The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 1 ปฐมนิเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หน่วยที่ 1 ปฐมนิเทศ

หน่วยที่ 1 ปฐมนิเทศ

แผนการจัดประสบการณ์
ระดบั ชั้นปฐมวัย ชน้ั อนุบาลปีท่ี ๒

ภาคเรยี นท่ี ๑

หน่วยท่ี ๑ ปฐมนเิ ทศ

การวิเคราะหโ์ ครงสร้างหน่วยการจัดประสบการณต์ ามหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐

หนว่ ยที่ ๑ ปฐมนิเทศช้ันอนบุ าลปีที่ ๑ – ๓ ภาคเรียนท่ี ๑

รายการ อนบุ าลปที ่ี ๑ อนุบาลปที ี่ ๒ อนบุ าลปที ่ี ๓

สาระท่ีควรเรยี นรู้ ๑. ชือ่ ครแู ละช่อื พี่เลี้ยง ๑. การปฏิบตั ิตนในการรับประทานอาหาร ๑. การปฏบิ ตั ติ นในการรับประทานอาหาร
๒. ชือ่ ตนเอง ๒. การปฏิบัตกิ จิ วัตรประจําวนั / กจิ กรรมต่างๆ ๒. การปฏบิ ตั ิกิจวตั รประจาํ วัน/ กิจกรรมตา่ งๆ
๓. สญั ลกั ษณ์ประจําตัวและของใช้ส่วนตวั ด้วยตนเอง ดว้ ยตนเอง
ของเด็ก ๓. การเลน่ และทาํ กิจกรรมดว้ ยตนเอง และกับผู้อืน่ ๓. การเล่นและทาํ กิจกรรมด้วยตนเองและกับผู้อนื่
๔. การปฏิบตั ิกิจวตั รประจาํ วัน ไดอ้ ย่างปลอดภัย ได้อยา่ งปลอดภยั
๕.การเล่นอย่างปลอดภัย ๔. การพดู แนะนําช่อื ของตนเอง ๔. การพูดแนะนําชื่อเด็กช่ือครูชื่อพเ่ี ลยี้ ง และ
๕. ชือ่ ครูประจาํ ช้นั ชอื่ ครพู ่เี ลี้ยง ช่อื เพื่อน
๖. การแนะนําสัญลกั ษณ์ประจําตัวของเด็ก ๕. การแนะนําสญั ลักษณ์ประจําตวั ของเด็กและ
และของใช้ส่วนตวั ของใชส้ ่วนตัว
๗. การแนะนํา และสาํ รวจสถานท่ีต่างๆ เก่ยี วข้อง ๖. การแนะนาํ และสํารวจสถานท่ีตา่ งๆในโรงเรียน
กบั ตนเอง เชน่ ห้องเรียน โรงอาหาร หอ้ งน้ำ เช่น ห้องเรยี น โรงอาหาร ห้องนำ้ อาคารเรยี น
๘. การปฏบิ ัติตนตามมารยาทไทย สนามเดก็ เลน่ และ การใช้หอ้ งน้ำทถี่ ูกวธิ ี
- การสวัสดี– การขอบคุณ- การขอโทษ ๗. การปฏิบัตติ นตามข้อตกลงของห้องเรยี น
๙. การพูดแสดงความคิดความรู้สึก และ ๘. การปฏบิ ัตติ นตามมารยาทไทย
ความตอ้ งการ - การสวัสดี- การขอบคุณ
๑๐. การบอกลกั ษณะของส่ิงตา่ งๆจากการสังเกต - การขอบใจ- การขอโทษ
โดยใช้ประสาทสมั ผัส ๙. การพดู เล่าเรือ่ งราวท่ีเก่ียวกบั ตนเอง
๑๐. การบอกลกั ษณะของสงิ่ ตา่ งๆ จากการสังเกต
โดยใช้ประสาทสมั ผสั

รายการ อนุบาลปีที่ ๑ อนบุ าลปีท่ี ๒ อนบุ าลปที ่ี ๓

มาตรฐาน มฐ ๑ ตบช ๑.๓ (๑.๓.๑) มฐ ๑ ตบช๑.๒ (๑.๒.๑) (๑.๒.๒) มฐ ๑ ตบช ๑.๒ (๑.๒.๑) (๑.๒.๒)
ตัวบ่งชี้ มฐ ๒ ตบช ๒.๑ (๒.๑.๑) (๒.๒.๒) ตบช ๑.๓ (๑.๓.๑) ตบช ๑.๓ (๑.๓.๑)
สภาพท่ีพงึ ประสงค์ มฐ ๔ ตบช ๔.๑ (๔.๑.๑) (๔.๑.๓)
มฐ ๖ ตบช ๖.๑ (๖.๑.๒) (๖.๑.๓) มฐ ๒ ตบช ๒.๑ (๒.๑.๓) มฐ ๒ ตบช ๒.๑ (๒.๑.๓)
ประสบการณ์สําคัญ มฐ. ๓ ตบช ๓.๒ (๓.๒.๑) มฐ ๓ ตบช ๓.๒ (๓.๒.๑)
ตบช ๖.๒ (๖.๒.๑) มฐ ๔ ตบช ๔.๑ (๔.๑.๑) (๔.๑.๓) มฐ ๔ ตบช ๔.๑ (๔.๑.๑) (๔.๑.๓)
มฐ ๘ ตบช ๘.๓ (๘.๓.๑) มฐ ๕ ตบช ๕.๑ (๕.๑.๑) มฐ ๕ ตบช ๕.๑ (๕.๑.๑)
มฐ ๑๐ ตบช.๑๐.๒ (๑๐.๒.๒) มฐ ๖ ตบช ๖.๒ (๖.๒.๑) มฐ ๖ ตบช ๖.๑ (๖.๑.๑)
มฐ ๗ ตบช ๗.๒ (๗.๒.๑)
มฐ ๘ ตบช ๘.๒ (๘.๒.๑) ตบช ๖.๒ (๖.๒.๑)
มฐ ๑๐ ตบช ๑๐.๑ (๑๐.๑.๑) มฐ ๗ ตบช ๗.๑ (๗.๑.๒)
มฐ ๑๒ ตบช ๑๒.๒ (๑๒.๑.๒)
ตบช ๗.๒ (๗.๒.๒)
ร่างกาย ร่างกาย มฐ ๘ ตบช ๘.๒ (๘.๒.๑)
๑.๑.๑ (๑) การเคลือ่ นไหวอยู่กับท่ี ๑.๑.๑ (๑) การเคลอื่ นไหวอยู่กับที่ มฐ ๙ ตบช ๙.๑ (๙.๑.๒)
มฐ ๑๐ ตบช ๑๐.๑ (๑๐.๑.๑)
(๒) การเคล่ือนไหวเคลื่อนท่ี (๒) การเคลอื่ นไหวเคล่อื นท่ี มฐ ๑๒ ตบช ๑๒.๑ (๑๒.๑.๒)
๑.๑.๒ (๒) การเขยี นภาพ (๕) การเลน่ เครื่องเลน่ สนามอย่างอสิ ระ ร่างกาย
๑.๑.๔ (๑) การปฏิบตั ติ นใหป้ ลอดภัยใน ๑.๑.๒ (๒) การเขียนภาพและการเล่นกับสี
กิจวตั รประจําวนั (๓) การป้นั ๑.๑.๑ (๑) การเคลือ่ นไหวอยู่กับท่ี
๑.๑.๓ (๑) การปฏิบัติตามสขุ อนามยั สขุ นิสัย
(๓) การเล่นเครื่องเลน่ อย่างปลอดภยั ท่ดี ีในกจิ วตั รประจําวัน (๒) การเคลอื่ นไหว เคล่ือนท่ี

(๕) การเล่นเครอื่ งเล่นสนามอย่างอิสระ

๑.๑.๓ (๒) การเขยี นภาพและการเลน่ กบั สี

(๓) การป้ัน

๑.๑.๓ (๑) การปฏิบตั ิตามสขุ อนามัยสขุ นิสัยท่ีดี

ในกจิ วัตรประจําวัน

รายการ อนบุ าลปที ่ี ๑ อนุบาลปีที่ ๒ อนบุ าลปที ี่ ๓

อารมณ์ ๑.๑.๔ (๑) การปฏบิ ตั ติ นให้ปลอดภยั ใน ๑.๑.๔ (๑) การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยในกจิ วัตร
๑.๒.๑ (๓) การเคล่ือนไหวตามเสียงเพลง
๑.๒.๔ (๕) การทาํ งานศลิ ปะ กจิ วัตรประจําวนั ประจาํ วัน

สงั คม (๓) การเลน่ เคร่อื งเลน่ อยา่ งปลอดภยั (๓) การเลน่ เคร่อื งเล่นอยา่ งปลอดภยั
๑.๓.๑ (๑) การช่วยเหลือตนเองใน
ชีวติ ประจาํ วัน อารมณ์ อารมณ์
๑.๓.๔ (๒) การปฏิบตั ติ นเปน็ สมาชกิ ท่ดี ี
ของห้องเรยี น ๑.๒.๑ (๓) การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี ๑.๒.๑ (๓) การเคล่ือนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี

๑.๒.๒ (๑) การเล่นอสิ ระ ๑.๒.๒ (๑) การเลน่ อิสระ

(๒) การเลน่ รายบคุ คลกลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ (๒) การเลน่ รายบคุ คล กลมุ่ ยอ่ ยและกลมุ่

(๓) การเล่นตามมุมประสบการณ์/มมุ เล่น ใหญ่

ต่างๆ (๓) การเล่นตามมมุ ประสบการณ/์ มมุ เล่น

๑.๒.๔ (๕) การทาํ งานศลิ ปะ ต่างๆ

๑.๒.๔ (๕) การทํางานศลิ ปะ

สงั คม สังคม
๑.๓.๑ (๑) การชว่ ยเหลอื ตนเองในชีวติ ประจาํ วนั ๑.๓.๑ (๑) ชว่ ยเหลือตนเองในชวี ติ ประจาํ วัน
๑.๓.๓ (๑) การเลน่ บทบาทสมมติการปฏิบตั ิ ๑.๓.๒ (๑) การมีส่วนร่วมรับผิดชอบดแู ลรักษา
ตนในความเป็นไทย สิง่ แวดลอ้ มท้ังภายในและภายนอกห้องเรียน
๑.๓.๓ (๑) การปฏบิ ตั ิตนในความเป็นไทย
(๕) การละเลน่ พ้นื บา้ นของไทย ๑.๓.๔ (๑) การรว่ มกาํ หนดข้อตกลงของห้องเรียน
๑.๓.๔ (๒) การปฏบิ ตั ติ นเปน็ สมาชกิ ท่ดี ีของ
ห้องเรียน (๒) การปฏิบตั ิตนเป็นสมาชกิ ท่ดี ีของ
หอ้ งเรียน

(๓) ให้ความรว่ มมอื ในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม

รายการ อนบุ าลปีที่ ๑ อนบุ าลปที ่ี ๒ อนุบาลปีที่ ๓

คณติ ศาสตร์ ตา่ งๆ
วทิ ยาศาสตร์
พฒั นาการทางภาษา (๔) การดแู ลห้องเรียนร่วมกัน
และการรหู้ นงั สอื
สติปัญญา สติปัญญา สติปญั ญา
๑.๔.๑ (๑) การฟังเสียงตา่ งๆในสงิ่ แวดลอ้ ม
๑.๔.๑ (๑) การฟงั เสียงต่างๆในสิง่ แวดล้อม ๑.๔.๑ (๑) การฟังเสยี งตา่ งๆในส่ิงแวดล้อม
(๒) การฟงั และปฏบิ ัติตามคาํ แนะนํา
๑.๔.๒ (๑) การสงั เกตลกั ษณะโดยใช้ (๒) การฟงั และปฏบิ ัติตามคําแนะนํา (๒) การฟังและปฏบิ ตั ิตามคาํ แนะนํา
ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม
(๔) การพดู แสดงความคดิ เหน็ ความรสู้ ึกและ (๕) การพูดเร่อื งราวเก่ียวกบั ตนเอง
(๖) การต่อของช้ินเลก็ เติมในช้ินใหญ่
ให้สมบูรณ์ ความต้องการ ๑.๔.๒ (๑) การสงั เกตลกั ษณะสว่ นประกอบการ

- ๑.๔.๒ (๖) การตอ่ ของชิน้ เลก็ เตมิ ในชนิ้ ใหญ่ เปลี่ยนแปลงและความสมั พันธ์ของ
-
- ให้สมบูรณ์ ส่งิ ตา่ งๆ โดยใชป้ ระสาทสมั ผัสอยา่ ง

(๑๓) การจบั คู่ภาพเหมือนและความสัมพนั ธ์ เหมาะสม

๑.๔.๔ (๑) การสํารวจสิ่งต่างๆและแหล่ง ๑.๔.๔ (๑) สํารวจสง่ิ ต่างๆและแหลง่ เรียนรรู้ อบตวั

เรยี นรู้รอบตัว

--

--

--

หน่วยการจัดประสบการณ์ท่ี ๑ ปฐมนเิ ทศ อนบุ าลปีท่ี ๒
แนวคิด

ปฐมนิเทศเป็นสัปดาห์แรกที่ครูแนะนำเด็กให้มีความคุ้นเคยเกี่ยวกับ โรงเรียน ของใช้ส่วนตัว ชื่อตนเอง ชื่อเพื่อน ชื่อครู ชื่อพ่ี เลี้ยง สัญลักษณ์
ประจำตัว สถานที่ในโรงเรียน การปฏิบัติตนตามข้อตกลงและมารยาทไทย เพื่อนำมาใช้ในกิจวัตรประจำวันได้อย่างถูกต้อง การปฏิบัติตนตามสุข อนามัย
สขุ นิสยั ทีด่ ี การเล่นและทำกจิ กรรมรว่ มกับกลุม่ เพ่อื น การแบ่งปัน และการอย่รู ่วมกบั ผ้อู น่ื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข

มาตรฐานหลักสูตรปฐมวยั จดุ ประสงคก์ าร สาระการเรียนรู้

มาตรฐาน ตัวบง่ ช้ี สภาพท่ีพึงประสงค์ เรียนรู้ ประสบการณ์สำคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู้

มาตรฐานที่ ๑ ๑.๒ มสี ขุ ภาพอนามัยสขุ ๑.๒.๑ รบั ประทาน ๑. รับประทานอาหาร ๑.๑.๓ การรกั ษาสขุ ภาพ ๑. การปฏบิ ตั ิตนในการ
ร่างกายเจริญเติบโต
ตามวยั และมีสขุ นสิ ยั นสิ ยั ทดี่ ี อาหารทมี่ ปี ระโยชน์ ที่มีประโยชน์ได้หลาย อนามัยสว่ นตน รับประทานอาหาร

ได้หลายชนิดและดม่ื ชนิดและดื่มน้ำสะอาด (๑) การปฏิบัตติ นตาม ๒. การปฏบิ ัตกิ ิจวัตรประจาํ วนั /

น้ำสะอาดได้ดว้ ยตนเอง ได้ดว้ ยตนเอง สขุ อนามยั สุขนสิ ยั ท่ีดีใน กจิ กรรมตา่ งๆดว้ ยตนเอง

ชวี ิตประจำวนั ๓. การเลน่ และทาํ กิจกรรมดว้ ย

๑.๒.๒ ล้างมือกอ่ น ตนเองและกบั ผู้อื่นได้อยา่ ง
รบั ประทานอาหาร
แหละหลงั จากใช้ ๑.๒ ลา้ งมือกอ่ น ๑.๓.๑ การปฏิบตั ิกิจวตั รประจำวัน ปลอดภัย
ห้องน้ำหอ้ งส้วมด้วย
ตนเอง รับประทานอาหาร (๑) การช่วยเหลือตนเองในกิจวตั ร ๔. การพดู แนะนําช่อื ของตนเอง

แหละหลังจากใช้ ประจำวัน ๕. ช่ือครูประจาํ ชัน้ ชือ่ ครูพี่เลี้ยง

หอ้ งนำ้ หอ้ งส้วมดว้ ย ๖. สัญลักษณ์ประจาํ ตัวของเด็ก

ตนเอง ๗. การเดนิ สาํ รวจสถานที่ตา่ งๆท่ี

๑.๓ รักษาความ ๑.๓.๑ เล่น ทำ ๑.๑.๔ การรกั ษาความปลอดภยั เกย่ี วของกับ ตนเอง เช่น

ปลอดภยั ของตนเองและ กจิ กรรมและปฏิบตั ิตอ่ ๑.๓ เล่น ทำกิจกรรม (๑) การปฏิบัตติ นให้ปลอดภัยใน ห้องเรียนหอ้ งอาหาร ห้องน้ำ

ผู้อน่ื ผูอ้ ่ืนอยา่ ง และปฏบิ ตั ติ ่อผู้อน่ื กจิ วตั รประจำวนั ๘. การปฏบิ ตั ิ ตนตามมารยาท

ปลอดภยั อยา่ งปลอดภยั (๓) การเลน่ เครื่องเล่นอย่าง ไทย

ปลอดภัย - การสวัสดี

- การขอบคุณ

มาตรฐานหลักสตู รปฐมวยั จุดประสงค์การ สาระการเรียนรู้
เรียนรู้
มาตรฐาน ตวั บง่ ชี้ สภาพท่พี งึ ประสงค์ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้
๔. วงิ่ หลบหลีกส่ิงกีด
ขวางได้ - การขอโทษ

๙. การพดู แสดงความคดิ

ความรู้สึก และความต้องการ

๑๐. การบอกลกั ษณะของสิ่ง

ตา่ งๆ

มาตรฐานที่ ๒ ๒.๑ เคลื่อนไหวร่างกาย ๒.๑.๓ ว่ิงหลบหลกี สงิ่ ๑.๑.๑ การใชก้ ลา้ มเน้อื ใหญ่
กลา้ มเนื้อใหญแ่ ละ
กลา้ มเนอื้ เลก็ แข็งแรง อย่างคล่องแคลว่ กีดขวาง (๑) การเคล่ือนไหวอย่กู ับท่ี
ใชไ้ ดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่
และประสานสมั พนั ธ์กัน ประสานสัมพันธ์และ (๒) การเคล่ือนไหวเคลื่อนท่ี

ทรงตัวได้ (๕) ดารเล่นเครือ่ งเล่นสนามอยา่ ง

อสิ ระ

มาตรฐานที่ ๓ ๓.๒ มีความรู้สึกที่ดตี อ่ ๓.๒.๑ กลา้ พดู กล้า ๕. กล้าพดู กลา้ ๑.๔.๑ การใชภ้ าษา

มีสุขภาพจิตที่ดีและมี ตนเองและผอู้ น่ื แสดงออกอย่าง แสดงออกอยา่ ง (๒) การฟังและปฏบิ ัติตาม

ความสุข เหมาะสมบาง เหมาะสม คำแนะนำ

สถานการณ์ ๖. กล้าพูดกล้า (๔) การพูดแสดงความคิด

แสดงออกอยา่ ง ความรสู้ กึ และความต้องการ

เหมาะสม

มาตรฐานท่ี ๔ ๔.๑ สนใจ มคี วามสขุ ๔.๑.๑ สนใจ ๗. แสดงความพอใจ ๑.๑.๒ การใช้กลา้ มเน้อื เลก็

ชื่นชมและแสดงออกทาง และแสดงออกผา่ นงาน มคี วามสุขและ ในผลงานของตน (๒) การเขียนภาพและการเล่นกับสี

ศิลปะ ดนตรี และการ ศิลปะ ดนตรี และการ แสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ (๓) การป้นั

เคลอ่ื นไหว เคลอ่ื นไหว ๔.๑๓ สนใจและมคี วามสขุ ๘. รว่ มกิจกรรมการ ๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ์

และแสดงท่าทาง/ เคล่อื นไหวประกอบ (๕) การทำงานศิลปะ

เคลื่อนไหวประกอบเพลง เพลงดนตรอี ย่างมี ๑.๒.๑ สนุ ทรีภาพและดนตรี

จังหวะดนตรี ความสุข

มาตรฐานหลกั สูตรปฐมวยั จดุ ประสงค์การ สาระการเรยี นรู้
เรยี นรู้
มาตรฐาน ตวั บ่งชี้ สภาพท่ีพึงประสงค์ ประสบการณส์ ำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้
๙. ร่วมกจิ กรรมการ
เคลื่อนไหวประกอบ (๓) การเคล่ือนไหวตามเสยี งเพลง
เพลงและดนตรอี ย่างมี
ความสขุ และดนตรี
๑๐. ขออนญุ าตหรือ
มาตรฐานที่ ๕ ๕.๑ ซือ่ สตั ยส์ จุ ริต ๕.๑.๑ ขออนญุ าต หรือรอ รอคอยเม่ือต้องการ ๑.๓.๔ การมปี ฏสิ มั พนั ธม์ ีวินยั
มีคุณธรรม จรยิ ธรรม คอยเม่ือต้องการส่งิ ของ สิ่งของของผู้อน่ื เมื่อ มสี ว่ นร่วมและบทบาทสมาชกิ
และมจี ติ ใจท่ีดีงาม ของผู้อื่นดว้ ยตนเอง ของสงั คม
๑๑. เกบ็ ของเลน่ ของ (๒) การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกท่ดี ี
มาตรฐานที่ ๖ ๖.๒ มีวนิ ยั ในตนเอง ๖.๒.๑ เก็บของเลน่ ใช้เขา้ ท่ดี ว้ ยตนเองได้ ของห้องเรียน
ของใชเ้ ข้าที่อย่าง (๓) ให้ความรว่ มมือในการ
มีทกั ษะชวี ิตและปฏบิ ัติ เรียบร้อยด้วยตนเอง ปฏิบตั กิ ิจกรรมตา่ งๆ

ตนตามหลักปรัชญาของ ๑.๓.๔ การมปี ฏสิ มั พนั ธ์ มวี ินยั
มสี ่วนร่วมและบทบาทสมาชิก
เศรษฐกจิ พอเพียง ของสงั คม
(๒) การปฏิบัติตนเป็นสมาชิก

มาตรฐานที่ ๗ ๗.๒ มมี ารยาทตาม ๗.๒.๑ ปฏบิ ัติตนตาม ๑๒. กล่าวสวสั ดี ๑.๓.๓ การปฏบิ ตั ติ าม วฒั นธรรม
ขอบคุณ และขอโทษ ทอ้ งถิ่นและความเปน็ ไทย
รักธรรมชาติ วัฒนธรรมไทยและความ มารยาทไทยได้ด้วย ไดอ้ ย่างเหมาะสม (๑) การเล่นบทบาทสมมติการ
ปฏิบตั ิตนในความเป็นคนไทย
สิ่งแวดล้อมวัฒนธรรม เปน็ ไทย ตนเอง (๕) การละเลน่ พน้ื บ้านของไทย

และความเป็นไทย

มาตรฐานหลักสูตรปฐมวยั จดุ ประสงค์การ สาระการเรียนรู้
เรียนรู้
มาตรฐาน ตวั บง่ ชี้ สภาพท่พี งึ ประสงค์ ประสบการณส์ ำคญั สาระท่ีควรเรียนรู้
๑๓. เลน่ และทํางาน
มาตรฐานท่ี ๘ ๘.๒ มปี ฏสิ ัมพันธ์ที่ดกี ับ ๘.๒.๑ เลน่ หรือ รว่ มกับเพ่ือนเปน็ กลุ่ม ๑.๒.๒ การเลน่
ได้
อยู่ร่วมกับผ้อู ืน่ ไดอ้ ยา่ ง ผ้อู ่ืน ทํางานรว่ มกบั เพื่อน (๑)การเล่นอิสระ
๑๔. จับคู่ภาพเหมือน
มีความสุขและปฏิบัติตน เปน็ กลุม่ และภาพสัมพันธก์ ันได้ (๒) การเล่นรายบคุ คล

เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ๑๕. รว่ มสํารวจสง่ิ กลุ่มย่อย และกล่มุ ใหญ่
ตา่ งๆและแหล่งเรยี นรู้
ในระบอบ รอบตัวได้ (๓) การเลน่ ตามมุม

ประชาธปิ ไตยอนั มี ประสบการณ/์ มมุ เลน่ ตา่ ง ๆ

พระมหากษตั รยิ ์ทรง

เป็นประมุข

มาตรฐานที่ ๑๐ ๑๐.๑ มีความสามารถใน ๑๐.๑.๑ บอกลกั ษณะของ ๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคิด
เชิงเหตผุ ล การตัดสินใจและ
มคี วามสามารถในการ การคิดรวบยอด ส่งิ ตา่ งๆจากการสังเกตโดย แกป้ ญั หา
(๖) การต่อของชนิ้ เล็กเตมิ ใน
ตดิ ทเี่ ป็นพ้นื ฐานใน ใชป้ ระสาทสัมผสั ช้ินใหญใ่ หส้ มบรู ณ์
(๑๓) การจับคู่ภาพเหมือนและ
การเรียนรู้ ความสัมพนั ธ์

มาตรฐานที่ ๑๒ ๑๒.๒ มคี วามสามารถใน ๑๒.๑.๒กระตอื รอื รน้ ๑.๔.๔ เจตคตทิ ่ีดตี ่อการเรียนรู้
และการแสวงหาความรู้
มเี จตคติทดี ีต่อการเรียนรู้ การแสวงหาความรู้ ในการเขา้ ร่วมกิจกรรม (๑) การสํารวจสงิ่ ตา่ งๆและ
แหล่งเรยี นรรู้ อบตวั
และมคี วาม สามารถใน

การแสดงหาความร้ไู ด้

เหมาะสมกับวัย

การวางแผนกิจกรรมรายหนว่ ยการจดั ประสบการณ์
ชนั้ อนุบาลปที ี่ ๒ หน่วยปฐมนเิ ทศ

วันที่ เคลอ่ื นไหวและจังหวะ กิจกรรม
๑ -เคลื่อนไหวพน้ื ฐาน
เสริมประสบการณ์ ศลิ ปะสร้างสรรค์ การเลน่ ตามมุม การเล่นกลางแจ้ง เกมการศกึ ษา
-เคลื่อนไหวประกอบ การเลน่ นำ้ เลน่ ทราย เกมจับคู่ภาพกับเงา
เพลง ชอ่ื ของเธอ การพดู แนะนาํ ชื่อของ ๑ วาดภาพอสิ ระด้วย เลน่ ตามมุม (นักเรยี น-เงา)
ตนเอง เกมส่งบอลเป็นวงกลม
๒ --เคลื่อนไหวพ้นื ฐาน - ชอื่ จรงิ สีเทียน ประสบการณ์ เกมการจับคูภ่ าพที่
-เคลื่อนไหวร่างกายประกอบ - ชื่อเล่น เล่นเครอื่ งเลน่ สนาม สัมพนั ธ์กนั
เพลง “โรงเรียนของฉนั ” ๒. ปั้นดินน้ำมันอิสระ (บคุ คล-หน้าที่)
การแนะนําชือ่ เกมลิงชงิ หลัก
๓ --เคลอื่ นไหวพืน้ ฐาน - ชอื่ ครู ๑. วาดภาพอิสระดว้ ย เล่นตามมุม เกมจับคภู่ าพที่
-เคลื่อนไหวตามจังหวะ - ช่ือพี่เลี้ยง สเี ทยี น ประสบการณ์ การละเลน่ ไทย เหมอื นกนั
ชา้ – เรว็ - สญั ลักษณป์ ระจาํ ตัว ๒. พบั สี มอญซ่อนผา้ (ห้องเรยี น-หอ้ งเรยี น)

๔ -เคลอ่ื นไหวพื้นฐาน การแนะนําสถานที่ ๑ วาดภาพอิสระดว้ ย เล่นตามมมุ เกมจบั คภู่ าพของใชค้ ู่
-เคลอื่ นไหวรา่ งกายตามผนู้ ํา (เดนิ สํารวจ) สีเทียน ประสบการณ์ กนั
-ผู้ตาม - ห้องเรยี น ๒ ปั้นดินน้ำมันอิสระ
- หอ้ งน้ำ เกมภาพตัดต่อ
- หอ้ งอาหาร ๑.วาดภาพอิสระดว้ ย เล่นตามมุม (การแสดงความ
สีเทียน ประสบการณ์ เคารพ)
การปฏิบตั ติ นในการ ๒. พมิ พ์ภาพด้วยนิ้วมือ จํานวน ๔-๕ ช้ิน

๕ -เคล่ือนไหวพื้นฐาน มารยาทไทย การแสดง ๑ วาดภาพอิสระดว้ ย เลน่ ตามมุม
-เคลื่อนไหว ผนู้ ำ ผูต้ าม ประสบการณ์
ความเคารพ สีเทียน

กลา่ วคำสวสั ดี ขอบใจ ๒. ปน้ั ดนิ น้ำมัน

ขอบคุณ ขอโทษ

ผงั ความคิดแผนการจดั ประสบการณ์ หนว่ ยปฐมนเิ ทศ ชั้นอนุบาลปที ่ี ๒

๑. กจิ กรรมเคล่อื นไหวและจังหวะ ๒. กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ ๓. กจิ กรรมสร้างสรรค์
๑. เคลือ่ นไหวร่างกายประกอบเพลง ๑. แนะนำชอื่ เดก็ ช่ือครู ชือ่ พ่ีเลย้ี ง ช่ือเพ่อื น ๑. วาดภาพอสระดว้ ยสีเทยี น ปน้ั ดินน้ำมนั
“ชอื่ ของเธอ” ๒. แนะนำสญั ลักษณ์ประจำตัวและของใช้สว่ นตวั อิสระ
๒. เคลอ่ื นไหวรา่ งกายประกอบเพลง ๓. แนะนำเดนิ สำรวจห้องเรยี น หอ้ งน้ำ โรงอาหาร ๒. วาดภาพอสิ ระด้วยสเี ทยี น พน่ สี
“โรงเรยี นของฉัน” สนามเด็กเลน่ ๓. วาดภาพอสระด้วยสเี ทียน ปน้ั ดนิ น้ำมันอิสระ
๓. เคลื่อนไหวตามจังหวะช้า เร็ว อาคารเรียนและมารยาทในการรับประทานอาหาร ๔. วาดภาพอสิ ระดว้ ยสีเทยี น พิมพภ์ าพดว้ ยนิ้วมือ
๔. เคลื่อนไหวรา่ งกายตามผูน้ ํา ผู้ตาม ๔. การปฏบิ ัติตนตามข้อตกลงของห้องเรียน
๕. เคลอื่ นไหวรา่ งกายตามคําสง่ั ๕. มารยาทไทยการแสดงความเคารพกลา่ วสวัสดี ๖. กจิ กรรมเกมการศกึ ษา
ขอบใจ ๑. เกมจับคภู่ าพกับเงา (นักเรียน – เงา)
๔. กจิ กรรมเล่นตามมุม ขอบคุณ ขอโทษ ๒. เกมจบั คู่ภาพทส่ี ัมพันธก์ ัน (บคุ คล – หน้าที่)
เลน่ ตามมุมประสบการณ์ ๓. เกมจบั คูภ่ าพที่เหมอื นกัน (หอ้ งเรยี น –
หนว่ ย ห้องเรียน)
๔. เกมจบั คูภ่ าพของใช้คู่กัน (โต๊ะ – เกา้ อี้)
ปฐมนเิ ทศ ๕. เกมภาพตัดต่อ (การแสดงความเคารพ)
จาํ นวน ๔ -๕ ช้นิ
๕. กิจกรรมกลางแจง้
๑. การเล่นน้ำ เลน่ ทราย
๒. เกมสง่ บอลเป็นวงกลม
๓. เล่นเครอ่ื งเล่นสนาม
๔. เกมลงิ ชิงหลกั
๕. การละเล่นไทยมอญซ่อนผ้า

แผนการจดั ประสบการณ์รายวัน วันท่ี ๑ หนว่ ยท่ี ๑ ปฐมนิเทศ ชนั้ อนบุ าลปที ี่ ๒

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมทีค่ วรเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ พฒั นาการ

ประสบการณ์สำคัญ สาระท่ีควรเรยี นรู้

กิจกรรมเคลื่อนไหว (๑) การเคลื่อนไหวอยู่ ๑. กจิ กรรมพื้นฐาน ให้เด็กเคล่อื นไหวรา่ งกายไปทวั่ ๑. เครื่องเคาะจงั หวะ สงั เกตพฤตกิ รรมเดก็
บริเวณอยา่ งอสิ ระตามจงั หวะ เม่อื ได้ยนิ สญั ญาณ ๒. เพลง ชอ่ื ของเธอ ขณะทาํ ท่าทางประกอบ
และจงั หวะ กบั ที่ “หยุด “ ใหห้ ยุดเคล่ือนไหวในทา่ นั้นทนั ที เพลงและดนตรี

ร่วมกจิ กรรมการ (๒) การเคลื่อนไหว ๒. ครแู นะนำเพลง “ชื่อของเธอ” ใหเ้ ดก็ รว่ มกัน
ร้องเพลง และแสดงทา่ ทางประกอบเพลงอยา่ ง
เคลือ่ นไหวประกอบ เคลอื่ นที่ อสิ ระ

เพลงและดนตรอี ย่างมี (๓) การเคล่ือนไหว

ความสขุ ตามเสยี งเพลงละ

ดนตรี

กิจกรรมเสริม (๒) การฟังและปฏิบัติ การแนะนําตัวเอง ๑. ครแู ละเดก็ รว่ มกนั ร้องเพลง “ช่อื ของเธอ” ๑. เพลง ช่ือของเธอ สังเกตพฤตกิ รรมเดก็
แนะนําชือ่ ของคณุ ครูใหเ้ ด็กได้รู้จกั ๒. ลูกบอล ขณะพูดชือ่ ตนเองและเพื่อน
ประสบการณ์ ตามคําแนะนํา -ชือ่ เล่น ๒. ให้เดก็ นง่ั เป็นวงกลม เมื่อครกู ลง้ิ บอลไป ขา้ งหน้า
เดก็ คนใด ใหเ้ ดก็ บอกชื่อของตนเอง
กล้าพดู กล้าแสดงออก -ชื่อจรงิ จากนน้ั ใหเ้ ด็กกลง้ิ บอลไปให้เพอื่ นคนท่ีอยาก
รู้จักคนตอ่ ไป และแนะนําช่ือจนครบทกุ คน
อย่างเหมาะสม ๓. ให้เด็กร่วมทายชอ่ื เพ่ือนทีละคน

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมท่ีควรเรยี นรู้ สอ่ื การประเมินพัฒนาการ

ประสบการณส์ ำคัญ สาระทีค่ วรเรยี นรู้ ๑. สังเกตพฤติกรรม
ขณะทํางานศลิ ปะ
กิจกรรมศลิ ปะ (๒) การเขียนภาพ ๑. ครูและเด็กรว่ มกันร้องเพลง กํามือ แบบมือ ๑.เพลง ชือ่ ของเธอ ๒. สงั เกตพฤติกรรมการ
กลา้ แสดงออก
สรา้ งสรรค์ และการเล่นกับสี ๒. ครแู นะนํากจิ กรรมสรา้ งสรรคป์ ระกอบด้วย ๒. กระดาษวาดภาพ ๓. สงั เกตการเก็บของ
เขา้ ท่ี
๑. ทาํ งานศิลปะอยา่ งมี (๓) การปนั้ - วาดภาพอสิ ระด้วยสเี ทยี น ๓. สเี ทียน
๑. สังเกตพฤติกรรม การ
ความสุข - การปัน้ ดนิ น้ำมันอสิ ระ ๔. ดินน้ำมัน เลน่ ร่วมกับผู้อนื่
๒. สังเกตการเก็บของ
๒. กล้าพดู กลา้ ๓. ให้เดก็ เลือกทํากิจกรรมสรา้ งสรรค์ ๒ กิจกรรม ๕. แผน่ รองป้ัน

แสดงออก ตามความสนใจ

๓. แสดงความพอใจใน ๔. ในระหวา่ งท่ีเดก็ ทํากจิ กรรม ครคู อยให้ คาํ แนะนํา

ผลงานของตนเอง การใชด้ นิ น้ำมนั การใชส้ ีเทยี น และ

อุปกรณ์ในการวาดภาพ ๕. ใหเ้ ดก็ นําเสนอผลงาน

ของตนเอง และบอก

ความรูส้ ึกท่มี ีต่อผลงาน

กิจกรรมการเล่นตาม (๑) การเลน่ อสิ ระ ๑.ครแู นะนำมมุ ประสบการณ์ กตกิ าและวธิ ีการ มมุ ประสบการณ์ใน
มมุ (๒ )การเลน่ รายบคุ คล
๑. เลน่ ร่วมกับกับ กลุ่มย่อยกลุม่ ใหญ่ เล่นในแตล่ ะมุม และให้เด็กเลอื กเลน่ ตามความ ห้องเรยี น
เพ่ือนได้ (๒) การปฏบิ ัตติ นเป็น
๒.ขออนญุ าตหรอื รอ สมาชิกที่ดขี อง สนใจ
คอย เมื่อต้องการ หอ้ งเรียน
สิง่ ของของ ๒. เด็กเลือกกิจกรรมเสรตี ามมุมประสบการณ์ตาม
ผอู้ ่นื เม่ือมีผู้ชแ้ี นะได้
๓.เก็บของเลน่ ของใช้ ความสนใจ เช่น
เขา้ ท่ีได้เมื่อมผี ู้ชีแ้ นะ
- มมุ ธรรมชาติศึกษา - มุมหนังสอื

- มุมบลอ็ ก - มุมบทบาทสมมติ

- มุมเกมการศึกษา - มมุ เครอ่ื งเลน่ สัมผสั

๒. เม่ือหมดเวลาครใู หส้ ัญญาณหยดุ เลน่ เด็ก

ชว่ ยกนั เก็บของ

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมทคี่ วรเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ พัฒนาการ

ประสบการณส์ ำคญั สาระทค่ี วรเรียนรู้ ๑. ครแู นะนําข้อตกลงและอุปกรณ์ในการเลน่ นำ้ ๑.อุปกรณ์ในการเลน่ สังเกตพฤตกิ รรมเด็กใน
และเลน่ ทราย พร้อมท้งั แนะนําวิธกี ารเล่นอยา่ ง เลน่ นำ้ และเล่นทราย การเล่นอยา่ งปลอดภัย
กจิ กรรมการเล่น (๒) การเลน่ รายบุคคล ปลอดภัย ๒.ระฆังสามเหล่ยี ม
๒.เด็กเล่นเลน่ น้าํ และทรายโดยมคี รดู แู ลอย่าง
กลางแจง้ กล่มุ ย่อย และกลุ่ม ใกลช้ ิด
๓. เม่อื ครูใหส้ ญั ญาณหมดเวลา เด็กเกบ็ ของและ
เล่นและทาํ กิจกรรม ใหญ่ ทาํ ความสะอาดร่างกาย
๑. ครแู นะนำการจับคูภ่ าพทเ่ี หมือนกนั
อย่าง ๒. แบ่งเดก็ ออกเปน็ ๕ กลมุ่ ใหเ้ ดก็ ๑ กล่มุ รับเกม

ปลอดภยั ด้วยตนเองได้ ท่ีจับคภู่ าพเหมือนไปเลน่ กลมุ่ อ่ืนๆ เลน่ เกม
การศึกษาชุดเดิม
กจิ กรรมเกมการศึกษา (๑๓) การจับคู่ การบอกลักษณะ ๓. ครูให้สัญญาณหมดเวลา เดก็ เก็บเกมการศกึ ษา ๑. เกมจบั ค่ภู าพที่ สังเกตการเลน่ เกม
เกมจับคภู่ าพกบั เงาได้ ภาพเหมอื น ของสิง่ ตา่ งๆจากการ เหมอื นกนั การศกึ ษา
สังเกตโดยใช้ ๒. เกมการศึกษาชดุ
ประสาทสมั ผสั เดิม

แผนการจดั ประสบการณ์รายวัน วนั ที่ ๒ หน่วยท่ี ๑ ปฐมนเิ ทศ ช้นั อนุบาลปที ี่ ๒

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมที่ควรเรยี นรู้ สอ่ื การประเมิน
พัฒนาการ
กิจกรรมเคลือ่ นไหว ประสบการณส์ ำคัญ สาระท่คี วรเรยี นรู้ ๑. กิจกรรมพืน้ ฐาน ให้เดก็ เคลอื่ นไหวรา่ งกายไปท่วั ๑. เครอื่ งจงั หวะ สังเกตการรว่ มกิจกรรม
และจงั หวะ การเคลื่อนไหว
รว่ มกิจกรรมการ (๑) การเคลื่อนไหว บริเวณอยา่ งอิสระตามจังหวะ เมอ่ื ไดย้ นิ สัญญาณ ๒. เพลง โรงเรยี น ประกอบ
เคลือ่ นไหวประกอบเพลง อยู่ กบั ที่ เพลงและดนตรอี ย่างมี
และดนตรีอย่างมคี วามสุข (๒) การเคลอื่ นไหว “หยดุ “ ให้หยุดเคลือ่ นไหวในทา่ นนั้ ทนั ที ของฉัน ความสุข
เคล่ือนท่ี
กจิ กรรมเสริม ๓) การเคล่อื นไหว ๒. ครูแนะนําเพลง “โรงเรียนของฉัน” ๓. ให้เด็ก สังเกตการร่วมสํารวจ
ประสบการณ์ ตามเสียงเพลงและ ส่ิง
รว่ มสาํ รวจสงิ่ ตา่ งๆและ ดนตรี เคลอื่ นไหวทําท่าทางประกอบเพลง ตา่ งๆและแหล่งเรียนรู้
แหล่งเรียนร้รู อบตวั ได้ รอบตัว
(๑) สาํ รวจสิ่งต่างๆ การแนะนำชอ่ื โรงเรยี นของฉัน โดยให้แต่ละคนคดิ ท่าทาง
และแหลง่ เรียนรู้ -สญั ลกั ษณ์
รอบตวั ประจำตัว อย่างอิสระ

-ของใชส้ ว่ นตวั ๑. เด็กและครูร่วมกันร้องและทาํ ท่าทางประกอบ ๑. เพลง โรงเรยี น

เพลง “โรงเรยี นของฉนั ” ของฉนั

๒. ครแู นะนําชอ่ื ครปู ระจาํ ช้ันและพ่ีเล้ียงประจํา ห้องเรียน ๒. ครู/พเ่ี ลี้ยง

โดยครูบอกช่ือและให้เดก็ ๆพดู ตาม ๓. ภาพสญั ลักษณ์

๓. ครนู าํ ภาพสัญลักษณ์ประจําตวั มาให้เด็กดูพร้อม ประจาํ ตวั เด็ก

กนั แล้วให้บอกวา่ เปน็ ภาพอะไร เชน่ ภาพดอกไม้

ภาพบา้ น ฯลฯ แนะนําภาพทเ่ี ป็นสญั ลกั ษณ์ประจําตวั เดก็

แต่ละคน แลว้ แจกภาพให้กับเด็ก

๔..แบง่ เดก็ เป็นกล่มุ ย่อยประมาณ ๕ กลมุ่ เพ่อื เล่น

เกมหาสัญลักษณ์ประจาํ ตวั โดยให้เด็กนาํ ภาพ

สัญลกั ษณป์ ระจําตัวไปเปรียบเทียบกบั

สญั ลักษณ์ที่ตดิ ไวต้ าม แก้วนำ้ ชั้นวางรองเทา้

ตเู้ ก็บของ หรอื กลอ่ งใสผ่ ลงานของตนเอง

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมท่ีควรเรยี นรู้ สอ่ื การประเมิน
ประสบการณ์สำคญั สาระท่คี วรเรียนรู้
กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ ๑. การชนื่ ชมและ พฒั นาการ
๑. ทํางานศิลปะอย่างมี แสดงออกทางศิลปะ
ความสุข ๒. การกลา้ ๑. ครูและครูรว่ มกนั ท่องคําคลอ้ งจองนว้ิ มือของฉนั ๑. คาํ คล้องจอง นิว้ สงั เกต
๒.กล้าพดู กล้าแสดงออก แสดงออก
๓. แสดงความพอใจใน ๓. ความพอใจใน ๒. ครูแนะนาํ กิจกรรมสรา้ งสรรคป์ ระกอบดว้ ย มอื ของฉัน ๑. การทาํ งานศลิ ปะ
ผลงานของตนเอง ตนเอง
- วาดภาพอิสระดว้ ยสเี ทยี น ๒. กระดาษ A๔ อย่างมีความสุข
กจิ กรรมการเล่นตามมุม ((๑) การเล่นอิสระ
๑. เล่นรว่ มกับกบั เพ่อื นได้ (๒)การเล่นรายบุคคล - การพับสี ๓. สเี ทยี น ๒. การกลา้ พูด
๒. ขออนุญาตหรือรอคอย กลุ่มยอ่ ยกลมุ่ ใหญ่
เมื่อต้องการส่ิงของของ (๒) การปฏบิ ัติตน ๓. ใหเ้ ดก็ เลือกทํากจิ กรรมสรา้ งสรรค์ ๒ กิจกรรม ๔. สีนำ้ กล้าแสดงออก
ผอู้ น่ื ได้ เป็น สมาชกิ ที่ดขี อง
๓.เกบ็ ของเลน่ ของใชเ้ ข้าที่ ห้องเรียน ตามความสนใจ ๓. การแสดงความ
ได้
๔. ในระหวา่ งทีเ่ ด็กทํากิจกรรม ครคู อยให้ คาํ แนะนํา การ พอใจในผลงานของ

ใชส้ เี ทียนอุปกรณ์ในการวาดภาพ และการพับสี ตนเอง

๕. ให้เด็กนําเสนอผลงานของตนเอง และบอก

ความรู้สึกทม่ี ีต่อผลงาน

๑. ครแู นะนาํ มมุ ประสบการณ์ กตกิ าและวธิ ีการเล่น มมุ ประสบการณใ์ น สงั เกต

ในแตล่ ะมุม และใหเ้ ด็กเลือกเลน่ ตามความสนใจ ห้องเรียน ๑. การเล่นรว่ มกันกับ

๒. เดก็ เลอื กกจิ กรรมเสรตี ามมมุ ประสบการณต์ าม เพอื่ น

ความสนใจ เช่น ๒. การขออนุญาตหรือ

-มมุ ธรรมชาติศกึ ษา - มมุ หนังสือ รอคอยเม่ือตอ้ งการ

-มมุ บลอ็ ก - มมุ บทบาทสมมติ ส่งิ ของของผู้อนื่

๓. เมอ่ื หมดเวลาครูใหส้ ัญญาณหยดุ เลน่ เดก็ ชว่ ยกันเกบ็ ๓.การเกบ็ ของเล่นของ

ของ ใชเ้ ข้าท่ี

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมทีค่ วรเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ
พฒั นาการ
กิจกรรมกลางแจ้ง ประสบการณส์ ำคญั สาระทีค่ วรเรยี นรู้
เลน่ และทาํ กจิ กรรมอยา่ ง สังเกตการเลน่ และทาํ
ปลอดภัยด้วยตนเองได้ (๒) การเล่น การส่งบอลเป็น ๑.ครูแนะนำ การเคลื่อนไหวร่างกายดว้ ยการสะบัดมือ ๑. ลูกบอล กิจกรรมอย่างปลอดภัย
เทา้ หมนุ ไหล่ กระโดดเพอ่ื อบอนุ่ รา่ งกายและแนะนำ ๒. นกหวดี ดว้ ยตนเอง
รายบคุ คล วงกลม กิจกรรม การกระโดดขาเดียวไปขา้ งหนา้

กลมุ่ ย่อย และกลุ่ม ๒.แบ่งเด็กออกเป็น ๕ กล่มุ ๆละ ๖ คน ให้เข้าแถวเรยี ง
หนา้ กระดานแล้วให้กระโดดขาเดียวไปขา้ งหน้าพร้อมๆกัน
ใหญ่ ไปจนถึงจดุ หมาย
๓.จากนนั้ ใหก้ ล่มุ อน่ื ๆเขา้ แถวเรยี งหนา้ กระดานทำ
กจิ กรรมเหมือนกลุ่มแรก

กิจกรรมเกมการศกึ ษา (๑๓) การจบั คทู่ ี่ การบอกลกั ษณะ ๑. ครูแนะนาํ การจบั คูภ่ าพท่สี ัมพันธก์ นั ๑. เกมจบั คูภ่ าพท่ี สังเกตการจบั คูภ่ าพที่
สัมพันธก์ นั ของส่งิ ตา่ งๆจากการ ๒. แบง่ เด็กออกเป็น ๕ กล่มุ ใหเ้ ดก็ ๑ กลุ่มรบั เกม จบั คู่ สัมพันธก์ ัน สมั พนั ธ์กัน
สังเกตโดยใช้ ภาพทส่ี ัมพันธ์กันไปเลน่ กลุ่มอ่ืนๆ เลน่ เกมการศึกษาชดุ ๒. เกมการศึกษา
ประสาทสมั ผสั เดิม ชดุ เดิม
๓. ครใู ห้สัญญาณหมดเวลา เดก็ เก็บเกมการศกึ ษา

แผนการจดั ประสบการณ์รายวัน วนั ท่ี ๓ หนว่ ยท่ี ๑ ปฐมนิเทศ ชนั้ อนุบาลปีที่ ๒

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมท่ีควรเรียนรู้ สอ่ื การประเมิน
พฒั นาการ
กจิ กรรมเคลื่อนไหวและ ประสบการณ์สำคญั สาระท่ีควรเรียนรู้ ๑. ครูแนะนําเดก็ ใหร้ จู้ ักจงั หวะช้า-เรว็ โดยฟงั ๑. เครื่องเคาะ
จงั หวะ จากเคร่ืองเคาะจงั หวะ จงั หวะ สงั เกตการรว่ มกิจกรรม
รว่ มกจิ กรรมการ (๑) การเคล่ือนไหว ๒. ให้เด็กทําท่าทางตามคําส่งั เช่น กํามอื แบมือ ๒. เพลงกำมือ แบ การเคลือ่ นไหว
เคลื่อนไหวประกอบ อยู่ กบั ท่ี สะบดั มือ หมนุ มือ ตบมือ ฯลฯ ตามจังหวะท่ี มือ ประกอบ
เพลงและดนตรีอย่างมี (๒) การเคล่ือนไหว ครใู ห้โดยครูใหจ้ งั หวะชา้ -เร็ว สลับกัน เพลงและดนตรอี ย่างมี
ความสขุ เคลอื่ นท่ี ๓. เดก็ และครรู ่วมกนั ร้องเพลงและทําท่าทาง ความสุข
ประกอบเพลง “กาํ มอื แบมือ”
กจิ กรรมเสรมิ (๑) การปฏิบัตติ น การเดินสาํ รวจ ๑. เดก็ และครูร่วมกนั ร้องเพลง “ลา้ งมือ” ๑. เพลง “ล้างมือ” สงั เกตการล้างมอื กอ่ น
ประสบการณ์ ตาม สุขอนามยั สุข สถานทีต่ ่างๆ ๒. ครูพาเดก็ เข้าแถวเดินสาํ รวจห้องตา่ งๆใน ๒. ห้องตา่ งๆใน รบั ประทานอาหารและ
ลา้ งมอื กอ่ นรับประทาน นิสัยทด่ี ี ทเ่ี กี่ยวข้องกบั โรงเรียน พร้อมกับแนะนําวธิ กี ารปฏิบตั ติ นใน โรงเรยี น หลงั จากใช้ห้องนำ้ ห้อง
อาหารและหลงั จากใช้ ในชีวิตประจําวนั ตนเอง เชน่ การใช้หอ้ งตา่ งๆให้ถกู ต้อง - หอ้ งเรียน - ห้องอาหาร - ๓. ภาพหอ้ งต่างๆ สว้ มด้วยตนเอง
หอ้ งนํา้ ห้องส้วมดว้ ย (๑) การปฏิบัติตนให้ หอ้ งเรยี น ห้องน้ำ ในโรงเรียน
ตนเองได้ ปลอดภัยในกิจวตั ร ห้องอาหาร ห้องน้ำ ๓. ครูสาธิตการใชห้ อ้ งน้ำ การลา้ งมือ แล้วใหเ้ ด็ก
ประจําวัน ได้ปฏิบตั ิจริง ๔. กลับจากหอ้ งน้ำเดก็ และครรู ่วมกนั สรุป
กิจกรรมศลิ ปะ (๑) การช่วยเหลือ ถงึ ขั้นตอนการใชห้ ้องน้ำ
สรา้ งสรรค์ ตนเองในกจิ วัตร ๕.เด็กและครรู ว่ มกนั รอ้ งและทําทา่ ประกอบเพลง
๑. ทาํ งานศลิ ปะอยา่ งมี ประจําวัน “ล้างมือ”
ความสขุ (ครตู อ้ งคอยตดิ ตามและสังเกตเดก็ ในการปฏบิ ัติ
(๒) การเขียนภาพ ๑. ครแู ละเด็กรว่ มกันร้องเพลง ลา้ งมือ ๑.เพลง กำมอื แบ สงั เกต
และการเลน่ กบั สี ๒. ครแู นะนํากจิ กรรมสร้างสรรค์ประกอบด้วย มอื ๑. การทํางานศลิ ปะ
(๓) การป้ัน - วาดภาพอิสระดว้ ยสเี ทยี น ๒. กระดาษวาด อยา่ งมีความสขุ
(๔) การพูดแสดง - การปัน้ ดนิ น้ำมนั อิสระ ภาพ ๒.การกลา้ พูดกลา้

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมที่ควรเรียนรู้ สอ่ื การประเมนิ
๒. สเี ทียน พัฒนาการ
ประสบการณส์ ำคญั สาระท่ีควรเรยี นรู้ ๓.ให้เดก็ เลอื กทํากิจกรรมสรา้ งสรรค์ ๒ กิจกรรม ๓.ดินนำ้ มัน แสดงออก
ตามความสนใจ ๔.แผน่ รองปัน้ ๓. การแสดงความ
๒. กล้าพดู กล้าแสดงออก ๓. ความคดิ ความรู้สึก ๔. ในระหวา่ งท่เี ดก็ ทํากิจกรรม ครคู อยให้ คําแนะนาํ การ พอใจในผลงานของ
ใช้ดนิ น้ำมนั การใชส้ ีเทยี น และอปุ กรณใ์ นการวาดภาพ มุมประสบการณ์ใน ตนเอง
แสดงความพอใจใน ๕. ให้เด็กนาํ เสนอผลงานของตนเอง และบอก ห้องเรียน
ความรู้สกึ ทม่ี ีต่อผลงาน สงั เกต
ผลงานของตนเอง ๑. ครแู นะนํามุมประสบการณ์ กติกาและวธิ กี ารเล่น เคร่อื งเล่นสนาม ๑. การเล่นรว่ มกับกับ
ในแต่ละมุม และใหเ้ ด็กเลือกเลน่ ตามความสนใจ เพอ่ื น
กิจกรรมการเลน่ ตามมุม ((๑) การเล่นอิสระ ๒. เดก็ เลือกกิจกรรมเสรีตามมมุ ประสบการณ์ตาม ๑. เกมจับคภู่ าพท่ี ๒. การขออนุญาตหรอื
๑. เล่นร่วมกับกับเพื่อนได้ (๒) การเล่น ความสนใจ เช่น เหมอื นกนั รอคอยเม่ือตอ้ งการ
๒. ขออนุญาตหรือรอคอย รายบคุ คล -มมุ ธรรมชาตศิ กึ ษา - มุมหนังสอื ๒. เกมการศึกษา สง่ิ ของของผู้อ่นื
เมื่อต้องการสิง่ ของของผ้อู ื่น กลมุ่ ย่อยกลุ่มใหญ่ -มุมบล็อก - มุมบทบาทสมมติ ชดุ เดิม ๓. การเก็บของเลน่
ได้ (๓) การเลน่ ตามมมุ ๓. เมอื่ หมดเวลาครใู ห้สญั ญาณหยุดเลน่ เด็ก ของใช้เข้าที่
๓. เกบ็ ของเล่นของใชเ้ ขา้ ท่ี ประสบการณ์ ช่วยกันเก็บของ สงั เกต
ได้ ๑. ครูแนะนาํ ข้อตกลงในการเลน่ เครอ่ื งเล่นสนามแต่ละ ๑. การเล่นและทํา
ชนดิ พร้อมทัง้ แนะนาํ วิธีการเล่นอยา่ งปลอดภยั กจิ กรรมอย่างปลอดภยั
กิจกรรมการเลน่ (๕) การเลน่ เคร่ือง การเลน่ เครอ่ื งสนาม ๒. เด็กเล่นเครื่องเลน่ สนามโดยมคี รดู แู ลความ ดว้ ยตนเอง
ปลอดภยั ของเด็ก ๒. การวิ่งหลบหลกี สิง่
กลางแจ้ง เล่นสนามอย่างอิสระ ๓. ครใู หส้ ญั ญาณหยุดเล่น ให้เดก็ เขา้ แถวและทาํ ความ กดี ขวาง
สะอาดรา่ งกาย สังเกตการเกมจบั คู่
๑. เลน่ และทํากจิ กรรมอยา่ ง ๑. ครแู นะนำเกมภาพตดั ต่อโรงเรยี น ภาพ
๒. แบ่งเดก็ ออกเป็น ๕ กล่มุ ให้เดก็ ๑ กล่มุ รับเกม ไปเลน่
ปลอดภัยด้วยตนเองได้ กลุ่มอ่ืนๆ เลน่ เกมการศกึ ษาชุดเดิม
๓. ครูใหส้ ัญญาณหมดเวลา เด็กเกบ็ เกมการศึกษา
๒. วิ่งหลบหลีกสงิ่ กดี ขวางได้

กจิ กรรมเกมการศกึ ษา (๑๓) การจบั ค่ภู าพท่ี การบอกลักษณะ
เกมจับค่ภู าพท่เี หมือนกัน เหมือนกัน ของสิ่งต่างๆจากการ
สงั เกตโดยใช้
ประสาทสมั ผสั

แผนการจดั ประสบการณ์รายวนั วนั ท่ี ๔ หนว่ ยที่ ๑ ปฐมนิเทศ ชน้ั อนุบาลปีท่ี ๒

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมท่ีควรเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ
พัฒนาการ
กจิ กรรมเคลื่อนไหวและ ประสบการณ์สำคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู้ ๑. กจิ กรรมพ้นื ฐาน ใหเ้ ด็กเคลื่อนไหวร่างกายไปทั่ว เครือ่ งเคาะจังหวะ สังเกตการร่วมกิจกรรม
จังหวะ การเคลือ่ นไหว
ร่วมกิจกรรมการเคลอื่ นไหว (๑) การเคล่ือนไหว บริเวณอยา่ งอสิ ระตามจังหวะ เมอ่ื ได้ยนิ สัญญาณ “หยุด “ ประกอบเพลงและ
ประกอบเพลงและดนตรี อยู่ กับท่ี ดนตรอี ยา่ งมีความสขุ
อย่างมีความสขุ (๒) การเคลื่อนไหว ใหห้ ยดุ เคล่อื นไหวในท่านั้นทันที
เคลือ่ นที่ สงั เกตการรับประทาน
กิจกรรมเสรมิ ๒. ให้เด็กเข้าแถวตอน เรียงแถวประมาณ ๕-๘ คน อาหารที่มีประโยชน์
ประสบการณ์ และดมื่ น้ำสะอาดได้
รับประทานอาหารที่มี ๓. ให้คนแรกของแถวคดิ ท่าทางข้ึนมาขณะ ดว้ ยตนเอง
ประโยชนแ์ ละดมื่ นำ้ สะอาด
ได้ด้วยตนเองได้ เคลือ่ นไหวไปตามจังหวะ ใหเ้ พอ่ื นที่อยใู่ นแถว ทําตาม

เมอื่ ไดย้ ินสัญญาณหยุด ให้คนแรกของ แถวไปตอ่ ทา้ ยแถว

และเปล่ียนให้คนถัดมาเปน็ ผู้นําทาํ ท่าทางไม่ซำ้ กับผ้นู ําท่ี

ทาํ ไปแล้ว

๔. ปฏบิ ัติตามข้อ ๓ ซ้ำอีก

(๑) การปฏิบัติตน ๑. การปฏบิ ตั ิตนใน ๑. ครเู ล่านทิ านเรื่อง บทเรียนของน้องเกมเด็กและ ๑. นิทานเร่ือง
ตาม สขุ อนามัย การรับประทาน
สุขนิสัยทด่ี ี อาหาร ครรู ่วมกนั สนทนาถึงนทิ าน โดยใช้คาํ ถาม เช่น บทเรียนของน้อง
ในชีวิตประจาํ วัน ๒. การปฏิบตั ิ
(๒) การช่วยเหลือ กจิ วัตรประจาํ วัน/ - ทําไมน้องเกมจึงท้องเสยี เกม
ตนเองในกิจวตั ร กจิ กรรมต่างๆด้วย
ประจาํ วนั ตนเอง - กอ่ นรับประทานอาหารเราควรทําอยา่ งไร ๒. หนุ่ มือ

๒. ครูนาํ ของใช้ในการรับประทานอาหารมาให้เด็กดู เชน่ ๓. ถาดอาหาร,

ถาดอาหาร ช้อนส้อม แก้วน้ำ สาธติ การใช้ ช้อนส้อม,แก้วนำ้

ชอ้ นส้อมรับประทานอาหาร และการเกบ็ เม่ือ

รบั ประทานอาหารเสร็จแลว้

๓. เด็กทดลองปฏบิ ตั จิ รงิ เช่น จับชอ้ นส้อม การถือ

ถาดอาหาร

๔. เด็กบอกวิธกี ารจบั ช้อนส้อม และวธิ ีการถือถาด

อาหาร ครูชว่ ยอธิบายเพ่ิมเตมิ

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมทคี่ วรเรียนรู้ สอ่ื การประเมิน
พัฒนาการ
ประสบการณส์ ำคัญ สาระท่ีควรเรยี นรู้ ๑. เด็กและครูร่วมกนั ทอ่ งคําคลอ้ งจองนวิ้ มอื ของฉัน ๑. คาํ คลอ้ งจองน้วิ
๒. ครูแนะนาํ กิจกรรมสร้างสรรค์ประกอบดว้ ย - พมิ พ์ มอื สงั เกต
กจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรค์ (๒) การเขยี นภาพ ภาพดว้ ยนว้ิ มอื ของฉนั ๑. การทาํ งานศิลปะ
- วาดภาพอสิ ระด้วยสเี ทยี น ๒. กระดาษ A๔ อย่างมีความสขุ
๑. ทํางานศลิ ปะอยา่ งมี และการเล่นกับสี ๓. ให้เด็กเลือกทํากิจกรรมสรา้ งสรรค์ ๒ กิจกรรม ๓. แท่นหมกึ พิมพ์สี ๒.การกล้าพดู กลา้
ตามความสนใจ ต่างๆ แสดงออก
ความสขุ (๓) การป้ัน ๔. ในระหวา่ งทเี่ ดก็ ทํากิจกรรม ครูคอยให้ คาํ แนะนํา การ ๔. สีเทยี น ๓. การแสดงความ
ใชด้ ินนำ้ มนั การใชส้ ีเทียน และ พอใจในผลงานของ
๒. กลา้ พดู กลา้ แสดงออก ๓. (๔) การพูดแสดง อปุ กรณ์ในการวาดภาพ ตนเอง
๕. ใหเ้ ด็กนําเสนอผลงานของตนเอง และบอก
แสดงความพอใจใน ความคดิ ความรูส้ ึก ความรู้สกึ ท่มี ีต่อผลงาน

ผลงานของตนเอง และความต้องการ

กจิ กรรมการเลน่ ตามมุม (๑)การเล่นอิสระ ๑. ครูแนะนาํ มุมประสบการณ์ กตกิ าและวิธีการเลน่ มุมประสบการณ์ใน สังเกต
๑. เลน่ ร่วมกบั กับเพอ่ื นได้ (๒) การเล่น ในแต่ละมุม และใหเ้ ด็กเลือกเลน่ ตามความสนใจ
๒. ขออนญุ าตหรือรอคอย รายบคุ คล ๒. เด็กเลือกกิจกรรมเสรีตามมุมประสบการณต์ าม ห้องเรยี น ๑. การเลน่ ร่วมกับกบั
เมือ่ ต้องการสง่ิ ของของผู้อื่น กลมุ่ ย่อยกล่มุ ใหญ่ ความสนใจ เชน่
ได้ (๓) การเล่นตามมมุ - มมุ ธรรมชาติศกึ ษา - มุมหนังสอื เพ่ือน
๓. เกบ็ ของเล่นของใชเ้ ข้าที่ ประสบการณ์ - มมุ บล็อก - มมุ บทบาทสมมติ ๓. เม่อื หมดเวลาครใู ห้
ได้ สัญญาณหยุดเล่นเดก็ ๒. การขออนุญาตหรอื
ช่วยกนั เก็บของ
รอคอยเมื่อตอ้ งการ

ส่ิงของของผู้อื่น

๓. การเกบ็ ของเล่น

ของใชเ้ ขา้ ที่

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมที่ควรเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ
พฒั นาการ
กจิ กรรมการเล่น ประสบการณ์สำคัญ สาระทคี่ วรเรียนรู้ ๑. ครแู นะนํากติกาและสาธติ การพร้อมท้ังเล่นเกม ลิง ๑. กรวยพลาสตกิ สงั เกตการเลน่ หรือ
กลางแจ้ง เปลีย่ นหลกั พร้อมทงั้ แนะนําการเล่นอย่าง ๒. นกหวดี ทาํ งานรว่ มกบั เพื่อน
เล่นหรือทาํ งานรว่ มกบั (๒) การเลน่ กติกาการเลน่ เกมลิง ปลอดภัย เปน็ กลมุ่
เพ่อื นเป็นกลุม่ ได้ ๒. เด็กเลน่ เกมลงิ เปลย่ี นหลกั ๑. เกมเรียงลำดบั
รายบุคคล เปลีย่ นหลัก ๓.เมื่อครใู หส้ ญั ญาณหมดเวลา เดก็ เขา้ แถวและทาํ เหตุการณ์ สังเกตการจับคภู่ าพที่
กจิ กรรมเกมการศกึ ษา ความสะอาดร่างกาย ๒. เกมการศึกษา สัมพนั ธ์กนั
จับค่ภู าพทส่ี มั พนั ธก์ นั ได้ กลมุ่ ย่อย และกลมุ่ ๑. ครแู นะนำเกมเรยี งลำดบั เหตุการณ์การมา ชุดเดิม
โรงเรยี น
ใหญ่ ๒. แบ่งเดก็ ออกเปน็ ๕ กลุ่ม ใหเ้ ด็ก ๑ กลมุ่ รบั เกม ไปเล่น
กล่มุ อ่นื ๆ เล่นเกมการศึกษาชุดเดมิ
(๑๓) การจับคภู่ าพท่ี การบอกลักษณะ ๓. ครูให้สญั ญาณหมดเวลา เด็กเก็บเกมการศึกษา
สมั พนั ธก์ ัน ของสงิ่ ต่างๆจากการ
สังเกตโดยใช้
ประสาทสัมผสั

แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วนั ที่ ๕ หนว่ ยที่ ๑ ปฐมนเิ ทศ ช้ันอนุบาลปที ่ี ๒

จุดประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมทคี่ วรเรียนรู้ สอ่ื การประเมิน
พฒั นาการ
กิจกรรมเคลือ่ นไหว ประสบการณส์ ำคญั สาระทคี่ วรเรียนรู้ สงั เกตการรว่ มกิจกรรม
และจงั หวะ การเคลือ่ นไหว
รว่ มกจิ กรรมการเคลอ่ื นไหว (๑) การเคลื่อนไหว การช่นื ชมแสดงออก ๑. กจิ กรรมพื้นฐาน ใหเ้ ด็กเคลอื่ นไหวรา่ งกายไปทว่ั ๑. เครือ่ งให้จงั หวะ ประกอบ
ประกอบเพลงและดนตรี เพลงและดนตรอี ยา่ งมี
อย่างมีความสขุ อยู่ กบั ที่ ทางดนตรแี ละการ บริเวณอย่างอสิ ระตามจังหวะ เมื่อได้ยินสญั ญาณ ความสขุ

กิจกรรมเสริม (๒) การเคล่ือนไหว เคลื่อนไหว “หยดุ “ ให้หยุดเคลื่อนไหวในทา่ น้นั ทนั ที สงั เกตการกลา่ วคํา
ประสบการณ์ สวัสดี ขอบคุณ และขอ
กล่าวคําสวัสดี ขอบคุณ เคลอ่ื นที่ ๒. ครูเปน็ ผู้ให้จังหวะโดยการใช้เครอื่ งเคาะจังหวะ ๓. เด็ก โทษอยา่ งเหมาะสม
และขอโทษอย่างเหมาะสม
เคลอ่ื นไหวร่างกายตามคาํ สัง่ และเลียนแบบ

ท่าทางการเคล่ือนไหวของหุ่นยนต์

(๑) การปฏบิ ตั ติ นใน การปฏิบตั ิตนตาม ๑. เดก็ ๆ และครรู ว่ มกันร้องเพลง “ขอบคุณ เพลง “ขอบคุณ
ความเป็นไทย มารยาทไทย
- การสวัสดี ขอบใจ” พร้อมแสดงทา่ ทางประกอบเพลง และ ขอบใจ”
- การขอบคุณ
- การขอโทษ สนทนาเกีย่ วกบั เนื้อหาของเพลง

๒. ครสู นทนากับเดก็ เกี่ยวกบั มารยาทไทยโดยใช้

สถานการณ์ในชีวิตประจําวันของเด็ก ดงั นี้

-ตอนเช้าเมอ่ื มาถึงโรงเรยี นพบคณุ ครู เด็กควร

ทาํ อยา่ งไร

-ถ้าเด็กเดินไปชนเพื่อนโดยไม่ต้ังใจ เด็กควรทาํ อย่างไร

- ถ้าผใู้ หญ่ใหส้ ่งิ ของกบั เดก็ เดก็ ควรทาํ อย่างไร

๓. ครูใหอ้ าสาสมัครออกมาสาธิตการการปฏิบตั ติ น ตาม

มารยาทไทย โดยครเู ป็นผชู้ ้ีแนะ

๔. ใหเ้ ด็กจับคู่ และร่วมกันฝึกการไหว้ในแบบต่างๆ

พรอ้ มกัน

๕ เดก็ และครรู ว่ มกนั สรปุ การปฏบิ ตั ติ นตามมารยาทไทย

จุดประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมท่คี วรเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ

กิจกรรมศลิ ปะ ประสบการณ์สำคัญ สาระทค่ี วรเรยี นรู้ พัฒนาการ
สร้างสรรค์
๑. ทาํ งานศิลปะอย่างมี (๒) การเขยี นภาพ ๑. ครแู ละเด็กร่วมกันร้องเพลงขอบคณุ ขอบใจ ๑.เพลงสวสั ดเี ธอจา๋ สังเกต
ความสขุ และการเลน่ กบั สี
๒.กล้าพดู กล้าแสดงออก ๓. (๓) การปั้น ๒. ครูแนะนาํ กิจกรรมสร้างสรรคป์ ระกอบด้วย – วาดภาพ ๒.กระดาษA๔ ๑. การทํางานศิลปะ
แสดงความพอใจใน (๔) การพูดแสดง
ผลงานของตนเอง ความคดิ ความรูส้ ึก อิสระด้วยสนี ำ้ - ป้ันแป้งโดว์ ๒. สีเทียน อย่างมีความสขุ
และความต้องการ
๓. ใหเ้ ด็กเลือกทํากิจกรรมสร้างสรรค์ ๒ กิจกรรม ๓.ดินนำ้ มนั ๒. การกลา้ พดู กล้า

ตามความสนใจ ๔.แผน่ รองปั้น แสดงออก

๔. ในระหว่างท่เี ดก็ ทํากจิ กรรม ครคู อยให้ คาํ แนะนํา การ ๓. การแสดงความ

ใช้ดนิ น้ำมัน การใช้สเี ทียน สีน้ำ พอใจในผลงานของ

และอุปกรณใ์ นการวาดภาพ ตนเอง

๕. ใหเ้ ดก็ นาํ เสนอผลงานของตนเอง และบอก

ความรสู้ กึ ทีม่ ีต่อผลงาน

กจิ กรรมการเลน่ ตามมุม (๑) การเล่นอสิ ระ ๑. ครูแนะนํามุมประสบการณ์ กตกิ าและวธิ ีการเล่น มุมประสบการณใ์ น สังเกต
๑. เล่นรว่ มกับกับเพ่ือนได้ (๒)การเล่นรายบุคคล ในแตล่ ะมุม และใหเ้ ด็กเลือกเล่นตามความ สนใจ
๒.ขออนญุ าตหรอื รอคอย กลุม่ ยอ่ ยกลมุ่ ใหญ่ ๒. เดก็ เลอื กกจิ กรรมเสรีตามมมุ ประสบการณ์ตาม หอ้ งเรียน ๑. การเลน่ รว่ มกบั กับ
เมือ่ ต้องการสิ่งของของผอู้ ่ืน (๓)การเล่นตามมมุ ความสนใจ เชน่
ได้ ประสบการณ์ -มุมธรรมชาตศิ กึ ษา - มุมหนังสือ เพือ่ น
๓.เกบ็ ของเล่นของใชเ้ ข้าที่ -มมุ บล็อก - มุมบทบาทสมมติ
ได้ ๓. เมอื่ หมดเวลาครใู ห้สญั ญาณหยุดเล่น เด็กช่วยกันเกบ็ ๒.การขออนญุ าตหรือ
ของ
รอคอยเม่ือตอ้ งการ

สง่ิ ของของผู้อื่น

๓.การเกบ็ ของเล่นของ

ใช้เข้าที่

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมทค่ี วรเรยี นรู้ สอ่ื การประเมิน
พัฒนาการ
กิจกรรมการเลน่ ประสบการณ์สำคญั สาระทค่ี วรเรียนรู้ ๑.ครูแนะนำข้อตกลงในการเล่นเคร่ืองเล่นสนาม ๑. เพลง มอญซ่อน
กลางแจง้ แตล่ ะชนดิ พร้อมท้ังแนะนำวธิ ีการเล่นอย่างปลอดภัย ผ้า สงั เกตการเลน่ หรือ
เล่นหรอื ทาํ งานรว่ มกับ (๒) การเลน่ การละเลน่ ๒.เดก็ เลน่ เครอื่ งเล่นสนามโดยมคี รดู ูแลอย่างใกลช้ ิด ๒. ผา้ เชด็ หน้า ทาํ งานร่วมกบั เพ่ือน
เพอ่ื นเปน็ กลุ่มได้ ๓.เมือ่ ครูให้สัญญาณหมดเวลาเด็กเขา้ แถวและทำ ๓. นกหวดี เป็นกลุ่ม
รายบคุ คล มอญซ่อนผ้า ความสะอาดรา่ งกาย

กลุ่มยอ่ ยและกลุ่ม

ใหญ่

(๕) การละเลน่

พ้นื บา้ นของไทย

กิจกรรมเกมการศกึ ษา (๖) การต่อของ การบอกลกั ษณะ ๑. ครูแนะนาํ เกมตัดต่อภาพการแสดงความเคารพ ๑. เกมภาพตัดต่อ สังเกตการต่อ
จับคูแ่ ละเปรียบเทียบ ช้ินส่วนเลก็ เตมิ ใน ของส่ิงต่างๆจาก ส่วนประกอบของภาพ
ต่อสว่ นประกอบของภาพ ช้นิ ส่วนใหญใ่ ห้ การสังเกตโดยใช้ ๒. แบง่ เด็กออกเปน็ ๕ กลมุ่ ให้เดก็ ๑ กลมุ่ รบั เกม ตัดต่อ ภาพ เป็นภาพทีส่ มบูรณ์
เป็นภาพทส่ี มบรู ณ์ได้ สมบูรณ์ ประสาทสัมผัส
ภาพทแี่ นะนําไปเล่น และกลุ่มอน่ื เล่นเกมการศกึ ษาชุดเดิม ๒. เกมการศึกษา

๓. ใหเ้ ด็กเก็บเกมการศกึ ษา ชุดเดมิ

๑๑. ด.ญ.ประภสั สร เปา้ บา้ นเช่า 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 ๑๐. ด.ญ.ธนกานต์ แสงนาฮาย ๙. ด.ญ.โชติกา ทองพยงค์ ๘. ด.ญ.จฑุ ามาศ เปล่ยี มกระโทก 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 ๗. ด.ช.อภิวตั ร ไชยโยธา ๖ ด.ช.วีรชัย น้อยเพ่มิ พนู ๕. ด.ช.พรพิพฒั น์ ดาราเย็น ๔. ด.ช.ปัญญวฒั น์ พิริยานพุ งษ์ ๓. ด.ช.นพดล มหาปราบ ๒. ด.ช.ชยั วฒั น์ เยอ้ื งไธสง ๑. ด.ช.กติ ตภิ ัทร ดัชถุยาวัตร เลขท่ี ชอื่ –นามสกุล

๓ ๓ 3 ๓ 3 ๓ ๓ ๓๓ ๓ 2 2 2 2 2 2 2 22 2 2 2 2 2 2 2 2 22 2 2 2 2 2 2 2 2 22 2 2 2 2 2 2 2 2 22 2 2 2 2 2 2 2 2 22 2 2 2 2 2 2 2 2 22 2 2 2 2 2 2 2 2 22 2 ๓ ๓ 3 ๓ 3 ๓ ๓ ๓๓ ๓ ๑.รับประทานอาหารทีมปี ระโยชนแ์ ละดมื่ น้ำสะอาด ดา้ นรา่ งกาย แบบสงั เกตพฤตกิ รรมเด็ก หนว่ ยการจดั ประสบการณท์ ่ี ๑ ปฐมนิเทศ ช้ันอนุบาลปีที่ ๒
ด้วยตนเองได้
๓ 3๓๓ ๓ 3 ๓ ๓ 3 ๒.ล้างมอื ก่อนรับประทานอาหารและหลงั จากใช้ พัฒนาการ
2 222 2 2 2 2 2 หอ้ งนำ้ ห้องส้วมดว้ ยตนเอง ดา้ นอารมณ์ – จติ ใจ
2 222 2 2 2 2 2 ๓.เลน่ ทำกิจกรรมและปฏิบัตติ อ่ ผอู้ นื่ อย่างปลอดภัย
ได้ ด้านสงั คม
2 222 2 2 2 2 2 ๔.ว่งิ หลบหลกี สิง่ กดี ขวางได้
2 222 2 2 2 2 2 ด้านสติปัญญา
2 222 2 2 2 2 2 ค่าเฉล่ยี ดา้ นรา่ งกาย
2 222 2 2 2 2 2
๕.กลา้ พดู กล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสม
2 222 2 2 2 2 2 ๖.พดู แสดงความคดิ ความรู้สึก และความต้องการได้

2 222 2 2 2 2 2 ๗.แสดงความพอใจในผลงานของตน
๘.ทาํ งานศลิ ปะอย่างมคี วามสขุ
๓ 3๓๓ ๓ 3 ๓ ๓ 3 ๙.ร่วมกิจกรรมการเคลื่อนไหวประกอบเพลงและ
ดนตรอี ยา่ งมคี วามสขุ
2 222 2 2 2 2 2
๑๐.ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการส่งิ ของ
ของผอู้ น่ื เม่ือมผี ูช้ ้แี นะได้

ค่าเฉลี่ยด้านอารมณ์ - จิตใจ

๑๑. เก็บของเลน่ ของใชเ้ ข้าทด่ี ว้ ยตนเองได้
๑๒. กลา่ วสวัสดี ขอบคุณ และขอโทษไดอ้ ย่าง
เหมาะสม
๑๓. เลน่ และทํางานรว่ มกบั เพ่ือนเปน็ กลมุ่ ได้

ค่าเฉลย่ี ดา้ นสังคม

๑๔. จบั คภู่ าพเหมอื นและภาพสัมพนั ธ์กนั ได้

๑๕.รว่ มสํารวจส่งิ ตา่ งๆและแหล่งเรยี นรรู้ อบตัวได้

คา่ เฉล่ียด้านสติปญั ญา

๑๗. ด.ญ.ณัฐธดิ า กรงั พานิช ๑๖. ด.ญ.เขมจิรา บญุ กลาง ๑๕. ด.ญ.สุนันธติ า ศาลากิจ ๑๔. ด.ญ.สุดารัตน์ เหลก็ นางรอง 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 ๑๓. ด.ญ.ภัครดา ดอกกระโทก 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 ๑๒. ด.ญ.พรรษากาล ยศมาร เลขที่ ช่ือ –นามสกลุ

2 2 2 2 2 2222 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 ๓ ๓ 3 ๓ 3 ๓๓๓๓ ๓ ๓ 3 ๓ ๓ ๓ 3 ๓ ๓ 3 2 2 2 2 2 2222 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2222 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 ๑.รับประทานอาหารทมี ีประโยชนแ์ ละดมื่ น้ำสะอาด ดา้ นร่างกาย แบบสังเกตพฤตกิ รรมเด็ก หนว่ ยการจัดประสบการณ์ที่ ๑ ปฐมนิเทศ ชนั้ อนบุ าลปีที่ ๒
ดว้ ยตนเองได้
ลงช่ือ.................................................ผู้บนั ทกึ ครูประจำช้นั ๒.ล้างมอื ก่อนรับประทานอาหารและหลงั จากใช้ พัฒนาการ
(นางสาวเดือนเพ็ญ หิรญั รัตน์) หอ้ งนำ้ หอ้ งสว้ มดว้ ยตนเอง ด้านอารมณ์ – จิตใจ
๓.เลน่ ทำกิจกรรมและปฏบิ ตั ติ ่อผอู้ ื่นอยา่ งปลอดภัย
วันที่ 20 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ได้ ด้านสังคม
๔.ว่งิ หลบหลกี สิง่ กดี ขวางได้
ดา้ นสตปิ ญั ญา
คา่ เฉล่ยี ด้านรา่ งกาย

๕.กลา้ พดู กล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสม
๖.พดู แสดงความคดิ ความร้สู ึก และความต้องการได้

๗.แสดงความพอใจในผลงานของตน
๘.ทาํ งานศลิ ปะอย่างมีความสุข

๙.ร่วมกิจกรรมการเคลื่อนไหวประกอบเพลงและ
ดนตรีอยา่ งมคี วามสขุ

๑๐.ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อตอ้ งการสง่ิ ของ
ของผอู้ ืน่ เม่ือมผี ูช้ ้แี นะได้
ค่าเฉล่ียดา้ นอารมณ์ - จิตใจ

๑๑. เก็บของเลน่ ของใชเ้ ขา้ ท่ีดว้ ยตนเองได้

๑๒. กลา่ วสวสั ดี ขอบคุณ และขอโทษได้อยา่ ง
เหมาะสม
๑๓. เลน่ และทํางานร่วมกบั เพอื่ นเป็นกลุ่มได้

คา่ เฉลย่ี ด้านสังคม

๑๔. จับคู่ภาพเหมอื นและภาพสมั พนั ธ์กันได้

๑๕.รว่ มสํารวจส่งิ ตา่ งๆและแหล่งเรียนรรู้ อบตวั ได้

คา่ เฉลี่ยด้านสติปญั ญา

เกณฑ์การประเมิน ครูสงั เกตพฤตกิ รรมเดก็ รายบุคคล จดบันทึกสรุปเปน็ รายสัปดาห์ระบรุ ะดบั คณุ ภาพเป็น ๓ ระดับ คือ

ระดับ ๓ ดี
ระดบั ๒ ปานกลาง
ระดบั ๑ ควรส่งเสริม

ระดบั คณุ ภาพ

2.51 – 3.00 = 3 หมายถงึ ดี
1.51 – 2.50 = 2 หมายถงึ ปานกลาง
1.00 – 1.50 = 1 หมายถงึ ควรส่งเสริม

สรปุ ผลการประเมนิ

พัฒนาการด้านรา่ งกาย

- เด็กมพี ฒั นาการดา้ นรา่ งกายอยู่ในระดบั ดี จำนวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 17.65
- เดก็ มพี ฒั นาการด้านรา่ งกายอยู่ในระดบั ปานกลาง จำนวน 14 คน คิดเปน็ รอ้ ยล 82.35
- เดก็ มพี ฒั นาการด้านรา่ งกายอยใู่ นระดับควรสง่ เสริม จำนวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ -
พัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจ

- เดก็ มีพัฒนาการด้านร่างกายอยู่ในระดบั ดี จำนวน 3 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 17.65
- เด็กมีพฒั นาการดา้ นรา่ งกายอยใู่ นระดับปานกลาง จำนวน 14 คน คิดเปน็ ร้อยล 82.35
- เดก็ มีพฒั นาการด้านรา่ งกายอยู่ในระดบั ควรสง่ เสรมิ จำนวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ -

พฒั นาการด้านสงั คม

- เดก็ มพี ฒั นาการด้านรา่ งกายอยใู่ นระดับดี จำนวน 3 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 17.65
- เดก็ มีพฒั นาการดา้ นรา่ งกายอยใู่ นระดับปานกลาง จำนวน 14 คน คดิ เป็นร้อยล 82.35
- เด็กมีพัฒนาการดา้ นรา่ งกายอยู่ในระดับควรสง่ เสรมิ จำนวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ -

พฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 17.65
จำนวน 14 คน คดิ เป็นรอ้ ยล 82.35
- เดก็ มีพฒั นาการด้านรา่ งกายอยู่ในระดบั ดี จำนวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ -
- เด็กมีพฒั นาการดา้ นร่างกายอยใู่ นระดับปานกลาง
- เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายอยใู่ นระดบั ควรสง่ เสรมิ

(ลงช่อื )………………………………….…..……. ผู้ประเมนิ

(นางสาวเดอื นเพ็ญ หริ ญั รัตน์)
ครปู ระจำชั้น

วนั ท่ี 20 เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2565

บันทึกผลหลงั การจดั ประสบการณ์

ผลการจัดประสบการณ์
ในการจดั การเรยี นการสอนหนว่ ยปฐมนิเทศ เด็กๆไดเ้ รยี นรู้

๑. แนะนำชื่อเด็ก ชอ่ื ครู ช่ือพี่เลยี้ ง ช่อื เพื่อน
๒. แนะนำสญั ลกั ษณ์ประจำตัวและของใช้ส่วนตัว
๓. แนะนำเดินสำรวจหอ้ งเรียน หอ้ งนำ้ โรงอาหาร สนามเด็กเลน่ อาคารเรยี นและมารยาทในการรบั ประทานอาหาร
๔. การปฏบิ ัติตนตามข้อตกลงของห้องเรยี น
๕. มารยาทไทยการแสดงความเคารพกล่าวสวัสดี
นกั เรยี นสามารถเรียนรู้ได้ตามทคี่ รูจัดกจิ กรรมตามความสามารถของแตล่ ะคน
ปญั หา/อุปสรรค
1. นกั เรียนบางคนยังร้องไห้เน่อื งจากเปดิ เรยี นเปน็ สปั ดาห์แรก ครจู ึงตอ้ งปรับเปลยี่ นวธิ ีการสอนเพ่ือที่เด็กจะได้ปรับตัวเข้ากับครูไดเ้ ร็วขึ้นแต่กส็ ร้างข้อตกลงร่วมกนั ใน

แบบที่ง่ายๆไมม่ ากเกินไป
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข

1. ครูต้องให้คำแนะนำกับผปู้ กครองในการฝกึ เด็กให้รูจ้ กั การมาโรงเรียน
ลงชือ่ ..........…………………………....................ครูผสู้ อน

(นางสาวเดอื นเพ็ญ หิรัญรตั น์)

วันท่ี 20 เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2565

ความเหน็ ของผู้บริหาร
1. แผนเหมาะสมตามหลกั สูตรปฐมวยั 60
2. สามารถใช้สอนได้

ลงชอื่ …………………………………………………………
(นางสาวชนกฐิยะพร คำภูเวียงทศิ)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นวดั บางกระเจ้า

วันท่ี 9 เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2565


Click to View FlipBook Version