The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภัยธรรมชาติบนโลก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sararak.k, 2021-10-07 03:45:19

ภัยธรรมชาติบนโลก

ภัยธรรมชาติบนโลก

เอกสารประกอบการจัดการเรียนรรู้ ายวิชาวทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน 4 (เว2อ21ก02ส) ารประกอบกาช้ันรมจัธยมัดศกึ กษาาปีทร่ี 2เรยี นรู้

รายวชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน 4

กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 2

บทที่ 3 ภัยธรรมชาติบนผวิ โลก

นายศรารักษ์ เกลือนสิน ม.2

ครผู สู้ อน

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนวรราชาทนิ ดั ดามาตวุ ิทยา

สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาปทุมธานี

สานักงานคณะนการยศรรมารกักษาร์ เกกลาอื รนศสนิกึ ษาครขผู ้ันู้สอพนื้นฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์พืน้ ฐาน 4 (ว22102) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2

เร่ืองท่ี 1 ภยั ธรรมชาตจิ ากนำ้ ทว่ ม แผ่นดนิ ถลม่ และการกัดเซาะชายฝ่ัง

นำ้ ทว่ ม (floog)

1. น้ำท่วม (floog) หมายถึง ภัยที่เกิดจากน้ำท่วม ซึ่งเป็นน้ำที่ท่วมพื้นที่บริเวณใด
บริเวณหนึ่งเป็นครั้งคราว เนื่องจากมีฝนตกหนักหรือหิมะละลาย ทำให้น้ำในลำน้ำหรือทะเลสาบ
ไหลล้นตล่งิ หรอื ปา่ ลงมาจากท่สี งู สง่ ผลใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ ชีวติ และทรพั ยส์ ินของประชาชน

➢ น้ำลน้ ตลง่ิ (overbank flow)

กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลือนสนิ ครผู สู้ อน

เอกสารประกอบการจดั การเรียนรูร้ ายวชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน 4 (ว22102) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2

➢ น้ำป่าไหลหลาก (flash flood)

➢ นำ้ ทว่ มขัง (flooding)

กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลอื นสนิ ครผู สู้ อน

เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู้รายวิชาวทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน 4 (ว22102) ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2

2. แผ่นดินถล่ม (landslide) หมายถึง การเคลื่อนที่ของแผ่นดิน และกระบวนการซึ่ง
เก่ียวข้องกบั การเคล่ือนท่ีของดนิ หรือหนิ ตามบรเิ วณพ้ืนทีล่ าดชันท่ีเป็นภเู ขาหรอื เนนิ เขา

2.1) ปัจจยั ทท่ี ำใหเ้ กดิ แผน่ ดินถลม่ แผน่ ดินถลม่ เกิดข้นึ เนือ่ งจากแรงดึงดูดของโลก
อาจเลื่อนหลุดออกมาเป็นกระบิหรือพังทลายลงมาก็ได้ สิ่งที่เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดแผ่นดินถล่ ม
มีทง้ั ทเี่ ป็นธรรมชาติและท่ีมนษุ ยก์ ระทำขนึ้

1) ปจั จัยจากธรรมชาติ มดี ังนี้
การเกิดแผ่นดินไหวที่รุนแรงมากจะส่งผลให้เกิดแผ่นดินบริเวณลาดเขา
ทมี่ คี วามชนั เกดิ การเคลื่อนทลี่ งมาตามแรงดงึ ดดู ของโลก
การเกิดฝนตกหนัก ฝนท่ตี กหนกั ต่อเน่ืองกันหลายๆวนั น้ำฝนจะซึมไปสะสม
อยู่ในเนื้อดิน เมื่อดินไม่สามารถอุ้มน้ำไว้ได้จะลื่นไถลลงตามความลาดชันและมักมีต้นไม้และเศษ
หินขนาดตา่ งๆ เลือ่ นไหลตามไปดว้ ย
นอกจากนี้แผ่นดินถล่มอาจเกิดจากปัจจัยอื่นๆ เช่น ภูเขาไฟปะทุ หิมะตก
มากหรอื หิมะละลาย คลื่นสึนามิ การเปลย่ี นแปลงของนำ้ ใตด้ นิ การกดั เซาะของฝัง่ แมน่ ำ้ ไหลท่ วีป
เปน็ ต้น

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลอื นสนิ ครูผู้สอน

เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้รายวชิ าวิทยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน 4 (ว22102) ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2

2) ปัจจัยจากมนษุ ย์ มดี ังน้ี
- การขุดตนบริเวณไหล่เขา ลาดเขาหรือเชิงเขา เพื่อทำการเกษตร

การทำถนน การขยายท่รี าบในการพัฒนาทีด่ นิ เป็นตน้
- การดดู ทรายจากแมน่ ำ้ หรอื บนแผน่ ดนิ
- การขดุ ดินลกึ ๆ ในการก่อสร้างห้องใตด้ นิ ของอาคาร
- การบดอัดดินเพื่อการก่อสร้างทำให้เกิดการเคลื่อนของดินใน

บริเวณใกลเ้ คยี ง
- การสูบน้ำใต้ดิน น้ำบาดาลทม่ี ากเกนิ ไป
- การทำลายปา่ เพอ่ื ทำไร่ ทำสวน เปน็ ต้น

2.2) สถานการณ์การเกิดแผ่นดินถล่ม การเกิดแผ่นดินถล่มในต่างประเทศและ
ในประเทศไทยมีลักษณะคล้ายกัน คือ มักเกิดในพื้นที่ภูเขาที่มีความลาดชัน มีการปรับพื้นที่ป่า
ต้ังเดมิ เป็นพน้ื ทเี่ กษตรกรรม สร้างบ้านพกั อาศัย สรา้ งรีสอรต์ บริการนักทอ่ งเท่ยี ว และเมื่อมีฝนตก
ชุกต่อเนื่องยาวนานมากกว่า 24 ชั่วโมง มักจะเกิดแผ่นดินถล่มเอาดินโคลน เศษหิน ซากไม้ลงมา
พร้อมกับสายน้ำ สร้างความเสียหายทั้งต่อชีวิตและทรัพย์สินทุกครั้ง และการเกิดเหตุการณ์
ดังกล่าวนี้มักเกิดถี่ขึ้น และรุนแรงมากขึ้นทุก ๆ ครั้งด้วย ตัวอย่างเช่น ประเทศยูกันทวีปแอฟริกา
ได้เกิดดินถล่มในหมู่บ้านแถบเทือกเขาทางภาคตะวันออกของประเทศ เมื่อเดือนมีนาคม
พ.ศ. 2553 เนื่องจากมีฝนตกหนักในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง จึงส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากกวา่ 100 คน
และผู้สูญหายอีกกว่า 300 คน และที่ประเทศจีนใต้เกิดแผ่นดินถล่มบ่อยครั้ง เช่น
เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ได้เกิดฝนตกหนักในเขตมณฑลยูนนานและมณฑลเสฉวน
ส่งผลให้เกิดดินถล่มมีผู้เสียชีวิต 148 คน และบ้านเรือนเสียหายอย่างมาก ตัวอย่างแผ่นดินถล่ม
ในประเทศไทย เช่น เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ.2549 ที่อำเภอลับแล อำเภอท่าปลา
อำเภอเมอื ง จังหวัดอุตรดติ ถ์ อำเภอศรสี ัชนาลยั จังหวัดสโุ ขทัย

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลอื นสนิ ครผู สู้ อน

เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์พืน้ ฐาน 4 (ว22102) ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2

2.3) ผลกระทบจากแผน่ ดินถล่ม
1) สร้างความเสยี หายให้แกช่ วี ิต ทรพั ย์สินและระบบสาธารณูปโภค
2) พืน้ ทท่ี างการเกษตรและสภาพแวดลอ้ มโดยรอบได้รับความเสยี หาย
3) ทำให้ดนิ เส่อื มคณุ ภาพ
4) อาจสร้างความเสียหายต่อเขอื่ นได้

2.4) แนวทางปอ้ งกนั และระวงั ภัยจากแผน่ ดนิ ถลม่
1) หลีกเลี่ยงการสรา้ งท่อี ย่อู าศยั ใกลก้ ับไหล่เขา ทล่ี าดชนั และลำนำ้
2) หากพบว่าสีนำ้ ตามลำห้วยมสี แี ดงข่นุ ๆ หลงั ฝนตกหนกั ตอ่ เนือ่ งให้เตรยี ม

ตัวอพยพออกจากพื้นท่ี
3) ลดการตัดไมท้ ำลายปา่ และการปลูกพชื บรเิ วณเชงิ เขา

กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลือนสนิ ครผู สู้ อน

เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตรพ์ นื้ ฐาน 4 (ว22102) ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2

3. การกัดเซาะชายฝั่ง (coastal erosion) หมายถึง การที่ชายฝั่งทะเลถูกกัดเซาะจาก
การกระทำของคลื่นและลอมในทะเลทำให้ชายฝั่งร่นถ่อยแนวเข้าไปในแผ่นดิน ส่งผลกระทบต่อ
สิ่งแวดลอ้ มและการดำรงชวี ิตของมนุษย์

3.1) ปัจจยั การเกิดน้ำกัดเซาะชายฝ่งั มีดงั ตอ่ ไปนี้
ธรณีพิบัติภัยที่เกิดในบริเวณชายฝั่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
อย่างเด่นชัด เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟปะทุ แผ่นดินถล่ม เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงของอากาศ
เปน็ ปจั จัยหนึ่งทีท่ ำให้โลกมสี ภาพแวดล้อมต่างๆ กัน อณุ หภมู ิอากาศโลกท่ีสงู ข้ึน อากาศที่ร้อนข้ึน
จะทำให้ลักษณะของลม คลื่นรนุ แรงระดบั น้ำข้นึ น้ำลงเปลย่ี นแปลง เกิดพายรุ นุ แรงและถี่กว่าเดิม
ระดับนำ้ ทะเลสงู ขนึ้ สว่ นหนึง่ เกดิ จากอากาศมีอุณหภมู ิสงู ขึ้น ทำใหน้ ้ำทะเลขยายตวั และยังทำให้
ธารน้ำแข็งในบริเวณขั้วโลกและบนภูเขสูงละลายไหลลงสู่มหาสมุทร ลักษณะโครงสร้างทาง
ธรณีวทิ ยาของทอ้ งทะเลทมี่ กี ารเคล่อื นที่ตามแผ่นเปลือกทะเลทำใหเ้ กดิ การทรดุ ตวั ของพื้นที่
นอกจากนี้การทรดุ ตัวของพ้นื ทีช่ ายฝง่ั อาจเกิดจากการกดทบั หรอื อดั ตัวของตะกอน
ในพื้นที่หรืออาจเกิดจากการสูบ ขุด หรือดูดทั้งของแข็งและของเหลวออกจากพื้นที่ เช่น การสูบ
นำ้ บาดาลขึ้นมาใช้ในปรมิ าณมาก ทำให้เกิดการทรดุ ตวั ของพื้นท่ี เปน็ ต้น ปริมาณตะกอนไหลลงสู่
ทะเลลดน้อยลง จากการที่มีสิ่งก่อสร้างปิดกั้นการไหลของน้ำตามธรรมชาติ ทำให้ปริมาณตะกอน

กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลอื นสนิ ครูผู้สอน

เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้รายวชิ าวิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน 4 (ว22102) ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2

ตามแนวชายฝัง่ ลดลง การกัดเซาะจึงเกิดขึ้นง่าย กิจกรรมของมนุษย์บนชายฝั่งท่ีพัฒนาขึ้นมาโดย
ไม่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมชายฝั่ง เช่น การสร้างตึกสูงตามแนวชายหาดทรายด้านนอกที่ติด
ทะเล การถมทะเลเพื่อการพัฒนาที่ดิน การเปลี่ยนสภาพป่าชายเลนที่เป็นปราการธรรมชาติไปทำ
ประโยชน์อย่างอื่น การสร้างสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ที่กีดขวางการเคลื่อนที่ตามธรรมชาติของคล่ืน
และกระแสนำ้ เปน็ ต้น

3.2) สถานการณ์ชายฝั่งถูกกัดเซาะ จากการวัดระดับน้ำทะเล โดยสถานี
วัดน้ำ ทะเลทวีปต่างๆ ทั่วโลกพบว่า มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น 12-15 เซนติเมตร บางแห่งที่มี
ระดับนำ้ ทะเลเพิ่มขึ้นจะเกดิ การทรุดตัวของแผ่นดิน ตัวอย่างเชน่ ประเทศสหรัฐอเมริกาได้สูญเสีย
พืน้ ทเ่ี กาะเวลสเกต (Whale Skate) ในบริเวณหมู่เกาะฮาวาย จากการเพ่มิ ขึ้นของระดับน้ำทะเล
หรือประชากรของประเทศตูวาลูที่กำลังเดือดร้อนต้องหาที่อยู่ใหม่ เนื่องแผ่นดินจะจมไปเช่นกัน
ทั้งนี้มีการคาดการณ์ว่า หากระดับน้ำทะเลสูงขึ้นอีก 1 เมตร พื้นที่ชายฝั่งของประเทศอุรกวัยจะ
หายไปร้อยละ 0.05 ประเทศอียิปต์ร้อยละ 1 ประเทศเนเธอร์แลนด์ ร้อยละ 6 ประเทศบังกลาเทศ
ร้อยละ 17.5 และหม่เู กาะมารแ์ ชลลอ์ าจสญู เสียพนื้ ทถ่ี งึ ร้อยละ 80 การเปล่ยี นแปลงดงั กล่าวทำให้
มีการประเมินว่าในช่วง 30 ปีข้างหน้า จะมีการทรุดตัวของแผ่นดินชายฝั่งถูกกัดเซาะและ
ความแปรปรวนของภูมิอากาศโลกจะเพิ่มระดับความรุนแรงขึ้นถึง 20% และจะส่งผลให้เกิดภัย
พบิ ัติทั้งจากน้ำท่วม ดินถลม่ ดินทรุด ความแห้งแลง้ ความปรวนแปรของอากาศ และภยั พิบัตอิ น่ื ๆ
ตามมาอกี มากมาย

สำหรับชายฝั่งทะเลของประเทศไทยมีความยาวประมาณ2,600 กิโลเมตร
ครอบคลุมพื้นที่ชายฝั่งอ่าวไทยและอันดามนั รวม 23จังหวัด โดยฝั่งทะเลดา้ นอ่าวไทยมีความยาว
ประมาณ 1,650 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 17 จังหวัด ได้แก่ ตราด จันทบุรี ระยอง ชลบุรี
ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร
สุราษฎรธ์ านี นครศรีธรรมราช สงขลา ปตั ตานี และนราธวิ าส ส่วนชายฝัง่ ทะเลอันดามนั มคี วาม
ยาวประมาณ 950 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ชายฝั่งทะเลของ 6 จังหวัด ได้แก่ ระนอง พังงา
กระบี่ ตรัง และสตลู

กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลอื นสนิ ครผู ู้สอน

เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู้รายวิชาวิทยาศาสตรพ์ ื้นฐาน 4 (ว22102) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2

พื้นที่ชายฝั่งทะเลประเทศไทย 23 จังหวัดประสบปัญหาถูกกัดเซาะชายฝั่งในอัตรา
ความรุนแรงแตกต่างกัน พื้นที่ที่ประสบปัญหาถูกกัดเซาะชายฝัง่ อย่างรุนแรงทีม่ ีความสำคัญทาง
เศรษฐกิจ และสังคม เช่น พื้นที่ชายบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ชายฝั่งเพชรบุรี-
ประจวบคีรีขันธ์ ชายฝั่งชลบุรี ระยอง ตราด นครศรีธรรมราช สงขลา เป็นต้น กรมทรัพยากร
ธรณีได้รับหมอบหมายจากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมให้เป็นเจ้าภาพในการ
ดำเนินการแก้ไขปัญหา การกัดเซาะชายฝั่งและตลิ่งลำน้ำ ได้รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นถึง
สภาพปัญหาของพื้นที่วิกฤตการกัดเซาะชายฝั่งทะเลพบว่า ชายฝั่งทะเลบางขุนเทียนถูกกัดเซาะ
ตลอดระยะทาง 5 กิโลเมตร ชายฝั่งอำเภอชะอำจงั หวดั เพชรบุรี และชายฝั่งอำเภอหัวหิน จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ ถูกกัดเซาะอย่างรุนแรงเป็นระยะทางประมาณ 8 กิโลเมตร และมีชายหาด
บริเวณพื้นที่ที่มีความสำคัญ เช่น หาดหัวหิน บริเวณพระราชนิเวศมฤคทายวัน พระราชวังไกล
กังวล ถูกกัดเซาะในระดับปานกลางเป็นระยะทางประมาณ 40กิโลเมตร ชายฝั่งปัตตานี –
นราธิวาส ถูกกัดเซาะอย่างรุนแรงเป็นระยะทางประมาณ 35 กิโลเมตร และชายฝั่งจังหวัดตราด
พบการถูกกัดเซาะอย่างรุนแรงเป็นระยะทางประมาณ 8กิโลเมตร โดยมีสาเหตุของการกัดเซาะ
และสภาพแตกต่างกัน จำเป็นต้องดำเนินการสถานภาพ และวางแนวทางแก้ไขปัญหาเป็นการ
เฉพาะในแต่ละเพื่อนที่ ซึ่งต้องดำเนินการศึกษาสภาพปัญหาสาเหตุ และปัจจัยทางธรณีวิทยา
สิ่งแวดล้อมและสมุทรศาสตร์ เพื่อวางแนวทางการป้องกัน การแก้ไขปัญหาให้เหมาะสมกับสภาพ
พื้นทว่ี กิ ฤตแต่ละแห่ง

3.3) ผลกระทบจากน้ำกัดเซาะชายฝั่ง การกัดเซาะชายฝั่งที่เกิดขึ้นในหลายพื้นท่ี
ชายฝ่งั ของภมู ภิ าคตา่ งๆ และชายฝัง่ ของประเทศไทยสง่ ผลกระทบในด้านต่างๆ ดังนี้

1 )ระบบนิเวศชายฝ่ัง ทำใหร้ ะบบนเิ วศชายฝ่ัง เช่น แนวปะการงั ปา่ ไมช้ าย
เลน หญา้ ทะเล และสิง่ มชี วี ติ อื่นๆ ถกู ทำลาย สง่ ผลให้สภาพแวดล้อมชายฝง่ั เสอื่ มโทรมลง

2) สภาพเศรษฐกิจ เมื่อพื้นที่ชายทั้งทะเลไม่มีความอุดมสมบรูณ์
ไม่มีความสวยงามตามธรรมชาติ ส่งผลให้นักท่องเที่ยวลดน้อยลง กระทบอุตสาหกรรมการ
ท่องเที่ยว ซึ่งเป็นรายได้สำคัญของประเทศ และกระทบต่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง ส่งผลให้
เกิดการสญู เสยี ทางเศรษฐกจิ จำนวนมาก

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลอื นสนิ ครูผ้สู อน

เอกสารประกอบการจัดการเรียนรรู้ ายวชิ าวิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 4 (ว22102) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2

3) การดำรงชีวิตของประชนการกัดเซาะชายฝั่งทำให้สิ่งปลูกสร้างเสียหาย
สูญเสียท่ีดินและทรัพย์สิน ส่งผลกระทบต่อคณุ ภาพชีวิตและวถิ ีชีวิตของคนในชมุ ชนเปลี่ยนแปลง
ไป หลายชมุ ชนต้องอพยพออกจากพ้ืนที่

3.4) แนวทางแกไ้ ขปญั หาน้ำกัดเซาะชายฝั่ง
1) ฟืน้ ฟแู ละอนุรกั ษ์ป่าชายเลน
2) สรา้ งเข่อื นกันคลนื่ หรอื สรา้ งกำแพงกนั ตล่งิ
3) สรา้ งปะการังเทยี ม

กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลือนสนิ ครูผู้สอน

เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรูร้ ายวิชาวิทยาศาสตรพ์ นื้ ฐาน 4 (ว22102) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2

เรอื่ งที่ 2 ภยั ธรรมชาติจากหลุมยบุ และแผน่ ดินทรุด

1. หลุมยุบ (sinkhole) เป็นปรากฎการณ์ธรรมชาติอย่างหนึ่งที่ดินยุบตัวลงเป็นหลุมลึก มีรูปร่าง
และขนาดต่างๆกนั เช่น รูปเกือบกลมหรือเป็นวงรี ( พจนานกุ รม ศัพท์ธรณวี ทิ ยา , 2544) มนี ้ำขัง
อยู่ก้นหลุม ภายหลังน้ำใต้ดินจะกัดเซาะและนำพาดินที่อยู่ก้นหลุมไป ทำให้หลุมยุบลึกขึ้น
สว่ นปากหลมุ กจ็ ะพงั อยู่ตลอดจนกระทงั่ จะเสถยี ร

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลอื นสนิ ครผู สู้ อน

เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรูร้ ายวชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน 4 (ว22102) ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2

สาเหตุของการเกดิ หลุมยบุ ท่ีพบในประเทศไทย
หลุมยุบเกิดจากมีโพรงใต้ดินในบริเวณน้ัน ต่อมาเพดานโพรงยุบตัวลง อาจเนื่องจากการ

สูบน้ำใต้ดินทำให้ขาดแรงพยุงเพดานโพรง หรือแรงสั่นสะเทือนจากการที่มียานพาหนะสัญจรไป
มาในบริเวณใกล้เคียง/แรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหว จึงทำให้เพดานโพรงพังทลายลงเกิดเป็น
หลุมยบุ ขน้ึ โพรงใตด้ นิ ทพี่ บในประเทศไทย มดี ังนี้

1.1 โพรงหินปูนใตด้ ิน
เมอ่ื ฝนตกลงมา จะได้รบั ก๊าซคาร์บอนไดออกไซดข์ ณะผา่ นช้ันบรรยากาศและซึมลง
ใต้ผิวดนิ ทำให้นำ้ ฝนมคี วามเป็นกรดอยา่ งอ่อน (กรดคารบ์ อนกิ ) เม่ือไหลผ่านและสมั ผสั กับหินปูน
จะละลายเนื้อหินปูนออกไปด้วย ในที่สุดก็จะค่อยๆเกิดเป็นโพรงหรือถ้ำใต้ดินขึ้น เมื่อโพรงใต้ดิน
เหล่านี้มีการขยายขนาดใหญ่ขึ้นและอยู่ใกล้ผิวดินมากยิ่งขึ้น เพดานไม่สามารถต้านทานน้ำหนัก
ของดินและสิ่งก่อสร้างทีก่ ดทบั ดา้ นบนได้ ก็จะถล่มพังลงไปด้านล่างและกลายเป็นหลุมยุบในที่สดุ
โพรงหินปูนถ้าอยู่พ้นผิวดิน ก็คือถ้ำ ถ้าไม่โผล่เรียกว่าโพรงหินปูนใต้ดิน ซึ่งจำแนกเป็น 2 ระดับ
คือ โพรงหนิ ปูนใตด้ ินระดับลึก ( ลกึ จากผวิ ดนิ มากกวา่ 50 เมตร ) และโพรงหนิ ปูนใต้ดินระดับตื้น
( ลึกจากผวิ ดินไม่เกนิ 50 เมตร ) สว่ นใหญห่ ลมุ ยุบจะเกิดในบรเิ วณทีม่ ีโพรงหนิ ปนู ใตด้ ินระดับต้นื

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลือนสนิ ครูผู้สอน

เอกสารประกอบการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าวทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน 4 (ว22102) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2

1.2 ชัน้ เกลอื หินใตด้ นิ
พื้นที่ส่วนใหญ่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีชั้นเกลือหินรองรับอยู่ด้านใต้ เกลือ
หินมีคุณสมบัติละลายน้ำได้ง่าย เมื่อมีการทำเหมืองใต้ดิน โดยการสูบเกลือขึ้นมา จึงเป็นสาเหตุ
ทำให้เกิดโพรงใต้ดินขึ้น ต่อมาเพดานโพรงพังทลายลง จึงเกิดเป็นหลุมยุบขึ้น ขนาดของหลุมยุบ
อาจมีขนาดใหญ่โต สรา้ งความเสยี หายให้กับทรพั ย์สนิ ของประชาชนได้

กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลือนสนิ ครผู สู้ อน

เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน 4 (ว22102) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2

1.3 ชั้นทรายถกู น้ำใต้ดนิ พดั พา
มักเกิดขึ้นในพื้นที่ที่มีชั้นทรายรองรับอยู่ใต้ดินและอยู่ใกล้แม่น้ำ ลำคลอง เกิดขึ้น
ทั่วทกุ ภาคของประเทศ เมอื่ มีฝนตกหนกั หรือตกตอ่ เนอ่ื ง ทำใหป้ ริมาณและแรงพัดพาของน้ำใต้ดิน
เพิ่มขึ้นจึงพัดพาเอาตะกอนทรายใต้ดินลงสู่แม่นำ้ ลำคลอง จึงทำให้เกิดโพรงใต้ดินขึ้น แต่โพรงใต้
ดินที่เกิดจากสาเหตุนี้จะมีขนาดไม่ใหญ่มาก และไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินเพียงแต่
สรา้ งความตืน่ ตระหนกใหก้ บั ผปู้ ระสบเหตุ

นอกจากหลมุ ยุบอนั มสี าเหตุจากโพรงใต้ดนิ ดงั ทก่ี ลา่ วมาแล้วนน้ั ยังมกี รณที บ่ี อ่ นำ้ ทรุดตัว
หรอื จมหายลงไป ซง่ึ จากการตรวจสอบแล้วพบว่าสาเหตุมี 3 กรณี คือ

• ทอ่ บอ่ วางอยู่บนชน้ั ตะกอนอ่อน นำ้ หนกั ของท่อบอ่ กดทับใหจ้ มตวั ลง
• ทอ่ บอ่ ทอ่ นลา่ งแตก เนอ่ื งจากอายุการใชง้ านทำให้ทอ่ ทางดา้ นบนทรุดตวั ตามลงไป
• ปลายท่อบอ่ ทอ่ นลา่ งวางไม่ถึงพนื้ บ่อ นานวันเขา้ นำ้ หนกั จากท่อดา้ นบนกดทบั ให้
จมตวั ลง

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลอื นสนิ ครผู สู้ อน

เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรรู้ ายวิชาวทิ ยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน 4 (ว22102) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2

2. แผน่ ดนิ ทรุด (land subsidence)
เกิดขึ้นได้ทั้งเร็วและช้า และมีสาเหตุทั้งจากธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ ซึ่งบางคร้ัง

การทรุดตัวอาจครอบคลุมพื้นที่กว้างและทำให้เกิดภัยพบิ ัติ รูปแบบและสาเหตุการทรุดตัวจำแนก
ได้ 3 รูปแบบ

1) หลุมยบุ (sink hole) เป็นการทรุดตวั เน่อื งจากการถล่มของโพรงใต้ดินอย่างทันทีทันใด
ซึ่งโพรงเกิดขึ้นได้ทั้งจากธรรมชาติ เช่น การกัดเซาะหินปูนของน้ำใต้ดินจนกลายเป็นโพรงหรือ
ถ้ำใต้ดิน โพรงภายในท่อลาวา หรือเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ เช่น การทำเหมืองใต้ดิน
เหมืองเกลือ การสูบน้ำหรือน้ำมันจากใต้ดินขึ้นมา โดยปกติหลุมยุบที่เกิดจากน้ำใต้ดินกัดเซาะ
หินปูนจะไม่ยุบเมื่อมีระดับน้ำใต้ดินสูง แต่เมื่อน้ำใต้ดินลดต่ำลง ไม่มีน้ำพยุงโครงสร้างของ
โพรงใต้ดิน อาจเกิดการถล่มได้ หรือหากมีการกระตุ้น เช่นแผ่นดินไหวก็สามารถทำให้โพรงใต้ดนิ
ถล่มได้ง่ายขน้ึ

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลอื นสนิ ครูผู้สอน

เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้รายวิชาวทิ ยาศาสตรพ์ ืน้ ฐาน 4 (ว22102) ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2

2) การอัดตัวของตะกอน (soil compaction) ตะกอนขนาดโคลนเมื่อมีน้ำเป็น
องค์ประกอบจะเกาะกันอย่างหลวมๆ แต่เมื่อมีการนำน้ำออกไป โคลนถูกกดทับจากน้ำหนักของ
ตัวเอง ทำใหโ้ คลนน้นั ทรดุ ลงอย่างช้าๆ เช่นการ ทรดุ ตัวเน่อื งจากการสูบน้ำใต้ดนิ มาใช้มากเกินไป
ในพื้นที่รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ในช่วงปี พ.ศ. 2468-2518 ทำให้พื้นที่มากกว่า
5,000 ตารางกิโลเมตรทรุดตวั มากกวา่ 9 เมตร

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลอื นสนิ ครูผ้สู อน

เอกสารประกอบการจัดการเรียนรูร้ ายวิชาวิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 4 (ว22102) ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2

3) การขยายตัวของดิน (expansive soil) หากมวลที่มีแร่องค์ประกอบหลักเป็นแร่ดิน
จะสามารถขยายตัวในช่วงเวลาที่เปียกและหดในระหว่างที่แห้งได้ ทำให้เกิดรอยแตกของผิวดิน
ซึ่งสังเกตดินประเภทนี้ได้จากการมีอยู่ของ ดินที่มีลักษณะคล้ายกับ ข้าวโพดขั้ว (popcorn-like
texture) ซึ่งจะเป็นดินที่มีความอ่อนยวบไม่เสถียร และสร้างความเสียหายได้หลายรูปแบบ
เชน่ การทรดุ ตวั แบบยุบยับทำให้ถนนไม่ราบเรียบ ซงึ่ อาจจะส่งผลเล็กน้อยหากเป็นถนนโดยท่ัวไป
แต่ถอื วา่ อันตรายมากหากเกิดกับทางด่วน รันเวย์สนามบนิ หรือฐานรากของอาคารสูง

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลือนสนิ ครูผู้สอน

เอกสารประกอบการจดั การเรยี นร้รู ายวิชาวิทยาศาสตร์พืน้ ฐาน 4 (ว22102) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2

ภัยธรรมชาติอนื่ ๆ

1. แผ่นดินไหว (Earthquake) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่แผ่นดินมีการสั่นสะเทือน
ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของแรงบางอย่างที่อยู่ใต้พื้นโลก เมื่อเกิดแผ่นดินไหวคลื่นของแผ่นดินไหว
จะกระจายไปสู่บริเวณส่วนต่างๆ ของโลก และถ้าการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวเป็นไปอย่าง
รนุ แรง อปุ กรณ์ตรวจจบั คลน่ื ทีอ่ ยู่หา่ งออกไปไกลนบั หม่ืนกิโลเมตรก็สามารถรับคลนื่ แผน่ ดนิ ไหวได้

2) ภเู ขาไฟปะทุ
ภูเขาไฟ (Volcano) เป็นภูเขาไฟที่เกิดขึ้นจากการปะทุของหินหนืด แก๊ส และเถ้าธุลี
ภูเขาไฟจากใต้เปลือกโลกแล้วปรากฎตัวเป็นสภาพภูมิประเทศ ภูเขาไฟมีทั้งที่ดับแล้วและ
ที่ยังมีพลังอยู่ ภูเขาไฟที่ดับแล้วเป็นภูเขาไฟที่เกิดขึ้นนานมาก อาจเป็นหลายแสนล้านปี หินหนดื
ที่ไหลออกมาแข็งตัวกลายเป็นหินภูเขาไฟบนพื้นโลก ส่วนภูเขาไฟที่ยังมีพลังเป็นภูเขาไฟที่มี
การปะทุ หรือดับชัว่ คราว ซ่ึงเป็นภเู ขาไฟท่ีมอดแล้วนานนับพนั ปี อาจจะปะทุใหมไ่ ด้อีก ปัจจุบันน้ี
ทั่วโลกมีภูเขาไฟที่มีพลังอยู่ประมาณ 1.300 ลูก และมีภูเขาไฟที่ดับแล้วจำนวนมากที่กลายเป็น
ภูเขาทีส่ ำคญั

กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลอื นสนิ ครูผูส้ อน

เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรูร้ ายวชิ าวทิ ยาศาสตร์พ้นื ฐาน 4 (ว22102) ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2

3) สึนามิ (Taunami) เป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติอย่างหนึ่ง ในภาษาญี่ปุ่นแปลว่า
“คลื่นอ่าวจอดเรอื ” (Haebour Waver) ซงึ่ สึ คำแรก แปลว่า ทา่ เรอื ( Harbour) ส่วนคำทสี่ อง
นามิ แปลว่า คลื่น (Wave) ในบางครั้งก็อาจเรียกว่า “Seismic Wave” ปัจจุบันใช้คำเรียกกลุ่ม
คล่นื ท่ีมีความยาวคลื่นมากๆขนาดหลายรอ้ ยกิโลเมตรนบั จากยอดคลน่ื ทไ่ี ล่ตามกันไป

4) วาตภัย เป็นภัยธรรมชาติซึ่งเกิดจากพายุลมแรง สามารถแบ่งลักษณะของวาตภัยได้
ตามความเร็วลม สถานที่ที่เกิด เช่น พายุฝนฟ้าคะนอง พายุดีเปรชัน พายุโซนร้อน พายุไต้ฝุ่น
เป็นตน้ ทำให้เกดิ ความเสียหายใหแ้ กช่ วี ติ ของมนุษย์ อาคารบ้านเรือน ต้นไม้ และส่ิงก่อสรา้ งต่างๆ

กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลอื นสนิ ครูผู้สอน

เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าวิทยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน 4 (ว22102) ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2

5) ไฟป่า (Wild Fire) คอื ไฟที่เกดิ ขน้ึ แล้วลุกลามไปไดโ้ ดยปราศจากการควบคุมไฟป่าอาจ
เกิดขึ้นจากสาเหตุธรรมชาติหรือเกิดจากการกระทำของมนุษย์แล้วส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
และการดำรงชีวติ ของมนุษย์ ไฟปา่ ทเี่ กดิ ขึ้นบริเวณภขู าจะมคี วามรนุ แรงและขยายพน้ื ทไ่ี ด้เร็วกว่า
พน้ื ราบ

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลอื นสนิ ครูผสู้ อน

เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรูร้ ายวิชาวทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน 4 (ว22102) ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2

ช่ือ-สกุล…………………………………………….…………
ชั้น ม. 2/……….. เลขท่ี …………………………

ใบงานท่ี 6

เรือ่ ง ภยั ธรรมชาติ

1. นำ้ ท่วม (floog) เกดิ จำก ……………………………………………………………………………………………………….
ผลกระทบ ………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

➢ นำ้ ล้นตล่ิง (overbank flow) เกดิ จำก…………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ผลกระทบ ………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

➢น้ำป่ำไหลหลำก (flash flood) เกดิ จำก……..………………………………………………….…

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ผลกระทบ ………………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………………………………

➢นำ้ ทว่ มขงั (flooding) เกิดจำก……..……………………………………………………………….……

ผลกระทบ ………………………………………………………………………………………………………………………………..
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. แผน่ ดนิ ถลม่ (landslide) เกิดจำก……..…………………………………………………….……………….…………….
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………

..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัจจยั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง ไดแ้ ก่ ……………………………………………………………………………………………………………..
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผลกระทบ ………………………………………………………………………………………………………………………………..
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กำรปอ้ งกัน ………………………………………………………………………………………………………………………………
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลอื นสนิ ครผู ู้สอน

เอกสารประกอบการจัดการเรียนรรู้ ายวิชาวทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน 4 (ว22102) ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2

3. กำรกดั เซำะชำยฝง่ั (coastal erosion) เกดิ จำก……..……………………………………………….……………….
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัจจัยทเี่ กี่ยวขอ้ ง ได้แก่ ……………………………………………………………………………………………………………..
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผลกระทบ ………………………………………………………………………………………………………………………………..
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กำรปอ้ งกัน ………………………………………………………………………………………………………………………………
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. หลมุ ยบุ (sinkhole) เกิดจำก……..……………………………………………….…………………………………………..

..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปจั จยั ทเ่ี ก่ียวข้อง ได้แก่ ……………………………………………………………………………………………………………..
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผลกระทบ ………………………………………………………………………………………………………………………………..
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กำรป้องกัน ………………………………………………………………………………………………………………………………
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. แผน่ ดนิ ทรดุ (land subsidence) เกดิ จำก……..……………………………………………….……………………….

..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัจจัยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ไดแ้ ก่ ……………………………………………………………………………………………………………..
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผลกระทบ ………………………………………………………………………………………………………………………………..
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กำรป้องกนั ………………………………………………………………………………………………………………………………
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
..………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายศรารักษ์ เกลอื นสนิ ครูผู้สอน

เอกสารประกอบการจัดการเรียนรรู้ ายวชิ าวิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน 4 (ว22102) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2

--

เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรู้

รายวชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน 4

กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลกยี ลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ นยายาศรศาราักษส์ ตเกลรือนแ์ สนิละเคทรูผคสู้ อโนนโลยี
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 2


Click to View FlipBook Version