลว่า
“ข้าแต่สมมติเทพ ขอพระองค์โปรดประทานชีวิต
แก่ข้าพระองค์เถิดพระเจา้ ขา้ ”
แลว้ หมอบลงท่ใี กล้พระบาทของพระราชา.
พระราชาทรงคุกคามพระกุมารน้ันแล้ว ให้จองจ�ำ
ดว้ ยโซต่ รวน แลว้ ใหข้ งั ไวใ้ นเรอื นจำ� ทรงนง่ั เหนอื ราชอาสน์
ท่ีประดบั ประดา ณ ภายใต้เศวตฉตั ร
ทรงดำ� รวิ า่ ‘พราหมณท์ ศิ าปาโมกขผ์ อู้ าจารยข์ องเรา
เหน็ อนั ตรายน้แี ก่เรา จงึ ไดใ้ หค้ าถา ๓ คาถานี’้ จงึ ร่าเรงิ
ยินดี.
เมอื่ จะเปลง่ อุทาน จึงได้ตรสั คาถาท่ีเหลือวา่ :-
เราเปน็ ผ้อู ันบตุ รปรารถนาจะฆ่าเสยี
จะพน้ จากความตายเพราะภพในอากาศ
หรือเพราะบตุ รท่ีรกั เปรียบด้วยอวยั วะกห็ าไม่
เราพ้นจากความตายเพราะคาถาที่อาจารยผ์ ูกให.้

๕. มูสิก 49

www.kalyanamitra.org


Click to View FlipBook Version