50 Clear-minded Youths - 5 The Story of Mattakundali
Then the Buddha spoke in verse as follows:
Manopubbangama dhamma manosettha manomaya
manasa ce pasannena bhasati va karoti va
tato nam sukha30 manveti chayava anapayini.
Verse 11: All mental phenomena have mind as their
forerunner; they have mind as their chief; they are
mind-made. If one speaks or acts with a pure mind,
happiness (sukha) follows him like a shadow that
never leaves him.
Explanation: All that man experiences springs out of
his thoughts. If his thoughts are good, the words and
the deeds will also be good. The result of good
thoughts, words and deeds will be happiness.
This happiness will never leave the person whose
thoughts are good. Happiness will always follow him
like his shadow that never leaves him.
30 Sukham/sukha: in this context, happiness, satifactoriness,
fortune, etc., and rebirth in the three upper planes of happy
existence.
www.kalyanamitra.org
๕ เรอื่่ งนายต้มุ หเู กลีย้ ง (มัฏฐกุณฑล) - ÇÑÂãÊ ã¨ãÊ 51
พระศาสดาตรสั พระคาถานี้วา :-
มโนปุพฺพงคฺ มา ธมมฺ า มโนเสฏฐา มโนมยา
มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา
ตโต นํ สุขมเนวฺ ติ ฉายาว อนุปายนิ ี.
๑๑. ธรรมท้งั หลาย มใี จเปนหัวหนา มีใจเปนใหญ
สำเรจ็ แลว ดว ยใจ ถา บคุ คลมใี จผอ งใสแลว
พูดอยกู ็ดี ทำอยกู ด็ ี ความสุขยอ มไปตามเขา
เพราะเหตุนัน้ เหมอื นเงาไปตามตวั ฉะนั้น.
ในกาลจบคาถา ความตรัสรูธ รรม ไดม ีแลวแกเหลา สัตว
แปดหม่ืนสี่พัน, มัฏฐกุณฑลีเทพบุตร ตั้งอยูแลวในพระ
โสดาปต ตผิ ล, อทนิ นปพุ พกพราหมณ กเ็ หมอื นกนั . เขาไดห วา น
สมบัตใิ หญถ ึงเทานัน้ ลงไวใ นพระพุทธศาสนาแลว ดังน้แี ล.
เร่ืองนายตุมหเู กลย้ี ง (มัฏฐกณุ ฑลี) จบ.
www.kalyanamitra.org
52
www.kalyanamitra.org
53
6
The Story of the Disciples of
Non-Buddhist Teachers
(àÃÊè×ÍÒǧ¡Å¡Ùà´ÈÕÂÉÔ Ã¶μ ÂÕ ‹Ò)§ÈÒʹÒ
àÁèÍ× à´ç¡ÁÕà¾×Íè ¹μÒ‹ §Å·Ñ ¸Ô¤ÇÒÁàªÍ×è
www.kalyanamitra.org
54
6 The Story of the Disciples of
Non-Buddhist Teachers
While residing at the Je-tavana Monastery, the Buddha
spoke these verses, with reference to some disciples
of the Titthis (non-Buddhist ascetics).
The disciples of the Titthis did not want their children
to mix with the children of the followers of the Buddha.
TJe-hteayvaonfateMn otnoaldstetrhye, irdochnildortenp,ay“Doobenisoatncgeo to the
monks of the Sakyan clan.” to the
On one occasion, while the Titthis boys wtheereJe-ptlaavyainnag
with a Buddhist boy near the entrance to
Monastery, they felt very thirsty. As the children of
the disciples of Titthis had been told by their parents
not to enter a Buddhist monastery, they asked the
Buddhist boy to go to the monastery and bring some
water for them.
The young Buddhist boy went to pay obeisance to
the Buddha after he had a drink of water, and told
the Buddha about his friends who were forbidden by
their parents to enter a Buddhist monastery.
www.kalyanamitra.org
55
่
๓๑ อา นฉบบั เตม็ ที่ ธมั มปทฏั ฐกถา อรรถกถาขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท,
นิรยวรรควรรณนา, ล.๔๓, น.๒๒๐, มมร.
๓๒ อานวา เดียระถ,ี แปลวา ผมู ีลัทธดิ งั ทา นำ้ อนั เปนที่ขา ม หรอื ขา ม
น้ำผิดทา หมายถึงนกั บวชนอกศาสนาพุทธในอินเดียสมัยพทุ ธกาล
๓๓ อานวา อันยะ, แปลวา อ่ืน, ตางไป, แปลกไป.
www.kalyanamitra.org
56 Clear-minded Youths - 6 The Story of the Disciples of
Non-Buddhist Teachers
The Buddha then told the boy to tell the non-Buddhist
boys to come and have water at the monastery.
The parents of the boys, being ignorant, cried,
“Our sons have been disloyal to our faith, they have
been ruined.”
Some intelligent neighbours advised the wailing
parents to stop weeping and to send their sons to
the Buddha. Some how they agreed and the boys,
as well as their parents, went to the Buddha.
The Buddha, knowing why they had come recited the
stanzas to them.
Avajje vajjamatino vajje cavajjadassi no
micchaditthisamada satta gacchanti duggatim.
Vajjanca vajjato natva avajjanca avajjato
sammaditthisamadana satta gacchanti suggatim.
www.kalyanamitra.org
๖ เรอ่ื่ งลูกศษิ ยต์ ่างศาสนา (สาวกเดียรถยี ์) - ÇÑÂãÊ ã¨ãÊ 57
พระศาสดาตรสั กะเดก็ นน้ั วา “เธอจงดม่ื นำ้ แลว ไปบอกพวกเดก็
ท่ีเหลือท่ีตองการด่ืมน้ำ ใหเขาในที่น้ี. “เด็กไดทำอยางน้ัน.
พวกเด็กทเ่ี หลือเหลา น้นั จึงไดเ ขา ไปด่มื นำ้ แลว.
มารดาและบิดาของพวกเขา จงึ รำพันดว ยความเสียใจวา
‘ลูกของพวกเรา เกดิ เปนคนมที ฏิ ฐวิ ิบตั ิเสียแลว .’
ครั้งน้ัน คนสนิทของพวกนั้นเปนคนฉลาด มากลาวธรรมแก
คนเหลา นัน้ เพื่อตองการใหค วามเศราเบาบางลง.
มารดาและบิดาของพวกเด็กเหลาน้ัน ฟงถอยคำของ
คนเหลา นนั้ แลว จงึ กลา ววา “พวกเราจกั มอบพวกเดก็ ๆ เหลา นแี้ ก
พระสมณโคดมเสียทีเดียว” แลว จึงพากันไปสูพระวิหารพรอ ม
ดวยหมูญาตเิ ปนอันมาก.
พระศาสดาทรงตรวจดูกิเลสอาสวะ๓๔ของคนเหลานั้น
แลว เมอ่ื จะทรงแสดงธรรม ไดทรงภาษิตพระคาถาเหลา นวี้ า :-
อวชฺเช วชชฺ มติโน วชฺเช จ อวชชฺ ทสสฺ โิ น
มจิ ฺฉาทิฏฐสิ มาทานา สตฺตา คจฉฺ นฺติ ทคุ คฺ ต.ึ
วชฺขฺจ วชฺชโต ญตวฺ า อวชชฺ ฺจ อวชฺชโต
สมมฺ าทฏิ ฐ สิ มาทานา สตฺตา คจฉฺ นตฺ ิ สุคฺคตึ.
๓๔ อา นวา อาสะวะ, แปลวา เครอื่ งหมกั ดอง หมายถงึ กเิ ลสทห่ี มกั หมม
อยใู นจติ
www.kalyanamitra.org
58 Clear-minded Youths - 6 The Story of the Disciples of
Non-Buddhist Teachers
Verse 12: Beings who imagine wrong in what is not wrong,
who do not see wrong in what is wrong, and who hold
wrong views go to a lower plane of existence (duggati).
Verse 13: Beings who know what is wrong as wrong.
who know what is right as right, and who hold right
views go to a happy plane of existence (suggati).
Explanation: Those who take what is correct as
incorrect, and those who take what is not correct as
correct, both go to woeful states when they depart
because of their false beliefs.
They regard error as error, and what is right as right.
Those people who embrace right views go to heaven.
At the end of the discourse, all those people came
to be established in faith in the Three Gems, and
after listening atottatihneedBusdo-dtahpaa’tstifufrruthiteiornd. iscourse, they
subsequently
www.kalyanamitra.org
๖ เรอ่ื่ งลกู ศษิ ย์ต่างศาสนา (สาวกเดยี รถยี )์ - ÇÑÂãÊ ã¨ãÊ 59
๑๒. สัตวท ั้งหลาย ผูม ีความรวู ามีโทษในธรรมท่ี
หาโทษมไิ ด มปี กติเหน็ วา หาโทษมไิ ดใ นธรรมทม่ี โี ทษ
เปน ผูถอื ดวยดซี ึง่ มิจฉาทฏิ ฐิ ยอ มไปสทู คุ ติ.
๑๓. สตั วท งั้ หลาย รธู รรมทมี่ โี ทษ โดยความเปน ธรรม
มโี ทษรธู รรมทหี่ าโทษมไิ ด โดยความเปน ธรรมหาโทษมไิ ด
เปนผูถือดวยดีซึ่งสัมมาทิฏฐิ ยอ มไป สสู ุคติ.”
ในกาลจบเทศนา คนเหลา นนั้ ทง้ั หมด ดำรงอยูใ นสรณะ
๓ แลว ฟง ธรรมอน่ื ๆ อกี อยู กไ็ ดด ำรงอยใู นโสดาปต ตผิ ล ดงั นแ้ี ล.
เรอ่ื งลกู ศิษยตา งศาสนา (สาวกเดียรถยี ) จบ.
www.kalyanamitra.org
60
บทสรุป
๑. เรอ่ื งเดก็ หลายคน
พระศาสดาทรงสอนเดก็ ไมใหท ำรา ยงู
- เปน การผดิ ศีลขอท่ี ๑
เด็กท้งั ๕๐๐ คนฟงธรรมจนบรรลุโสดาบัน
(กุมารกสูตร พระศาสดาทรงสอนเด็กหนุมหลายคนไมให
จับปลา - เปน การผดิ ศีลขอ ท่ี ๑)
๒. เรือ่ งชน ๓ คน
พระศาสดาตรัสสอนภิกษุกลุมหน่ึง อดีตเปนเด็กเล้ียงโค
ท- ้ังเป๗นกแากรลผงดิ ตศวั ลี เหขอ้ียดทวี่ ๑ยการปด รูจอมปลวกเปนเวลา ๗ วนั
ภิกษุทัง้ หมด ฟงธรรมจนบรรลุโสดาบัน
๓. เเรดื่อ็กงถเวดา็กยข๕น๐ม๐แกคพนระมหากัสสปะ ทานแนะนำใหไปถวาย
พระศาสดา พระศาสดาตรัสสรรเสริญทา นวา เปนทร่ี ักของ
มนุษยแ ละเทวดา เปนท่รี กั ของเด็กๆ
เดก็ ทัง้ ๕๐๐ คน ฟงธรรมจนบรรลุโสดาบนั
- สอนใหเดก็ ทำทาน
๔. เร่อื งบตุ รคนหาฟน (ทารสุ ากฏกิ ะ)
คนหาฟน พาลกู ชายไปหาฟนนอกเมือง, ไปตามโคในเมอื ง
ประตเู มืองปด ออกนอกเมอื งไมไ ด, ลูกชายนอกอยูปา ชา
คนเดยี ว, ยกั ษม าจบั ขา, เดก็ เปลง คำวา ‘นะโมตสั สะ’, ยกั ษก ลวั
ถา ยโทษดว ยการเขา วงั เอาอาหารพระราชาใสถ าดทองคำมาใหก นิ ,
www.kalyanamitra.org
61
รสาลชักบขรุ อษุ คจวบั าเดมก็ไวพทรี่ถอ ามดถาดอทธิษองฐไาปนถใวหาพยพระรระาราชชาาเห, ็นเคมนอ่ื พเดอ ียแวม,
มาแลว จงึ ทรงนำทง้ั หมดไปเฝา พระศาสดา
พอ แมล กู ฟง ธรรมบรรลโุ สดาบนั ออกบวชบรรลพุ ระอรหนั ต
ทั้งหมด
- สอนเดก็ ใหส วดมนต เจรญิ พุทธานุสสติ
๕. เรอ่ื งนายตม หูเกลีย้ ง (มฏั ฐกุณฑล)ี
พระศาสดามาโปรด โดยเปลง รศั มใี หห นั มามองจนเกดิ ความ
เลือ่ มใส, ละโลกเกดิ เปน เทพบุตรอยชู ัน้ ดาวดึงส, มาใหสติ
พอ พราหมณท ยี่ นื รอ งไหอ ยทู ป่ี า ชา , พอ ไปทลู อารธนาพระศาสดา
ไปฉนั ทบี่ า น, ทลู ถามปญ หา, พระศาสดาอธษิ ฐานจติ ใหเ ทพบตุ ร
พรอ มวมิ านปรากฎตวั , ชาวบา นทม่ี าชมุ นมุ เกดิ ความเลอื่ มใส
เทพบตุ ร, พอ พราหมณฟงธรรมจนบรรลโุ สดาบนั
- สอนเด็กใหท ำจิตใหเล่อื มใสในพระรัตนตรยั
๖. เรอื่ งลูกศิษยตางศาสนา (สาวกเดยี รถีย)
คพวอ าแมมหล วิ ัทนธำ้ อิ จื่นงึ เสขอา นไปลดูกมื่ไมนใำ้ ห,ไหพวอ พแมระร ,เู รไอ่ื มงใ เหสเยี ขใาจไพปาใกนนัวดัม,าทดว่ีวดัย
พอ แมแ ละเดก็ ท้ังหมดฟง ธรรม บรรลโุ สดาบนั กนั หมด
- สอนเดก็ ใหเ ขา หาพระ, ใกลพระ (การเห็นพระเปนมงคล
ขอที่ ๒๙) หมนั่ ฟงธรรม (เปน มงคลขอ ท่ี ๒๖)
www.kalyanamitra.org
62
7 Kumāra Sutta: Boys
translated from the Pali by Thanissaro Bhikkhu
I have heard tSha-avtaottnh-ioanteJoectcaa’ssioGnrotvhee, BAlensa-stehdapOinndฺeiฺ kwaa’ss
staying near btehtawt eoecncaSsai-ovna,ttah-ila&rgeJentau’ms bGeror voef
monastery. And on
boys on the road
were catching fish. Then early in the morning the
Blessed One adjusted his under roSba-veatatnhd-i - carrying
his bowl & robes - went into for alms.
He saw tSha-evatltahrg-i e& number of boys on the road
between Jeta’s Grove catching little fish.
Seeing them, he went up to them and, on arrival, said
to them, “Boys, do you fear pain?
Do you dislike pain?”
“Yes, lord, we fear pain. We dislike pain.”
Then, on realizing the significance of that, the Blessed
One on that occasion exclaimed:
If you fear pain, if you dislike pain,
don’t anywhere do an evil deed
in open or in secret.
If you’re doing or will do an evil deed,
you won’t escape pain catching up
as you run away.
www.kalyanamitra.org
63
๗ กมุ ารกสตู ร
ขา พเจาไดส ดบั มาแลว อยางน้ี
สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคประทับอยู ณ พระวิหาร
เชตวนั อารามของทา นอนาถบณิ ฑกิ เศรษฐี ใกลพ ระนครสาวตั ถี
ก็สมัยน้ันแล เด็กรุนหนุมมากดวยกัน จับปลาอยูในระหวาง
พระนครสาวตั ถีกบั พระวิหารเชตวนั
ครงั้ นน้ั แลเปน เวลาเชา พระผมู พี ระภาคทรงอนั ตรวาสกแลว
ทรงถือบาตรและจีวรเสด็จเขาไปบิณฑบาตยังพระนครสาวัตถี
ไดทอดพระเนตรเห็นเด็กรุนหนุมมากดวยกันจับปลาอยูใน
ระหวางพระนครสาวตั ถกี ับพระวิหารเชตวนั
คร้นั แลวเสด็จเขา ไปหาเดก็ รุน หนุม เหลานัน้ แลวไดตรสั
ถามวา “พอหนูทั้งหลาย เธอทั้งหลาย กลัวตอความทุกข
ความทุกขไ มเปนทีร่ ักของเธอท้ังหลาย มใิ ชหรอื ”
เดก็ เหลา นนั้ กราบทลู วา “อยา งนน้ั พระเจา ขา ขา พระองค
ทง้ั หลายกลวั ตอ ความทกุ ข ความทกุ ขไ มเ ปน ทรี่ กั ของขา พระองค
ท้งั หลายฯ”
ลำดับนนั้ แล พระผมู ีพระภาคทรงทราบเนื้อความนีแ้ ลว
ไดทรงเปลง อุทานนีใ้ นเวลานนั้ วา
ถา ทานทง้ั หลายกลวั ตอความทุกข
ถาความทุกขไ มเ ปนท่รี ักของทา นทง้ั หลายไซร
ทา นทั้งหลายอยาไดท ำบาปกรรม
ท้งั ในทแ่ี จงหรือในทล่ี บั เลย
ถาทา นทัง้ หลายจักทำหรอื ทำอยซู ง่ึ บาปกรรมไซร
ทานทั้งหลายแมจะเหาะหนีไป
กย็ อมไมพน ไปจากความทกุ ขเ ลยฯ
www.kalyanamitra.org
64 สพพฺ ทานํ ธมมฺ ทานํ ชินาติ sabbada-nam. dhammada-nam. jina-ti.
การใหธ รรมทาน ชนะการใหท้ังปวง Sponsoring Contributors
รายนามเจา้ ภาพ
พระมหาวิชติ สิรปิ ุณฺโณ สมาคมสมาธเิ พอ่ื การพฒั นาศลี ธรรมโลก
คณุ โชคชยั - สมพร คลายกลำ่ คณุ จงรักษ เช้ือแกว
กลมุ ตามตดิ ตะวนั คณุ ประเสรฐิ ศักดิ์ นรพิ ทะพันธุ
กลุมปฏบิ ตั ธิ รรมบานเรอื นแกว คุณพรภมิ ล สนิทมาก
ครอบครวั บญุ ศิริวัฒนกุล คณุ พพิ ฒั น พรพทิ ยากุล
ครอบครัวเอย่ี มบริบูรณ คุณภมู ใิ จ สมบญุ มาก
ครอบครัวโรจนสนิ วไิ ล คณุ แมเ งก็ ลว น - สายนที จติ รภาวนากลุ
ครอบครัวโมหงิ คณุ แมนวลศรี อว มพินจิ
ครอบครวั โอกาซาวารา คณุ แมศ ศลิ กั ษณ ทองเจอื และครอบครวั
คณุ กัณฐท ิมา ชิมะมรุ ะ คณุ วนิดา - ประเสริฐ - ศกั ด์ชิ ัย
คุณขนั แกว ตนแดง คุณวทิ ยา ชมเชย และครอบครัว
คณุ ทวศี กั ดิ์ - ระเบียบ ทพิ โกมล คุณสุวรรณา - สุกญั ญา ฉัตรแกว มณี
คณุ พรทพิ ย แซล้มิ คณุ สิญาภรณ สนธคิ ณุ
คุณลดั ดา ยามากุชิ คณุ สุธญี า อุดมเดช
คณุ วารุณี ทพิ ยช ยั คณุ สรุ ชยั จติ รเพียรคา
คุณสักกะพล - สังวาล ฉนั ทากร คุณมกุ ลดา ปอ งไชย และครอบครวั
คุณอษุ ารัตน เอนโด คุณอนันตชิน วงสุนา
รานโพธิเวช ชมรมคนรักบญุ
ลูกพระธัมฯ คานากาวา ด.ช.ภรู ภิ ัทร - ภูธน ต้งั สืบกลุ
ลกู พระธัมฯ เบอรล ิน ธุดงคสถานลา นนา จ.เชยี งใหม
คณุ กจิ ณี ตง้ั สจั จานรุ กั ษ และครอบครวั ศูนยปฏบิ ัติธรรม ร.ร.เทพเสนานสุ รณ
คณุ ญาณิชา ศิลารมย และครอบครวั ศนู ยป ฏบิ ัตธิ รรมทะเลบญุ
คณุ ธนัญชยั ไชยสระแกว ศูนยป ฏบิ ัตธิ รรมพระโขนง
คณุ ธมลวรรณ ทบั สวุ รรณ และครอบครวั ศนู ยอ บรมวดั คลา จ.นครราชสีมา
คณุ นพดล นพฤทธิ์ ดร.รัชชภมู ิ วชิ ชาวุธ และครอบครวั
คุณบุญชู - อศุ นารถ - ด.ช.บุญเขต น.สพ.วรชัย ลีโทชวลติ - สรุ ียจันทร
คณุ ปย ะลักษณ สุขเจริญ ร.ร.ดนตรีศรีราชานคร
www.kalyanamitra.org
e-book Free download 65
ผลงานหนงั สอื ธรรมะ ของ สมาคมสมาธเิ พอ่ื การพฒั นาศลี ธรรมโลก
ท่านสามารถโหลดได้ฟรที ่ี
๑) เลา เร่อื งเศรษฐี คาถาธรรมบทฉบับพเิ ศษ
๒) hปtญ tpญ:/า/บbาitร.lมyี/หebนoทoาkงdสmราcง-ก5า8ร4ปหญ รญือาhttp://goo.gl/Q54gvs
๓) hภtพtpน:ี้ภ//พbหitน.lyา/ฉeบboบั oเตkมิdเmตc็ม-585 หรอื http://goo.gl/LX9xYJ
http://bit.ly/ebookdmc-596 หรอื http://goo.gl/KQrxIt
๔) hทtาtนpบ:/า/bรมitี.lสyตู/eรลbัดooแkหdง mควcา-6ม1ส1ขุ หรือ http://goo.gl/TfPejV
๕) hดtสุ tติpบ:/รุ/bี it.ly/ebookdmc-657 หรอื http://goo.gl/gzNa4K
กรณที เ่ี ขา ถึงโดยตรงไมไ ด ใหเขา ไปที่
http://ebook.dmc.tv หมวดธรรมประยกุ ต
http://www.kalyanamitหraม.oวrดgค/bวoาoมkร/พู inรdะไeตxร_ปdฎhกammabook.php?cid=11
๑) ประเภท คาถาธรรมบท
ISBN : 978-616-91637-0-1
เลาเรื่องเศรษฐี
คาถาธรรมบทฉบบั พเิ ศษ
ผูเรียบเรยี ง : สิรปิ ุณฺโณ
คำบรรยาย :
คดั เลอื กมารวมในเลม น้ี มเี พยี ง ๕ เรอ่ื ง,
เปน เรอ่ื งเศรษฐผี มู คี วามตระหนี่ ๑ เรอื่ ง,
เศรษฐใี จบุญและเศรษฐีที่มสี มบตั ิ
ตกั ไมพรอ ง จำนวน ๓ เรอ่ื ง
จำนวนหนา : ๙๖
สำนักพมิ พ : บริษัท พมิ พดี จำกดั
ปทพี่ มิ พ : ๒๕๕๖
www.kalyanamitra.org
66
ISBN : 978-616-91637-4-9
ดสุ ติ บรุ ี (ฉบับ ๒ ภาษา)
Tusita Realm
ผูเรียบเรียง : สริ ปิ ุณฺโณ
คำบรรยาย : รวมกรณศี กึ ษาในคาถา
ธรรมบท ๗ เรอ่ื งทล่ี ะโลกแลว ไปสวรรค
ชนั้ ดสุ ติ เปน พระ ๑ เรอื่ ง อบุ าสก ๓ เรอ่ื ง
อบุ าสกิ า ๓ เรอ่ื ง
ภาคผนวก เปนการบรรยายเรอ่ื งราว
ของสวรรคช น้ั ดสุ ิตโดยตรง
จำนวนหนา : ๑๑๒ หนา
สำนักพมิ พ :
บ. เอส.อาร. ซ.ี เอ็นเวลอพ จำกัด
ปท พ่ี ิมพ : มิ.ย. ๒๕๕๘
๒) ประเภท ชาดก
ISBN : 978-616-91637-1-8
ปญญาบารมี หนทางสรางปญญา
ผูเรยี บเรยี ง : สิรปิ ุณโฺ ณ
คำบรรยาย : นำเสนอธรรมะด้ังเดิม
ดวยมุมมองใหม เพ่ือแบงปนธรรมะ
ประเภทมีตัวละครเปนตัวเดินเรอ่ื ง
ท่ีเรียกวา ทอ งนทิ าน ใหอ านไดส บายๆ
ทุกเพศทกุ วยั โดยเนน เนื้อหาในนทิ าน
ชาดกเปน หลัก
จำนวนหนา : ๑๔๔
สำนักพิมพ : บริษัท พมิ พดี จำกดั
ปท ีพ่ มิ พ : ๒๕๕๖
www.kalyanamitra.org
๓) ประเภท พระสตู ร 67
ISBN : 978-616-91637-2-5
ภพน้ี ภพหนา ฉบบั เติมเตม็
(ฉบบั ๒ ภาษา, มเี ฉพาะ e-book)
This Life Next Life
ผูเรยี บเรยี ง : สิรปิ ุณฺโณ
คำบรรยาย : เนอื้ หาสว นใหญย งั คงเดมิ
แตเพมิ่ เตมิ เน้ือหา การคนควา
เรอ่ื งหลักการเวียนวา ยตายเกดิ
ในสมยั ปจ จบุ ัน ที่นาสนใจ
จำนวนหนา : ๑๒๘
สำนักพิมพ : บริษัท พมิ พดี จำกดั
ปท พี่ มิ พ : - (ฉบบั เดมิ ชอ่ื ภพนี้ ภพหนา
ตีพมิ พ พ.ศ.๒๕๕๗)
ISBN : 978-616-91637-3-2
ทานบารมี สตู รลัดแหงความสขุ
(ฉบบั ๒ ภาษา, ๔ สี)
The Virtue of Almsgiving,
The Path to a happy life
ผเู รียบเรยี ง : สิรปิ ุณฺโณ
คำบรรยาย : สตู รลดั แหง ความสขุ อนั เกดิ
จากการทำทาน ๓ ชุด รวมพระสตู ร
เกย่ี วกบั การทำทาน สน้ั บา งยาวบา ง ๑๐
พระสูตร ภาษาไทยและอังกฤษ พรอม
บทสรปุ และขอ คดิ ทจ่ี ะพลกิ ชวี ติ ของทา น
ใหมคี วามสขุ ท้ังในภพนีแ้ ละภพหนา
จำนวนหนา : ๑๒๒
สำนกั พมิ พ : บ.เอส.อาร.ซ.ี เอน็ เวลอพ จำกดั
ปท พี่ มิ พ : ๒๕๕๗
www.kalyanamitra.org
68
www.kalyanamitra.org
69
www.kalyanamitra.org
70
www.kalyanamitra.org
71
www.kalyanamitra.org
72
www.kalyanamitra.org