The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นาวิกศาสตร์ ฉบับเดือน เมษายน ๒๕๖๕

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นาวิกศาสตร์, 2022-06-02 04:27:33

นาวิกศาสตร์ เดือน เมษายน ๒๕๖๕

นาวิกศาสตร์ ฉบับเดือน เมษายน ๒๕๖๕

งานราชการนั้น เป็นงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับวิถีชีวิตของประชาชน ซึ่งมีความเปลี่ยนแปลงอยู่เป็นปรกติ




ตามสถานการณ์และกาลเวลาท่เปล่ยนแปลงไป. ข้าราชการทุกคนจึงต้องทาความเข้าใจงานในหน้าท่ของตน




ให้กระจ่างชัด และร้เท่าทันความเปล่ยนแปลงท่เกิดข้น แล้วปฏิบัติหน้าท่ให้สอดคล้องเหมาะสม โดยยึดม่น


แน่วแน่อยู่ในเป้าหมายของการปฏิบัติราชการ คือประโยชน์สุขของประชาชน และความเจริญมั่นคงของประเทศชาติ.
พระบรมราโชวาท
พระราชทานแก่ข้าราชการพลเรือน เนื่องในวันข้าราชการพลเรือน
วันพฤหัสบดี ที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๔


ทรงพระเจริญ





ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม


ข้าพระพุทธเจ้า กองบรรณาธิการนิตยสารนาวิกศาสตร์


นายกกรรมการราชนาวิกสภา
พลเรือโท ชลธิศ นาวานุเคราะห์
รองนายกกรรมการราชนาวิกสภา
พลเรือตรี จิรพล ว่องวิทย์
กรรมการราชนาวิกสภา
พลเรือตรี ชยุต นาเวศภูติกร
พลเรือตรี ดนัย สุวรรณหงษ์
พลเรือตรี โสภณ รัชตาภิรักษ์
พลเรือตรี อัตตะวีร์ ทักษรานุพงศ์
พลเรือตรี คมสัน กลิ่นสุคนธ์
พลเรือตรี อนุพงษ์ ทะประสพ
พลเรือตรี สนทยา แสงบางมุด ปกหน้า
พลเรือตรีหญิง วรารัตน์ สิงห์ขวา
พลเรือตรี ชัยวัฒน์ คุ้มทิม
พลเรือตรี พงษ์สันต์ สมัยคมสัน
พลเรือตรี ทรงฤทธิ์ ฉัตรเงิน
พลเรือตรี อรรณพ แจ่มศรีใส
กรรมการและเลขานุการราชนาวิกสภา
นาวาเอก จิระวัฒน์ อภิภัทรชัยวงศ์
เหรัญญิกราชนาวิกสภา
เรือเอกหญิง ปาริชาติ เชื้อจิตรนุกูล
ที่ปรึกษาราชนาวิกสภา
พลเรือเอก วันชัย แหวนทอง
พลเรือโท คณาชาติ พลายเพ็ชร์
พลเรือโท สาธิต นาคสังข์ ปกหลัง
พลเรือตรี จักรชัย น้อยหัวหาด ข้อคิดเห็นในบทความท่นาลงนิตยสารนาวิกศาสตร์เป็นของผู้เขียน


พลเรือตรี สมชาย ศิพะโย มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบายของหน่วยงานใดของรัฐและมิได้ผูกพัน


บรรณาธิการ ต่อทางราชการแต่อย่างใด ได้นาเสนอไปตามท่ผู้เขียนให้ความคิดเห็น




นาวาเอก จิระวัฒน์ อภิภัทรชัยวงศ์ เท่าน้น การกล่าวถึงคาส่ง กฎ ระเบียบ เป็นเพียงข่าวสารเบ้องต้น
ผู้ช่วยบรรณาธิการ เพื่อประโยชน์แก่การค้นคว้า
นาวาเอกหญิง วรนันท์ สุริยกุล ณ อยุธยา
ประจ�ากองบรรณาธิการ ปกหน้า ๑๐๖ ปี “ราชนาวิกสภา”
นาวาเอก สุวิทย์ จันทร์เพ็ญศรี
นาวาเอก นิพนธ์ พลอยประไพ ปกหลัง อาคารราชนาวิกสภา
นาวาเอก ธาตรี ฟักศรีเมือง ออกแบบปก กองบรรณาธิการ
นาวาเอกหญิง แจ่มใส พันทวี พิมพ์ที่ บริษัท เปเปอร์ไรส์ จ�ากัด
เจ้าของ ราชนาวิกสภา
นาวาโทหญิง ศรัญญา ศาสโนปถัมภ์
นาวาโทหญิง สรารัตน์ จันกลิ่น ส�านักงานราชนาวิกสภา
นาวาตรี ปัญญา ประเสริฐจินดา ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย
เรือเอกหญิง สุธิญา พูนเอียด กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐
เรือเอก วิทยา ภู่ประดิษฐ์ โทร. ๐ ๒๔๗๕ ๓๐๗๒ และ ๐ ๒๔๗๕ ๔๙๙๘
เรือตรี ชัยพันธ์ ไกรศิริ ส่งข้อมูล/ต้นฉบับได้ที่ [email protected]
นาวิกศาสตร์ 2
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๙ กันยายน ๒๕๖๓ เว็บไซต์ราชนาวิกสภา WWW.RTNI.NAVY.MI.TH


สารบัญ




คลังความรู้ คู่ราชนาวี

ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ ประจ�ำเดือน เมษำยน ๒๕๖๕
ลำ ดับเรื่อง ลำ ดับหน้า

บรรณาธิการแถลง .............................................................................๔


เรื่องเล่าจากปก ..................................................................................๕


การพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส ท่ามกลางโลกที่พลิกผัน
ตอนที่ ๓ การพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส ...............................................๖
พลเรือเอก ไพศาล นภสินธุวงศ์


แนวความคิดการใช้เครื่องมือทางทหาร และหลักนิยมการรบใหม่
“การปรับใช้เรือบรรทุกเครื่องบินของกองทัพเรือต่างประเทศ”........๑๖
นาวาเอก วสันต์ ไตรจิต


ประสบการณ์ชีวิตบนเส้นทางรับราชการของ
นาวาเอกหญิง เดือนฉาย เสขะนันทน์ .............................................๒๗
เรือเอกหญิง สุธิญา พูนเอียด

ยามาโต้เรือประจัญบานโลกจารึก (๑) .............................................๓๗
พันทิวา (พลเรือตรี วิพันธุ์ ชมะโชติ)

ชักใบให้เรือดี ...................................................................................๔๘
พลเรือโท พัน รักษ์แก้ว
เกิดอะไรขึ้นในอัฟกานิสถาน ...........................................................๕๗
นาวาตรี วีรกมล สวนจันทร์
การฝึกผสมทางทะเลระหว่างอาเซียน-สหพันธรัฐรัสเซีย .................๖๖
เรือหลวงกระบุรี


สานวนชาวเรือ .................................................................................๗๒

เรื่องเล่าชาวเรือ ...............................................................................๗๔

ข้อคิดปลูกจิตสานึกจริยธรรม ..........................................................๗๕
ข่าวนาวีรอบโลก ..............................................................................๗๗
ภาพกิจกรรมกองทัพเรือ ..................................................................๘๑
การฌาปนกิจสงเคราะห์แห่งราชนาวี ..............................................๙๐

มาตรานำ เดือน มิถุนายน ๒๕๖๕ .................................................๙๔
เวลาดวงอาทิตย์ และ ดวงจันทร์ ขึ้น-ตก
เดือน พฤษภาคม-มิถุนายน ๒๕๖๕ ................................................๙๘

นาวิกศาสตร์ นิตยสารของกองทัพเรือ มีวัตถุประสงค์เพ่อเผยแพร่


วิชาการและข่าวสารทหารเรือท้งในและนอกประเทศ ตลอดจนวิทยาการอ่น ๆ นาวิกศาสตร์
ทั่วไป และเป็นสื่อในการประชาสัมพันธ์ของกองทัพเรือ 3
ปีที่ ๑๐๓ เล่มที่ ๙ กันยายน ๒๕๖๓





สวัสดีครับสมาชิกท่รักทุกท่าน เมื่อวันท่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕ เป็นวันคล้ายวันก่อต้ง “ราชนาวิกสภา” ครบรอบ
๑๐๖ ปี ซึ่งราชนาวิกสภาถือก�าเนิดเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๕๙ มีวัตถุประสงค์ในการก่อตั้งคือ ใช้เป็นสถานที่อ�านวยการฝึกฝน

นายทหารเรือให้มีความรู้ในวิชาการทหารเรือสูงข้น และศึกษาแลกเปล่ยนความรู้ซ่งกันและกัน รวมถึงความรู้ในวิทยาการ




อ่นๆ อันเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าท่ราชการ โดยตลอดระยะเวลากว่าร้อยปี ราชนาวิกสภาเป็นสถานที่เสริมสร้าง



ความรู้ความสามารถของนายทหารสัญญาบัตรและกาลังพลกองทัพเรือ โดยปัจจุบันเป็นท่ต้งของกองบรรณาธิการนิตยสาร


นาวกศาสตร์ด้วย อนเป็นแหล่งผลตนตยสารทม่งเน้นให้ความร้แก่กาลงพลกองทพเรอและบคคลทวไป นอกจากนน


















ราชนาวิกสภาในห้วงเวลาท่ผมได้เข้ามารับตาแหน่งผู้อานวยการสานักงานฯ และเป็นบรรณาธิการนาวิกศาสตร์





ต้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ท่ผ่านมา ได้ปรับปรุงพัฒนาโดยเพ่มช่องทางการเผยแพร่ในเว็บไซต์ใหม่ท่จัดทาข้น


www.rtni.navy.mi.th, fanpage ราชนาวิกสภา พร้อมกับการเผยแพร่แจกจ่ายในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์หรือ
e-book อีกช่องทางหนึ่งด้วย ท�าให้ก�าลังพลกองทัพเรือหรือบุคคลทั่วไป สามารถเข้าไปอ่าน “e-book นาวิกศาสตร์”
ผ่านโทรศัพท์มือถือ แท็บเล๊ต หรือคอมพิวเตอร์ ได้ด้วยครับ

และอีกเช่นเคยครับ ในเดือนเมษายน ๒๕๖๕ น้ กองบรรณาธิการนาวิกศาสตร์ ขอมอบบทความดี ๆ ท่เพียบพร้อม


ด้วยสาระ และความบันเทิงมานาเสนอให้สมาชิกทุกท่านได้อ่านกัน โดยเร่มจากบทความเร่อง “การพลิกวิกฤตให้เป็น


โอกาส ท่ามกลางโลกที่พลิกผัน (ตอนที่ ๓) การพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส” ซึ่งฉบับนี้เสนอเป็นตอนจบครับ บทความ


นเขียนโดย คุณครู พลเรือเอก ไพศาล นภสินธุวงศ์ นอกจากนยังมีบทความเรอง “แนวความคิดการใช้เคร่องมือ





ทางทหาร และหลักนิยมการรบใหม่ การปรับใช้เรือบรรทุกเคร่องบินของกองทัพเรือต่างประเทศ” เขียนโดย นาวาเอก

วสันต์ ไตรจิต และต่อด้วยบทความเรื่อง “ประสบการณ์ชีวิตบนเส้นทางรับราชการของนาวาเอกหญิง เดือนฉาย
เสขะนันทน์” โดยมี เรือเอกหญิง สุธิญา พูนเอียด เป็นผู้สัมภาษณ์นาวาเอกหญิง เดือนฉายฯ และเรียบเรียงบทความน ้ ี
ขึ้นมา ท�าให้ทราบว่าทหารเรือหญิงคือผู้ที่มีส่วนส�าคัญท�าให้ภารกิจของกองทัพเรือบรรลุผลส�าเร็จได้ครับ และต่อด้วย
บทความเรื่อง “ยามาโต้เรือประจัญบานโลกจารึก (๑)” เขียนโดย พันทิวา นอกจากนี้ยังมีบทความที่น่าติดตามอีก

ได้แก่ “ชักใบให้เรือดี” เขียนโดย พลเรือโท พัน รักษ์แก้ว นักเขียนอาวุโสอีกท่านของนิตยสารนาวิกศาสตร์ บทความเร่อง

“เกิดอะไรข้นในอัฟกานิสถาน” เขียนโดย นาวาตรี วีรกมล สวนจันทร์ และขอปิดท้ายด้วยบทความเร่อง

“การฝึกผสมทางทะเลระหว่างอาเซียน-สหพันธรัฐรัสเซีย” เขียนโดย เรือหลวงกระบุรี ครับ
ท้ายที่สุดนี้ เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่เชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) กองบรรณาธิการฯ จึงขอให้สมาชิกที่รัก
ทุกท่านหมั่นรักษาความสะอาด สร้างภูมิต้านทาน ดูแลรักษาสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอ และเพื่อไม่เป็นการเสียเวลา
ขอเชิญท่านสมาชิกที่รักทุกท่านอ่านบทความในเล่มได้เลยครับ
“กยิรา เจ กยิราเถนํ” “จะทําสิ่งไร ควรทําจริง”


กองบรรณาธิการ




ปกหน้า: ๑๐๖ ปี “ราชนาวิกสภา”



วันท ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕ เป็นวันคล้ายวันก่อต้งราชนาวิกสภา

เวียนมาบรรจบครบรอบ ๑๐๖ ปี ซ่งราชนาวิกสภาได้ก่อต้งข้นในกองทัพเรือ







เป็นคร้งแรกเม่อวันท ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๙ ในสมัยท่กองทัพเรือยังมีฐานะเป็น
กระทรวงทหารเรือ (ซ่งตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

รัชกาลที่ ๖) โดยจอมพลเรือ สมเด็จเจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ กรมพระนครสวรรค์
วรพินิต เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ ขณะทรงดารงพระยศนายพลเรือเอก ทรงลง






พระนามในคาส่งกระทรวงทหารเรือ ท ๕๓๒/ ๑๓๓๑๐ เร่อง “ต้งราชนาวิกะสภา”

๒๔๕๘

ลงวันท ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๘ ภายหลังจากท่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว



ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จดพระราชทานแก้ไขช่อ “ราชนาวีสภา

Royal Naval Institute” ตามท่ทูลเกล้าฯ ถวายไปน้นเป็น “ราชนาวิกะสภา Royal Naval Institute”

หรือ “ราชนาวิกสภา Royal Naval Institute”และทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตแล้ว
(ตามเอกสารหนังสือ กรมราชเลขานุการ ที่ ลงวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๘) โดยให้เริ่มตั้งสภานี้ ตั้งแต่วันที่
๒๘
๑๘๓๒
๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๙








กระทรวงทหารเรอได้จดให้ราชนาวิกสภาข้นในปกครองของกรมเสนาธิการทหารเรอ ซงในเวลานน พลเรือเอก


พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร (พระนามเดิมคือ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ) ทรงดารงตาแหน่ง
เสนาธิการทหารเรือ ขณะทรงด�ารงพระยศนายพลเรือโท กรมขุนสิงหวิกรมเกรียงไกร โดยให้กรมเสนาธิการทหารเรือ










มอานาจแต่งตงนายทหารเรอเข้าเป็นกรรมการอานวยการราชนาวกสภา หรอกรรมการพเศษเฉพาะการใดการหนง


ของราชนาวิกสภา คณะกรรมการอานวยการราชนาวิกสภาในคร้งแรกประกอบด้วย จอมพลเรือ สมเด็จเจ้าฟ้าบริพัตร

สุขุมพันธ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ทรงรับเป็นผู้อานวยการพิเศษและสภาปถัมภก พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ

กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เมื่อครั้งด�ารงพระยศนายพลเรือตรี ทรงรับเป็นผู้อ�านวยการคนแรก
ปกหลัง: อาคารราชนาวิกสภา

อาคารราชนาวกสภา (หลงแรกด้านทศใต้) เป็นอาคารแบบตะวันตก ๒ ชน




ก่ออิฐถือปูน มีไม้ประกอบ ผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า หันด้านหน้า (ด้านยาว) ออกสู่
แม่น�้าเจ้าพระยาตรงกับหมู่พระมหาปราสาทของพระบรมมหาราชวัง ฟากตรงข้าม

ของแม่นา อาคารนีแต่เดิมไม่มระเบยงด้านหน้าเช่นในปัจจุบนน แต่ถูกต่อเติม







ในราวก่อน พ.ศ. ๒๔๗๔ เพื่อฉลองกรุงเทพฯ ๑๕๐ ปี ซึ่งได้ท�าบันไดทางขึ้นหลัก




ทกงกลางของอาคารใหม่ เพอความสง่างามแทนบันไดชดเดม โดยสถาปัตยกรรม




ท่ต่อเติมคงมีอิทธิพลรูปแบบเรอเนสซองส์ แต่ได้มีการผสมผสาน และประยุกต์

ให้เรียบง่ายขึ้น ทั้งชั้นล่าง และชั้นบน มีระเบียงยาวตลอดของตัวอาคาร
อาคารราชนาวิกสภา (หลังแรก) มีความชารุดทรุดโทรมไปตามอายุขัย

จนราวปี พ.ศ. ๒๕๔๕ จึงได้มีการบูรณะปรับปรุงคร้งใหญ่ให้มีสภาพ




ม่นคงแข็งแรง เพ่อเตรียมใช้เป็นท่รองรับการชมขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ของผู้นาชาติต่าง ๆ



ท่จะมาประชุม APEC 2003 ใน พ.ศ. ๒๕๔๖ แต่ด้วยข้อจากัดหลายประการท่เป็นอุปสรรคต่อการปรับ




ประโยชน์ใช้สอย กอปรกับเป็นอาคารเก่า ทาให้รัฐบาลในขณะน้นตัดสินใจสร้างอาคารท่มีลักษณะหน้าตาคล้ายคลึงกัน
อีกหลังหนึ่งต่างหาก บนพื้นที่ว่างหน้าพระนิเวศน์เดิม ตามที่เห็นในรูปปัจจุบันนี้
นาวิกศาสตร์ 5
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕




ความเดิมของสองตอนท่ผ่านมา เราได้ทาความรู้จักกับภาวะวิกฤตในท่ามกลางสถานการณ์ของโลกปัจจุบัน
ที่พลิกผัน กับบทบาทของผู้น�าองค์กรที่พึงประสงค์ส�าหรับการบริหารจัดการภาวะวิกฤต




ตอนท ๓ น จะกล่าวถึงข้นตอนต่าง ๆ ในการแก้ไขภาวะวิกฤต หรือเรียกว่าการจัดการภาวะวิกฤต และ

การพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส


สานักคิดแต่ละแห่ง แบ่งข้นตอนของการจัดการภาวะวิกฤตแตกต่างกันตามลักษณะของแต่ละองค์กร แต่โดย
หลักการแล้วอยู่ในกรอบ (Framework) ที่คล้ายกัน
ขั้นตอนของการจัดการภาวะวิกฤต
๑. ทาความเข้าใจภาวะวิกฤตท่เกิดข้น ได้กล่าวมาแล้วในตอนต้นว่า ภาวะวิกฤตมีหลายประเภท แต่ละประเภท



มีผลกระทบต่อองค์กรอย่างไรบ้าง รวมทั้งขนาดของความรุนแรง





๒. ตดสนใจเลอกหนทางปฏบตใหเหมาะสมกบภาวะวกฤตทเกดขน ข้นตอนน้เป็นหัวใจสาคัญ ตามท่ได้กล่าวมา













ข้างต้นแล้วว่า วิกฤต หมายถึง การตัดสินใจ หรือก�าหนดทางเลือก






๓. พจารณาใช้เคร่องมือให้เหมาะสมในการปฏบัต เคร่องมือนอกจากอุปกรณ์ ส่งของต่าง ๆ แล้ว คน ถือว่าเป็น
เครื่องมือส�าคัญที่สุด









๔. กาหนดแผนทสามารถแกไขปญหาไดจรง แผนท่ดีต้องครอบคลุมปัญหาย่อยต่าง ๆ ท่เกิดข้น หรือเป็นแผนท ่ ี

เป็นองค์รวม (Holistic)



๕. ข้นการปฏิบัต เป็นการปฏิบัติตามแผนท่ได้วางไว้ หากข้นตอนใดของแผนมีปัญหาในการปฏิบัต ต้องรีบปรับแผน


ให้สอดคล้องกับสถานการณ์
๖. การประเมินผลการปฏิบัติและถอดบทเรียน ในวงการธุรกิจ ขั้นตอนนี้มีความส�าคัญ มักได้รับการใส่ใจจาก
ผู้นาองค์กร เพราะจะเป็นประโยชน์ต่อไปในอนาคต หากเกิดวิกฤตแบบเดียวกันหรือลักษณะใกล้เคียงเกิดข้นอีก สาหรับ



องค์กรภาครัฐ ขั้นตอนนี้มักถูกละเลยเป็นส่วนใหญ่
โดยสรุปแล้ว การจัดการภาวะวิกฤต (Crisis Management) มีลักษณะคล้ายคลึงกับการบริหารความเปล่ยนแปลง

(Change Management) และการบริหารโครงการ (Project Management) ซ่งข้อแตกต่างอยู่ท่เวลา และทรัพยากร


ที่สามารถน�ามาใช้ได้ โดยปกติแล้วในยามวิกฤตมักจะมีจ�ากัด
การพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส (Turning Crisis into Opportunity)
อดีตประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา John F. Kennedy กล่าวเมื่อ ค.ศ. ๑๙๕๙ ว่า ในภาษาจีน ค�าว่า วิกฤต
(Crisis) ประกอบด้วย ค�าสองค�า คือ ค�าว่า อันตราย (Danger) และโอกาส (Opportunity) หรือหากย้อนไปสมัยกรีก
กล่าวในลักษณะคล้ายคลึงกันว่า “Necessity is the mother of invention” อันเป็นสุภาษิตที่มีชื่อเสียง หมายถึง
“แรงขับเคลื่อนหลักส�าคัญที่สุดส�าหรับการประดิษฐ์คือ ความจ�าเป็น”
นาวิกศาสตร์ 6
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕






นักวิชาการด้านภาษาศาสตร์จานวนหน่งโต้แย้งว่า การกล่าวอ้างวิกฤตในภาษาจีน ประกอบด้วยคาสองคา
คือ อันตรายกับโอกาส ไม่น่าถูกต้องนัก แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานที่ชัดเจนสนับสนุนความคิดของพวกเขา อย่างไรก็ตาม
ในปัจจุบันมีการอ้างถึงกันมากจนกลายเป็นเร่องธรรมดาว่า “การพลิกวิกฤตเป็นโอกาส” โดยนัยของวิกฤตคือ ส่งท ี ่








ไมพงประสงค เพราะมผลกระทบเชงลบในวงกวาง รนแรง และฉบพลน ดงนน เราจงควรหาวธทาใหวกฤตหายไปหรอ













เบาบางลง และใช้สถานการณ์ที่เกิดภาวะวิกฤตพลิกให้เป็นโอกาสดีของเราในการพัฒนาองค์กรต่อไปส�าหรับอนาคต

แต่หากเราใช้สติหยุดคิด พิจารณาด้วยเหตุและผลแล้ว เราจะเห็นว่า โดยแท้จริงแล้วตัวภาวะวิกฤตน้น เราอาจไม่ม ี








อิทธพลไปเปล่ยนให้เป็นโอกาสได้มากนัก แต่ในท่น้หมายถึง โอกาสท่เปลยนตัวเราเอง หรอองค์กรของเราให้สอดคล้อง
กับสถานการณ์ (ร้าย) ที่เกิดขึ้นต่างหาก ดังตัวอย่างต่อไปนี้




ตัวอย่าง ๑ พระเจ้าเฮนร ท ๘ ของอังกฤษ (ครองราชย์ ค.ศ. ๑๕๐๙-๑๕๔๗) ซ่งได้รับการยกย่องว่าเป็น

พระบิดาของราชนาวีอังกฤษและกษัตริย์นักรัก พระองค์ได้ริเร่มพัฒนาราชนาวีอังกฤษจนเข้มแข็ง ทาให้อังกฤษได้รับการ


ยกย่องว่ามีดินแดนเกือบทั่วโลก เป็นอาณาจักรที่ดวงอาทิตย์ไม่เคยตกดิน (The Empire on which the sun never
sets)



ส่วนท่กล่าวกันว่าพระองค์เป็นกษัตริย์นักรักน้น เพราะมีพระราชิน ๖ พระองค์ (ไม่ใช่ในเวลาเดียวกัน) และ






มีฉายานามสาหรับบรรดาพระมเหสีว่า หย่า ประหาร ตาย รอด ปัญหาคร้งแรกเม่อพระเจ้า เฮนร ท ๘ ย่นฎีกา





ต่อพระสันตะปาปา Clement ท ๗ ณ วาติกัน เร่องการหย่าร้างกับพระราชินีองค์แรก พระนางแคทเธอรีน


แม้พระสันตะปาปาได้ยับย้งแต่ไม่สาเร็จ ต่อมาพระองค์ได้หย่าร้างและอภิเษกสมรสใหม่กับนางแอนน์ โบดีน พร้อมกับ


สถาปนาพระองค์เป็นประมุขแห่งศาสนจักรแทนพระสันตะปาปาท่วาติกัน เหตุการณ์ประวัติศาสตร์คร้งน้นเป็นเหตุให้

พระองคถกปพพาชนยกรรมจากศาสนาจกร (Excommunication) เปนการแยกตวขององกฤษออกจากโรมันคาทอลิก








ที่ วาติกัน เป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ



การถูกขับออกจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกในยุคน้นเป็นเร่องร้ายแรง โดยเฉพาะผู้ท่เป็นประมุขของราชอาณาจักร
พระเจ้าเฮนรี่ที่ ๘ ตกอยู่ในภาวะวิกฤตที่เสี่ยงต่อการรุมโจมตีจากบรรดาชาติต่าง ๆ ในยุโรปที่ส่วนใหญ่เป็นคาทอลิก
แต่อังกฤษสามารถผ่านวิกฤตทางศาสนาไปได้ และได้ใช้เป็นโอกาสปฏิรูปคริสต์ศาสนาเป็น Church of England
ในเวลาต่อมา







ตัวอย่าง ๒ ในชวงเวลาทมการระบาดครงใหญของกาฬโรค (Great Plague) ในกรงลอนดอนเมอ ค.ศ. ๑๖๖๕-๑๖๖๖




ซ่งนับว่าเลวร้ายท่สุดของอังกฤษ Isaac Newton ซ่งขณะน้นกาลังศึกษาอยู่ท่มหาวิทยาลัย Cambridge







ได้อพยพออกจาก Cambridge กลับไปอาศัยอยู่ท่บ้านในเมือง Woolsthorpe ซ่งเป็นบ้านเกิดของเขา Isaac Newton
นาวิกศาสตร์ 7
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕


ได้ใช้ช่วงเวลาวิกฤตนั้นศึกษาด้วยตนเอง และได้ค้นพบวิชา Calculus และวิชาอื่น ๆ ในช่วงที่เรียกว่า Self-Isolation
(แตกต่างจาก Home Isolation ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันของวิกฤต COVID-19) เขาไม่ได้ป่วยด้วยกาฬโรค





















การค้นพบวิชา Calculus และวิชาอ่น ๆ ทางวิทยาศาสตร์ของ Isaac Newton แท้จริงแล้ววิกฤตกาฬโรคครั้งใหญ่
ของอังกฤษกับการค้นพบวิชาต่าง ๆ ของเขาไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกันโดยตรง เพียงแต่ว่าเขาได้ใช้สถานการณ์ที่วิกฤต
ให้เป็นประโยชน์/โอกาสส�าหรับเขา




ประมาณหน่งปีสาหรับ Self Isolation ของ Isaac Newton ในบรรดาส่งท่เขาค้นพบน้น ทฤษฎีแรงโน้มถ่วง




(Gravity) เป็นท่รู้จักกันดีสาหรับคนส่วนใหญ่ เขาได้สังเกตผลแอปเปิลบริเวณบ้านของเขาท่หล่นลงบนศีรษะของเขา
ปัจจุบันต้นแอปเปิลนั้นแม้มีอายุกว่า ๔๐๐ ปี ยังถูกรักษาดูแลไว้เป็นอย่างดี
ตัวอย่าง ๓ วิกฤตขีปนาวุธคิวบา (Cuban Missile Crisis 1962) อดีตประธานาธิบดี John F. Kennedy ของ
สหรัฐอเมริกาผู้ซึ่งเชื่อว่าวิกฤตประกอบด้วยอันตรายและโอกาส ในวิกฤตขีปนาวุธคิวบา เป็นการเผชิญหน้าทางทหาร
ระหว่างสหรัฐอเมริกากับโซเวียตและคิวบา และเมื่อประธานาธิบดี Kennedy รู้แน่นอนแล้วว่า โซเวียตก�าลังไปติดตั้ง
ฐานยิงขีปนาวุธที่คิวบา โดยมีเป้าหมายไปที่สหรัฐอเมริกา นับเป็นการท้าทายที่เขายอมรับไม่ได้ จึงได้ประกาศกักด่าน
(Quarantine) ต่อคิวบา อาจมีคนสงสัยว่าท�าไมไม่ประกาศปิดอ่าวทางเรือ (Naval Blockade) และทั้งสองประเภท

ต่างกันอย่างไร ขอชี้แจงสั้น ๆ ว่า การปิดอ่าวทางเรือนั้นโดยกฎหมายระหว่างประเทศใช้เฉพาะในยามสงคราม และ
มีเง่อนไขอีกหลายประการ สหรัฐอเมริกาจึงใช้วิธีกักด่านแทน

ซึ่งอ่อนตัวกว่า
ในปี ค.ศ. ๑๙๖๒ ประธานาธิบดี Kennedy และทีมที่ปรึกษา
ตัดสินใจในวิกฤตคิวบา ในคร้งน้นถือเป็นการเส่ยงต่อการเกิด



สงครามปรมาณู แต่เขาตัดสินใจโดยเล็งเห็นโอกาส คือ


๑. เขาใช้วิกฤตเพ่อแสดงภาวะผู้นาท้งระดับในประเทศ

และระดับโลก (โดยเฉพาะกลุ่มประเทศ NATO)
๒. เป็นการปลดล็อกอันตรายจากขีปนาวุธท่กาลังจะจ่อหน้า


ประตูบ้าน (ซึ่งต่อมาโซเวียตยอมถอนออกจากคิวบา)




๓. จากวิกฤตขีปนาวุธคร้งน Kennedy กับ Khruschev ได้ตกลงให้มีการต่อ Hot Line ระหว่างผู้นาท้งสองประเทศ




เพอให้สามารถตดต่อกนได้โดยตรงทนทหากมวกฤตอืน หรอปัญหาระหว่างสองประเทศทต้องการแก้ไขโดยเร่งด่วน









ในอนาคต
นาวิกศาสตร์ 8
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕


๔. เป็นการหยั่งเชิงความกล้าเสี่ยงของฝ่ายโซเวียต
อย่างไรก็ตาม หากดูผิวเผินแล้ว ราวกับว่าฝ่ายโซเวียตเป็นฝ่ายยอมต่อสหรัฐอเมริกาอย่างง่าย ๆ แต่ในช่วงเวลา




ตึงเครียดน้นมีการเจรจาลับระหว่างผู้นาท้งสองประเทศ โดยโซเวียตยอมถอนขีปนาวุธออกจากคิวบา และสหรัฐอเมริกา
รับปากว่าจะถอนขีปนาวุธออกจากตุรกี ซึ่งติดตั้งเล็งไปที่โซเวียต






ทางฝ่ายโซเวียตอก ๒ ปีต่อมา Khruschev หลดออกจากอานาจ ซ่งวิกฤตขีปนาวุธคิวบาเป็นปัจจัยหนงท ่ ี
คณะกรรมการโปลิตบูโรเห็นว่า เขาเป็นผู้น�าที่ไม่เข้มแข็ง และสร้างความอับอายสู่โซเวียต
ตัวอย่าง ๔ การระเบิดของแท่นขุดเจาะน�้ามัน Deep water Horizon ของบริษัท British Petroleum (BP)
ในอ่าวเม็กซิโกเป็นเหตุให้น�้ามันดิบรั่วไหลขนาดใหญ่ ระหว่าง ๒๐ เมษายน-๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ บริษัท BP
ได้รับสัมปทานจากสหรัฐอเมริกา การรั่วไหลของน�้ามันดิบจ�านวนมหาศาล ท�าให้บริษัท BP ต้องเสียค่าปรับและค่าใช้




จ่ายในการบาบัดส่งแวดล้อมถึง ๔.๕๒๕ พันล้านเหรียญ นับว่าเป็นความเสียหายสูงท่สุดในประวัติศาสตร์ นอกจากน้น




พนักงานบนแท่นขุดเจาะเสียชีวิต ๑๑ คน บาดเจ็บ ๑๒ คน แท่นขุดเจาะจมลงภายใน ๓๖ ช่วโมง นามันดิบร่วไหลนาน
ถึง ๘๗ วัน รวม ๗๘๐ ล้านลิตร ส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อมมากอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน



วิกฤตน�ามนดบร่วไหล



เน่องจากการระเบิดของ
แท่นขุดเจาะนามันของ BP






คร้งน้จาเป็นเร่งด่วนอย่างย่ง


ทต้องใช้อปกรณ์สาหรบ




ปิดปากหลุมท่เจาะลึกลงไป
ในพื้นท้องทะเล และอยู่


ในระดับนาลึกมากกว่า
๑ กิโลเมตร BP ระดมวิศวกร
ผลิตอุปกรณ์ท่เรียกว่า “Capping Stack” เพ่อหยุดย้งการร่วไหล








และปิดปากหลมท่ขดเจาะ ซ่งอุปกรณ์ขนาดใหญ่น้สามารถถูกควบคุม


การทางานได้จากระยะไกล (Remotely Controlled) อุปกรณ์



Capping Stack สร้างได้สาเร็จ และติดต้งเม่อวันท ๑๒ กรกฎาคม







นับเป็นความสาเร็จคร้งสาคัญ และมีประโยชน์มากสาหรับการขุดเจาะนามัน

ในทะเล การใช้โอกาสสร้าง Capping Stack ของ BP ในช่วงเวลาประมาณ
๕ เดือน นับว่าเป็นการสอดคล้องกับค�ากล่าวของ Plato ที่ว่า “Necessity
is the mother of invention”

สถานการณ์วิกฤต COVID-19 เป็นไปในลักษณะคล้ายคลึงกันกับการ

แก้ปัญหาของ BP โดยปกติแล้วการสร้างหรือ ผลิตวัคซีนป้องกันไวรัสท่ผ่านมา
นักวิทยาศาสตร์ใช้เวลานานบางคร้งถึง ๑๐ ปี แต่ในกรณีของ COVID-19 น ้ ี


หลายประเทศใช้เวลาผลิตวัคซีนเพียงปีเศษเท่าน้น นอกจากการผลิตวัคซีน Capping Stack
นาวิกศาสตร์ 9
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕



แล้วมีบางประเทศได้พลิกวิกฤต COVID-19 เป็นโอกาสสาหรับการผลิตยารักษาโรค COVID-19 เช่น บริษัท ฟูจิฟิล์ม ของ










ประเทศญปน ไดผลตยาตานโรคไวรส Favipiravir หรอ T-705 หรอ Avigan ซงมฤทธตอตานและรกษาโรค COVID-19









เป็นท่น่าสังเกตว่า บริษัท ฟูจิฟิล์ม ซ่งเคยมีช่อเสียงเก่ยวกับผลิตภัณฑ์กล้องถ่ายรูปและส่วนประกอบอ่น ๆ






เพ่อความอยู่รอดหลังจากการใช้ฟิล์มถ่ายรูปไม่เป็นท่นิยมมาหลายปี ได้ปรับตัวหันมาเอาดีด้านผลิตยารักษาโรค
แม้ Favipiravir เป็นที่นิยมและต้องการจากหลายประเทศ แต่ในประเทศญี่ปุ่นเองกลับไม่มีการใช้ยาชนิดนี้
ข้อน่าสังเกตอีกประการหนึ่งส�าหรับประเทศไทย วิกฤต COVID-19 ได้ท�าให้ประชาชนสับสน ตื่นตระหนก และ

บางคนถึงกับส้นหวังในประเด็นท่เกยวกับวัคซีน และยาต่อต้านไวรัสดังกล่าว มีการวิพากษ์วิจารณ์ถึงคุณภาพการจัดหา




การแจกจ่าย รวมท้งการใช้โอกาสของวิกฤต COVID-19 หาประโยชน์ของบางคนและบางองค์กรดังปรากฏรายละเอียด
อยู่ในสื่อต่าง ๆ ตลอดเวลา หากย้อนไปดูตอนแรกของบทความเป็นที่ประจักษ์ชัดว่าสถานการณ์ของปัญหาในปัจจุบัน


เป็นไปตามท่เรียกว่าอยู่ในโลกของความพลิกผันโดยแท้ กล่าวคือ สถานการณ์เปล่ยนไว ไม่แน่นอน ซับซ้อน และ
ไม่ชัดเจน ยากต่อการท�านายล่วงหน้า หรือแม้สามารถท�านายล่วงหน้าได้บ้าง แต่ก็ขาดความแม่นย�า
หลักการพื้นฐานการพลิกวิกฤตเป็นโอกาส




ตามท่ได้กล่าวมาแล้วในตอนต้นว่าการสร้างโอกาสให้เป็นประโยชน์น้นแท้จริงแล้ว บางคร้งอาจมีผลมาจากวิกฤตท่เกิดข้น







และบางคร้งอาจไม่เก่ยวข้องโดยตรงกับสถานการณ์ท่เกิดวิกฤต จากตัวอย่างท่ยกมาให้ดูข้างต้นมีท้งสองลักษณะ ในท่น ี ้


จะเน้นหนักไปทางการสร้างโอกาสท่ไม่ได้เกิดจากอิทธิพลของวิกฤตโดยตรง ดังน้น เนื้อหาสาระของหลักการจึงเก่ยวกับ



การจัดการตนเองหรือองค์กรเป็นสาคัญ แต่อย่างไรก็ตามหลักการท่จะกล่าวถึงน้นมีค่อนข้างมาก จึงขอหยิบยกมา













เฉพาะบางหวข้อทสาคัญ เมอผ้อ่านติดตามหลักการท่จะนาเสนอต่อไปน อาจคดว่าเป็นหลกการของการบรหารจัดการ




โดยท่วไป ถูกต้องครับ ซ่งได้กล่าวแล้วว่า หลักการพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาสบางหัวข้ออาจไม่เก่ยวกับวิกฤตโดยตรง

แต่เป็นเพียงอิทธิพลทางอ้อมของสถานการณ์วิกฤตนั้น

หลักการพ้นฐานคงไม่ใช่สูตรสาเร็จที่จะนาไปพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส ผู้นาไปใช้ต้องประยุกต์ให้เข้ากับสถานการณ์



ผู้ปฏิบัติซึ่งอาจเป็นปัจเจกชนหรือองค์กร เป้าหมายที่เราต้องการ และปัจจัยอื่น ๆ ที่ท้าทาย

๑. สารวจและทบทวนตวเอง ในภาวะปกติเราอาจไม่มีเวลาสาหรับสารวจตัวเอง ท้งน้อาจเป็นเพราะมีงานต้องทา









มากเกินไปแต่มีเวลาจากัด แต่ในช่วงเวลาวิกฤตเราอาจต้องจัดลาดับความสาคัญเร่งด่วนของงานต่าง ๆ ตัดงานท ี ่












ไม่จาเป็นออกไปบ้าง ซงจะทาให้มเวลาว่างสาหรบสารวจตวเอง สารวจงานท่ทาว่าจาเป็นหรอเก่ยวข้องกบงานหลัก




(Core Business) หรือไม่

๒. คิดเชิงบวก (Positive Thinking) แต่ละเหตุการณ์ท่เราหรอองค์กรเผชญ แม้เป็นเร่องร้ายแต่พยายาม



คิดในแง่ดีหรอคิดบวก คิดว่าทุกปัญหามีทางออก บางปัญหามีท้งด้านบวกและด้านลบ เช่น Work From Home



อาจไม่สะดวกและไม่คุ้นเคย เพราะทางานนอกสถานที่ทางาน อาจขาดอุปกรณ์บางอย่าง ขาดเพ่อนร่วมงานท่สามารถ



ให้ค�าปรึกษาได้ทันที เป็นต้น แต่ในด้านบวก ท�าให้มีอิสระในการท�างาน ไม่เสียเวลาในการเดินทาง ประหยัดเงินด้าน
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง มีเวลาว่างเป็นของตนเองมากขึ้น ซึ่งมีเวลาออกก�าลังกาย ท�างานอดิเรก เป็นต้น

๓. ค้นหาจุดอ่อนและจุดแข็งของตนเองและองค์กร ไม่ว่าปัจเจกชนหรือองค์กรต่างก็มีท้งจุดอ่อนและจุดแข็ง







ของตนเอง แต่การค้นหาจดอ่อนและจดแขงในการสารวจตนเอง ตามข้อ ๑. นนไม่ได้ง่ายอย่างทคด โดยเฉพาะ


การหาจุดอ่อนของตนเอง ทั้งนี้ เพราะเรามักจะมีอัตตา (Ego) และมีอคติ (Prejudice) เข้าข้างตนเอง ถึงแม้จะเป็น


เร่องท้าทาย แต่ก็จาเป็นสาหรับการบริหารจัดการ โดยปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อนและพัฒนาหรือใช้จุดแข็งให้เป็นโอกาส

นาวิกศาสตร์ 10
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕


ในการพัฒนาองค์กร
๔. ก้าวข้ามเขตสบาย / เขตปลอดภัยสู่การสร้างโอกาสและการเติบโต (Step out comfort zone to growth

zone)



การท่เราจะพัฒนาตัวเองหรือองค์กร เราจาเป็นต้องก้าวข้ามเขต Comfort zone ให้ได้ ท้ง ๆ ท่เป็นเขตสบายหรือ

เขตปลอดภัย ท�าไมเราจึงต้องออกจากเขตนี้



























Comfort Zone เป็นพื้นที่ปลอดภัยของการท�างานและการด�าเนินชีวิต เป็นสิ่งที่เราถนัด มีความช�านาญ
เคยท�ามาแล้วซ�้า ๆ ไม่ต้องท�าอะไรเพิ่มมากก็ได้ สิ่งที่เราเคยได้และพอใจ แต่ในยุคที่มีการแข่งขันสูงการอยู่เฉย ๆ ก็คือ
การถอยหลัง











Fear Zone การออกจาก Comfort Zone นน มกมอปสรรคหรอข้ออาง ซงเรยกวา เขตกลวความผิดพลาด



(Fear Zone) เช่น อ้างว่าไม่เคยทา ทาไม่เป็น ไม่มีความรู้ แต่เหตุผลลึก ๆ คือกลัวว่าจะทาไม่สาเร็จ แล้วเราอาจ


สูญเสียสิ่งที่เรามีอยู่ใน Comfort Zone
Learning Zone เป็นช่วงเวลาที่เปลี่ยนจากความกลัวเป็นความรู้ ระยะเวลาที่ใช้ในช่วง Learning Zone
ของคนและองค์กรแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับความรู้พื้นฐานเดิม ความทุ่มเทของแต่ละคน
Transferring Zone เป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อว่าเราจะได้ไปต่อ หรือกลับสู่ที่เดิม คือ Comfort Zone
Growth Zone จากความรู้ที่เราได้สะสมมาจาก Learning Zone และ Transferring Zone ก็จะก้าวสู่
Growth Zone คือ การน�าความช�านาญมาสร้างโอกาสและการเติบโตในเรื่องใหม่ ๆ
ความน่ากลัวของ Comfort Zone คือ ท�าให้เรายึดติดกับความสบายโดยที่เราไม่รู้ตัว แม้ว่าทุกคนต้องการ
พัฒนาทั้งตนเองและองค์กร ดังนั้น เราต้องพยายามและมุ่งมั่นก้าวข้าม Comfort Zone ให้พ้น
๕. อย่ายอมจ�านนง่าย ๆ ต่อกฎเกณฑ์ ประเด็นนี้มักเกิดขึ้นในระบบราชการโดยทั่วไป เนื่องจากมีกฎ ระเบียบ

ปฏิบัต หลักการถูกกาหนดเป็นกรอบในการปฏิบัติงาน ซ่งส่งเหล่าน้นเป็นอุปสรรคในการพัฒนาไม่ให้ก้าวไปข้างหน้าได้ด ี




และเร็วเท่าที่ควร ถึงกับมีการกล่าวว่ากฎเกณฑ์ดังกล่าวเปรียบเหมือนตราสังข์ที่ผูกมัดองค์กรไว้ จริงอยู่เราจ�าเป็นต้อง
นาวิกศาสตร์ 11
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕


มีกรอบหรือหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติงาน แต่เราไม่ควรจ�านนอย่างง่าย ๆ ต่อหลักเกณฑ์เหล่านั้น เราควรใช้สติปัญญา





หาทางออก อาจเป็นการขอแก้ไขหลกเกณฑ์ หรือทาเป็นกรณยกเว้น หากไม่เกดความเสยหายแต่เป็นประโยชน์
ต่อองค์กร บางกรณีเราควรใช้เป็นโอกาสคิดนอกกรอบ (Think out of box idea) บ้าง มิฉะนั้นกลายเป็นองค์กร
ที่ยึดติดกับ Comfort Zone ตามที่กล่าวในข้อ ๔.



๖. อย่ามองปัญหาและอุปสรรคในเชิงลบด้านเดียว พยายามมองในมุมกลับ หรืออกด้านหนงของเหรยญว่า



ู้
เป็นโอกาสดีท่เราได้เรียนร และเป็นส่งท้าทายความสามารถของเราในการแก้ปัญหาและอุปสรรค มองส่งยากหรือส่งท ่ ี







คนอ่นเห็นว่าเป็นไปไม่ได้ เป็นการสร้างโอกาสในการพิสูจน์ฝีมือของเรา โดยเฉพาะอย่างย่งสาหรับคนท่เป็นผู้นาองค์กร


ต้องตระหนักว่าผู้นาในภาวะวิกฤตท่สามารถนาองค์กรให้ผ่านพ้นปัญหาและอุปสรรคไปได้น้นคือ ผู้นาท่มีความสามารถ




อย่างแท้จริง




ส่งท่มักปรากฏอยู่บ่อยคร้งเม่อองค์กรประสบภาวะวิกฤต คือ ผู้นาบางคนถึงกับถอดใจ รู้สึกว่าตกอยู่ในทางตัน

ผู้นาที่ดีควรปรับเปลี่ยนมุมมองต่อสถานการณ์เสียใหม่ เอาชนะความคิดเดิมที่ว่า “เป็นไปไม่ได้” เตรียมสู้กับสถานการณ์

วิกฤต สร้างจินตนาการแล้ววางแผน ใช้ทรัพยากรท่มีอยู่ (โดยเฉพาะคน) ให้เหมาะสมและเกิดประโยชน์สูงสุด


แต่อย่างไรก็ดีแผนการปฏิบัติต้องมีความยืดหยุ่นและอ่อนตัว พร้อมกับทาใจท่จะเผชิญกับความผิดพลาดหรือล้มเหลวบ้าง



๗. สร้างโอกาสระหว่างกาลังเผชิญกับภาวะวิกฤต ต้องยอมรับว่าภาวะวิกฤตท่เกิดข้นแต่ละคร้ง เราไม่สามารถ








เตรียมการล่วงหน้าได้ และท่สาคัญคือ การเปล่ยนแปลงในโลกท่พลิกผันเป็นส่งท่เล่ยงได้ยาก การท่องค์กรสามารถ




ผ่านวิกฤตไปได้อย่างราบร่นน้น ต้องคิดในเชิงบวกว่าเป็นโอกาสดีสาหรับการพัฒนาองค์กรหรือยกระดับขององค์กร

ให้มีคุณค่าสูงขึ้น มีหลายปัจจัยที่สมควรน�ามาพิจารณา เช่น เป้าหมายเดิมขององค์กรที่ตั้งไว้เป็นเวลานานนั้น สมควร
ปรับแก้หรือไม่ วิสัยทัศน์ของผู้น�าองค์กรยังเหมาะสมกับโลกที่พลิกผันในปัจจุบันหรือไม่ ในการทบทวนส�ารวจตนเอง

และองค์กร หากเป็นท่ประจักษ์ชัดว่าด้อยและล้าหลัง ควรมองหาโอกาสพลิกฟื้นได้อย่างไร การพลิกฟื้นให้สู่สภาพปกต ิ

และยกระดับองค์กรให้สูงข้นน้นต้องคิด และทาอย่างมีเหตุมีผล และดาเนินการไปทีละข้นตอนอย่างมีระบบ ไม่ใจร้อน




และรวบรัด ต้องระลึกอยู่เสมอว่าส่งท่จะกระทาน้นไม่สามารถสาเร็จได้ในช่วงเวลาข้ามคืน เพราะองค์กรอาจถูกละเลย








ขาดการเอาใจใส่มาเป็นเวลานาน จมอยู่กับปัญหาท่ถูกซุกไว้ใต้พรม จึงยากต่อการแก้ไข แต่ก็ใช่ว่าเป็นส่งท่กระทาไม่ได้







๘. ใช้ประโยชน์จากภาวะวิกฤตลักษณะเดียวกันในอดีตให้เป็นประโยชน์ ในสงคมไทยมจดออนส�าคญประการหนง























คอ เมอเหตการณหรอภาวะวกฤตผานพนไปแลว มกไมมการศกษา และวเคราะหเพอถอดบทเรยนสาหรบใชประโยชน ์

















ในอนาคต หากเกดเหตการณหรอภาวะวกฤตลกษณะเดยวกนเกดขนอก ดงนน เมอเผชญกบภาวะวกฤตองคกรจงตอง









ทางานโดยเร่มต้นจากศูนย์ ทาให้เสียเวลา ทรัพยากรและโอกาส เพ่อหลีกเล่ยงปัญหาดังกล่าวจึงควรให้มีการศึกษา


วิเคราะห์การปฏิบัติขององค์กร เพื่อถอดบทเรียนไว้ใช้ประโยชน์ต่อไปส�าหรับการเผชิญกับภาวะวิกฤต
๙. ให้ความส�าคัญต่อการสื่อสารเป็นพิเศษ หัวข้อนี้ได้กล่าวแล้วในบทบาทของผู้น�าในภาวะวิกฤต ในปัจจุบัน























ซงเปนยคของ Social Media จาเปนอยางยิงทตองใหความสาคญตอการสอสาร ซงองคกรสามารถเปดชองการสอสาร

ใหม่ ๆ ได้ไม่ยากเนื่องจากมี Platforms ให้เลือกใช้มากมาย ปรับปรุงฐานข้อมูลให้ทันสมัยและมากพอ

ส่งสาคัญในยุคปัจจุบันคือ องค์กรบางองค์กรอาจมีคู่แข่งหรือฝ่ายตรงข้าม มักจะประสบกับปัญหาข่าวเท็จ

(Fake News) ซึ่งสร้างได้ง่ายและมีผลกระทบเชิงลบบางครั้งรุนแรง ดังนั้น จึงต้องใส่ใจและให้ความส�าคัญ
๑๐. ภาวะผู้น�าคือ กุญแจส�าคัญ แม้พระบรมศาสดายังตรัสถึงความส�าคัญของผู้น�าไว้ในพระไตรปิฎกว่า:

ู้








“เม่อฝูงโคข้ามนาไป ถ้าโคผนาฝงไปคด โคเหล่าน้นย่อมไปคดทงหมด ในเมอโคผู้นาไปคด ในมนษย์ก็เหมือนกน




ผู้ใดได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้น�า ถ้าผู้นั้นประพฤติไม่เป็นธรรม ประชาชนเหล่านั้นก็จะประพฤติไม่เป็นธรรมเหมือนกัน
นาวิกศาสตร์ 12
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕

















เมอโคฝงข้ามไปอย่ ถ้าโคผ้นาฝงไปตรง โคเหล่านนย่อมไปตรงทงหมด ในเมอโคผู้นาไปตรง ในหม่มนุษย์
ก็เหมือนกัน ผู้ใดได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้น�า ถ้าผู้นั้นประพฤติธรรม ประชาชนเหล่านั้นย่อมประพฤติธรรมเหมือนกัน”
ความส�าคัญของผู้น�าในยามวิกฤต ขอให้ย้อนกลับไปดูบทบาทของผู้น�าในยามวิกฤต ในตอนที่ ๒ ผู้น�าในที่นี้
มิได้หมายถึงผู้น�าโดยต�าแหน่ง แต่เป็นผู้น�าในทางปฏิบัติ
โลกหลังวิกฤต COVID-19


ไม่มีใครสามารถให้คาตอบได้อย่างม่นใจว่าวิกฤต COVID-19 ท่ระบาดอยู่เกือบท่วโลกคร้งน้จะยุติลงเม่อใด





แต่มีผู้รู้หลายคนท้งระดับโลกและระดับในประเทศคาดกันว่าอย่างเร็วคงไม่ยุติก่อนส้น พ.ศ. ๒๕๖๕ หรืออาจถึงส้น



พ.ศ. ๒๕๖๖ แต่กระนั้นก็ตามวิกฤต COVID-19 ต้องจบลงอย่างแน่นอน
หากย้อนไปในอดีต ไข้หวัดใหญ่สเปน ใน ค.ศ. ๑๙๑๘ กินเวลาสองปีเศษ

มีผู้เสียชีวิตราว ๔๐ ล้านคน หรือย้อนไปไกลกว่าน้น กาฬโรค ต่อมนาเหลือง


(Bubonic Great Plague) ท่ระบาดในอังกฤษ ใน ค.ศ. ๑๖๖๕-๑๖๖๖ มีผู้เสียชีวิตราว

๑๐๐,๐๐๐ คน



มีคาถามในช่วงเวลาน้ว่า เม่อวิกฤต COVID-19 ยุติลงโลกจะเป็น
อย่างไรบ้าง มีนักวิชาการจานวนไม่น้อยให้ ข้อสังเกตไปในทิศทาง




เดียวกันว่า โลกใบน้มีการเปล่ยนแปลงแน่นอน บางอย่างได้อุบัติข้นแล้ว




ต้งแต่ช่วงท่มีการระบาดของ COVID-19 ด้วยซา ผู้เขียนได้รวบรวมจาก
หลายนักคิดท่มีช่อเสียง เช่น Fareed Zakaria นักข่าวและนักวิเคราะห์


ของ CNN รวมทั้งคนอื่น ๆ และคนไทยบางคน มีการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ดังนี้
๑. สถานการณ์ของโลกเปล่ยนไป ข้วอานาจ



ของโลกกลายเป็นสหรัฐอเมริกาและจีน สงครามเย็น
ยคใหม่เป็นสหรฐอเมรกาและพนธมตร เช่น NATO





ฝ่ายหน่ง กับจีนอีกฝ่ายหน่ง NATO ได้เปล่ยน




เป้าหมายเดิมในยุคสงครามเย็นคร้งแรกท่เคยเน้นการ

ปิดล้อม (Containment) โซเวียตในแอตแลนติกเหนือ
เปลี่ยนไปให้ความส�าคัญต่อการปิดล้อมจีนในแปซิฟิก
๒. อนาคตโลกของเราจะประสบกับโรคระบาด
ต่อไปอย่างต่อเน่อง สาเหตุหลักเน่องจากคนเล้ยง





สัตว์โดยการทาเชิงอุตสาหกรรมเป็นการสะสมเช้อโรค

อย่างยาวนาน ต่อไปอาวุธชีวภาพจะมีความสาคัญ
มากข้น และมีแนวโน้มว่าร้ายแรงกว่าอาวุธนิวเคลียร์ ดังน้น เราจึงควรเตรียมรับมือกับการระบาดของเช้อโรค



โดยเฉพาะประเภทไวรัส
๓. ประเทศท่สามารถรับมือกับการระบาดของโรคได้ด ไม่ได้ข้นอยู่กับว่าเป็นประเทศใหญ่หรือเล็ก



เป็นประชาธิปไตยหรือสังคมนิยม แต่ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพของการจัดการวิกฤตที่เกิดขึ้นจากการระบาดของโรค

๔. ผู้เช่ยวชาญ นักวิทยาศาสตร์ และรัฐบาลต้องส่อกับประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ต้องมีเอกภาพในการ

นาวิกศาสตร์ 13
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕









ให้ข่าวสาร เพ่อขจัดความสับสนและความเช่อม่นจากประชาชน ผู้นาต้องเชอผู้เช่ยวชาญ เพราะพวกเขามีหลักฐาน
ทางวิทยาศาสตร์สนับสนุน
๕. เทคโนโลยีในอนาคต จะมุ่งไปให้ความสาคัญด้านการบริการสุขภาพและเทคโนโลยีเก่ยวกับ Work From Home


ตัวอย่างเช่น Apple ได้สร้าง Smart Watch เป็นต้น

๖. เม่อเกิดวิกฤตต่าง ๆ เช่น วิกฤตการเงิน วิกฤตโรคระบาด คนจานวนไม่น้อยจะหนีออกจากเมืองใหญ่


ไปสู่ชนบท เพ่อความอยู่รอดและสร้างอนาคตใหม่ แต่เม่อวิกฤตยุติลง ผู้คนเหล่าน้นเห็นว่า เมืองใหญ่ไม่ได้ล่มสลายหรือ


ด้อยความสาคัญ พวกเขาจึงหวนกลับสู่เมืองใหญ่อีก เพราะเมืองใหญ่มีโครงสร้างพ้นฐานท่ดีกว่า มีผู้คนท่มีความเจริญกว่า




มีอนาคตสดใสกว่า เป็นต้น
๗. โรคระบาดในอดีต คนจนคนรวยมีโอกาสเสียชีวิตพอ ๆ กัน แต่ส�าหรับ COVID-19 คนจนมีโอกาสเสียชีวิต
มากกว่าคนรวย ประเทศด้อยพัฒนามีปัญหาเก่ยวกับการ lockdown ประเทศ เพราะไม่มีเงินเพียงพอท่จะชดเชย


ผู้ที่ได้รับผลกระทบ แต่ตรงกันข้ามธุรกิจขนาดใหญ่กลับเจริญเติบโตมากขึ้น บางรายเติบโตแบบก้าวกระโดดด้วยซ�้า
๘. ช่วงเกิดการระบาดของ COVID-19 บางคนคิดว่าเป็นยุคของ Deglobalization หมายถึง โลกาภิวัตน์




จะเส่อมลง ตัวอย่างเช่น บริษัท Toyota ของประเทศญ่ปุ่น ส่งผลิตช้นส่วนต่าง ๆ ของรถยนต์หลายรายการจากประเทศต่าง ๆ
เมื่อประเทศเหล่านั้นปิดประเทศ ท�าให้ Toyota ต้องพักการผลิตรถยนต์ชั่วคราว และเริ่มมีความคิดว่าจะผลิตชิ้นส่วน

ภายในประเทศเสียเองแม้จะมีราคาการผลิตสูงก็ตาม แต่จะเป็นอุปสรรคต่อการแข่งขันกับรถยนต์ของประเทศอ่น















อยางไรกตามคาดวา Globalization คงหวนกลบสสภาพเดมอกเมอการระบาดของ COVID-19 ยตลงแตคงไมเหมอนเดม




๙. ระเบียบโลกใหม่ในอนาคต แม้จะเป็นสองข้วอานาจคือ สหรัฐอเมริกาและจีน แต่ท้งสองประเทศยังคงต้อง
ติดต่อค้าขายกัน และต้องร่วมมือกันในบางเรื่อง เช่น การแก้ปัญหาโลกร้อน ปัญหาโรคระบาด ซึ่งคงไม่มีประเทศใด

เพียงประเทศเดียวแก้ปัญหาโดยลาพัง จึงยังคงต้องร่วมมือกัน แต่อาจอยู่ภายใต้การนาขององค์กรระหว่างประเทศ

เช่น สหประชาชาติ
๑๐. ในช่วงของการระบาดของ COVID-19 และภายหลังการระบาดยุติลง วิถีชีวิตของคนโดยเฉพาะในเมืองใหญ่
จะเปล่ยนไป เช่น Work From Home การเรียนและศึกษาแบบ Online, E-Commerce ความปกติแบบใหม่


(New Normal) คนจะหันมาให้ความสนใจและความส�าคัญต่อสุขภาพมากข้น นอกจากน้นส่งแวดล้อมจะได้รับการดูแล


และให้ความส�าคัญมากขึ้น


๑๑. หลายประเทศเร่มให้ความสาคัญต่อเศรษฐศาสตร์ด้านสุขภาพ (Health Economics) และบางประเทศ
ได้ด�าเนินการก่อนหน้าการระบาดของ COVID-19 ด้วยซ�้า เช่น มหาวิทยาลัย Oxford ของอังกฤษร่วมมือกับประเทศ


สวีเดนผลิตวัคซีน AstraZeneca ต้าน COVID-19 ส่วนจีนและสหรัฐอเมริกาน้นแทบไม่ต้องกล่าวถึง เช่น จีนต้งโรงงาน
ของบริษัท Pfizer ผลิตวัคซีนขนาดใหญ่ในจีน รวมทั้งอีกหลายประเทศที่มุ่งเน้นที่ Health Economics


เป็นท่น่าสังเกตว่าเพ่อความอยู่รอด บางบริษัทท่มีช่อเสียงในอดีต เช่น Fuji Film ปรับตัวจากการถูก


Technology Disruption หันมาผลิตเครื่องมือแพทย์ และยารักษาโรค COVID-19 ที่เรารู้จักกันดี คือ Favipiravir
เป็นต้น










เกยวกบการปรบตวของภาคธรกจเพอความอย่รอด BiII Gate หนงในผ้ก่อตงบรษทไมโครซอฟท์ให้ข้อคด








ท่น่าสนใจว่า หลังวกฤต COVID-19 การนาเทคโนโลยีโดยเฉพาะ Digital Technology ไปใช้กับธุรกิจ มิใช่เป็นทางเลือก



แต่เป็นทางรอด เพราะพฤติกรรมหรือวิถีชีวิตของผู้บริโภคเปล่ยนจากเดิมเป็นการอยู่ในสังคม Online อย่างแพร่หลาย

นาวิกศาสตร์ 14
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕


บทส่งท้าย




จากเน้อหาสาระของบทความน้คงทาให้ผู้อ่านมองภาพของโลกปัจจุบันว่าเปล่ยนแปลงไปจากอดีตอย่างชัดเจน
โลกที่พลิกผัน (VUCA World) ซึ่งมีเหตุการณ์ที่เปลี่ยนไว ไม่แน่นอน ซับซ้อน และก�ากวม ยิ่งท�าให้การการท�านาย


เหตุการณ์ในอนาคตยากข้นและขาดความแม่นยา และเม่อโลกตกอยู่ในภาวะวิกฤต ย่งทาให้การแก้ไขปัญหายากข้นไปอีก





ภาวะวิกฤตท่เกิดข้นมักไม่สามารถเตรียมตัวได้ทัน และอาจเป็นภาวะวิกฤตรูปแบบใหม่ท่เราไม่สามารถวางแผน


ู้



เพ่อเผชิญหน้ากับมันล่วงหน้าได้ ประเด็นน้จาเป็นที่เราต้องเรียนร และถอดบทเรียนเพ่อนามาใช้ในอนาคต เม่อมีภาวะ



วิกฤตท�านองเดียวกัน หรือลักษณะใกล้เคียงกันเกิดขึ้นอีก
วลี ที่คนรู้จักกันดี “เปลี่ยนวิกฤตให้เป็นโอกาส” ผู้เขียนได้กล่าวไว้ในบทความนี้แล้วว่า การสร้างโอกาสให้เป็น
ประโยชน์อันเนื่องจากภาวะวิกฤตนั้น ตัวภาวะวิกฤตเองอาจไม่มีอิทธิพลใด ๆ มากนักในการพลิกให้เป็นโอกาส แต่คน

หรือองค์กรอาจอาศัยสถานการณ์ของภาวะวิกฤตเป็นตัวผลักดันมากกว่า ถึงจุดน้ผู้เขียนคิดในแง่บวกว่า กองทัพเรือ
หรือหน่วยย่อยของกองทัพเรือคงติดตามสถานการณ์วิกฤต COVID-19 มาโดยตลอด วิเคราะห์และถอดบทเรียน

ไปบ้างแล้ว ระหว่างเวลาท่ภาวะวิกฤตได้เร่มต้นและต่อเน่องจนกว่าวิกฤต COVID-19 จะยุติลง แต่หากยังไม่ได้คิด


และด�าเนินการ ยังคงไม่สายเกินไปที่จะเริ่มท�า
อ้างอิง
http://thaiwinner.com/crisis-management/
http://www.nstda.or.th/sci2pub/post-covid-19/
http://www.the101.word/nuclear-crisis-from-cuba-to-north-korea/
http://thepeople.co/british-petroleum-deepwater-horizon/
http://techsauce.co/corp-innov/how-fujiflim-survived-the-digital-age
http://www.fujiflim.com/th/th/about/hq/corporate/pursuit-of-tomorrow/innovation
http://ahead.asia/2017/02/23/fujiflim-astalift/
http://www.prachachat.net/facebook-instant-article/new-130414
http://www.activeaginginnovation.dms.moph.go.th



























นาวิกศาสตร์ 15
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕


แนวความคิดการใช้เครื่องมือทางทหาร และหลักนิยมการรบใหม่
“การปรับใช้เรือบรรทุกเครื่องบินของกองทัพเรือต่างประเทศ”



น.อ.วสันต์ ไตรจิต


ู้




ู่
“การต่อสด้นรนและการดารงอย สามารถสร้างแนวความคิดการใช้เคร่องมือทางทหาร และหลักนยมการรบใหม ่
โดยอาจเปล่ยนแปลงสมดุลทางทหารของภูมิภาคในโลก รวมถึงยังส่งเสริมการมีบทบาทร่วมในการพัฒนาทาง

เทคโนโลยีเพื่อผลประโยชน์ของชาติ ไม่ใช่ค�ากล่าวที่เกินจริงอีกต่อไป”



ตัวอย่างของการต่อสู้ดนรนท่สร้างปรากฏการณ์สาคัญของแนวคิดการใช้เคร่องมือทางทหาร และหลกนิยมการรบใหม ่



เกิดขึ้นเมื่อ กองทัพเรือตุรกี ประกาศเปิดตัวเรือบรรทุกเครื่องบิน TCG Anadolu เป็นเรือบรรทุกโดรน (Drone



Carrier) ลาแรกของโลก โดยจะดาเนินการปรับปรุงเรือเพ่อใช้งานโดรนโจมตีติดอาวุธ Bayraktar TB-3 (Unmanned
Combat Aerial Vehicles: UCAV) เป็นฝูงโดรนประจ�าเรือ






















ภาพจ�าลองเรือ TCG Anadolu กองทัพเรือตุรกี เรือบรรทุกโดรน (Drone Carrier) ล�าแรกของโลก




ความสนใจของกองทัพเรือตุรกีในการมีเรือ ซ่งมีดาดฟ้าบินขนาดใหญ่เพ่อเข้าประจาการน้น ไม่ใช่เป็นเร่องใหม่


แต่เป็นบทเรียนส�าคัญจากการปฏิบัติการเพื่อช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม โดยใน ค.ศ. ๒๐๑๑ ตุรกีต้องอพยพประชาชน
กว่าสองหม่นคนออกจากลิเบียเพ่อหนีภัยการสู้รบ โดยส่วนใหญ่ถูกลาเลียงขนส่งทางทะเล ซ่งในระหว่างการปฏิบัติการ




เพื่ออพยพนั้น กองทัพเรือตุรกี ได้เล็งเห็นถึงความต้องการเรือสะเทินน�้าสะเทินบกที่มีดาดฟ้าบินขนาดใหญ่เพื่อรองรับ
อากาศยานประจ�าเรือ จากการที่เครื่องบิน F-16 ของ กองทัพอากาศตุรกี ไม่สามารถที่จะให้การคุ้มกันกระบวนเรือ
ล�าเลียงได้อย่างครอบคลุมและต่อเนื่อง โดยมีระยะเวลาปฏิบัติการเหนือเป้าหมายเพียงห้วงเวลาที่จ�ากัด และต้องบิน
กลับไปเติมเชื้อเพลิงหลายครั้ง จึงมีความยากล�าบากและมีต้นทุนการบินที่สูงมาก

นาวิกศาสตร์ 16
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕


ภาพการต่อเรือ TCG Anadolu กองทัพเรือตุรกี



โครงการต่อเรือบรรทุกเคร่องบิน TCG Anadolu จึงได้รับอนุมัติจากรัฐบาลตุรกีในเวลาต่อมา ซ่งการมีเรือบรรทุก
เครื่องบินประจ�าการนั้น จะมีผลให้ตุรกีกลายเป็นชาติมหาอ�านาจทางทะเล อันดับ ๔ ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนรองจาก
ฝรั่งเศส อิตาลี และสเปน แม้ในเบื้องต้นนั้น กองทัพเรือตุรกี ต้องการเพียงเรือ Multipurpose Amphibious Assault




Ship (LHD) ท่มีดาดฟ้าบินทางว่งส้น เพ่อให้เหมาะสมกับการใช้งานสาหรับเฮลิคอปเตอร์โดยให้สามารถรองรับเคร่องบิน


กึ่งเฮลิคอปเตอร์ขนาดกลางใบพัดปรับองศา แบบ MV-22 Osprey ได้ด้วย โดยไม่มีทางลาดสกีด้านหน้า อย่างไรก็ตาม


ในฐานะท่ตุรกีเป็นหน่งในชาติสมาชิก NATO และได้เข้าร่วมโครงการ เคร่องบิน F-35 (Joint Strike Fighter Program: JSF)





กับสหรัฐอเมริกามาต้งแต่เร่มต้น กองทัพเรือตุรกีจึงเปล่ยนแผน และเลือกใช้แบบดาดฟ้าบินทางว่งยาวพร้อมทางลาดสก ี
ู้





ด้านหนา โดยมพ้นฐานมาจากการออกแบบท่รจักกนในชอของ SPS Juan Carlos I Class กองทพเรอสเปน ทงน เพอให ้













สามารถรองรับ เคร่องบิน F-35B STOVL ซ่งตามแผนของโครงการต่อเรือฯ น้น กาหนดจะแล้วเสร็จภายใน ค.ศ. ๒๐๒๒

ภาพจ�าลองการใช้ เครื่องบิน F-35B STOVL กับเรือ TCG Anadolu กองทัพเรือตุรกี


แต่ปัญหาที่ไม่คาดคิดก็ได้เกิดข้น เม่อตุรกีต้องการที่จะเสริมสร้างความม่นคงในการป้องกันภัยทางอากาศ โดยได้





ตกลงซ้อระบบขีปนาวุธพ้นสู่อากาศ S-400 ของรัสเซีย ซ่งถือว่าเป็นหน่งในระบบต่อต้านขีปนาวุธและต่อสู้อากาศยานท ี ่




ลาสมัยท่สุดในโลก ถูกออกแบบมาเพ่อสกัดก้นภัยคุกคามจาก NATO เป็นหลัก รวมท้งมีอานุภาพการยิงทาลายเคร่องบิน




F-35 ของสหรัฐอเมริกาด้วย จึงได้สร้างความไม่พอใจให้แก่สหรัฐอเมริกา เป็นอย่างยิ่ง แม้ตุรกีจะชี้แจงว่า “การจัดซื้อ
นาวิกศาสตร์ 17
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕


ระบบ S-400 จากรัสเซีย ไม่ใช่ทางเลือกแต่เป็นส่งจาเป็นเพราะตุรกีอยู่ท่ามกลางภัยคุกคามร้ายแรง โดยเฉพาะ


การป้องกันภัยจากการโจมตีของซีเรีย และการร่วมโครงการ เครื่องบิน F-35 กับสหรัฐอเมริกา ก็ไม่ใช่โครงการให้เปล่า
แต่เป็นการร่วมลงทุน และการซื้อเพื่อใช้งาน”
รัฐบาลสหรัฐอเมริกา ไม่ได้สนใจค�าชี้แจงของตุรกี โดยอ้างว่า “การที่ตุรกีจะใช้งานร่วมกันของระบบ S-400 กับ
เครื่องบิน F-35 นั้น ระบบอาจติดตาม และเก็บข้อมูลการบินของ เครื่องบิน F-35 จนเป็นผลให้มีการรั่วไหลของข้อมูล
ไปยังรัสเซีย ซึ่งจะท�าให้สหรัฐอเมริกา และก�าลังทางอากาศของพันธมิตรตกอยู่ในความเสี่ยง” และประกาศว่า “ตุรกี
ไม่สามารถที่จะมีทั้งระบบ S-400 และ เครื่องบิน F-35 ในเวลาเดียวกันได้” ในเวลาต่อมา สหรัฐอเมริกา ได้ยกเลิก



ข้อตกลง เคร่องบิน F-35 ของตุรก รวมท้งการมีส่วนร่วมในโครงการอุตสาหกรรมเก่ยวเน่องกับ เคร่งบินขับไล่ล่องหนมูลค่า



หลายพันล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ในเดือนกรกฎาคม ๒๐๑๙







กองทัพเรือตุรกีต้องตกเป็นเหย่อเม่อเรือบรรทุกเคร่องบินลาใหม่ ไม่มีเคร่องบินประจาเรือในข้นตอนสุดท้าย



ของโครงการต่อเรือ ซ่งนักวิชาการด้านความม่นคงทางทหารในยุโรปได้วิจารณ์ประเด็นน้ว่า “การท่เรือบรรทุกเคร่องบิน


ไม่มีเครื่องบินประจ�าเรือนั้น ก็ไม่ต่างไปจากปลาฉลามขาวที่ไม่มีฟัน”







ความสนหวงสงผลให้ตองตอสดนรน มข้อเสนอตางๆ มากมายเพ่อสรางแนวคิดทดแทน เครองบน F-35B ซงเป็นร่นทใช ้








ู้








สาหรับเรือบรรทุกเคร่องบิน การปรับไปใช้ เคร่องบิน Hürjet เคร่องบินฝึกแบบไอพ่นท Turkish Aerospace Industries



ก�าลังพัฒนาส�าหรับ กองทัพอากาศตุรกี น่าจะสามารถใช้งานร่วมกับเรือล�านี้ได้ แต่ปัญหาก็คือ เรือ TCG Anadolu





มีระยะทางว่งเพียง ๗๖๑ ฟุต ในขณะท เคร่องบิน Hürjet ต้องการระยะทางว่งประมาณ ๑,๐๐๐ ฟุต เม่อบรรทุกเช้อเพลิงเต็มถัง


นั่นจึงไม่ต้องพูดถึงการที่จะติดตั้งอาวุธเพื่อการต่อสู้เลย
ภาพจ�าลองการใช้ เครื่องบิน Hürjet กับเรือ TCG Anadolu กองทัพเรือตุรกี





แน่นอนว่ามีวิธีการชดเชยสาหรับช่วยให้เคร่องบินสามารถบินข้นในระยะส้นได้ เช่น เคร่องดีดพลังงานไอนา










เพ่อช่วยลดระยะการว่งข้น หรือการติดต้งทางลาดสกีด้านหน้าซ่งจะช่วยให้เคร่องบินขับไล่ท่จากัดนาหนักบรรทุก





สามารถลอยตัวข้นไปในอากาศได้ในระยะทางว่งไม่ก่ร้อยฟุต โดยการท่เรือ TCG Anadolu มีทางลาดสกีด้านหน้า

นาวิกศาสตร์ 18
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕


อาจช่วยให้ เครื่องบิน Hürjet สามารถบินขึ้นไปจากเรือได้ แต่การบินขึ้นไปในขณะที่มีการบรรทุกเชื้อเพลิงอย่างจ�ากัด





และไม่ได้รับการติดต้งอาวุธน้น แทบจะไม่มีประโยชน์อันใดเลย เคร่องบิน Hürjet จะไม่สามารถเป็นเคร่องบินรบท่ดีได้
และแล้วแสงสว่างก็บังเกิดขึ้น เมื่อโดรนโจมตีติดอาวุธ Bayraktar TB-2 (UCAV) ซึ่งพัฒนา และผลิตโดยบริษัท
Baykar Technologies บริษัทเทคโนโลยีป้องกันประเทศของตุรกีส�าหรับภารกิจลาดตระเวนตรวจการณ์และสามารถ












บรรทกระเบดเพอการโจมตด้วยเครองกาหนดเป้าหมายเลเซอร์ ได้ประสบความสาเรจในการใช้งานอย่างยงยวด








โดยใน ค.ศ. ๒๐๒๐ มบทบาทหลักสาคัญเม่อกองทพอาเซอร์ไบจานนาไปใช้เพอเอาชนะกองทัพอาร์เมเนย

ซ่งเข้ายึดครองพ้นท่นากอร์โน-คาราบาคห์ ดินแดนส่วนหน่งของอาเซอร์ไบจาน โดยโดรนโจมตีติดอาวุธ Bayraktar TB-2



ของกองทัพอาเซอร์ไบจานสามารถท�าลายรถถัง และรถยานเกราะจ�านวนหลายร้อยคัน หน่วยก�าลังทหาร หรือแม้แต่
ระบบป้องกันภัยทางอากาศของกองทัพอาร์เมเนีย จนน�าไปสู่การขอเจรจาสงบศึก และต้องถอนก�าลังทหารออกจาก
พื้นที่ดังกล่าว ซึ่งเจ้าหน้าที่ระดับสูงของรัฐบาลอาเซอร์ไบจานกล่าวยกย่องว่า “โดรนโจมตีติดอาวุธ Bayraktar TB-2
ของตุรกีถือเป็นความเด็ดขาดในสงคราม”









ภาพการใช้โดรนโจมตีติดอาวุธ Bayraktar TB-2 ของกองทัพอาเซอร์ไบจาน
แนวความคิดการปรับเปลี่ยนเรือ TCG Anadolu เป็นเรือบรรทุกโดรน (Drone Carrier) จึงได้เกิดขึ้น โดยโดรน




โจมตีติดอาวุธจะถูกนาเข้ามาแทนท่เคร่องบินประจาเรือ และกองทัพเรือตุรก จะเป็นกองทัพเรือประเทศแรกในโลก

ที่มีเรือบรรทุกโดรน
นาย Haluk Bayraktar ผู้บริหารของ Baykar Defence ให้รายละเอียดเป็นคร้งแรกในการประชุมสุดยอดการบิน

และอวกาศแห่งมหาวิทยาลัย Gebze ของตุรกี เมื่อเดือนพฤษภาคม ๒๐๒๑ ว่า “เรือ TCG Anadolu สามารถติดตั้ง
โดรนรุ่นใหม่ที่พัฒนาต่อจาก Bayraktar TB-2 ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในปัจจุบันถึงประสิทธิภาพในการโจมตีท�าลาย






เรียกว่า Bayraktar TB-3” โดยเป็นโดรนโจมตตดอาวธระดบความสงการบนปานกลาง (ประมาณ ๒๗,๐๐๐ ฟต

หรือ ๘,๒๐๐ เมตร) ควบคุมระยะไกลด้วยการส่อสารดาวเทียมหรือการปฏิบัติการบินโดยอิสระ มีรัศม ี


ทาการไกลสุดจากศูนย์ควบคุมส่งการ ๑๕๐ กิโลเมตร ทาการบินในอากาศได้นานกว่า ๒๔ ช่วโมง และสามารถ








ปฏบัติการได้ทงเวลากลางวนและเวลากลางคืน สามารถขนและลงจอดบนดาดฟ้าเรอบรรทกเครองบนโดยจะไดรบ








นาวิกศาสตร์ 19
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕











การปรับปรุงให้พับปีกได้เพ่อให้ใช้พ้นท่ในโรงเก็บเคร่องบินน้อยลง ซงเป็นการเพมขดความสามารถ

ในการบรรทุกไปกับเรือ TCG Anadolu จะมีพ้นท่สาหรับการบรรทุกโดรนได้มากถึง ๕๐ ลา การปรับปรุงน้น









รวมถึงการเพ่มให้โดรนมีนาหนักรวมมากข้นเป็น ๑,๒๐๐ กิโลกรัม เพ่อให้สามารถทาการบรรทุกอาวุธนาหนัก





เพ่มข้นได้ รวมนาหนักประมาณ ๓๐๐ กิโลกรัม (Bayraktar TB-2 สามารถบรรทุกอาวุธรวมน�าหนัก



ประมาณ ๑๕๐ กิโลกรัม)
ภาพจ�าลองการออกแบบปรับปรุงเรือ TCG Anadolu กองทัพเรือตุรกี



นาย Haluk ได้แสดงให้เห็นถึงภาพจาลองการออกแบบปรับปรุงเรือ TCG Anadolu โดยอู่ต่อเรือ Sedef ซ่งจะดาเนินการ
ปรับปรุงเรือควบคู่กันไปกับการพัฒนา Bayraktar TB-3 เพ่อหลีกเล่ยงความล่าช้าในการส่งมอบเรือ ให้แก่ กองทัพเรือตุรก ี


ที่ก�าหนดไว้ใน ค.ศ. ๒๐๒๒ โดยจะติดตั้งกว้านและรอกตามแนวกึ่งกลางดาดฟ้าเรือ จัดวางสายเคเบิลโอบไปตามร่อง







แนวโค้งทางลาดสก สาหรับการลากโดรนเพ่อเพ่มความเร็วการบินข้นในห้วงเร่มต้น ติดต้งส่วนประกอบและส่วนเช่อมต่อกับ









Bayraktar TB-3 ท่ต้องมีความแข็งแรงสูงเพ่อดูดซับแรงขับท่เพ่มข้นของทางว่งระยะส้น เม่อรวมกับแรงขับของ


เคร่องยนต์ใบพัดขนาดกาลัง ๑๐๐ แรงม้า จะทาให้ Bayraktar TB-3 ความยาว ประมาณ ๒๑ ฟุต ลอยตัวข้นไป


ในอากาศได้พร้อมอาวุธท่ติดต้งบริเวณใต้ปีก นาหนักประมาณ ๓๐๐ กิโลกรัม ซ่งผู้เช่ยวชาญได้กล่าวว่า การติดต้งกว้าน













และวางสายเคเบลนน ง่ายต่อการปรบปรงให้เข้ากบทางวงของเรอ TCG Anadolu มากกว่าการตดตงเครองดดทม ี











ความซับซ้อน และจะท�าให้เกิดความล่าช้า
ภาพจ�าลองโดรนโจมตีติดอาวุธ Bayraktar TB-3 ประจ�าเรือ TCG Anadolu กองทัพเรือตุรกี
นาวิกศาสตร์ 20
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕



ล่าสุดนาย Ismail Demir ประธานอุตสาหกรรมการป้องกันประเทศของตุรก ได้กล่าวให้สัมภาษณ์ว่า “เรือ TCG Anadolu


จะสามารถใช้โดรนโจมตีติดอาวุธ Bayraktar TB-3 ข้นปฏิบัติการพร้อมกันอย่างน้อย ๑๐ ลา โดยใช้ระบบควบคุมส่งการ





ของศูนย์ยุทธการประจาเรือในการควบคุมการปฏิบัติการ ซ่งเรือลาน้สามารถบรรทุก Bayraktar TB-3 ไปกับเรือได้
จ�านวน ๓๐-๕๐ ล�า”
แม้ว่าเรือบรรทุกโดรนจะเป็นแนวคิดใหม่ในการปฏิบัติการทางเรือ แต่เน่องจากโดรนโจมตีติดอาวุธยังไม่ม ี




ขีดความสามารถในการสู้รบทางอากาศ ดังน้น วัตถุประสงค์หลักของการใช้งานโดรนเหล่าน จึงเป็นเพียงการลาดตระเวน


ตรวจการณ์เพ่อรวบรวมข่าวและการเฝ้าตรวจการปฏิบัติการจู่โจม เพ่อโจมตีต่อเป้าหมายชายฝั่งและการโจมตีเรือ


ท่มีขีดความสามารถในการป้องกันภัยทางอากาศตา แต่การโจมตีเป็นหมู่ของฝูงโดรนโจมตีติดอาวุธท่บินออกจาก


เรือบรรทุกโดรน จะเป็นข้อได้เปรียบส�าคัญในการต่อต้านเรือผิวน�้า นอกจากนั้น ยังสามารถใช้ในการปล่อยทุ่นโซนาร์
ส�าหรับการปฏิบัติการปราบเรือด�าน�้าได้อีกด้วย อันถือเป็นหลักนิยมการรบใหม่ในการท�าสงครามทางเรือ
























ภาพจากส่อ The Guardian ของอังกฤษ ลงบทความเร่อง ความส�าเร็จในการใช้ Bayraktar TB-2 ของกองทัพอาเซอร์ไบจาน


ในทันทีท่ข่าวแนวคิดการปรับเปล่ยนเรือ TCG Anadolu เป็นเรือบรรทุกโดรนได้ถูกเผยแพร่ออกไปน้น ส่อ The Guardian






ของอังกฤษได้ลงบทความถึงเร่องดังกล่าวว่า “กองทัพอังกฤษต้องการโดรนตัวใหม่ภายหลังจากความสาเร็จของกองทัพ
อาเซอร์ไบจาน” โดยกล่าวว่า “โดรนของตุรกีมีบทบาทสาคัญต่อกองทัพอาเซอร์ไบจานในการนาไปใช้จนเป็นผลเด็ดขาด





ชนะสงครามในนากอร์โน-คาราบาคห์ ซ่งเจ้าหน้าท่กระทรวงกลาโหมของอังกฤษ เช่อว่าการใช้โดรนของตุรกีซ่งมีราคาถูก



ในการทาสงครามของกองทัพอาเซอร์ไบจาน มีความสาคัญต่อการเอาชนะกองทัพอาร์เมเนีย โดยทาให้กองทัพอาร์เมเนีย

ต้องยอมคืนการควบคุมดินแดนที่มีข้อพิพาท”
บทความยังระบุว่า โดรนของตุรกีท่ผลิตโดยบริษัท Baykar Technologies มีราคาเพียงลาละ ๑-๒ ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา




ในขณะท่กองทัพอังกฤษต้องใช้งบประมาณมากกว่า ๒๐ ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา สาหรับจัดหาโดรนเพียงลาเดียว



ทาให้กองทัพอังกฤษมีความสนใจในความสาเร็จและจะนามาทบทวนโครงการโดรนติดอาวุธข้นใหม่ โดยมุ่งเน้นไปยัง


นาวิกศาสตร์ 21
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕












เป้าหมายสาคญทว่า “ราคาถูกกว่าและมีประสทธภาพมากกว่า” นอกจากนน บทความยงได้อ้างคากล่าวของนายเบน วอลเลซ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมอังกฤษ ท่ได้กล่าวว่า “โดรน Bayraktar TB-2 ของตุรก เป็นตัวอย่างของการท่ประเทศ



อื่น ๆ ก�าลังก้าวขึ้นเป็นผู้ริเริ่ม”





ในขณะเดียวกันส่อมวลชนด้านการทหารท่มีช่อเสียงของอิตาล ก็ได้ลงบทความเรียกร้องให้ กองทัพเรืออิตาล เลียนแบบ
โครงการเรือบรรทุกโดรนของ กองทัพเรือตุรกี โดยเน้นย�้าถึงความส�าคัญและเรียกร้องให้ กองทัพเรืออิตาลี เริ่มท�าการ
ทดลองการใช้โดรนโจมตีติดอาวุธกับเรือ Trieste L9890 (Multipurpose Amphibious Assault Ship: LHD)
เรือสะเทินน�้าสะเทินบกล�าใหม่ ซึ่งจะต่อเสร็จและเข้าประจ�าการใน กองทัพเรืออิตาลี ใน ค.ศ. ๒๐๒๒ โดยจะท�าให้เรือ
ดังกล่าวสามารถปฏิบัติการได้ในหลายภารกิจหลายบทบาท การพัฒนาโดรนโจมตีติดอาวุธท่สามารถบินข้นจากเรือ


เพ่อปฏิบัติการลาดตระเวนและการโจมตีน้น จะช่วยให้สามารถบูรณาการขีดความสามารถทางอากาศของ


กองทัพเรืออิตาลี รวมทั้ง กองทัพอากาศอิตาลี ตลอดจนรองรับการปฏิบัติการสะเทินน�้าสะเทินบกได้เป็นอย่างดีด้วย















ภาพเรือสะเทินน�้าสะเทินบก Nave Trieste L9890 (Multipurpose Amphibious Assault Ship: LHD) กองทัพเรืออิตาลี
การประกาศเปิดตัวเรือบรรทุกเครื่องบิน TCG Anadolu กองทัพเรือตุรกี เป็นเรือบรรทุกโดรน (Drone Carrier)
ล�าแรกของโลก จึงถือเป็นแนวคิดริเริ่มที่ส�าคัญของการใช้เครื่องมือทางทหารและสร้างหลักนิยมการรบใหม่ ในการท�า
สงครามทางเรือ ซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงสมดุลทางทหารของภูมิภาคได้ในคราวเดียวกัน

















ภาพจ�าลองโดรนโจมตีติดอาวุธ Bayraktar TB-3 ประจ�าเรือ TCG Anadolu กองทัพเรือตุรกี



นาวิกศาสตร์ 22
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕







นอกจากการต่อสู้ด้นรนตามท่กล่าวข้างต้นแล้ว สาหรับตัวอย่างของการดารงอยู่ก็ได้สร้างปรากฏการณ์สาคัญของ


แนวคิดการใช้เคร่องมือทางทหารเช่นเดียวกัน จากประโยคท่ว่า “ไม่มีใครอยากเสียเรือรบเก่า ท่ยังคงมประโยชน์”



เกิดข้นเม่อเรือบรรทุกเคร่องบิน Garibaldi ซ่งเข้าประจาการเป็นเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ กองทัพเรืออิตาล ใน ค.ศ. ๑๙๘๕





และในช่วงต้นทศวรรษ ๙๐ ได้รับการปรับปรุงให้เป็นเรือบรรทุกเครื่องบิน กองทัพเรืออิตาลีล�าแรก เพื่อรองรับการใช้
เคร่องบิน AV-8B HARRIER II VSTOL โดยมีส่วนร่วมปฏิบัติการทางทหารในโคโซโว ค.ศ. ๑๙๙๙ อัฟกานิสถาน ค.ศ. ๒๐๐๑

และลิเบีย ค.ศ. ๒๐๑๑ ภายหลังจากประจ�าการใน กองทัพเรืออิตาลี มาเป็นเวลาเกือบ ๔๐ ปี มีก�าหนดสิ้นสุดอายุ
การใช้งานและปลดประจ�าการ ค.ศ. ๒๐๒๒















ภาพเรือบรรทุกเครื่องบิน Garibaldi
ปัจจุบันภารกิจของเรือบรรทุกเครื่องบิน กองทัพเรืออิตาลี ได้ถูกปรับเปลี่ยนจากเรือ Garibaldi เป็นเรือ Cavour




ซ่งเป็นเรือบรรทุกเคร่องบินลาใหม่ เพ่อรองรับการใช้ เคร่องบิน AV-8B+ ดังน้น เรือ Garibaldi จึงถูกปรับเป็นเรือบรรทุกเคร่องบิน



ส�ารองและถูกลดระดับเป็นเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ในเวลาต่อมา ทั้งนี้ ตามแผนยุทธศาสตร์ ๑๕ ปี กองทัพเรืออิตาลี
(ค.ศ. ๒๐๑๙-๒๐๓๔) ก�าหนดก�าลังรบให้มีเรือบรรทุกเครื่องบินเพียงล�าเดียว โดยเรือ Cavour ได้รับการปรับปรุงและ






ผานการทดสอบ ทดลอง เพอรองรบการใชงาน เครองบน F-35B STOVL ทจะมาทดแทน เครองบน AV-8B+ ในอนาคต












ภาพเรือบรรทุกเครื่องบิน Cavour ปฏิบัติการร่วมกับ เครื่องบิน F-35B STOVL ในห้วงการทดสอบ ทดลอง



นาวิกศาสตร์ 23
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕


กองทัพเรืออิตาลี จึงได้เสนอแผนปรับเปลี่ยนเรือ Garibaldi เป็นฐานปล่อยจรวดแบบลอยตัว ส�าหรับการปล่อย
จรวดส่งดาวเทียมข้นสู่อวกาศเข้าบรรจุในแผนวิจัยทางทหารแห่งชาติในโครงการ “SIMONA” (Sistema Italiano

Messa in Orbita da Nave) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อการเตรียมการตรวจสอบสภาพความพร้อม และความปลอดภัยใน
การใช้เรือ Garibaldi เป็นฐานปล่อยจรวดส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศตามยุทธศาสตร์อวกาศแห่งชาติ




บทความจากนิตยสาร กองทัพเรืออิตาล ระบุว่า “สมมติฐานภายใต้การพิจารณาการใช้เรือ Garibaldi เพ่อเป็นฐาน



ปล่อยจรวดส่งดาวเทียมข้นสู่อวกาศน้น มีคุณค่าทางยุทธศาสตร์ส�าหรับอิตาลีเป็นอย่างย่ง เน่องจากจะทาให้อิตาล ี





มีขดความสามารถในการเข้าถึงอวกาศได้โดยอิสระ หรอเพ่อให้สามารถตัดสนใจได้ว่าจะส่งดาวเทียมเข้าสู่วงโคจรเม่อใด







โดยไม่ต้องคานึงถึงลาดับของความเร่งด่วนสาคัญท่ถูกกาหนดข้นโดยองค์การอวกาศยุโรป หรือไม่ต้องรอการแบ่งปัน

ของฐานปล่อยจรวดส่งดาวเทียมข้นสู่อวกาศเพียงฐานเดียวของชาติยุโรปท่มีการใช้งานในปัจจุบัน คือ ฐาน Kourou


ในเฟรนช์เกียนา ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส
























ภาพแผนที่เฟรนช์เกียนาของฝรั่งเศส ตั้งอยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตร
ตามหลักการแล้วการปล่อยจรวดส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศจากบริเวณเส้นศูนย์สูตรนั้น เป็นการใช้ประโยชน์สูงสุด



จากการหมุนของโลก จึงทาให้พ้นท่อาณาเขตบริเวณเส้นศูนย์สูตรเป็นพ้นท่ท่มีค่าอย่างย่ง การใช้เรือเพ่อเป็นฐานปล่อย









จรวดส่งดาวเทียมข้นสู่อวกาศช่วยให้สามารถเข้าถึงตาแหน่งเปิดตัวของดาวเทียมท่มีประสิทธิภาพท่สุด เพียงการนาเรือ








ไปยงเส้นศนย์สตร เพอปล่อยจรวดส่งดาวเทยมขนส่อวกาศ โดยสามารถทจะกาหนดออกเรอเมอใดกได้ตามท ี ่











สภาพอากาศเอออานวย ทงน การใชเรอเปนฐานปลอยจรวดสงดาวเทยมขนสอวกาศนน มหลายประเทศกระทาอยแลว






















นาวิกศาสตร์ 24
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕





ในขณะนยังไม่มความชัดเจนว่า มค่าใช้จ่ายเท่าใดในการปรับปรุงเรือ Garibaldi ให้เป็นฐานปล่อยจรวดส่งดาวเทียม









ข้นสู่อวกาศ การซอเรอพาณิชย์เพ่อจุดประสงค์เดียวกันอาจจะถูกกว่าและง่ายกว่า แต่การท กองทัพเรออิตาล กล่าวถึง

แนวคิดนี้ บ่งบอกถึงความส�าคัญด้านอวกาศของอิตาลี ซึ่งในอนาคต ดาวเทียมจะมีขนาดเล็กลงและราคาต่อหน่วยถูก
ลง จึงท�าให้อิตาลีมีโอกาสปล่อยดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศส�าหรับภารกิจเฉพาะเพิ่มมากขึ้น






















ภาพแนวคิดการใช้เรือเป็นฐานปล่อยจรวดส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศ































การใช้เรือเป็นฐานปล่อยจรวดส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศของจีน



นาวิกศาสตร์ 25
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕







ในปัจจุบันมีเพียงไม่ก่ประเทศในโลกเท่าน้นท่มีความสามารถโดยอิสระในการเข้าถึงพ้นท่วงโคจรในอวกาศ
ซึ่งได้แก่ สหรัฐอเมริกา รัสเซีย จีน อินเดีย อิสราเอล ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น และเกาหลีเหนือ สาเหตุหลักมาจากความซับซ้อน



















ทางเทคโนโลยและมตทางเศรษฐกจทจาเป็นสาหรบการพฒนาจรวดขนส่อวกาศ สาหรบปัจจยทางการเมองกคอ



เจตจานงของประเทศในการมีบทบาทนาทางเทคโนโลย เศรษฐกิจ และการทหาร รวมท้งความพยายามกีดกันการเข้าถึง



พ้นท่วงโคจรในอวกาศ จะสามารถลดทอนขีดความสามารถทางทหารของประเทศท่มีแนวโน้มแข็งกร้าวซ่งอาจม ี


ความยากลาบากต่อการควบคุมด้วยระบบระหว่างประเทศ อีกประเด็นหน่งก็คือ ในความเป็นจริงแล้วความสามารถ



และเทคโนโลยีการพัฒนาจรวดข้นสู่อวกาศน้น มีความคล้ายคลึงและมีความสัมพันธ์อย่างแน่นแฟ้นกับเทคโนโลย ี


ฐานปล่อยอาวุธนิวเคลียร์ ดังน้น ความพยายามในการกีดกันจึงถือเป็นส่วนหน่งของระบบป้องกันภัยคุกคาม



ดังกล่าวด้วย ความสามารถในการเข้าถึงวงโคจรในอวกาศจึงถือเป็นสินทรัพย์ท่สาคัญอย่างย่งในทางยุทธศาสตร์การเมือง

และการทหารที่ขาดไม่ได้ หากต้องการสร้างจุดยืนในการมีบทบาทระดับน�าต่อสังคมโลก



จากทได้กล่าวถงแนวความคดการใช้เครองมอทางทหารและหลกนยมการรบใหม่ โดยนาเสนอตวอย่างของ








การปรับใช้เรือบรรทุกเคร่องบิน กองทัพเรือตุรก และ กองทัพเรืออิตาลี ทาให้เห็นได้อย่างชัดเจนถึงการต่อสู้ด้นรน






เพ่อสร้างเสริมขีดความสามารถและประสิทธิภาพของกาลังรบทางเรือ รวมท้งการดารงอยู่ของเคร่องมือทางทหารท่ยังคง







มีประโยชน์เพ่อให้สามารถใช้งานได้ต่อไปท้งด้านการทหาร และหรือมีบทบาทอ่นท่เก่ยวเน่องกับผลประโยชน์ของชาต ิ








ซงทงหมดท่กล่าวมาน้จาเป็นต้องอาศยการริเรมเป็นสาคญ โดยหากกองทัพไม่ได้มการทบทวนว่าเคร่องมือทางทหาร









ที่มีอยู่แล้วนั้น ได้ถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ อย่างไร และไม่ได้มีแนวคิดริเริ่มจะปรับเพื่อให้มีความทันสมัยและ



มีขีดความสามารถสูงสุดในปัจจุบัน เมื่อในยามท่เคร่องมือทางทหารดังกล่าวครบอายุการใช้งานและต้องปลดประจาการไป


ก็คงจะไม่ได้ถูกนาไปใช้ประโยชน์อ่นใด จึงนับเป็นความสูญเปล่าท่ไม่อาจใช้เคร่องมือทางทหารน้นไปมีบทบาทนา




หรือเปลี่ยนแปลงสมดุลทางทหารของภูมิภาคอย่างไรได้เลย
นาวิกศาสตร์ 26
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕


บทน�ำ
หากดวงอาทิตย์ คือ แสงส่องความสว่างเจิดจ้ามาสู่แผ่นดิน
ในยามกลางวัน ดวงจันทร์ก็คือแสงเฉิดฉายทอประกาย
แจ่มจรัสในยามกลางคืน ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์จึงอย ู่

เคียงคู่บนกับผืนโลก เฉกเช่นเดียวกันกับกองทัพเรือท่ม ี
ทหารเรือชาย และทหารเรือหญิงคอยเคียงข้างกันในการ




ทาหน้าท่รักษาสิทธิและอานาจอธิปไตย รักษาความม่นคง
และผลประโยชน์ของชาติทางทะเล รวมทั้งภารกิจอื่น ๆ








ตามทได้รบมอบหมาย และเมือพดถงทหารเรอหญง
ผู้คนก็คงนึกถึงสตรีผู้มีความอ่อนโยน แต่ไม่อ่อนแอ


อยู่ในหัวใจท่แกร่งกล้า พร้อมเสียสละเพ่อประเทศชาต ิ
และประชาชน ยังความเจริญก้าวหน้าให้แก่กองทัพเรือไม่
แตกต่างจากทหารเรือชาย ทหารเรือหญิงจึงเป็นบุคลากร

ท่ทรงคุณค่าของกองทัพเรือ และหน่งในทหารเรือหญิง


ท่เป็นดังดวงจันทร์ฉายส่องประกายแห่งความดีให้กับ นาวาเอกหญิง เดือนฉาย เสขะนันทน์
ราชนาวีไทย น่นคือ “นำวำเอกหญิง เดือนฉำย เสขะนันทน์” ประจาแผนกทูตทหาร กองการต่างประเทศ กรมข่าว


จุดเริ่มต้นแห่งเส้นทำงกำรเข้ำรับรำชกำร ทหารเรือ เป็นต�าแหน่งแรก เพราะครอบครัวเล็งเห็นว่า





นาวาเอกหญิง เดือนฉาย เสขะนันทน์ ได้เข้ารับ การทางานท่ดีน้นควรมีจุดเร่มต้นมาจากความม่นคง
ราชการในกองทัพเรือหลังจากสาเร็จการศึกษาระดับ ประกอบกับกองทัพเรือในขณะนั้น ต้องการบุคลากรที่มี

ปริญญาตรี สาขาวิชาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ ความรู้ความสามารถด้านการต่างประเทศเพ่อติดต่อกับ

จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเข้ารับตาแหน่ง ทูตทหารและรับรองแขกต่างประเทศ

นาวิกศาสตร์ 27
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕


ภาพเมื่อครั้งเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ห้อง B4 รุ่น ๒๕๑๓



ด้วยเหตุน้ นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ จึงได้ตัดสินใจ จนสามารถก้าวสู่เส้นชัยแห่งการรับราชการอย่างเต็มภาคภูม ิ
สมัครเข้ารับราชการ โดยได้รับเลือกจากกองทัพเรือให้บรรจ ุ กำรพิสูจน์ตน–กำรได้รับกำรยอมรับ



เข้ารับราชการมาต้งแต่เวลาน้น ในการทางานระยะแรก ตลอดระยะเวลาการรับราชการของ นาวาเอกหญิง

นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ มีหน้าท่ประสานงานกับผู้ช่วยทูต เดือนฉาย ฯ ได้ฉายสะท้อนว่าทุกก้าวย่างของการทางาน




ทหารต่างประเทศ และการจัดทาหนงสอเดินทางให้ เปรยบเป็นบทเรียนของชีวิตทได้พิสจน์ให้เห็นอย่าง





ข้าราชการกองทัพเรือ ในขณะเดียวกันเม่อมีผู้บังคับ ชัดเจนว่า ความสาเร็จ และการได้รับความยอมรับ

บัญชาระดับสูงจากต่างประเทศเดินทางมายังประเทศไทย ในฐานะทหารเรือหญิงแห่งราชนาวีไทยไม่ได้มาโดยง่าย

นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ ก็จะได้รับหน้าท่เป็นนายทหาร แต่สามารถกระทาจนสัมฤทธ์ผลได้ด้วยการมุ่งม่นทางาน




ประจาตัวภริยาของผู้บังคับบัญชาต่างประเทศ สลับกับ อย่างม่นใจว่า ไม่ว่าจะทหารเรือหญิงหรือชายก็สามารถ




การทาหน้าท่นายทหารติดต่อ ทาให้ได้ประสบการณ์ ปฏบตทกภารกจทได้รบมอบหมายให้ถงจดหมายได้












พร้อมกบเปิดโลกทศน์ใหม่ทางความคดและการทางาน ไม่แตกต่างกัน



ดังน้น เหตุการณ์ดังกล่าวจึงเป็นจุดเร่มต้นในเส้นทาง “ทหารเรือชายทาส่งใดได้ ทหารเรือหญิงก ็






รบราชการของ นาวาเอกหญง เดือนฉาย เสขะนันทน์ สามารถท�าสิ่งนั้นได้ เพราะเราเป็นทหารแห่งราชนาวี

ทหารเรอหญิงท่ได้ปฏบัติภารกจนานัปการเพ่อราชนาวีไทย เหมือนกัน” ดังท่กล่าวแล้วว่าในการเร่มต้นชีวิต






รับราชการ นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ ได้ใช้ความรู้
ด้านการต่างประเทศปฏิบัติงานด้านการรับรอง และ


การจัดทาหนังสือเดินทางสาหรับข้าราชการกองทัพเรือ
ทาให้ได้ติดต่อประสานงานกับผู้คนเป็นจานวนมาก







โดยเฉพาะนายทหารเรอชายหญิง ทงช้นสัญญาบตร



และตากว่าช้นสัญญาบัตร หลังจากนาวาเอกหญิง
เดือนฉายฯ เข้ารับราชการได้ ๓ ปี ได้สอบแข่งขันจน

ได้รับโอกาสไปศึกษาหลักสูตรทางทหารท่ประเทศ


ภาพหมู่บัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ สหรัฐอเมริกา การศึกษาอบรมคร้งน้น นาวาเอกหญิง
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พุทธศักราช ๒๕๑๖ เดือนฉาย ฯ เป็นนายทหารเรือหญิงคนเดียวท่ามกลาง
นาวิกศาสตร์ 28
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕






นายทหารเรือชายต่างประเทศ ซ่งทาให้ได้รับประสบการณ์ เพ่อบินวนกลับมาลงอีกรอบและเม่อต้องข้นจาก















สาคัญของชีวิตท่ไม่คิดว่านายทหารเรือหญิงไทยจะได้ม ี เรอบรรทกเครองบน เครองบนจะบนขนจากเรอขณะ




โอกาส คือ การลงเรือดานาท่ฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกา แล่นกลางทะเลน้น โดยจะมีเคร่องดีดส่งเคร่องบินข้น




ทาให้เห็นการใช้ชีวิตและความเป็นอยู่ของผู้ปฏิบัติงาน (Catapult) ผู้โดยสารจะต้องเอามือ ๒ ข้างไขว้กันแนบ





ในเรือดานา โอกาสในคร้งน้น ทาให้นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ หน้าอก และโน้มตัวลงให้มากที่สุด เหตุการณ์ครั้งนั้นได้





พบว่าในการลงเรือดานาจะต้องลงจากปล่องด้านบนของเรือ ทาให้เรียนรู้วิธีการปฏิบัติตัว และวิธีการน่งเครื่องบิน





แล้วหย่อนตัวลงไปในตัวเรือซ่งแคบมาก โดยจะมีเตียงพับ ของเรือบรรทุกเคร่องบินอย่างถูกต้อง รวมท้งยังได้สัมผัส


เก็บเข้าด้านข้างท้งสองข้างในเรือ จานวนเตยงนอน กับความใหญ่โตมโหฬารของเรือบรรทุกเคร่องบิน ซ่งยาก




จะมีน้อยกว่าจานวนของกาลังพลท่ปฏิบัติงานในเรือ ท่ทหารเรือหญิงจะได้มีโอกาสสัมผัสกับประสบการณ์



กาลังพลจึงต้องผลัดกันนอน การได้เห็นความยากลาบาก ที่น่าท้าทายและตื่นเต้นแบบนี้









ตรากตราในการปฏิบัติงานของกาลังพลเรือดานาในคร้งน้น การมีปฏิภาณไหวพริบของนาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ




ยังทาให้ นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ เห็นว่าเรือดานา ยังเป็นผลมาจากบุคลิกภาพส่วนบุคคลท่ชอบช่วยเหลือ




มีความสาคัญจาเป็นมากต่อกองทัพเรือ การสาเร็จ
การศึกษาจากหลักสูตรดังกล่าวได้สร้างความ
ภาคภูมิใจอย่างมากแก่นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ





เม่อได้กลบมาปฏบัตงานในกองทัพเรอไทย
นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ ก็ได้รับโอกาสท่ท้าทาย


ของการเป็นทหารเรือหญิง น่นคือ การได้ไปลงเรือบรรทุก



เคร่องบินสหรัฐอเมริกากลางทะเล ภารกิจคร้งน้ได้รับเชิญ

จากผู้ช่วยทูตทหารเรือสหรัฐอเมริกาประจาประเทศไทย



ในขณะน้น ทาให้ได้เรียนรู้วิธีการลงเรือซ่งแล่นอยู่
กลางทะเลโดยการน่งเคร่องบินของเรือบรรทุกเคร่อง





บนจากสนามบนทหารในกรงเทพมหานครไปลงบนเรอ





กล่าวคือ วิธีการน่งในเคร่องบินของเรือบรรทุกเคร่อง
บิน ผู้โดยสารจะต้องสวมหมวกกันน็อก (Helmet)



โดยการน่งจะต้องน่งหันหน้าไปทางท้ายเคร่องบิน
เพ่อป้องกันศีรษะและคอ เพราะเม่อเคร่องบินลงจอด





หากมีการกระแทก ศีรษะจะได้กระทบกับเบาะท่น่ง

ไม่เป็นอันตราย และเม่อได้ยินว่า “one two three”
จะเป็นสัญญาณว่าเคร่องบินจะลงจอดแล้ว จากน้น


เคร่องบินจะพุ่งหัวลงมาท่เรือท่ลอยลาอยู่กลางทะเล




ตะขอเก่ยวสลิง (Tail Hook) ของเคร่องบินก็จะปล่อย


ลงมาเพ่อเก่ยวกับลวดสลิงท่พาดขวางอยู่บนเรือให้ล็อก




เคร่องบินไว้ไม่ให้พุ่งลงไปในทะเล หากตะขอเก่ยว



ลวดสลิงไม่ได้ เคร่องบินก็จะเร่งเคร่องบินข้นไป

นาวิกศาสตร์ 29
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕


ที่นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ ยึดถือ ๓ ประการ ได้แก่
ประสบการณ์ ปฏิภาณไหวพริบ และโอกาส ดังนี้



ประสบการณ์ ประสบการณ์ท่ว่าน้ คือ การใช้
ประสบการณ์ของตนเอง และประสบการณ์ที่เรียนรู้จาก
ผู้อื่น ดังเมื่อครั้ง นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ ได้ท�าหน้าที่


เป็นนายทหารประจาตวของภรยาผ้บญชาการทหารเรอ






สิงคโปร์ ทาให้ได้รับทราบว่าทหารสิงคโปร์ทางานอย่าง
จริงจัง ดังเช่นเมื่อถึงเวลางานเลี้ยงรับรอง ก็ใช้กิจกรรมนี้

เป็นโอกาสแสวงหาความรู้ได้อีกทางหน่ง จากการท่ได้นา


ภริยาของผู้บัญชาการทหารเรือสิงคโปร์ไปชมสถานท่ต่าง ๆ


อย่างเช่น พิพิธภัณฑ์ ทาให้ได้เรียนรู้ว่าคนสิงคโปร์

จะให้ความสนใจกับส่งท่อยู่ตรงหน้า รับฟังส่งท่เจ้าหน้าท ่ ี



บอกเล่า ในขณะเดียวกัน นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ
ก็สามารถใช้ประสบการณ์ของตนกล่าวเสริมความรู้

จนได้รับการยอมรับจากผู้อ่น กล่าวได้ว่าการประสบ



ความสาเร็จในราชการได้น้น ต้องใช้ท้งประสบการณ์


ของตนเองและผู้อ่นมาปรับใช้ในการทางานอยู่เสมอ


ในการปฏิบัติหน้าท่เป็นนายทหารประจาตัวภริยา
ผู้บัญชาการทหารเรือสิงคโปร์คร้งน้ ทาให้ได้มีโอกาส



พบกับนายทหารสิงคโปร์ที่ติดตามอีกหลายนาย ซึ่งหนึ่ง
ในน้น ปัจจุบันท่านเป็นรัฐมนตรีในคณะรัฐมนตรี ของนาย

ลี กวน ยิว นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์ คือ นายเตียว ชี เฮียน
รัฐมนตรีอาวุโส และรัฐมนตรีประสานงานด้าน

ความม่นคงแห่งชาติ และท่สาคัญ เม่อนาวาเอกหญิง



เดือนฉาย ฯ ได้ไปปฏิบัติหน้าท่ภริยาผู้ช่วยทูต

ฝ่ายทหารเรือไทยประจ�าสิงคโปร์ ก็ยังได้มีโอกาสพบกับ
ท่านรัฐมนตรีอาวุโสในงานส�าคัญต่าง ๆ อีกด้วย


แนวทำงกำรรับรำชกำรให้ประสบควำมส�ำเร็จ ประสบการณ์ท่สาคัญท่ควรค่าแก่การเรียนรู้ คือ

จากก้าวแรกในการทางานสู่ก้าวย่างท่มั่นคง “ประสบกำรณ์ของผ้บงคบบญชำ” ท่ได้ส่งสมมาก่อน








ของชีวิตการรับราชการของนาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ และในการจัดการกับบางสถานการณ์อาจเกินความ



ไม่ใช่เร่องง่าย แต่ทว่าเกิดจากความวิริยะอุตสาหะ สามารถของตน คาแนะนาของผู้บังคับบัญชาจึงมีความ
ในการท�างานทุกบทบาทหน้าที่ และความทุ่มเทแรงกาย ส�าคัญ และเป็นประโยชน์ต่อการคิด รวมทั้งการตัดสินใจ

แรงใจให้การปฏิบัติภารกิจสาคัญสาเร็จลุล่วง จนม ี ในการทางาน ในการทางานท่ดีจะต้องอาศัยความรู้







“ผลของงำน” เป็นทประจกษ์อย่างแจ่มชด และ ความสามารถ และประสบการณ์การทางานของตน




ผลของงานนั้นก็เป็นเครื่องแสดงแนวทางการรับราชการ ท่เพ่มพูนข้นตลอดเวลา ผนวกกับประสบการณ์ของ

นาวิกศาสตร์ 30
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕







ผ้บงคับบัญชามาบูรณาการและประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม เดือนฉาย ฯ ได้ยาว่า “เม่อใดท่พบปัญหำ เรำจะต้องคิดหำ




แม้ว่าทางเลือกในการแก้ปัญหาทเกดจากประสบการณ์ ทำงเลือกก่อนว่ำ จะแก้ไขปัญหำอย่ำงไร โดยจะต้องใช้





ของแต่ละคนจะแตกต่างกน แต่กสามารถนามาเลอกใช้ ปฏภำณไหวพริบทเกดจำกกำรส่งสมประสบกำรณ์ของ




เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏิบัติงานได้ ผู้บังคับบัญชำและของตนเองน้น เข้ำมำแก้ปัญหำท่น่ำ


ท้ำทำยให้คล่คลำยไปในทำงท่ดี” และปัจจุบัน นาวาเอก




ปฏิภาณไหวพริบ ถือเป็นทักษะท่สาคัญในการแก้ไข ทวิช ฯ คือ พลเรือเอก ทวิช ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา
ปัญหาเฉพาะหน้า โดยต้องอาศัยความรู้ ประสบการณ์

การวิเคราะห์ และการตัดสินใจเพ่อให้สามารถรับมือและ การมีปฏิญาณไหวพริบของ นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ



จัดการปัญหาได้อย่างทันท่วงที หลายคร้งในการทางานท ี ่ ยังเป็นผลมาจากบุคลิกภาพส่วนบุคคลท่ชอบช่วยเหลือ
นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ ต้องพบกับเร่องท่ไม่คาดคิด และ ผู้อื่นเป็นประจ�าสม�่าเสมอ ดังนั้น เมื่อผู้อื่นประสบปัญหา


ต้องแก้ไขสถานการณ์อย่างฉับพลัน นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ ไม่ว่าจะเป็นเร่องน้อยใหญ่ นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ




ก็สามารถปฏิบัติภารกิจได้สาเร็จ โดยอาศัยปฏิภาณไหวพริบ จงต้องเร่งหาทางแก้ไขปัญหาให้คลคลายและทนการณ์







ที่สั่งสมมาจากประสบการณ์ กลายเป็นองค์ความรู้ในตน ดงเหตการณ์ครงหนึง ทได้รบหน้าทเป็นนายทหาร








จนรู้เท่าทันอย่างแยบคาย ดังคร้งหน่งในพิธีเปิดพระบรม ประจาตัวภริยาของผู้บัญชาการทหารเรือสหรัฐอเมริกา

ราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และท่านท้งสองจะต้องเดินทางไปงานเล้ยงรับรองอย่าง


ณ บริเวณป้อมพระจุลจอมเกล้า ตาบลแหลมฟ้าผ่า เป็นทางการ แต่เน่องจากภริยาท่านไม่ได้เตรียมชุดราตรีมา



อาเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ เพ่อเป็น นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ จึงได้พาภริยาของผู้บัญชาการ


ราชานุสรณ์ และร�าลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่พระองค์ ทหารเรือสหรัฐอเมริกา ไปเลือกซ้อชุดราตรีท่สง่างาม


ทรงมีต่อปวงชนชาวไทยอย่างหาท่เปรียบไม่ได้ เม่อ และเหมาะสมได้ทันเวลา คาขอบคุณของท้งสองท่าน



องคมนตรีเดินทางมาถึง ปรากฏว่าท่น่งเต็มหมดแล้ว ที่มีต่อนาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ ในครั้งนั้น จึงไม่เพียง





เน่องจากใกล้เวลาท่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร สร้างความประทับใจเป็นอย่างมาก หากแต่คาขอบคุณน้น


มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลท่ ๙ เปรียบเสมือนเคร่องหมายท่บ่งบอกว่าภารกิจในฐานะ

จะเสด็จพระราชดาเนินมาถึง จึงได้เข้าไปปรึกษานาวาเอก นายทหารเรือหญิงของกองทัพเรือส�าเร็จแล้ว

ทวิช ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา ผู้ช่วยเลขานุการกองทัพเรือ








ในขณะนั้น เกี่ยวกับการจัดที่นั่งให้องคมนตรีให้ทันเวลา ทงน ในการปฏบตหน้าทภรยาผ้ช่วยทตทหารเรอ






นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ เล่าว่า “ตอนน้นเหลือบไปเห็น ประจ�าประเทศสิงคโปร์ เป็นระยะเวลา ๓ ปี ของนาวา




ช่องทางระหว่างแถวสาหรับให้ทหารเสิร์ฟนา นาวาเอก เอกหญิง เดือนฉาย ฯ ยังเป็นอีกหน่งภารกิจสาคัญ





ทวิช ฯ จึงได้ส่งการให้บอกทหารนาเก้าอ้ไปวางไว้ ท่ต้องใช้ความรู้ความสามารถด้านการต่างประเทศ


ตรงกลางระหว่างแถวน้น เม่อจัดการเสร็จ และเชิญ พร้อมกับใช้ปฏิภาณไหวพริบ การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า

ท่านองคมนตรีเข้าท่น่ง เพลงสรรเสริญพระบารม ี และมารยาททางสังคม ไม่ว่าจะเป็นการรับรองพระบรม


ก็ดังข้น เป็นเวลาท่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วงศานุวงศ์ แขกผู้มีเกียรติระดับชาติของประเทศไทย




เสดจถง เวลานนร้สกโล่งใจทได้ปฏบตภารกจสาเรจ และต่างประเทศ นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ กล่าวว่า











ทันเวลา” เห็นได้ว่าในการปฏิบัติงานให้บรรลุผล การสาเร็จการศึกษาสาขาวิชาการระหว่างประเทศเป็น





สาเร็จด้วยดีจาเป็นอย่างย่งท่จะต้องใช้ปฏิภาณไหวพริบ องค์ประกอบสาคัญท่ทาให้ตนได้นาความรู้ไปใช้ได้










มาแก้ปัญหาได้อย่างทันท่วงที นาวาเอกหญิง อย่างเต็มกาลงทงภาคทฤษฎี และภาคปฏบัต ซ่งอาจพบกบ


นาวิกศาสตร์ 31
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕





เหตุการณ์ท่ไม่คาดคิด และต้องเร่งแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการ หน้าท่ การเปิดโอกาสในการพัฒนาความรู้และเพ่มพูน


ท่เรียบง่าย แต่ได้ผลดีท่สุด ดังคร้งหน่งผู้ช่วยทูตทหารเรือไทย ประสบการณ์ให้แก่ตนเอง โดยจะต้องเห็นคุณค่าของการเปิด






ประจาประเทศสิงคโปร์ต้องต้อนรับแขกผู้มีเกียรติถึง โอกาสให้ตนเองว่า โอกาสไม่ได้เป็นเพียงส่งท่บุคคลอ่น


๕ คณะ ในวันเดียวกัน แต่มีรถเพียง ๒ คันเท่านั้น ดังนั้น หยิบย่นให้ หากแต่เป็นส่งท่ตนต้องสร้างข้นมาเอง แล้วใช้







ผู้ช่วยทูตทหารเรือ นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ ในฐานะ โอกาสน้นในการทาประโยชน์เพ่อผู้อ่น ดังคาพูดของ
ภริยาผู้ช่วยทูต และเสมียนทูตจะต้องสลับกันรับรอง นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ ความว่า “ถ้าเราปิดโอกาสตัวเอง



ผู้มาเยือนอย่างดีท่สุด เช่นเดียวกันในการเลือกอาหาร โดยไม่พฒนาหรอหาประสบการณ์ใหม่ ๆ ชวตของเรา






เพ่อแสดงมิตรไมตรีก็ต้องเลือกอาหารท่ดีท่สุดของไทย จะหยุดอยู่น่งเพียงเท่าน้น แต่ถ้าหากเราสามารถแสดง


น่นคือ “ต้มยากุ้ง” ซ่งไม่มีผู้ใดทราบว่า วันน้นคณะ จุดเด่น เสนอความคิดใดท่เราคิดว่าเราทาได้ และลงมือ








ผู้ช่วยทูตทหารเรือไทยได้รับประทานต้มยากุ้งร่วมกับ ทาจริง น่นจะเป็นการเปิดโอกาสให้ตัวเองได้น�าความรู้

แขกทุกคณะ ท้งหมดน้ก็เพ่อให้แขกผู้มีเกียรติได้สัมผัส และสิ่งต่าง ๆ ที่คิดว่าถูกต้องไปมอบให้บุคคลอื่น โดยจะ


อาหารรสเลิศอันเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติไทยท่จัด ต้องไม่ลืมค�านึงถึงผู้บังคับบัญชาและกองทัพเรือด้วย”


เตรียมไว้โดยตัวแทนคนไทยในประเทศสิงคโปร์ การปฏิบัต ิ



ภารกิจเสมือนผู้ช่วยทูตทหารเรือ และการดาเนินการ ตลอดชวตการรบราชการของ นาวาเอกหญง



จัดเล้ยงด้วยตนเอง ไม่เพียงแสดงออกถึงความปรารถนาด ี เดือนฉาย ฯ ยังได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานสาคัญ

ต่อผ้ทเดนทางมาเยือนเท่าน้น หากแต่ได้ทาให้ภารกจ ท่เปรียบเสมือนโอกาสในการพัฒนาตน องค์กรและสังคม








สาเร็จอย่างดีย่ง ท้งน้เพราะด้วยปฏิภาณไหวพริบ ผนวกกับ อยู่เสมอ ได้แก่ การทาหน้าท่ด้านการประชาสัมพันธ์






ประสบการณ์การท�างานด้านการต่างประเทศ ก่อให้เกิด พิธีการและการรับรอง เห็นได้จากการมีโอกาสเข้าร่วม









ความประทบใจครงสาคญทไม่มวนร้ลม นอกจากน ี ้ ในการฝึกผสม Cobra Gold ในฐานะเป็นผู้แปลค�ากล่าว





ในการปฏิบัติหน้าท่ภริยาผู้ช่วยทูตทหารเรือในคร้งน้น ภาคภาษาอังกฤษของผู้บังคับบัญชาในพิธีเปิดการฝึก
ยังทาให้ผู้ช่วยทูตทหารเรือไทย และภริยามีโอกาสร่วม ท่มลรัฐฮาวาย ประเทศสหรัฐอเมริกา ซ่งต้องอาศัย



ถ่ายภาพกับผู้บัญชาการทหารเรือสิงคโปร์ พร้อมภริยา การฝึกฝนด้านภาษาให้ช�านาญ และการปฏิบัติตนอย่าง
และคณะ ซึ่งนับว่าเป็นเกียรติอย่างยิ่งในชีวิต คล่องแคล่ว นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ เล่าว่า “ในการ

เข้าร่วมฝึกผสม Cobra Gold ทาให้ต้องมาต้งคาถาม




จากท่กล่าวมาเห็นได้ว่า นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ กบตวเองว่า “เราจะทาได้หรือไม่” เพราะบางคาศพท์




สามารถใช้ปฏิภาณไหวพริบและประสบการณ์ของ เป็นศัพท์เฉพาะ และเป็นความรู้ใหม่ เม่อต้งคาถามกับตัวเอง






ความเป็นทหารเรือหญิงมาปฏิบัติหน้าท่ในแต่ละภารกิจ แบบน้นแล้ว ก็ไม่รอช้าท่จะทาการบ้าน สืบค้นข้อมูล

ท้งการปฏิบัติตน การเข้าสังคม การศึกษาอบรม การดูงาน และฝึกการพูดต่อหน้าที่ประชุมบนเวที ผลลัพธ์ที่ได้ก็คือ



การแสวงหาข้อมูล การข่าว การต่างประเทศ และการ สามารถปฏิบัติได้เป็นท่เรียบร้อย ซ่งทาให้เกิดความ

ติดต่อประสานงาน ดังนั้น เม่อต้องปฏิบัติหน้าที่ภริยา ภาคภูมิใจมาก”








ผ้ชวยทตทหารเรอไทยประจาประเทศสงคโปร์ กสามารถ








นาภูมิความรู้น้นมาใช้ทาหน้าท่อย่างดีท่สุด และปฏิบัต ิ การทาหน้าท่พิธีกรในงานเล้ยงรับรองอาหารคา



ทุกภารกิจได้ยอดเยี่ยม ในพิธีปิดการฝึกผสมท่จังหวัดสงขลา ซ่งประกอบด้วย

ผู้ร่วมฝึกท้งประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา การเป็นกรรมการ





โอกาส เป็นเวลาและจังหวะท่เหมาะสมในการปฏิบัต ิ ด้านประชาสัมพันธ์ การทาหน้าท่พิธีการ จัดท่น่ง

นาวิกศาสตร์ 32
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕



และต้อนรับในงานกาชาดคอนเสิร์ตท่กองทัพเรือได้จัดงาน นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ ได้เล่าว่า “เมื่อวันงานมาถึง


ร่วมกับสภากาชาดไทยเป็นประจาทุกปี เพ่อหารายได้ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (สมเด็จ

โดยเสด็จพระราชกุศลบารุงสภากาชาดไทย ตลอดระยะเวลา พระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมารในขณะนั้น)



กว่า ๒๐ ปี ในการทาหน้าท่ดังกล่าว ท�าให้นาวาเอกหญิง เสด็จพระราชดาเนินแทนพระองค์ นับเป็นบุญวาสนา



เดือนฉาย ฯ ได้มีโอกาสเข้ารับพระราชทานเหรียญ และความโชคดของชวตในการไดรบหนาทเปนพธกรเฉพาะ









กาชาดสมนาคุณช้นท่ ๑ จากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า ซึ่งท�าหน้าที่ต่อหน้าพระพักตร์ของพระองค์ท่าน การท�า

กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี หน้าที่เป็นไปอย่างราบรื่น ส�าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี”
อุปนายิกาผู้อ�านวยการสภากาชาดไทย






เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ ๙













การเข้ารับพระราชทานเหรียญกาชาดสมนาคุณชั้นที่ ๑




จากสมเด็จพระกนษฐาธราชเจ้า กรมสมเดจพระเทพรตนราชสดา ฯ

สยามบรมราชกุมารี


เหนือส่งอ่นใด โอกาสอันเป็นมงคลย่งของชีวิต



นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ ท่ยังคงจดจาได้ไม่มีวันลืมเลือน


น่นคือ การรับหน้าท่เป็นพิธีกรภาคภาษาอังกฤษในงาน


น้อมเกล้าฯ ถวายเรือพระท่น่งนารายณ์ทรงสุบรรณ
รัชกาลท่ ๙ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งกองทัพเรือได้ดาเนินการ



ต่อเรืออย่างสมพระเกียรติ ในการจัดพิธีกรจะมีท้ง
ภาคภาษาไทยและภาคภาษาอังกฤษ แต่เนื่องจากพิธีกร
ตัวจริงติดภารกิจ นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ จึงได้รับโอกาส การแสดงความจงรักภักดี และน้อมส�านึกในพระมหากรุณาธิคุณ

อันหาท่สุดมิได้ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
เป็นพิธีกรภาคภาษาอังกฤษท้งในวันซ้อมใหญ่และวันจริง มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙

นาวิกศาสตร์ 33
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕


นายจอร์จ เอช ดับเบิลยู บุช ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา และพลเรือเอก ประเจตน์ ศิริเดช
พร้อมด้วยข้าราชการกองทัพเรือทั้งสัญญาบัตร และต�่ากว่าสัญญาบัตร ถ่ายภาพร่วมกันเพื่อเป็นที่ระลึก




นอกจากงานสาคัญดังกล่าวแล้ว นาวาเอกหญิง เฉียงใต้ โดยในการแข่งขันเรือใบคร้งน้ จะมีพิธีกร







เดอนฉาย ฯ ยงได้รบโอกาสสาคญในการปฏบตหน้าท ่ ี ทงภาคภาษาไทย และภาคภาษาองกฤษ ซ่งทางภาคภาษา











อีกคร้งหน่ง เม่อคร้งนายจอร์จ เอช ดับเบิลยู บุช องกฤษ ผบงคับบญชาได้มอบให้ นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ
ู้


ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา เดินทางมาเยือนประเทศไทย เป็นผู้คัดเลือก จึงได้คัดเลือกจากอาสาสมัครท่เป็นนักศึกษา
ผู้บัญชาการทหารเรือในขณะน้นคือ พลเรือเอก ประเจตน์ จากมหาวิทยาลัย ซ่งมีท้งชายและหญิงเพียง ๑ คน และจาก



ศิริเดช ได้เรียนเชิญประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกามาเยี่ยม นายทหารเรือของไทยอีก ๑ นาย ซ่งปัจจุบันนายทหารเรือ

กองทัพเรือ เพ่อรับมอบเคร่องหมายความสามารถนักบิน ท่านนั้นคือ พลเรือเอก ธานินทร์ ลิขิตวงศ์ นอกจากนี้


กองทัพเรือ ซ่ง นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ ได้ปฏิบัต ิ นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ ยังได้เป็นกรรมการจัดสร้าง




หน้าท่ด้านการประชาสัมพันธ์ เม่อพิธีมอบเคร่องหมาย พระอนุสาวรีย์ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
เสร็จส้นเป็นท่เรียบร้อย ประธานาธิบดีได้เรียกให้นายทหาร อาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด ์ ิ






ท้งช้นสัญญาบัตร และตากว่าช้นสัญญาบัตรทุกนาย ณ พื้นที่สัตหีบ จังหวัดชลบุรี และสวนสองทะเล จังหวัด



ท่เข้าร่วมพิธีเข้าไปถ่ายรูปร่วมกัน ทุกคนในท่น้นรู้สึก สงขลา

ประทับใจเป็นอย่างยิ่งในเหตุการณ์ครั้งนั้น สาหรับงานสาคัญอ่น ๆ ท่นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ








งานสาคัญอีกหลายงานท่นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ ได้มโอกาสร่วมปฏบตงานได้แก่ งานโครงการก่อสร้าง



ได้รับการแต่งต้งให้เป็นกรรมการในการจัดงาน รวมท้ง ั พระพุทธรูปแกะสลักหน้าผาเขาชจรรย์ เพ่อน้อมเกล้าฯ



โครงการสาคัญของประเทศ และกองทัพเรือ ไม่ว่าจะ ถวายให้เป็นพระพุทธรูปแกะสลักหินประจารัชกาลท่ ๙



เป็นกรรมการแข่งขันเรือใบซีเกมส์ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ เน่องในพระราชพิธีกาญจนาภิเษกฉลองสิริราชสมบัติครบ

ซ่งประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันมหกรรม ๕๐ ปี เม่อปี พ.ศ. ๒๕๓๘ โดยได้รับการแต่งต้งเป็น



กีฬาระหว่างกลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ผู้ช่วยเลขานุการกรรมการอานวยการ ในการเป็น
นาวิกศาสตร์ 34
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕



ผู้ช่วยเลขานุการกรรมการอานวยการงานโครงการก่อสร้าง ในมุมมองของนาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ ได้ให้นิยาม







พระพทธรปแกะสลกหน้าผาเขาชจรรย์ นาวาเอกหญง ของคาว่า “โอกาส”ว่า โอกาสไม่ได้เป็นส่งท่มาจากฟากฟ้า

เดือนฉาย ฯ ได้มีโอกาสเข้าร่วมประชุมกับพระบาทสมเด็จ หรือโชคชะตากาหนด แต่ยังต้องเป็นการสร้างโอกาสให้กับ

พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ ตนเอง โดยไม่ต้องรอคอยโอกาสจากผู้อ่นเท่าน้น เพียงแต่














สยามมกฎราชกมารในขณะนน) พระบรมวงศานวงศ์ บคคลจะต้องร้จกใช้ความร้และความสามารถทมนัน

สานักพระราชวัง และกระทรวงต่าง ๆ โดยได้เร่มปฏิบัติงาน ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งก็เท่ากับเป็นการเปิดโอกาสให้



ต้งแต่ไปดูพ้นท่ภูเขา และเร่มดาเนินการจัดสร้าง ตนเอง จากที่กล่าวว่า









จากภารกิจคร้งน้ นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ ยังได้ม ี “หลายคร้งท่ครูได้รับโอกาสสาคัญในการปฏิบัต ิ

โอกาสได้เรียนรู้การทรงงานของสมเด็จพระญาณสังวร ราชการ เร่มต้นจากการค้นหาจุดเด่นของตัวเองให้พบก่อน
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ผู้ทรงริเร่ม และแสดงความรู้ความสามารถท่มีอย่างดีท่สุด เม่อผู้บังคับ




โครงการก่อสร้างด้วยว่า แม้พระองค์ทรงพระประชวร บัญชาเล็งเห็นจุดเด่นของเรา ท่านก็จะมอบหมายภารกิจ

แต่ก็ยังทรงประกอบพิธีด้วยพระองค์เอง ท่เหมาะสมเพ่อให้เราได้แสดงศักยภาพน้นออกมา


อย่างไรก็ดี ระหว่างการปฏิบัติภารกิจน้ นาวาเอกหญิง ตรงข้าม หากเราไม่รู้จักพัฒนาตนเอง ไม่รู้จักแสวงหา

เดือนฉาย ฯ จะต้องเดินทางติดตามสามีไปปฏิบัต ิ ประสบการณ์ใหม่ ๆ เราก็จะหยุดนิ่งอยู่เท่านั้น”
ราชการ ณ ประเทศสิงคโปร์เป็นเวลา ๓ ปี เมื่อกลับมา



ประเทศไทย ก็ยังได้มีโอกาสได้รับตาแหน่งเป็นนายทหาร ดังน้น ในการรับราชการให้ประสบความสาเร็จ


ฝ่ายเสนาธิการ ประจาสานักงานเลขานุการกองทัพเรือ นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ เน้นย�้าว่า แต่ละคนควรน�า


จงได้มีโอกาสเป็นนายทหารประสานงานระหว่าง ความรู้ความสามารถเฉพาะท่ตนมีมาใช้ โดยรับฟัง
กองทัพเรือกับสานักพระราชวังและหน่วยงานต่าง ๆ ข้อเสนอแนะจากผู้บังคับบัญชา และแสดงจุดเด่นของตนเอง












โดยกลบมาปฏบตหน้าทเป็นผ้ช่วยเลขานการ ให้เป็นท่ประจักษ์เพ่อสร้างโอกาสของตนในการกระทา


กรรมการอานวยการของโครงการฯ อีกคร้ง ทาให้ สิ่งที่ดี และสิ่งที่ถูกต้อง ประสบการณ์ ปฏิภาณไหวพริบ


เห็นว่า “เม่อเวลาพร้อม คนพร้อม ทุกอย่างจะเป็นไป และโอกาสจะทาให้การปฏิบัติงานของตนกลายเป็นจังหวะ







โดยราบร่น” ส่งน้ถือเป็นเกียรติสูงสุดของชีวิต ชีวิตท่มีคุณค่า ทาให้ผู้บังคับบัญชา เพ่อนร่วมงาน ผู้ใต้


ทหารเรือหญิงท่ได้ปฏิบัติงานถวายแด่พระบาทสมเด็จ บังคับบัญชา และประชาชนไว้วางใจในการดารงตนเป็น

พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ข้าราชการท่ดีแห่งกองทัพเรือ ส่งน้ได้ทาให้นาวาเอกหญิง




บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙ เดือนฉาย เสขะนันทน์ ได้ดารงตาแหน่งสาคัญไม่ว่า


จะเป็นนายทหารฝ่ายเสนาธิการประจาส�านักงาน

เลขานุการกองทัพเรือ รองเลขานุการกองทัพเรือ
และรองเจ้ากรมกจการพลเรือนทหารเรือ ซ่งเป็นผล




มาจากหลักสามประการท่ยึดถือในการรับราชการน่นเอง
จากใจทหารเรือหญิง
นาวาเอกหญิง เดือนฉาย เสขะนันทน์ ได้ฝากข้อคิด
เตือนใจไว้ให้กาลังพลกองทัพเรือทุกนายท่กาลังเดินทาง



ในเส้นทางรับราชการปัจจุบัน คือ การดารงตนอย่างม ี

นาวิกศาสตร์ 35
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕



เกียรติยศและศักด์ศรีด้วยการปฏิบัติราชการอย่างเต็มท ี ่ บทสรุป


และเต็มกาลังความสามารถ เพ่อให้สมกับท่กองทัพเรือ การเข้ารับราชการทหารในกองทัพเรือ ไม่ว่าบุคคลน้น




ได้มอบสิ่งดีงามให้แก่ชีวิต ความว่า จะมีเพศใด มีความรู้ ความเช่ยวชาญท่แตกต่างกัน

“การรับราชการท่กองทัพเรือทางกองทัพเรือได้ให้ เท่าไร แต่หากบุคคลนั้นสามารถใช้ตัวตนท่หลอมรวม




ส่งท่ดีท่สุดแก่ชีวิตเรา ท้งเกียรติยศ ช่อเสียง เงินเดือน มาจากหัวใจรัก ความยึดมั่นผูกพัน และศรัทธาในองค์กร






สวสดการ การรกษาพยาบาลโดยโรงพยาบาลทหารเรอ อย่างแนบแน่น ย่อมได้ช่อว่า “ทหำรเรือแห่งรำชนำวีไทย”


ท่สามารถเข้าไปรักษายามเจ็บป่วยได้ และยังมีสิทธิต่าง ๆ ตลอดชีวิตการรับราชการของนาวาเอกหญิง เดือนฉาย





ท่จะติดตัวไปตลอดชีวิต ดังน้น ไม่ว่าใครจะอยู่ในตาแหน่ง เสขะนันทน์ ท่ดารงหน้าท่ของนายทหารเรือหญิง

อะไร ชั้นยศอะไร ก็ขอให้ท�างานอย่างเต็มความสามารถ และภริยาผู้ช่วยทูตทหารเรือล้วนบ่งบอกให้เห็นว่า



เพราะทุกตาแหน่งล้วนมีความสาคัญไม่ย่งหย่อนไปกว่ากัน ความเช่อม่นในตนเอง ความเช่อใจในเพ่อนร่วมงาน






ส่งน้จะเป็นการตอบแทนบุญคุณของกองทัพเรือได้ดีท่สุด และได้รับความเช่อถือจากผู้บังคับบัญชา จนเกิดเป็นภาพ



เช่นเดียวกัน” การทางานทุกภารกิจอย่างมุ่งม่น เสียสละ และบ่งบอกถึง





คากล่าวข้างต้นล้วนกล่นกรองมาจากการส่งสม ความจงรักภักดต่อสถาบันของชาติ จนกล่าวได้ว่า การพิสูจน์

ประสบการณ์ในการทางานและการใช้ชีวิตในฐานะ ตนเองจนเป็นที่ประจักษ์ในฐานะนายทหารเรือหญิงของ
ทหารเรือหญิงว่า “เพรำะมีกองทัพเรือจึงมีวันนี้ได้” ในขณะ นาวาเอกหญิง เดือนฉาย เสขะนันทน์ ไม่ได้ฉายให้เห็น
เดียวกันก็บ่งบอกความมุ่งมาดปรารถนาอย่างแรงกล้า แสงแห่งความดี และเกียรติศักด์ศรีของทหารเรือหญิง



ของ นาวาเอกหญิง เดือนฉาย ฯ ที่มุ่งหมายจะตอบแทน เท่าน้น หากแต่แสดงให้เหนว่าทหารเรือหญงคือ ผ้มส่วน



บุญคุณกองทัพเรือ นับเป็นมุมมองทางความคิดอันทรง สาคัญท่ทาให้กิจการของกองทัพเรือบรรลุผลสาเร็จ





คุณค่าท่ควรน�ามาปฏิบัติและปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ สร้างภาพลักษณ์อันดีงาม และช่วยดารงองค์กรให้อยู่



ตนเอง สังคมและประเทศชาติอย่างเป็นรูปธรรม อย่างม่นคงได้ ควรค่าท่จะนาบทแบบดังกล่าวมายึดถือ


เป็นแบบอย่าง เพ่อสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ตนเอง
และสังคม สมกับท่เป็นทหารเรือผู้อยู่เคียงคู่ประเทศชาต ิ

และประชาชนชาวไทยอย่างยั่งยืนสืบไป…
“หากตะวันคู่จันทรา ย่อมควรค่าแก่การจารึก
เร่องราวตลอดเส้นทางการรับราชการของ นาวาเอกหญิง



เดือนฉาย เสขะนันทน์ ไว้ว่า เป็นภาพจาท่แจ่มชัด


และตอกยาชัดเจนว่า ทหารเรือหญิงสามารถปฏิบัต ิ
ภารกิจเคียงคู่ทหารเรือชายได้อย่างสมบูรณ์”
นาวาเอกหญิง เดือนฉาย เสขะนันทน์
นาวิกศาสตร์ 36
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕


“ยามาโต้” คือนามของเรือประจัญบานญ่ปุ่น









ซงถกจารกไว้ว่าเป็นเรอประจญบานทมขนาดใหญ่






ทสุดในโลก ในยุคสมัยของการรบทางทะเลทเชอม่นใน



ยุทธศาสตร์ท่ว่าอานาจกาลังรบ และชัยชนะข้นอยู่กับ



ขนาดของเรือ อีกท้ง “ยามาโต้” ยังเป็นเรือท่ม ี


ความหมายต่อจักรพรรดินาวีและชนชาติอาทิตย์อุทัย
ชนิดที่ไม่มีเรือรบล�าใดเทียบได้

ในช่วงปลายสงคราม ยามาโต้เดินทางไปสกัดก้น


กองทัพเรือสหรัฐอเมริกาท่กาลังจะเข้าโจมตีโอกินาวา


เพียงลาพัง ด้วยเหตุน้เอง “จุดจบ” และวาระสุดท้าย
ของเรือล�านี้ จึงน�ามาซึ่งค�าถามจากอนุชนรุ่นหลังว่า

“เหตุใดบรรพบุรุษของพวกเขาซ่งเป็นทหารเรือจึง ภาพด้านหน้าเรือยามาโต้
ได้รับคาส่งให้นาเรือออกไป “ฆ่าตัวตาย” ในภารกิจ หลังถูกจมในสงคราม ยามาโต้เป็นเสมือน




สุดท้าย ด้วยการเผชิญหน้ากับกองเรือข้าศึกซ่งมีจานวน “บิสมาร์ค” เรือประจัญบานยักษ์ของเยอรมนีซึ่งมีจุดจบ

มากกว่าอย่างเทียบไม่ได้” ในลักษณะเดียวกัน กล่าวคือมันได้กลายเป็น “เป้าหมาย”



ข้อมูลอันน่าสยดสยอง บันทึกไว้ว่าจากจานวน ของการสารวจ และคนหาเพอใหไดขอสรปแนชดเกยวกบ











ลูกเรือกว่า ๓,๐๐๐ คน ภายใต้การโจมตีกว่า ๒๐ ชั่วโมง วาระสุดท้ายของเรือ โดยเฉพาะอย่างย่ง ในแง่ท่ว่า




โดยฝูงบินอเมริกัน นายทหารและลูกเรือของยามาโต้ เกิดอะไรข้นกับเรือลาน้และเหตุใดผู้บังคับบัญชาของ


รอดชีวิต และได้มีโอกาสเห็นสงครามสงบเพียง พวกเขาจึงออกคาส่งท่ไม่ต่างอะไรกับการฆ่าตัวตายให้แก่





๓๐๐ กว่าคน ขณะทเพอนร่วมนาวของพวกเขา ลูกประดู่แห่งจักรพรรดินาวีกว่า ๓,๐๐๐ คน



กว่า ๒,๗๐๐ คน ต้องดับชีพไปท่ามกลางเพลิงนรก นอกจากน้ยังมีอีกประเด็นหน่งของการค้นหาท ่ ี




อันเน่องจากการระเบิดมหาวินาศก่อนท่เรือจะพลิกควา น่าสนใจก็คือ ข้อสงสัยที่ว่า

และจมลงสู่ก้นทะเล ยามาโต้เป็น “เคร่องจักรสงคราม” ทางทะเลท ่ ี


๖๐ กว่าปีต่อมา เม่อวิทยาการเจริญก้าวหน้า ก้าวหน้าที่สุดในยุคสมัยของมันจริงหรือไม่








มากย่งข้น และการสารวจส่งใต้นามิใช่เร่องลาบากอีกต่อไป บางทีเศษซากเรือขนาดมหึมาท่จมอยู่ใต้มหาสมุทร


“ความลับ” ของยามาโต้จึงถูกค้นหาอย่างจริงจัง อาจจะท้งหลักฐานหลายอย่างท่สามารถไข “ปริศนา”

นาวิกศาสตร์ 37
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕








อันน่าสงสัยท่สุดปริศนาหน่งของสงครามโลกคร้งท่สอง ด้วยเหตุน้ เรือประจัญบานยักษ์ซ่งสร้างในฐานทัพเรือ

ได้อย่างที่หลายคนปรารถนา คูเระจึงได้รับการต้งช่อว่า “ยามาโต้” ซ่งมีความหมายถึง




หากจะเปรียบกับทหารเรือคนหน่ง ยามาโต้คือ ดินแดนของจักรพรรดิญ่ปุ่นและน่นจึงทาให้ยามาโต้


ลูกประดู่ท่มีบ้านเกิดอยู่ ณ เมืองคูเระ ซ่งได้ช่อว่าเป็น เป็นเรือประจัญบานเพียงลาเดียวท่ได้รับการติดตรา






“เมืองทหารเรือ” ของญ่ปุ่นจากอดีตมาจนกระท่งถึง สัญลักษณ์ประจาราชวงศ์ รูป “ดอกเบญจมาศ” ไว้ท ่ ี


ปัจจุบัน หัวเรือด้านหน้า และด้วยขนาดอันใหญ่โตของมัน ท�าให้




ทุกวันน้ “คูเระ” มีอู่ต่อเรือขนาดใหญ่หลายแห่ง และ ยามาโต้กลายเป็นเรือผิวนาท่สามารถมองเห็นได้ด้วย
เป็นที่ยอมรับถึงขีดความสามารถในการผลิตเรือพาณิชย์ ตาเปลาตั้งแต่ระยะไกล



แห่งหน่งของโลก แต่เม่อประมาณ ๖๐ กว่าปีท่แล้ว อุเมโอะ ชิมูระ นักประวัติศาสตร์สงครามชาวญี่ปุ่น


อู่เรือใน “คูเระ” ได้กลายเป็นท่กาเนิดของเรือประจัญบาน คนหนึ่งกล่าวว่า








ที่น่าเกรงขามที่สุดของจักรพรรดินาวี “สมยกอนพวกทหารเรอ เชอกนวาเรอรบของพวกเขา


นักประวัติศาสตร์สงครามของญ่ปุ่นหลายคนเคย เป็นเสมอนตวแทนของพระเจ้าจกรพรรด ดงนน







กล่าวไว้เหมือน ๆ กันว่า เรือรบเกือบทุกลาจึงมีตราประจาราชวงศ์ของพระองค์




“ยามาโต้ คือ เรือประจัญบานท่มีอันตรายมากท่สุดเท่า ซ่งเป็นรูปดอกเบญจมาศติดอยู่บนเรือด้วย ไม่ว่าจะเป็น


ท่เคยมีการสร้างกันมา” คากล่าวน้ไม่ผิดไปจากความจริง เรือประจัญบาน เรือบรรทุกเคร่องบินหรือเรือลาดตระเวน



เพราะยามาโต้มีขนาดใหญ่เป็นสองเท่าของเรือ หนัก



ประจัญบานขนาดใหญ่ที่สุดที่สหรัฐอเมริกา และอังกฤษ สาหรบเรอยามาโต้ซงได้ชอว่าเป็นเรอประจญบาน








มีอยู่ในเวลาน้น อีกท้งป้อมปืนซ่งเป็นเข้ยวเล็บหลักของ ขนาดยักษ์ ตราสัญลักษณ์ประจาพระองค์ท่ติดอยู่บน






ยามาโต้ก็เป็นปืนท่มีขนาดใหญ่ท่สุดเท่าท่เคยมีการติดต้ง ั เรือ จึงเป็นตราท่มีขนาดใหญ่ท่สุด วัดเส้นผ่าศูนย์กลาง



บนเรือประจัญบานทั่วโลก ได้ถึง ๒ เมตร

๖๐ ปีต่อมา เม่อมีการค้นหาซากเรือยามาโต้
ตราสัญลักษณ์รูปดอกเบญจมาศดังกล่าว คือส่งเดียว



ท่นักค้นหาสารวจต้งใจว่าจะใช้มันเป็นหลักฐาน

ในการพสูจน์เอกลักษณ์ว่าเศษซากขนาดมหมาท่จมอย่ใต้




ทะเลคือเรือประจัญบานล�านี้


ทีมสารวจและค้นหาซากเรือยามาโต้ท่ม ี
“พอล แม็คเลย์” นักด�าน�้าชาวฝรั่งเศสเป็นหัวหน้าคณะ

ได้นาเรือสารวจพร้อมด้วยอุปกรณ์อันทันสมัยเดินทาง

ลูกเรือยามาโต้หน้าป้อมปืนยักษ์ ไปยังมหาสมุทรแปซิฟิก พวกเขากาหนดตาบลท่ค้นหา




ด้วยความเป็นไปดังกล่าว ทหารเรือญ่ปุ่นทุกคน ในทะเลห่างจากตอนใต้ของญ่ปุ่นประมาณ ๒๐๐ ไมล์



จงเช่อว่ายามาโต้คือเรอประจัญบานท “ไมมีวนจม” และ ซ่งข้อมูลในประวัติศาสตร์ระบุว่ามันเป็น “ตาแหน่ง







ู่








จะไม่มีเรือข้าศึกล�าใดต่อกรได้ สดท้าย” ทเรอยามาโตได้รับคาส่งให้เดนทางเข้าสภารกิจ
ความเช่อดังกล่าวไม่แตกต่างอะไรกับทหารเรือ ฆ่าตัวตาย ทั้งนี้แม็คเลย์ได้กล่าวถึงโครงการนี้ว่า




เยอรมนีที่เชื่อว่า “บิสมาร์ค” คือเรือประจัญบานที่ทรง “เร่องราวของเรือประจัญบานท่ช่อยามาโต้แห่ง




อานุภาพมากที่สุดและเป็นเรือที่ไม่มีวันจมเช่นกัน ราชนาวีญ่ปุ่นเป็นส่งท่น่าหลงใหล เพราะทุกคนท่มีโอกาส
นาวิกศาสตร์ 38
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕














ได้ศึกษาเร่องราววาระสุดท้ายและจุดกาเนิดของมัน ยานสารวจขนาดเล็กทงสองลาจงถกปลอยลงสเปาหมาย
ต่างก็อดไม่ได้ที่จะต้องร้องอุทานออกมาว่า ให้ตายเถอะ และภาพท่เราได้เห็นก็คือบนท้องทะเลเต็มไปด้วยกระสุน




มีเรื่องแบบนี้เกิดขึ้นจริง ๆ หรือ” ปืนใหญ่ตกเร่ยราดกระจายอยู่ท่วผืนทราย มันเป็นส่งแรก
แม้กระท่งชาวญ่ปุ่นในยุคหลังซ่งไม่เคยมีความสัมพันธ์ ที่บอกให้รู้ว่าเราก�าลังจะเจอกับเรือรบ



ส่วนตัวกับเรือประจัญบานยักษ์ล�านี้ ก็ยังรู้สึกว่ายามาโต้ อย่างไรกตาม น่านนาบรเวณทเราทาการสารวจ









เป็นส่งท่น่าค้นหา ยามาโต้เป็นเรือท่มีความลับมากมาย เคยถูกใช้เป็นยุทธนาวีอันดุเดือดระหว่างกองทัพเรือ




นับตั้งแต่การก�าเนิดของเรือจนกระทั่งวาระสุดท้าย สหรัฐอเมริกากับเรือรบญ่ปุ่นหลายลา ดังน้น เราจึง










เพ่อให้การทางานมีประสิทธิภาพมากข้น ทีมสารวจ ต้องหาข้อพสจน์ให้ได้แน่ชดว่าสงทเราพบเป็น







ได้นายานสารวจใต้นาขนาดเล็กท่มีความก้าวหน้าท่สุด เรือยามาโต้จริง ๆ”









แบบหนงของโลกเขารวมในภารกจคนหาซากเรอยามาโต ้ ทีมสารวจรู้มาก่อนแล้วว่า ตราสัญลักษณ์รูป


ยานดานาดังกล่าวสามารถลงไปสู่ใต้ทะเลได้ใน เบญจมาศของเรือประจัญบานยามาโต้มขนาดใหญ่ทสุด






ระดับถึง ๓,๐๐๐ ฟุต ทาความเร็วในการดาได้ถึง ๑,๒๐๐ ฟุต ในบรรดาเรือรบล�าอื่น ๆ ของญี่ปุ่น ดังนั้น เมื่อหุ่นยนต์





ต่อช่วโมง และหุ่นยนต์ท่นาไปกับยานก็สามารถเก็บกู้ สารวจใต้นาของพวกเขาพบซากโลหะท่มีตราสัญลักษณ์



วัตถุขนาดเล็ก ตลอดจนชิ้นส่วนต่าง ๆ ขึ้นจากพื้นทะเล ดอกเบญจมาศขนาดใหญ่ติดอยู่ พวกเขาจึงทาการวัด
ได้อย่างคล่องแคล่ว ขนาดของมัน

นอกจากน้กล้องใต้นาท่ติดไปกับยาน ก็เป็นกล้อง ทีมสารวจได้บังคับหุ่นยนต์ในการทางาน โดย






แบบใหม่ซ่งสามารถถ่ายภาพในมุมกว้างได้มากกว่า ให้แขนของมันทาบไปบนตราดอกเบญจมาศท่พบบน


๑๘๐ องศา ซากเรือ เม่อตัวเลขท่วัดได้ระบุความยาว ๒ เมตร พวกเขา

การสารวจค้นหาซากเรือยามาโต้ แตกต่างกับการค้นหา ก็แน่ใจว่ามันเป็นตราสัญลักษณ์บนเรือยามาโต้

ซากเรือบิสมาร์คและใช้เวลาน้อยกว่า ท้งน้เน่องจากข้อมูล อย่างแน่นอน



สุดท้ายของเรือยามาโต้ค่อนข้างชัดเจนมากกว่าข้อมูล หัวหน้าทีมค้นหาบันทึกไว้ว่า


สุดท้ายของบิสมาร์ค เพราะในตอนท่คณะสารวจซากเรือ “เมื่อพบซากเรือยามาโต้เป็นครั้งแรก ทุกคนจะเริ่ม
บิสมาร์คออกค้นหาเรือประจัญบานของเยอรมนี พวกเขา คิดถึงทหารเรือของจักรพรรดินาวีท่เคยใช้ชีวิตอยู่บนเรือ










ร้เพยงตาบลทกว้าง ๆ ซ่งเป็นตาแหน่งสุดท้ายทเรอรบ ลาน้ พร้อม ๆ กับท่คาถามต่าง ๆ ท่ตามมาว่าเกิดอะไรข้น







อังกฤษบันทึกไว้ขณะท�ายุทธนาวีกับบิสมาร์ค กับพวกเขา เหตุใดชะตากรรมของพวกเขาจึงเป็นเช่นน ี ้
แต่ในกรณีของยามาโต้ กองทัพเรือญ่ปุ่นใน มันเป็นความรู้สึกที่รุนแรงมาก”










ปัจจุบันสามารถระบุตาบลท่แน่ชัดของยามาโต้ได้ และ “ซากฮโร นชฮาตะ” อดตวศวกรของกองทพเรอ

ตาแหน่งสุดท้ายของยามาโต้ก็ถูกนามาใช้ในฉากหน่ง ญ่ปุ่นซ่งมีส่วนร่วมในการสร้างเรือยามาโต้ และยังคงม ี






ของภาพยนตร์ซ่งทาสถิติรายได้ถล่มทลายในญ่ปุ่น ชีวิตอยู่หลังสงคราม เล่าถึงความหลังว่า






(แต่ในบ้านเราภาพยนตร์เร่องน้ลาโรงไปอย่างเงียบเชียบ “ในตอนน้นการต่อเรือประจัญบานท่มีขนาดใหญ่

หลังเข้าฉายที่ “สกาล่า” ซึ่งถูกรื้อทิ้งไปแล้ว) ท่สุดและมีอานุภาพมากท่สุดในโลก กระทาอย่างเป็น



บรรยากาศในวันท่ทีมสารวจค้นพบยามาโต้ ความลับ ในเขตเมองท่าคเระ มการวางระบบรกษา





ถูกบันทึกไว้ว่า ความปลอดภัยอย่างเข้มงวด และเพ่อปิดบังสายตาไม่ให้



“ในความลึก ๑,๒๐๐ ฟุต คล่นโซนาร์ท่สะท้อนกลับ บุคคลภายนอกมองเห็น กองทัพเรือได้ส่งให้ทหารจากฐานทัพ



มาระบุว่ามีกองโลหะขนาดมหึมาสงบน่งอยู่บนพ้นทะเล คูเระช่วยกันกางอวนจับปลาท่มีความยาวมากกว่าหน่งไมล์


นาวิกศาสตร์ 39
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕


ล้อมรอบอู่แห้งที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่น” ปืนหลักของเรือยามาโต้ถูกออกแบบให้สามารถ
ถึงแม้จะเป็นหนึ่งในทีมงานสร้าง แต่นิชิฮาตะก็ไม่มี โจมตีเป้าหมายด้วยระยะยิงไกลถึง ๒๕ ไมล์ ซึ่งในยุคนั้น

โอกาสเข้าถึงแบบแผนท่สมบูรณ์ของโครงสร้างยามาโต้ ไม่มีป้อมปืนของเรือรบชาติใดสามารถยิงได้ไกล
เขากล่าวว่า เท่านั้นมาก่อน


“ในแต่ละวันเม่อเราสร้างแบบเสร็จ เราจะต้องนา อย่างไรก็ตาม ระยะยิงไกลสุด ๒๕ ไมล์ของยามาโต้
แบบในส่วนน้น ๆ ไปส่งคืนให้กับหัวหน้ากองออกแบบ ทาให้มันไม่สามารถมองเห็นเป้าหมายได้ด้วยตนเอง













ต่อเรอซงเขาจะเป็นผ้เกบมนไว้ในต้เซฟ แบบทกแผ่นจะ ดังน้น ยามาโต้จึงต้องมีเคร่องบินตรวจการณ์ประจาเรือ





ถูกประทับตรา ลับที่สุด ถึงแม้เราจะรู้ว่าเรากาลังสร้าง เพ่อทาหน้าท่พิสูจน์ทราบเป้าและปรับตาแหน่งกระสุนตก



เรือท่มีขนาดใหญ่ท่สุดในโลก แต่ผมก็แทบจะไม่รู้ข้อมูล ขณะท่เรือยิงอาวุธไปยังเป้าหมายท่อยู่นอกระยะขอบฟ้า




โดยรวมของมันอย่างแท้จริง” หรืออาจกล่าวได้ว่าอาวุธยามาโต้ก็คออาวุธปล่อยนาวถ ี


ด้วยเหตุท่การกาเนิดของยามาโต้จึงถูกจัดอยู่ ในยุค ๖๐ ปีก่อนนั่นเอง

ในช้นความลับอย่างย่งยวด หลักฐานท่เหลืออยู่ในปัจจุบัน หลังการสร้างเรือแล้วเสร็จ ยักษ์ทะเล “ยามาโต้”





เกี่ยวกับแบบ “ดรออิ้ง” ในการสร้างเรือยามาโต้ จึงมีอยู่ ก็ข้นระวางประจาการในกองทัพเรือญ่ปุ่นอย่างเงียบ ๆ




ไม่มากนกและไม่สมบูรณ์เพยงพอ แม้กระทงภาพวาด เม่อเดือนธันวาคม ค.ศ. ๑๙๑๔ และเพ่อให้การกาเนิด



และภาพถ่ายของเรือยามาโต้ ก็ไม่มีใครยืนยันได้ร้อย ของยามาโต้เป็นความลับที่สุด
เปอร์เซนต์ว่ามันมีข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วน จักรพรรดินาวีจึงยินยอมท่จะยกเลิกพิธีการปล่อย








“เรมอนด์ แฮคก้น” หน่งในนักประวัติศาสตร์ เรอลงนาและเฉลมฉลองการเขาประจาการอยางเปดเผย






ทางทหารท่สืบค้นเร่องยามาโต้กล่าวว่า ข้อมูลเบ้องต้น เหมือนที่เคยกระท�ากับเรือทุกล�าที่ผ่านมา




ทาให้เรารู้ว่าขนาดเรือยามาโต้น่าพิศวง เพราะมันมีระวาง ในแง่ของการรกษาความลบ กรณของยามาโต้

ขับนาเกือบเป็นสองเท่าของเรือประจัญบานท่ใหญ่ท่สุด ต้องถือว่ากองทัพเรือญ่ปุ่นประสบความสาเร็จอย่าง





ของฝ่ายพันธมิตร บนดาดฟ้ามีป้อมปืนขนาดใหญ่ถึง น่าพอใจ เพราะถึงแม้หน่วยข่าวกรองของสหรัฐอเมริกา








๓ ป้อม แต่ละป้อมมีนาหนักมากกว่าเรือพิฆาตอเมริกัน ซงเฝ้าตดตามความเคลอนไหวของกองทพเรอญป่นมา





๑ ล�า โดยตลอดกยังไมรอะไรมากนกเกยวกบเรอลาน นาวาเอก











ยามาโต้ (ล�าล่าง) กับมูซาชิ (ล�าบน) เรือคู่แฝดชั้นเดียวกัน
นาวิกศาสตร์ 40
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕




“แจ็คก้ คอเรย์” อดีตนายทหารประจาหน่วยข่าวของ จุดประสงค์ของการสร้างเรือประจัญบาน คือการมี




กองทัพเรือคนหนึ่งกล่าวว่า เคร่องจักรสงครามทางทะเลท่มีอานาจการทาลายล้าง




“ในตอนน้น สานักงานวิเคราะห์ข้อมูลของเรา ด้วยปืนเรือขนาดใหญ่ท่มีระยะยิงไกล เพราะในยุคน้น
รู้เพียงว่าญี่ปุ่นมีเรือธงล�าใหม่ของกองเรือเฉพาะกิจ และ “ระยะยิง” ของปืนเรือ คือปัจจัยชี้ขาดผลแพ้ชนะ





เรือลาน้นช่อยามาโต้ เรารู้เพียงแค่ช่อของมันเท่าน้น ไม่มีใครปฎิเสธได้ว่าการรบบนผิวนา หากฝ่ายหน่ง ึ


แต่ไม่มีข้อมูลใด ๆ เกี่ยวข้องกับสมรรถนะและขนาดเรือ ฝ่ายใดสามารถยิงข้าศึกได้ก่อน ในระยะไกลเกินกว่าท ี ่
แม้แต่น้อย ศัตรูจะตอบโต้ได้ ฝ่ายนั้นย่อมเป็นผู้ชนะ





นอกจากน้ หลายคนท่ไม่ได้ติดตามเร่องราวของ ใน ค.ศ. ๑๙๐๔ เรอประจญบานขนาดใหญทสดของ




กองทัพเรือญ่ปุ่นและผู้บังคับบัญชาของพวกเขาอย่างใกล้ชิด สหรัฐอเมริกาสามารถยิงปืนเรือท่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง






เร่มจะเกิดความสับสนระหว่างช่อเรือประจัญบาน ลากล้อง ๑๒ น้ว ได้ไกลถึง ๗ ไมล์ และน่นเป็นการเร่มต้น


“ยามาโต้” กับช่อผู้บัญชาการทหารเรือ พลเรือเอก ของยุค “การทูตเรือปืน” หรือการใช้เรือรบข่มขู่ก่อน

“อิโซโรกุ ยามาโมโต้” (ยามาโมโต้ คือผู้บัญชาการทหารเรือ การเจรจา
ของญี่ปุ่นในยุคสงครามโลกครั้งที่สอง) เม่อพิจารณาจากข้อมูลในประวัติศาสตร์แล้ว




หากจะต้งคาถามว่า เหตุใดญ่ปุ่นจึงต้องสร้างเรือ ไม่มีใครปฏิเสธได้ว่าราชนาวีญี่ปุ่นเป็นหน่งในกองทัพเรือ

ประจัญบานขนาดยักษ์ เช่น เรือยามาโต้ ค�าตอบคงอยู่ที่ รุ่นแรก ๆ ของโลกที่มีความเข้าใจในเรื่องพลังอ�านาจของ

“ยุทธศาสตร์” ของการกาหนดกาลังรบทางทะเลใน เรือประจัญบานยุคใหม่อย่างถ่องแท้

ยุคน้นท่มุ่งเน้นการมีเรือประจัญบานขนาดใหญ่เป็น หลักฐานหน่งท่บ่งช้สนับสนุนความเป็นไปดังกล่าว





สัญลักษณ์ของความเป็นมหาอ�านาจทางทะเล ก็คือในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. ๑๙๐๕ กองเรือญี่ปุ่นได้ท�า


ในยุคน้นไม่ว่าจะเป็นอังกฤษ ฝร่งเศส เยอรมน ี สงครามกับกองเรือรัสเซียในช่องแคบ “ทสึชิมา” ซึ่งเป็น

สหรัฐอเมริกา รวมไปถึงรัสเซีย ทุกชาติต่างเช่อถือใน ที่รู้กันในเวลาต่อมาว่า “การยุทธที่ช่องแคบทสึชิมา”


หลักการเดียวกันว่า “เรือประจัญบาน” ซ่งมีอานาจการยิง ภายใต้การนาของนายพล “โตโจ” แม่ทัพเรือซ่งม ี






ทาลายมหาศาล คือกลไกสาคัญท่จะนาไปสู่การครองทะเล นายเรือโท “อิโซโรกุ ยามาโมโต้” เป็นนายธง


ยุทธศาสตร์ดังกล่าวมีมาต้งแต่คร้งโบราณในยุค “เรือใบ” กองเรือญี่ปุ่นสามารถจมเรือรบรัสเซียได้ถึง ๑๙ ล�า

ก่อนที่จะวิวัฒนาการไปสู่ยุคของเรือกลไฟและไอน�้า ภายในวันเดียวทาให้กองทัพเรือรัสเซียพ่ายแพ้อย่างย่อยยับ



ต่อมาเม่อพ่น้องตระกูลไรท์ประสบความสาเร็จ และเป็นคร้งแรกในประวัติศาสตร์โลกท่มหาอานาจ




ในการคิดค้นเคร่องบินและนักการทหารได้นามา ตะวันตกต้องพ่ายแพ้แก่ชาติตะวันออก




“ต่อยอด” ก่อให้เกิดเรือบรรทุกเคร่องบินในอีกไม่ก ่ ี ผลจากชัยชนะในยทธนาวีททสชิมา ทาให้ญ่ป่น








สิบปีต่อมา ยุทธศาสตร์ของการครองทะเลด้วยการม ี ได้รับการยอมรับในหมู่ชาติมหาอานาจท่เร่มตระหนัก
เรือประจัญบานขนาดใหญ่จานวนมากจึงเปล่ยนไป แล้วว่า




เป็นการครองทะเลโดยอาศัยกาลัง “อากาศนาวี” “ ญ่ปุ่นเป็นชาติในตะวันออกชาติแรกท่มีกองเรือ

จากเรือบรรทุกเครื่องบิน ย่งใหญ่และเข้มแข็ง หรืออาจกล่าวในเชิงเปรียบเทียบ




ในช่วงรอยต่อระหว่างสงครามโลกคร้งท่หน่งกับ ได้ว่าญ่ปุ่นได้รับการยอมรับให้เป็นสมาชิกของ





สงครามโลกคร้งท่สอง ก่อนหน้าท่จะมีการรบทางทะเล คลับพิเศษ ของชาติท่เป็นมหาอานาจทางทะเล


คร้งใหญ่ด้วยเรือบรรทุกเคร่องบิน เรือประจัญบาน ถึงแม้ว่าผู้ท่จะเข้าเป็นสมาชิกในคลับดังกล่าวจะต้องจ่าย



ยังคงเป็นความเช่อท่ว่ามันคือปัจจัยท่ช้ขาดของ ค่าสมัครด้วยราคาแสนแพงก็ตาม”



ชัยชนะในการรบบนผิวน�้า
นาวิกศาสตร์ 41
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕



ใน ค.ศ. ๑๙๒๒ มหาอานาจตะวันตกได้ลงนามร่วมกัน





ในสนธิสัญญาจากัดขนาดของเรือรบผิวนา และญ่ปุ่นซ่ง








เพงเขาร่วมภาคดังกลาวกจาตองยอมลงนามถงแมจะไมส ้ ู



พอใจนักก็ตาม
ท่เป็นดังน้นก็เพราะสหรัฐอเมริกาและอังกฤษได้รับ



อนุญาตให้มีเรือประจัญบานได้ประเทศละ ๑๕ ลา ในขณะท ี ่


ญ่ปุ่นได้รับอนุญาตให้มีเรือประจัญบานได้เพียง ๙ ลา



ด้วยเง่อนไขดังกล่าว ทาให้นักยุทธศาสตร์ของญ่ปุ่นเร่ม


เปล่ยนแปลงความคิดท่ว่า ญ่ปุ่นจาเป็นจะต้องมีเรือ



ประจัญบานในจ�านวนเท่ากับอังกฤษและสหรัฐอเมริกา

แต่ส่งท่ญ่ปุ่นหันไปให้ความสาคัญก็คือ พวกเขาควร ยามาโต้ขณะแล่นในทะเล






จะสร้างเรือประจัญบานขนาดยักษ์ท่มีอานุภาพสูงสุด ยาโมโต้จึงน่าจะปลอดภัยสาหรับทุก ๆ คนท่อยู่






สามารถทาลายล้างเรือประจัญบานข้าศึกได้หลายลา บนเรอ แต่ถ้าเม่อไหร่ทยาโมโต้จะถกจม มนน่าจะหมายถึง


ในคราวเดียว ว่าประเทศญี่ปุ่นก�าลังจะล่มสลายตามไปด้วย



หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ “จานวนเรือ” ไม่ใช่ประเด็นสาคัญ แต่ไม่ว่าลูกเรือจะมีความเช่ออย่างไร ในท้าย



แต่ “อานุภาพ” ในการรบบนผิวน�้าต่างหากที่ส�าคัญกว่า ท่สุดแล้วภารกิจอันน่าสะพรึงกลัวคร้งสุดท้ายท่เรือ





เม่อถึงจุดน้นญ่ปุ่นรู้แล้วว่าพวกเขาจะต้องสร้าง ลาน้ได้รับมอบหมายก็แสดงให้เห็นว่ายุคสมัยของ


เรือประจัญบานท่มีสมรรถนะเหนือกว่าเรือประจัญบาน เรือประจัญบานท่มีอานุภาพในการยิงสูงสุดส้นสุดลง


ของชาติมหาอานาจตะวันตกและทุกอย่างจะต้องกระทา แล้วและเรือประจัญบานไม่อาจต้านทานการโจมตีจาก

ในลักษณะปกปิดเป็นความลับอย่างสุดยอด ฝูงบินข้าศึกได้


เคนจิ โอซาวะ อดีตลูกเรือของยามาโต้ซ่งเป็น หน่วยข่าวกรองสหรัฐอเมริกาในยุคน้น เช่อว่า


หนึ่งในจ�านวน ๒๙๖ คนที่รอดชีวิตเล่าว่า ยามาโต้เป็นเรือประจัญบานท่มีขนาดเทียบได้กับ



“ตอนท่ข้นไปอยู่บนเรือใหม่ ๆ ความรู้สึกของผม เรือประจัญบานรุ่นใหม่ของกองทัพเรือ ท้งท่ในความเป็นจริง



บอกกับตนเองว่ายามาโต้ช่างเป็นเรือประจัญบานท่ม ี ยามาโต้มีขนาดใหญ่กว่าเรือประจัญบานท่ใหญ่ท่สุดของ




ขนาดใหญ่โตอะไรถึงเพียงน้ มันจึงไม่ใช่เร่องแปลกท่ทุกคน อเมริกันถึงสองเท่า




บนเรือจะต้องเคย หลงทาง เดินกลับไปยังท่พักของ เหตุท่เป็นเช่นน้นก็เน่องจากว่ากองทัพเรือญ่ปุ่น




ตนเองไม่ถูก และลูกเรือท้ง ๓,๐๐๐ คน ก็ไม่อาจรู้จัก ต้องการสร้างเรือท่มี “ป้อมปืน” ขนาดใหญ่ท่สุดเท่าท ่ ี
คุ้นเคยกันได้ท้งหมด ผมกล้ารับรองได้เลยว่าทุกคนท่เป็น จะเป็นไปได้




สมาชิกของยามาโต้ต่างก็เคยเจอกับปัญหากลับท่พัก ดังน้นดาดฟ้าเรือยามาโต้จึงต้องมีความกว้างมาก
ตนเองไม่ถูกแล้วท้งส้น อีกส่งหน่งท่ทุกคนมีความรู้สึก เพียงพอที่จะรองรับป้อมปืนเหล่านั้น





เหมือน ๆ กันก็คือ ยามาโต้เป็นเรือประจัญบานท ่ ี “นางามิ อูชิตะ” อดีตลูกเรือผู้รอดชีวิตของยามาโต้
ไม่มีวันจม มันคือเรือรบท่เป็นอมตะ โดยเฉพาะช่อของ อีกคนหนึ่งเล่าถึงป้อมปืนของพวกเขาว่า






เรือซ่งหมายถงประเทศญ่ปุ่น ดงนนทางกองทัพเรือย่อม “ในยุคน้น เม่อผู้บังคับการเรือจะส่งให้ทาการยิง








ไม่มีวันท่จะปล่อยให้เรือลาน้ถูกข้าศึกทาลายล้าง เจ้าหน้าที่จะเปิดสัญญาณเตือนก่อน เพื่อให้ทุกคนได้รู้ว่า






ลงไปได้เลย อีกทั้งตัวเรือก็ถูกสร้างด้วยเหล็กกล้าซึ่งเป็น แผนกอาวุธกาลังจะใช้ป้อมปืนท่มีขนาดใหญ่ท่สุดท่ติดต้ง ั
เหล็กหุ้มเกราะอย่างหนาและดีที่สุดในยุคนั้น” อยู่บนเรือ เมื่อทุกคนได้ยินสัญญาณนั้น สิ่งที่ต้องท�าก็คือ
นาวิกศาสตร์ 42
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕








การว่งเข้าหาท่กาบังแล้วยกมืออุดหู ใครก็ตามท่อาจหาญ ข้นไปด้วยเม่อต้องแล่นในทะเล ดังน้นเพ่อแก้ไขจุดอ่อน


ยืนอยู่บนดาดฟ้าเปิดโล่ง ๆ จะมีสภาพไม่ต่างอะไรกับ ดังกล่าว ฝ่ายออกแบบของกองทัพเรือจึงกาหนดให้





เศษไม้ท่ปลิวกระเด็นไปไกลในวินาทีท่ป้อมปืนของ ยามาโต้ม “โดม” หวเรอขนาดใหญ่ยนออกไปข้างหน้า






ยามาโต้ปล่อยกระสุนออกไป” ยาวประมาณ ๓ เมตร ท้งน้ก็เพ่อให้คล่นท่เกิดจากโดม


การยิงกระสุนปืนใหญ่ท่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง หัวเรือเป็นตัวปะทะกับคล่นขนาดใหญ่ ซ่งจะเป็นแรง




ลากล้องถึง ๑๘ น้ว และโคจรด้วยความเร็วเหนือเสียง ต้านการขับเคลื่อนของเรือ


ท�าให้บังเกิดเสียงดังสนั่นหวั่นไหวราวกับฟ้าถล่ม การคานวณของนักออกแบบเป็นไปอย่างถูกต้อง
คนรุ่นหลังอาจไม่เช่อว่ากระสุนของยามาโต้แต่ละนัด เพราะโดมหัวเรือยามาโต้ช่วยลดแรงต้านจากคล่น


มีนาหนักมากเท่ากับ “รถยนต์” หนึ่งคันท่แล่นอยู่บนถนน ในทะเลอย่างได้ผล ทาให้มันสามารถแล่นได้เร็วถึง ๒๘ นอต










และด้วยความใหญ่โตของกระสุนท่กล่าวมา อานาจในการ แมวาตวเลขความเร็วดงกลาว อาจจะทาใหหลายคนไมรสก



ู้







“ทะลทะลวง” ของมนจงสามารถเจาะเกราะหนาไดเกอบ ต่นเต้นแม้แต่น้อย แต่หากพิจารณาถึงระวางขับนาของ




สองฟุต ดังน้นเพ่อรองรับนาหนักของป้อมปืน และแรง ยามาโต้ซ่งมีระวางขับนาถึง ๖๙,๑๐๐ ตัน ลองคิดดูเถอะว่า











สะท้อนของปืนอันเกิดจากการยิง เรือยามาโต้จึงจาเป็น มนเป็นเร่องท่น่าอศจรรย์ใจแค่ไหน ทเรอขนาดมหมา




จะต้องถูกออกแบบให้มีความกว้างเป็นพิเศษ สามารถท�าความเร็วได้มากถึงเพียงนี้

เม่อเปรียบเทียบกับเรือประจัญบานของ ความใหญ่โตของเรือประจัญบานยามาโต้คิดเป็น
อเมริกันแล้ว ถึงแม้ว่ายุทธศาสตร์ของสหรัฐอเมริกา ประมาณ ๑.๕ เท่า ของเรือประจัญบาน “มิสซูรี”

จะต้องเตรียมเรือเพ่อทาการรบสองมหาสมุทรคือใน แห่งสหรัฐอเมริกาท่มีระวางขับนา ๔๕,๐๐๐ ตัน และ




“แปซิฟิก” และ “แอตแลนติก” แต่ความกว้างของเรือ เรือประจัญบาน “บิสมาร์ค” ของเยอรมนี ซ่งมีระวางขับนา



ประจัญบานอเมริกันจะถูกจากัดด้วยความกว้างของ ถึง ๔๒,๐๐๐ ตัน


“คลองปานามา” ซ่งเป็นช่องทางเดียวท่อเมริกนจะนา สาหรับทหารเรือญ่ปุ่นแล้ว ยามาโต้ คือความภาคภูมิใจ





เรือรบของพวกเขาข้ามไปมาระหว่างสองมหาสมุทรได้ ของจักรพรรดินาวี ผู้เป็นเจ้าของเรือประจัญบานยักษ์


ด้วยเหตุท่คลองปานามามีความกว้าง ๑๑๐ ฟุต ดังน้น ที่มีขนาดความกว้าง ๒๕๐ เมตร ตัวเรือติดเกราะป้องกัน

เรือประจัญบานท่มีขนาดใหญ่ท่สุดของอเมริกันจึงม ี ตอร์ปิโดหนาถึง ๘ นิ้ว

ความกว้างมากที่สุดเพียง ๑๐๘ ฟุต กับ ๖ นิ้ว เพื่อให้ อย่างไรก็ตาม ในความภาคภูมิใจน้น นักประวัติศาสตร์

มันสามารถแล่นผ่านคลองปานามาไปได้ สงครามยุคหลังได้ตั้งข้อสังเกตและวิจารณ์ว่า



ตรงกนข้ามกบเรือยามาโต้ซงเป็นของกองทพเรอ “กองทัพเรือญ่ปุ่นไม่เคยนาเรือยามาโต้ออกปฏิบัต ิ










ญ่ปุ่น ประเทศท่มีลักษณะภูมิศาสตร์เป็นเกาะล้อม ภารกิจอย่างแท้จริงนับต้งแต่มันถูกสร้างข้นมา ท่เป็นดังน้น


รอบด้วยทะเล เรือประจัญบานของญ่ปุ่นจึงไม่จาเป็น เน่องจากว่าพวกเขาไม่ยอมเส่ยงต่อการสูญเสียเรือรบ








ต้องอาศัย “คลอง” ในการออกเดินทางสู่ท้องทะเล ซงเป็นเสมอนสมบัติมูลค่ามหาศาลทไม่อาจหาสงใด




นักออกแบบของกองทัพเรือญ่ปุ่นจึงสามารถกาหนด มาทดแทนได้อีก”



ความกว้างให้กับเรือยามาโต้ได้ตามความพอใจโดยให้ ในความหมายน้นก็คือเม่อสงครามเกิดข้นแล้ว ญ่ปุ่น





สอดคล้องกับการติดต้งปืนขนาดยักษ์ รวมท้งการติดต้ง ย่อมไม่มีโอกาสท่จะสร้างเรือประจัญบานยักษ์แบบยามาโต้

แผ่นเกราะที่ “หนาที่สุด” เท่าที่เคยมีการสร้างมา ข้นมาได้อีกอย่างแน่นอน ข้อมูลหน่งซ่งยืนยัน


อย่างไรก็ตาม การมีความกว้างมากเกินไปในแง่ของ ความเป็นไปท่ว่ายามาโต้ถูกใช้อย่าง “ไม่คุ้มค่า” ก็คือ

การออกแบบแล้วจะท�าให้เกิด “แรงต้าน” จากคลื่นมาก นับตั้งแต่ปลายเดือนสิงหาคม ค.ศ. ๑๙๔๒ จนกระทั่งถึง
นาวิกศาสตร์ 43
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕




เดือนพฤษภาคม ค.ศ. ๑๙๔๓ เรือยามาโต้ได้ออกปฏิบัติการ เคร่องบินเข้าต่อตีซ่งกันและกันหลายระลอก แต่ฝ่าย
ในทะเลเพียง “วันเดียว” เท่านั้น อเมริกันได้เปรียบกว่าจึงสามารถทาลายเรือบรรทุก




ด้วยเหตุน้นายทหารและกาลังพลประจาเรือจึงมัก เครื่องบินได้ถึง ๔ ล�า ในเวลาเพียง ๒๔ ชั่วโมง
จะถูกล้อเลียนจากเพ่อนทหารเรืออยู่เสมอว่าพวกเขาเป็น

ก�าลังพลประจ�า “โรงแรมลอยน�้า” ที่มีชื่อว่า ยามาโต้
“เอกิ นามูระ” ผู้รอดชีวิตอีกคนหนึ่งกล่าวว่า


“ตอนท่อยู่เรือยามาโต้ ผมทาตัวตามสบาย และ


มความสขกบอาหารการกน เราได้กนขาวสวยรอน ๆ และ





มีเหล้าสาเกให้ดื่มฟรีอีกต่างหาก ไม่เหมือนกับทหารเรือ







ท่ประจาอยู่กับเรือลาอ่นซ่งต้องกินข้าวในปริมาณท่จากัด”
เรือประจัญบานยามาโต้เป็นเสมือน “ช้างเผือก”



ท่กองทัพเรือญ่ปุ่นภาคภูมิใจมากท่สุดและมันถูก
มอบหมายให้ท�าหน้าที่ “เรือธง” หรือเรือบัญชาการของ

จักรพรรดินาวี จนกระท่งเม่อสถานการณ์สงครามใน

แปซิฟิกพลิกผัน กองทัพเรือญี่ปุ่นเริ่มตกเป็นฝ่ายถอยร่น

พร้อมกับการสูญเสียท้งเรือรบและกาลังพลจานวนมาก พลเรือเอกนิมิตซ์ แม่ทัพเรือสหรัฐอเมริกา


ยามาโต้จึงถูกน�ามาใช้ในฐานะ “อาวุธลับ” ชิ้นสุดท้ายที่
เชื่อว่าสามารถยับยั้งการบุกของข้าศึกไว้ได้


การล่มสลายของจักรพรรดินาวีมจุดเร่มต้นมาจาก

การยุทธท่มิดเวย์ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. ๑๙๔๒ ซ่ง


ถือเป็นการรบระหว่างเรือบรรทุกเคร่องบินต่อเรือบรรทุก
เครื่องบินเป็นครั้งแรกของโลก



ในตอนน้นญ่ปุ่นมุ่งหวังท่จะทาลายเกาะมิดเวย์












ซงเป็นฐานทพของฝ่ายอเมรกนทใหญ่ทสดในแปซฟิก

กองเรือบรรทุกเคร่องบินของญ่ปุ่นพร้อมด้วยเรือคุ้มกัน


จานวนมากถูกส่งไปปฏบติภารกจดังกล่าว แต่โชคไม่



เข้าข้างจักรพรรดินาวี เพราะฝ่ายอเมริกันสามารถ แม่ทัพเรือสหรัฐอเมริการ่วมกันวางแผนการรบ




ถอดรหัสการติดต่อทางวิทยุของญ่ปุ่นได้ ทาให้พวกเขารู้ว่า ความพ่ายแพ้คร้งน้นทาให้กาลังอากาศนาวีท ่ ี


เป้าหมายของกองเรือญี่ปุ่นอยู่ที่มิดเวย์ แข็งแกร่งที่สุดของญี่ปุ่นกว่า ๓๓๐ เครื่อง รวมทั้งนักบิน





นายพลเรอนมตซ์จงนากองเรอบรรทกเครองบน ฝีมือดีท่เคยเปิดยุทธการโจมตีฐานทัพเรือเพิร์ลฮาร์เบอร์






ออกสกัดก้นและส่งอากาศยานจากเรือบรรทุกเคร่องบิน ในช่วงต้นสงครามมาแล้วถูกทาลายย่อยยับ นับจาก







เข้าโจมตีกองเรือบรรทุกเคร่องบินของญ่ปุ่น ในขณะท ่ ี บัดน้นเป็นต้นมา กาลังทางเรือของจักรพรรดินาวีก ็
ฝ่ายญป่นยงไม่ร้ด้วยซาว่ากองเรอบรรทกเครองบนของ อ่อนแอลงและไม่เคยฟื้นคืนตัวขึ้นมาอีกเลย












ศัตรูอยู่ที่ไหน ระหว่างการยุทธท่มิดเวย์ เรือประจัญบานยามาโต้





จนกระท่งเม่อการรบเปิดฉากข้น ท้งสองฝ่ายจึงส่ง ถูกใช้เป็นศูนย์บัญชาการและติดตามสถานการณ์อยู่ห่าง
นาวิกศาสตร์ 44
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕




จากเส้นขอบฟ้าไกลจากแนวรบเกือบ ๓๐๐ ไมล์ ท่เรือประจัญบานจะแล่นเข้าดวลปืนกันกาลังจะหมดไป



มันจึงไม่ได้มีโอกาสท่จะยิงปืนแม้แต่นัดเดียว การยุทธท่เกาะมิดเวย์เป็น “จุดเร่มต้น” ของการพลิกผัน
เพราะยามาโต้อยู่นอกรัศมีท�าการของเครื่องบินอเมริกัน โฉมหน้าของสงครามทางทะเลให้ก้าวสู่ของยุคการต่อสู้




ท่จะเข้าโจมตี ผลกระทบสาคัญท่สุดซ่งเกิดจากเรือยามาโต้ กันด้วยเรือบรรทุกเคร่องบินและผู้ท่มีกาลังอากาศนาวีท ี ่



หลังการยุทธที่มิดเวย์ก็คือ แข็งแกร่งกว่าจะเป็นผู้ชนะ


เรือประจัญบานยักษ์ซ่งเป็น “เรือธง” ของกองทัพเรือ หากมองย้อนกลับไปในช่วงต้นของสงคราม ญ่ปุ่นเอง


ญ่ปุ่นไม่มีกาลังคุ้มกันทางอากาศท่แข็งแกร่งอีกต่อไป น่าจะเป็นชาติแรกทค้นพบความเป็นไปในข้อน้ เพราะ






ท้งนี้เน่องจากการสูญเสียเรือบรรทุกเคร่องบินถึง ๔ ลา ฝูงบินของญ่ปุ่นสามารถโจมตีเรือประจัญบาน “ปรินซ์




ในยุทธนาวีครั้งนั้นเอง ออฟ เวล” ซ่งถือเป็นเรือธงของราชนาวีอังกฤษท่ถูกส่งมา



ยามาโต้จึงได้รับคาส่งให้ถอนตัวออกจากฐานทัพ ประจาการในสิงค์โปร์จนได้รับความเสียหายอย่างย่อยยับ




เข้าสู่พ้นท่ปลอดภัยและการทาศึกระหว่างเรือ และจมลงสู่ก้นทะเล สร้างความตกตะลึงให้แก่กองทัพ

ประจัญบานกับเรือประจัญบานอย่างท่ลูกเรือยามาโต้ อังกฤษเป็นอย่างมาก





หลายคนเคยฝันไว้ก็ไม่เคยเกิดข้น เอกิ นามูระ ในตอนนนญ่ปุ่นควรจะร้แล้วว่าเคร่องบนตด







ผู้รอดชีวิตคนหน่งของยามาโต้กล่าวถึงเหตุการณ์ ตอร์ปิโดและเคร่องบินดาท้งระเบิดจานวนมากสามารถ






ในช่วงนั้นว่า จมเรอประจญบานขนาดใหญ่ได้ในเวลาเพยงไม่ก่ชวโมง



“ตอนท่กองเรือของเราไปทาศึกท่มิดเวย์ ผมและ ของการโจมตี


เพ่อนทหารอีกหลายคนคาดหวังว่าเรือของเราคงได้ม ี แต่แทนท่กองทัพเรือญ่ปุ่นจะนาชัยชนะในคร้งนั้น










โอกาสปะทะกบเรอประจญบานของข้าศกสกครงเพอท ี ่ มากาหนดยุทธศาสตร์ของตนเอง พวกเขากลับคงความ




เราจะได้จมมันลงไปใต้ทะเลให้สมกับความย่งใหญ่ ม่นใจอยู่เช่นเดิมว่ายามาโต้เป็นเรือประจัญบานยักษ์ท ี ่


ของเรือที่เราประจ�าการอยู่ ไม่มีวันจมและอานุภาพการยิงจากปืนต่อสู้อากาศยาน



ผมเฝ้าภาวนาขอให้สงนันเป็นจรง แต่มนกไม่เคย จานวนมหาศาลท่ติดต้งอยู่บนเรือจะช่วยป้องกันเรือยักษ์







เกิดข้นและเรารู้สึกแปลกใจท่ยามาโต้ต้องเดินทางกลับ ให้รอดพ้นจากการโจมตีของเครื่องบินได้

ฐานทัพ พร้อมกับข่าวลือในหมู่ทหารว่ากองเรือของเรา ปลายเดือนมีนาคม ค.ศ. ๑๙๔๕ ช่วงสุดท้ายของ


เป็นฝ่ายเพลี่ยงพล�้าต่อข้าศึกในการรบที่มิดเวย์” สงครามโลกครงทสองในดานแปซฟกใกลเขามา พรอม ๆ











มันเป็นความจริงท่ว่ายุคสมัยของสงครามทางทะเล กับท่หัวเมืองใหญ่ของญ่ปุ่นตกเป็นเป้าการโจมตีแบบ
ยามาโต้ก่อนเข้าสู่สงครามช่วงสุดท้าย
นาวิกศาสตร์ 45
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕





รายวันของกองบินท้งระเบิดพันธมิตรสร้างความพินาศ กาลังบังคับเคร่องมุ่งสู่ลงทางว่งตามขั้นตอนของการ



ย่อยยับให้แก่ดินแดนอาทิตย์อุทัยอย่างมาก ลงจอด ทันใดน้นกามิกาเซเคร่องหน่งก็พุ่งปราดเข้ามา





กาลังรบท่เคยยิ่งใหญ่ของญ่ปุ่นซ่งเคยรุกรานไป อย่างรวดเร็วจนมองแทบไม่ทัน”
ยังดินแดนอันห่างไกล บัดน้ต้องถอยร่นกลับมาต่อสู้กับ “ผมรีบบังคับเคร่องให้เบนออกจากตาแหน่งเดิมแล้ว



ขัดขวางกองทัพข้าศึกซ่งกาลังรุกคืบใกล้เข้าสู่บ้านเกิด เหนี่ยวไกยิง เพื่อขัดขวางไม่ให้กามิกาเซเครื่องนั้นพุ่งชน


ของพวกเขาทุกขณะ เป้าหมายได้ ขณะที่ปืนต่อสู้อากาศยานบนเรือก็ระดมยิง
แต่ทางการพยายามปกปิดความจริงไม่ให้พลเรือน ขึ้นมาท�าให้กามิกาเซระเบิดขาดเป็นเสี่ยง ๆ ชิ้นส่วนของ












ในแนวหลงรวากองทพสหรฐอเมรกาสามารถรกคบเขามา มันปลิวกระจายกระเดนตกลงมาบนดาดฟ้าเรือ ทาให้
ยังเกาะทิเนียน ไซปัน และอิโวจิมา ได้อย่างเป็นขั้นตอน พวกลูกเรือหวาดกลัวกันมาก”
จนสามารถขยายระยะในการโจมตีทางอากาศต่อเป้าหมาย เจมส์ อี. สเวท ต้องเผชิญกับกามิกาเซอีกครั้งหนึ่ง
บนแผ่นดินใหญ่ของญี่ปุ่นได้อย่างต่อเนื่อง เม่อเขาย้ายไปประจาการบนเรือบรรทุกเคร่องบิน




ในเดือนเมษายนปีน้นเอง หลังจากยึด “อิโวจิมา” “บังเกอร์ฮิลล์” ซึ่งถูกกามิกาเซพุ่งชน ๒ เครื่องจนได้รับ

ได้แล้ว กองทัพสหรัฐอเมริกามุ่งเข้าใกล้เกาะโอกินาวาซ่ง ึ ความเสียหายอย่างหนัก แต่เขาได้เป็นผู้นาในการย้าย
อยู่ห่างจากแผ่นดินใหญ่ญี่ปุ่นเพียง ๓๐๐ ไมล์ เครื่องออกไปจากดาดฟ้าได้ก่อนที่เรือจม

เกาะโอกินาวาอยู่ห่างจากแผ่นดินใหญ่ของญ่ปุ่น “กามิกาเซเป็นส่งท่น่ากลัวในแง่ของจิตวิทยา







เพียง ๓๐๐ ไมล์ ตกเป็นเป้าหมายสุดท้ายท่อเมริกัน เราต้องยอมรบว่าลกเรือจานวนมากเสียขวญ และ




เคล่อนเข้ายึดครองก่อนท่จะยกพลข้นบกสู่แผ่นดินใหญ่ เกรงขามต่อปฏิบัติการฆ่าตัวตายในลักษณะน้นมาก


ของญี่ปุ่น พวกเขาไม่อยากเช่อเลยว่านักบินญ่ปุ่นจะยอมเอาชีวิต




ด้วยเหตุน้ ญ่ปุ่นต้องทาทุกวิถีทางเพ่อรบยืดเย้อเพ่อ ของตนเข้าแลกถึงเพียงนั้น”






ตรึงการบุกเกาะโอกินาวาไว้ให้ได้นานที่สุด แต่หากมองย้อนกลบไปยงฝ่ายญป่น สถานการณ์







แต่เน่องจากกองทัพญ่ปุ่นกาลังอ่อนแอ และ ในตอนน้นบีบบังคับพวกเขาให้ทาทุกวิถีทางเพ่อทาลาย



ขาดแคลนยทโธปกรณไมเหมอนกบในชวงตนของสงคราม เรือบรรทุกเคร่องบินของอเมริกันด้วยทุก ๆ ส่งท ี ่








เหล่าผู้บัญชาการของญ่ปุ่นจึงตัดสินใจใช้ “อาวุธลับ” พวกเขามีอยู่
เข้าต่อสู้กับข้าศึกและอาวุธท่ว่าน้นก็คือฝูงบิน “กามิกาเซ” เม่ออาวุธขาดแคลน ส่งท่เหลืออยู่และสามารถ







นั่นเอง หาได้อย่างไม่จากัดก็คือ “ชีวิตมนุษย์” ท่พร้อมจะ

เจมส์ อี. สเวท อดีตนักบินเฮลแคทของอเมริกันท่ได้รับ ยอมตายเพื่อชาติ



“เมดัล ออฟ ออนเนอร์” จากการยิงเครื่องบินข้าศึกตก ในยุคของสงคราม ส่งท่อเมริกันไม่อาจทาลายล้าง
๗ เคร่องในวันเดียวและเคยเผชิญกับการโจมตีของ ได้ก็คือ ความรู้สึกร่วมมือร่วมใจในการต่อสู้เพ่อชาต ิ








กามิกาเซในช่วงการรบใกล้เกาะโอกินาวาเล่าว่า ของชาวญป่น มนเป็นการผสมผสานกนระหว่างการถก







“กามิกาเซเป็นการโจมตีแบบฆ่าตัวตายอย่างบ้าคล่ง ั ปลกระดมให้รกชาตอย่างบ้าคล่งกบสานกความเป็น


ของพวกญ่ปุ่นมันเหมือนกับการทาฮาราคีรีทางอากาศ ชายชาตรีของชาวอาทิตย์อุทัยท่ถูกสอนมาแต่คร้ง




ในความพยายามอย่างส้นหวังท่จะทาลายกองเรือ บรรพบุรุษว่า

ของเรา” “พวกเขาจะต้องปกป้องครอบครัว ปกป้องพ่อแม่





“คร้งแรกท่ผมเจอกับกามิกาเซ ผมกาลังนา พี่สาว นองสาว และลูกหลานใหพนจากเงื้อมมือของศัตรู




เคร่องร่อนลงจอดทางดาดฟ้าท้ายของเรือ ขณะท่ผม ให้ได้”
นาวิกศาสตร์ 46
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕


รูปวาดของยามาโต้ วาดให้เห็นลักษณะที่ปรากฏประมาณ ค.ศ. ๑๙๔๕





เม่อนักบินซ่งเป็นทหารโดยแท้ถูกฆ่าตายหมดไป เราได้ยินแม้กระท่งเสียงของนักบินท่ถ่ายทอดทาง



เร่อย ๆ นักบินอาสาส่วนใหญ่ท่ถูกคัดเลือกเข้าอยู่หน่วยบิน วิทยุจากเคร่องบินของเขาว่าผมกาลังดาลงสู่เป้าหมาย







กามิกาเซจึงกลายไปเป็นพวกท่มาจากนักศึกษา จากนนเสียงของเขากเงยบหายไป ผมได้แต่ภาวนา
มหาวิทยาลัยไปจนกระท่งถึงเด็กหนุ่มท่เพ่งพ้นจาก สวดมนต์ขอให้วิญญาณของเขาไปสู่สุคติ”



โรงเรียนมัธยมมาได้ไม่นาน


หนังสือพิมพ์ในญ่ปุ่นเร่มยกย่องหน่วยบินกามิกาเซ (ติดตามต่อตอนที่ ๒)
และสร้างให้พวกเขาเป็น “วีรชน” ท่ได้รับการยกย่องบูชา

จากผู้คนท้งประเทศ มันเป็นวิธีการท่น่าต่นเต้น และทาให้




นักบินกามิกาเซพร้อมที่จะตายโดยไม่รู้สึกหวาดกลัว






ขณะทกามกาเซออกปฏบติการอย่างต่อเน่อง
เรือยามาโต้จอดอยู่ห่างจากสมรภูมิโอกินาวาประมาณ
๔๐๐ ไมล์ทางด้านทิศเหนือ เรือประจัญบานยักษ์สงบนิ่ง
อยู่ในฐานทัพเรือคูเระ รอคอยคาสั่งสุดท้ายในการออก

ปฏิบัติภารกิจ
เคนจิ โอซาวะ อดีตลูกเรือของยามาโต้เล่าว่า
“ในตอนนั้นเรารู้แล้วว่า นักบินกามิกาเซก�าลังออก
ปฏิบัติการในการบินแบบเท่ยวเดียว หลายคร้งท่ผมได้ยิน




คาประกาศทางเคร่องขยายเสียงว่าหน่วยบินกามิกาเซ

ระลอกใหม่ก�าลังจะเข้าโจมตีข้าศึก
นาวิกศาสตร์ 47
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕


ใบหัว ช้างบนยอดกาฟฟ์จะน�า กล่าวกันว่า มีการใช้ธงกันตั้งแต่โบราณกาล เป็นธง


“จะบินขึ้นไหมนี่” หลากส หลายรูปร่าง เพ่อใช้บอกหมวดหมู่ว่าใครเป็นใคร
นายทหารจัสแม็กชาวอเมริกันถามผู้เขียนขณะ ในพวกพ้องหรือกองทหาร การเดินเรือของนานาชาติก็จะม ี

รับราชการในกรมข่าวทหารเรือ วันหนึ่งใน พ.ศ. ๒๕๓๒ ธงประจาเรือบอกว่าเป็นเรือชาติใด ตามตานานบอกว่าเรือใบ


กล่าวคือ ผู้เขียนได้ติดตามผู้บังคับบัญชาท่ท่านจะไป สินค้าในรัชสมัยรัชกาลท ๓ ท่การค้ารุ่งเรือง เรือสินค้าไทย






เย่ยมชมศูนย์ส่อสารทหารของสหรัฐอเมริกาท่อยู่ใน ใช้ธงสีแดงส่เหล่ยมผืนผ้า แสดงสัญชาติไทย ต่อมาเห็นว่า







จังหวัดหน่งของภาคอีสาน โดยไปข้นเคร่องบินทหารเรือไทย สีแดงโล้น ๆ ซ่งไม่ได้บอกความเป็นไทยอะไรเลย ก็เพ่มรูปช้าง

ท่สนามบินดอนเมือง เครื่องบินมีเครื่องหมายธงราชนาวี รูปกงจักร ลงบนธงสีแดงใช้กันท้งทางราชการ และชาวบ้าน



ท่แพนหางเคร่อง ซ่งนายทหารจัสแม็กเห็นรูปช้างในธง บางทีชักธงเอาช้างหงายท้องก็ม ท้งน้ก็เพราะว่าช้างเป็นสัตว์





ราชนาวก็เลยเปรยให้ฟังว่า โดยมากท่เคร่องบินนานาชาต ิ ท่มีบุญคุณต่อชาติไทย ท้งทางการสงคราม ทางเศรษฐกิจ




ไม่ว่าจะเป็นเคร่องบินโดยสาร เคร่องบินทหาร หรือเคร่องบิน และทางสังคม ถือเป็นนิมิตเอาช้างไว้ในธงด้วยโดยท่ช้าง







อ่นใดมักมีรูปสัตว์ประดับลาตัวเคร่องบิน ท่ส่วนใหญ่เป็น เป็นสัตว์ขนาดใหญ่ และนาหนักมากช้างในการสงคราม



รูปนกบ้างเป็นสัตว์บกอย่างเสือ จิงโจ้ ไม่มีหรือไม่เคยเห็น โบราณจึงมีสถานะเสมือนรถถังในปัจจุบัน ท่สามารถ




รูปสัตว์นา แต่ท่เป็นรูปช้างเห็นจะมีท่เดียวคือท่เคร่องบิน ทะลุทะลวงแนวทหารข้าศึกได้ ดังเช่น ช้างของสมเด็จ



ทหารเรือไทย? ซ่งช้างเป็นสัตว์ขนาดใหญ่ นาหนักมาก พระนเรศวรมหาราชในการรบกับกองทัพพม่าทสุพรรณบุร ี






จึงเป็นท่มาของคาถามเย้า ๆ ว่า “จะบินข้นใหมน ?” เพราะ เม่อต้น พ.ศ. ๒๑๒๓ ได้ว่งฝ่าไพร่พลทหารพม่าจน






มีช้างในธงราชนาว อันเป็นตราบนเคร่องบินทหารเรือไทย ประจัญหน้ากับพระมหาอุปราชของพม่า แล้วกระทา






มองไปรอบ ๆ เมืองไทยว่า หน่วยงานใดมีรูปช้างอยู่ใน ยุทธหัตถีกันดังท่ทราบกันด ส่วนรถถังน้น ในสงครามโลก

ตราของหน่วยงานบ้าง ก็แทบไม่มีเลยนอกจากหน่วยงาน คร้งท ๒ ทหารเยอรมันใช้ยุทธวิธ “สายฟ้าแลบ” (Blitzkrieg)




เอกชนทมตราช้างกนบ้าง เคยเหนแว่บ ๆ ในวงการทูต ด้วยกองพลรถถังเป็นหัวหอกรุกคืบทางตะวันตก ยึดครอง





ก็ไม่แน่ใจว่ามีช้างอยู่บ้างหรือไม่ ช้างเป็นสัตว์บกท่น่าจะ เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และฝร่งเศสจรดช่องแคบอังกฤษ


เห็นบ่อย ๆ ในตราหรือสัญลักษณ์ของหน่วยงานท้งหลาย เม่อฝ่ายสัมพันธมิตรตอบโต้ยกพลข้นบกท่ฝร่งเศสแล้วถึง




แต่กลับเห็นได้บ่อย ๆ ท่หน่วยงานทหารเรือ-ท่ธงราชนาว ี พรมแดนเยอรมัน เพ่อบารุงขวญประชาชน และป้องกัน





48
นาวิกศาสตร์
ปีที่ ๑๐๕ เล่มที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๕


Click to View FlipBook Version