The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสืออนุสรณ์การจัดสร้างพระอนุสาวรีย์ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
กรมการสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศทหารเรือ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นาวิกศาสตร์, 2022-01-06 02:47:36

หนังสืออนุสรณ์การจัดสร้างพระอนุสาวรีย์ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

หนังสืออนุสรณ์การจัดสร้างพระอนุสาวรีย์ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
กรมการสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศทหารเรือ

ผู้บังคับบัญชากรมการสื่อสารฯ ร่วมโปรยข้าวตอกดอกไม้

พิธีอัญเชิญพระรูป




๒๙ ส.ค.๖๒ เจ้ากรมการสื่อสารฯ ประกอบพธีอญเชิญพระรูปจากโรงเรียนป้อมนาคราช
สวาทยานนท์ไปยังโรงเรียนสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ



พระภาวนาวิสุทธิโสภณ หรือ พระมหาสุรศักดิ์ วัดประดู่พระอารามหลวง จว.สมุทรสงคราม

ประกอบพิธีเบิกพระเนตรและอัญเชิญพระรูปหล่อขึ้นประดิษฐานบนแท่นพระอนุสาวรีย์ฯ

พิธีเบิกพระเนตรพระรูปหล่อฯ องค์เล็ก และเจิมตราประจำพระองค์

เจ้ากรมการสื่อสารฯ และภริยา ประกอบพิธีอัญเชิญพระรูปหล่อฯ ประดิษฐานบนแท่นพระอนุสาวรีย์ฯ





พิธีเปิดพระอนุสาวรีย์ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ


พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์


วันพฤหัสบดีที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๒





























ผู้อำนวยการโรงเรียนสื่อสารฯ ประกอบพิธีไหว้พระภูมิเจ้าที่

เจ้ากรมการสื่อสารฯ ประกอบพิธีบวงสรวงเทวดา บูชาฤกษ์

















































นายทหารชั้นผู้ใหญ่และเจ้ากรมการสื่อสารฯ แถวรอรับ ผู้บัญชาการทหารเรือ

ผู้บัญชาการทหารเรือตรวจแถวทหารกองเกียรติยศ

เจ้ากรมการสื่อสารฯ กล่าวรายงานความเป็นมาของการสร้างพระอนุสาวรีย์ฯ

เวลา ๑๑ นาฬิกา ๓ นาที ผู้บัญชาการทหารเรือ กดปุ่มเปิดผ้าแพรคลุมพระอนุสาวรีย์ฯ







พระรูปจำลองแบบต่างๆ


๑. พระรูปหล่อฯ องค์ใหญ่ ขนาด ๑ เท่าครึ่ง ความสูง ๒.๙๙ เมตร น้ำหนัก ๙๙๙ กิโลกรัม

ประดิษฐาน ณ โรงเรียนสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ป้อมพระจุลจอมเกล้า จว.สมุทรปราการ


๒. พระรูปหล่อฯ องค์เล็ก ขนาด ๑๑๙ เซนติเมตร จำนวน ๕ องค
๒.๑ ประดิษฐานที่ หน้าพระอนุสาวรีย์พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากร

เกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ โรงเรียนสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
๒.๒ ประดิษฐานที่ กองบัญชาการกรมการสื่อสารฯ อาคาร ๔ ชั้น ๓ พระราชวังเดิม

๒.๓ ประดิษฐานที่ กราบพัก ๓ นักเรียนจ่า โรงเรียนสื่อสารฯ


๒.๔ ประดิษฐานที่ สถานีวิทยุเสียงจากทหารเรือ ๘ พษณุโลก
๒.๕ คณะกรรมการจัดสร้างฯ มอบให้ประธานคณะกรรมการฯ

๓. พระรูปหล่อฯ ขนาด ๑๕ นิ้ว พิเศษ (จำนวน ๑๕ องค์ สำหรับกรรมการ)


ด้านหน้า

ด้านหลัง

ด้านข้างและใต้ฐาน

๔. พระรูปหล่อฯ ขนาด ๑๒ นิ้ว (จำนวน ๙๙ องค์ เพื่อบูชา)


ด้านหน้า

ด้านหลัง

ด้านข้างและใต้ฐาน

๕. พระรูปหล่อฯ ขนาด ๘ นิ้ว (จำนวน ๙๙ องค์ เพื่อบูชา)


ด้านหน้า

ด้านหลัง

๖. พระรูปหล่อฯ ขนาด ๘ นิ้ว (จำนวน ๕๐ องค์ มอบให้ข้าราชการที่เกษียณอายุหรือโยกย้าย)


ด้านหน้า

ด้านหลัง

๕. และ ๖. พระรูปเสด็จเตี่ย

ขนาด ๘ นิ้ว (จัดสร้างจำนวน
๙๙ องค์ สำหรับบูชา และ

จัดสร้างจำนวน ๕๐ องค์ มอบ

ให้ข้าราชการที่เกษยณอายุและ
โยกย้าย) ด้านข้างและใต้ฐาน

การสร้างเหรียญที่ระลึก




























ที่ประชุมมีมติ ให้ใช้แบบเหรียญเสมาที่ออกแบบโดยอาจารย์ คมสัน อครเดชลือชา

ช่างกราฟฟิคดำเนินการทำแบบเหรียญตามที่อาจารย์ คมสัน อัครเดชลือชา ออกแบบให้





























มีการปรับแต่งขนาดของเหรียญ และการจัดวางอักขระ เลข ยันต์ ในเหรียญ
เป็นคาถาต่างๆของพระเกจิอาจารย์เพื่อให้เกิดความเข้มขลังและคณประโยชน์กับผู้ที่แขวนใช้เหรียญ


ช่างปั้นย่อ ดำเนินการปั้นย่อแบบนูนสูง เพื่อให้เหรียญมีความสวยงาม

และนำมาให้ เจ้ากรมการสื่อสารฯ และคณะอนุกรรมการฯ ตรวจแก้ไข
































หลังจากผ่านการตรวจแก้ไข ได้ดำเนินการทำแม่พิมพหน้า หลัง และตกแต่งก่อนที่ปั้มลองพิมพ ์

ช่างปั้มลองพิมพ์ เพื่อให้ เจ้ากรมการสื่อสารฯ และคณะกรรมการฯ ตรวจแก้ไข
ื่

ก่อนที่จะชุบแข็งแม่พิมพ เพอพร้อมสำหรับการปั้มเป็นเหรียญต่อไป























ดำเนินการปั้มขึ้นรูปเหรียญตามชนิดของเนื้อเหรียญ พร้อมทั้งทำการตอกโค้ด
โดยมีคณะกรรมการฯ ควบคุมการปั้มขึ้นรูปเหรียญ ในทุกขั้นตอน

รายการและจำนวนจัดทำเหรียญที่ระลึก


พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์



ลำดับที่ รายการ จำนวน
๑. เหรียญเสมากรมหลวงชุมพรฯ เนื้อทองคำแท้ ๙๙

๒. เหรียญเสมากรมหลวงชุมพรฯ เนื้อเงินหน้ากากทองคำ ๙๙

๓. เหรียญเสมากรมหลวงชุมพรฯ เนื้อเงินหน้ากากทองคำลงยาสีแดง ๒๐๐
๔. เหรียญเสมากรมหลวงชุมพรฯ เนื้อเงินหน้ากากทองคำลงยาสีฟ้า ๒๐๐

๕. เหรียญเสมากรมหลวงชุมพรฯ เนื้อเงินหน้ากากทองคำลงยาเขียว ๒๐๐

๖. เหรียญเสมากรมหลวงชุมพรฯ เนื้อเงิน ๒๒๒
๗. เหรียญเสมากรมหลวงชุมพรฯ เนื้อเงินลงยาสีแดง ๔๕๙

๘. เหรียญเสมากรมหลวงชุมพรฯ เนื้อเงินลงยาสีฟ้า ๔๕๙

๙. เหรียญเสมากรมหลวงชุมพรฯ เนื้อเงินลงยาเขียว ๔๕๙
๑๐. เหรียญเสมากรมหลวงชุมพรฯ นวโลหะหน้ากากเงิน ๑๕๙

๑๑. เหรียญเสมากรมหลวงชุมพรฯ นวโลหะ ๓๓๓

๑๒. เหรียญเสมากรมหลวงชุมพรฯ นวโลหะลงยาสีแดง ๕๕๕
๑๓. เหรียญเสมากรมหลวงชุมพรฯ นวโลหะลงยาสีฟ้า ๕๕๕

๑๔. เหรียญเสมากรมหลวงชุมพรฯ นวโลหะลงยาเขียว ๕๕๕

๑๕. เหรียญเสมากรมหลวงชุมพรฯ ทองแดงรมดำโบราณ ๙,๙๙๙
๑๖. เหรียญเสมากรมหลวงชุมพรฯ ทองฝาบาตร ๔,๒๓๐

การตอกโค้ดเหรียญ และยิงเลเซอร์หมายเลขที่เหรียญ








โค้ดที่ ๑ สำหรับตอกตามจุดที่คณะกรรมการฯ กำหนดในแต่ละเหรียญ







โค้ดที่ ๒ สำหรับตอกตามจุดที่คณะกรรมการฯ กำหนดในแต่ละเหรียญ







โค้ดที่ ๓ เป็นโค้ดของกรมการสื่อสารฯ ที่จะตอกที่ห่วงของทุกเหรียญ






โค้ดที่ ๔ สำหรับตอกตามจุดที่คณะกรรมการฯ กำหนดในแต่ละเหรียญ

๑. การตอกโค้ดเหรียญเนื้อทองคำ



































































ยิงเลเซอร์หมายเลข ๑ – ๙๙

๒. การตอกโค้ดเหรียญเนื้อเงินหน้ากากทองคำ


































































ยิงเลเซอร์หมายเลข ๑ – ๙๙

๓. การตอกโค้ดเหรียญเนื้อเงินหน้ากากทองคำลงยาแดง / เขียว / ฟ้า




































































ยิงเลเซอร์หมายเลข ๑ – ๒๐๐

๔. การตอกโค้ดเหรียญเนื้อเงิน
































































ยิงเลเซอร์หมายเลข ๑ – ๒๒๒




หมายเหตุ : ตอกโค้ดพิเศษ ๓๓ เหรียญ จาก ๒๒๒ เหรียญ

๕. การตอกโค้ดเหรียญเนื้อเงินลงยาแดง / เขียว / ฟ้า































































ยิงเลเซอร์หมายเลข ๑ – ๔๕๙




หมายเหตุ : ตอกโค้ดพิเศษ ๖๙ เหรียญ จาก ๔๕๙ เหรียญ

๖. การตอกโค้ดเหรียญเนื้อนวโลหะหน้ากากเงิน (กรรมการ)



































































ยิงเลเซอร์หมายเลข ๑ – ๑๕๙

๗. การตอกโค้ดเหรียญเนื้อนวโลหะ


































































ยิงเลเซอร์หมายเลข ๑ – ๓๓๓




หมายเหตุ : ตอกโค้ดพิเศษ ๕๐ เหรียญ จาก ๓๓๓ เหรียญ

๘. การตอกโค้ดเหรียญเนื้อนวโลหะลงยาแดง / เขียว / ฟ้า


































































ยิงเลเซอร์หมายเลข ๑ – ๕๕๕




หมายเหตุ : ตอกโค้ดพิเศษ ๘๓ เหรียญ จาก ๕๕๕ เหรียญ

๙. การตอกโค้ดเหรียญเนื้อทองแดง
































































ยิงเลเซอร์หมายเลข ๑ – ๙๙๙๙





หมายเหตุ : ตอกโค้ดพิเศษ ๑,๕๐๐ เหรียญ จาก ๙,๙๙๙ เหรียญ

๑๐. การตอกโค้ดเหรียญเนื้อฝาบาตร และแบบไม่ตัดปีก































































ยิงเลเซอร์หมายเลข ๑๙๑๙

๑๑. การตอกโค้ดเหรียญเนื้อทองคำพิเศษ (สำหรับผู้บริจาค ๑๐๐,๐๐๐ บาท)



































































ยิงเลเซอร์หมายเลข ๙๙๙

๑๒. การตอกโค้ดเหรียญเนื้อเงินพิเศษ (สำหรับผู้บริจาค ๑๐๐,๐๐๐ บาท)


































































ยิงเลเซอร์หมายเลข ๙๙๙

๑๓. การตอกโค้ดเหรียญเนื้อนวโลหะหน้ากากทองคำพิเศษ (สำหรับผู้บริจาค ๑๐๐,๐๐๐ บาท)


































































ยิงเลเซอร์หมายเลข ๙๙๙

๑๔. การตอกโค้ดเหรียญเนื้อทองคำลงยาราชาวดีสีแดงพิเศษ (สำหรับผู้บริจาค ๕๐,๐๐๐ บาท)



































































ยิงเลเซอร์หมายเลข ๙๙๙

๑๕. การตอกโค้ดเหรียญเนื้อเงินหน้ากากทองคำพิเศษ (สำหรับผู้บริจาค ๑๐,๐๐๐ บาท)

































































ยิงเลเซอร์หมายเลข ๙๙๙

คำปรารภของ อาจารย์เพชร เพลิงพรต (คมสัน อัครเดชลือชา)


ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชการที่ ๕ ที่ทรง


ปกบ้านป้องเมืองไว้ด้วยพระปรีชาอนเลิศ และหนึ่งในนักรบแห่งสยามประเทศ พระนามพระองค์เจ้า

อาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอดมศักดิ์ ผู้แสดงให้เห็นเป็นที่ประจักษ์ในคำกล่าวที่ว่า รักชาติ

ยิ่งชีพ นั้นเป็นเช่นไร ในยุคล่าอาณานิคม และเป็นอกหนึ่งเหตุการณ์ที่รักษาแผ่นดินนี้ไว้ให้ลูกหลานไทย
ได้อยู่อาศัยอย่างสงบร่มเย็นจนถึงปัจจุบัน
ด้วยสำนึกในพระเกียรติคุณของพระองค์เป็นทุนเดิม เมื่อ เรือโท รณภพ จันทร์เชื้อ นำดำริของ

พลเรือโท อรัญ นำผล เจ้ากรมการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศทหารเรือ มาขอคำปรึกษาในการ

จัดสร้างพระอนุสาวรีย์ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพร

เขตอดมศักดิ์ พร้อมด้วยเหรียญที่ระลึก หลังจากได้ฟงหลักการและเหตุผลของโครงการแล้ว ข้าพเจ้า

รับปากร่วมงานครั้งนี้ทันที ด้วยมิได้มีสิ่งใดซ่อนเร้นในเชิงพาณิชย์ แต่จุดกำเนิดเกิดจากความศรัทธา
ในพระองค์ท่านตรงกัน จึงปรารถนาจะดำเนินงานนี้ให้ดีงามที่สุด เพอเทิดพระเกียรติพระองค์ท่าน และ
ื่
เป็นแบบอย่างของความถูกต้อง เหมาะสม ในทุกประการ แต่กระนั้นก็ต้องขอความกรุณาจากเจ้า

กรมการสื่อสารฯ ว่าจะขออยู่เบื้องหลังเท่านั้น โดยไม่ปรารถนาสิ่งใดๆ เหตุเพราะได้วางมือจากการกิจ
เหล่านี้มานาน และประสงค์ขัดเกลาชำระจิตใจตน ด้วยการมุ่งประพฤติปฏิบัติธรรมเป็นหลัก แต่ขอให้

เบาใจในพธีกรรมต่างๆ เพราะข้าพเจ้าได้ถ่ายทอดสรรพวิชาต่างๆ ให้กับ เรือโท รณภพ จันทร์เชื้อ จนมี

ความรู้ความชำนาญ เชี่ยวชาญเป็นอย่างดี และสามารถดำเนินงานทุกอย่างตามขั้นตอนที่ข้าพเจ้า
กำหนดให้อย่างสมบูรณ์แบบทุกประการ


รูปแบบเหรียญ
ลักษณะรูปทรงใบเสมา ถือเอามูลเหตุจากความเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคงของ


พระองค์นัยหนึ่ง หลักในการประกาศสัญลักษณ์เขตแดนแห่งบวรพระพทธศาสนานัยหนึ่ง และสื่อ
ื่
สัญลักษณ์เพอประกาศศาสนาพทธให้ไพศาลอกนัยหนึ่ง ทั้งนี้ คำนึงถึงองค์ประกอบที่สวยงาม เหมาะสม


เพื่อการเทิดพระเกียรติของพระองค์เป็นหลัก
ด้านหน้าของเหรียญ
อักขระด้านบนใต้หูเหรียญ อ่านว่า มะ อะ อุ ปรากฏที่มาการย่ออักขระนี้มาจากหลายประการ

แต่ในที่นี้ยึดเอาที่ปรากฏใน สติปัฏฐาน กล่าวในวิธีการทำสันโดษ คือ
มะ ย่อมาจาก มหาปุริโส (มหาบุรุษ) ผู้เปี่ยมไปด้วยบารมี ๓๐ ทัศ แทนความหมายคือ ศีล

อะ ย่อมาจาก อาโลโก (แสงสว่าง) หนึ่งในกสิณจ์ ๑๐ แทนความหมายคือ สมาธิ

อุ ย่อมาจาก อุตมปัญโญ (ปัญญา) อุดมไปด้วยปัญญา แทนความหมายคือ พระสัพพัญญุตญาณ


Click to View FlipBook Version