The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการประชุม ครั้งที่ 1-64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pimjuta Varasap, 2021-11-02 06:01:59

เอกสารประกอบการประชุม ครั้งที่ 1-64

เอกสารประกอบการประชุม ครั้งที่ 1-64

ระเบียบวาระการประชุม
คณะกรรมการอานวยการอบรมและพฒั นาข้าราชการตุลาการศาลยุตธิ รรม
หลักสตู ร “ผพู้ พิ ากษาประจาศาล” (ผู้ชว่ ยผ้พู พิ ากษา รุ่นที่ 73 และร่นุ ท่ี 74)

ครัง้ ที่ 1/๒๕๖4
วันท่ี 4 พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖4 เวลา 09.30 นาฬกิ า

ประชุมทางไกลผ่านจอภาพดว้ ยโปรแกรม Zoom

*****************************

ระเบียบวาระที่ ๑ เรอ่ื งทปี่ ระธานแจง้ ใหท้ ี่ประชุมทราบ

ระเบียบวาระที่ 2 เร่อื งเสนอเพื่อพจิ ารณา
2.1 การจดั อบรมหลักสตู ร “ผพู้ ิพากษาประจาศาล”

(ผชู้ ว่ ยผู้พพิ ากษา รนุ่ ท่ี 73 และรุ่นท่ี 74)
1) หวั ขอ้ วิชา ระยะเวลา และวิทยากร
2) การศกึ ษาดงู านภายในประเทศ

ระเบยี บวาระท่ี 3 เรือ่ งอน่ื ๆ (ถา้ ม)ี

*****************************

สารบัญเอกสารประกอบการประชุม
คณะกรรมการอานวยการอบรมและพฒั นาขา้ ราชการตลุ าการศาลยุตธิ รรม
หลักสูตร “ผพู้ พิ ากษาประจาศาล” (ผู้ชว่ ยผพู้ พิ ากษารุ่นท่ี 73 และรุ่นที่ 74)

ผ่านโปรแกรม Zoom
ครั้งท่ี 1/2564 (วันท่ี 4 พฤศจกิ ายน 2564 เวลา 09.30 นาฬกิ า)



วาระท่ี เอกสาร รายละเอยี ดเอกสาร หนา้
ลาดับ
1
1 1 รายชอื่ คณะกรรมการอานวยการอบรมและพัฒนาข้าราชการตุลาการศาลยตุ ธิ รรม
หลกั สตู ร “ผพู้ พิ ากษาประจาศาล” (ผชู้ ว่ ยผู้พพิ ากษารนุ่ ท่ี 73 และรนุ่ ท่ี 74) 3

2 2 ระเบยี บคณะกรรมการบรหิ ารศาลยตุ ิธรรม ว่าดว้ ยการอบรมและพฒั นาข้าราชการ 7
ตุลาการศาลยตุ ธิ รรม พ.ศ. 2546 และทแี่ ก้ไขเพ่ิมเติม 26

3 โครงการอบรม หลักสตู ร “ผู้พิพากษาประจาศาล” 40

4 ตารางเปรียบเทียบหวั ขอ้ วชิ า ระยะเวลา และวทิ ยากรหลักสตู ร
“ผูพ้ พิ ากษาประจาศาล”

5 รายช่อื ผู้เข้ารบั การอบรม

1

รายช่อื คณะกรรมการอานวยการอบรมและพฒั นาข้าราชการตุลาการศาลยตุ ธิ รรม
หลักสตู ร ผ้พู พิ ากษาประจาศาล (ผู้ช่วยผู้พพิ ากษา รุ่นที่ ๗3)
------------------------------------------------------

1. นายลาชติ ไชยอนงค์ รองประธานแผนกคดเี ลือกตงั้ ในศาลฎกี า
ชว่ ยทางานชัว่ คราวในตาแหน่งรองประธานศาลฎีกา
2. นายวรวฒุ ิ ทวาทศิน (ประธานกรรมการอานวยการอบรม)
อธิบดีผพู้ ิพากษาศาลทรัพยส์ นิ ทางปัญญาและ
3. นายวรพงศ์ มนตรีกลุ ณ อยธุ ยา การคา้ ระหว่างประเทศกลาง
4. นายสพุ จน์ ปญุ ญาภชิ ยั ผู้พพิ ากษาหวั หนา้ คณะในศาลอทุ ธรณ์
ผู้พพิ ากษาศาลอุทธรณ์ ชว่ ยทางานช่วั คราวในตาแหนง่
5. นายภีม ธงสนั ติ ผู้พิพากษาหวั หนา้ คณะในศาลอุทธรณ์
เลขาธิการสถาบันพัฒนาข้าราชการ
6. นายเสกสรร เจยี มสุขสุจิตต์ ฝ่ายตลุ าการศาลยุตธิ รรม
(ผู้อานวยการอบรม)
7. นางทิพวรรณ หัตถะปนิตร์ ผพู้ ิพากษาศาลอุทธรณ์
ผ้ชู ่วยผูพ้ ิพากษาศาลฎกี า
8. นางนพร เพชรคณุ รองอธิบดผี พู้ ิพากษาศาลแพง่ ตลง่ิ ชัน
ช่วยทางานชวั่ คราวในตาแหน่ง
9. นายสมภพ บวั ยงั่ ยนื รองอธิบดผี ู้พิพากษาศาลล้มละลายกลาง
ผพู้ พิ ากษาศาลอุทธรณ์ประจากองผูช้ ว่ ย
10. นายเจรญิ ชยั ตรีวัฒนาวงศ์ ผพู้ ิพากษาศาลอุทธรณ์
11. นางสาวร่งุ ระวี โสขมุ า ผชู้ ่วยผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์
12. นายชยกมล เกษมสันต์ ณ อยุธยา ผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลอทุ ธรณค์ ดชี านัญพเิ ศษ
13. นางสาวฉันทนา เจริญศกั ดิ์ ผู้ช่วยผพู้ พิ ากษาศาลอุทธรณ์
รองเลขาธิการสถาบันพัฒนาขา้ ราชการ
ฝา่ ยตุลาการศาลยุติธรรม

------------------------------------------------------

2

รายชอ่ื คณะกรรมการอานวยการอบรมและพฒั นาข้าราชการตลุ าการศาลยุติธรรม
หลกั สูตร ผู้พพิ ากษาประจาศาล (ผู้ช่วยผพู้ พิ ากษา รุน่ ท่ี ๗๔)

๑. นายเกียรตพิ งศ์ อมาตยกลุ ประธานแผนกคดลี ม้ ละลายในศาลฎกี า ช่วยทางานชวั่ คราวใน
ตาแหนง่ ผ้พู พิ ากษาอาวโุ สในศาลแรงงานภาค 7
๒. นางมณั ทรี อชุ ชิน (ประธานกรรมการอานวยการอบรม)
๓. นายสจุ ินต์ เชยี่ วชาญศลิ ป์ อธิบดีผพู้ ิพากษาศาลอาญาคดีทจุ รติ และประพฤติมชิ อบภาค 5

๔. นายภมี ธงสนั ติ ผพู้ ิพากษาหวั หนา้ คณะในศาลอทุ ธรณค์ ดชี านญั พิเศษ
ชว่ ยทางานชว่ั คราวในตาแหน่งประธานแผนกคดสี ่งิ แวดล้อมใน
๕. นายวโิ รจน์ จวิ ะวิทรู กิจ ศาลอุทธรณภ์ าค 7
๖. นางพนดิ า บุญรอด เลขาธกิ ารสถาบนั พัฒนาขา้ ราชการฝ่ายตลุ าการศาลยตุ ธิ รรม
๗. นายวชั รนิ ทร์ ฤชโุ รจน์ (ผอู้ านวยการอบรม)

๘. นางอรอุษา กฤษณะโลม จรญั รัตนศรี ผู้ชว่ ยผู้พพิ ากษาศาลฎีกา
๙. นางสนุ ทรี วไิ ลสรการ
๑๐. นายรุง่ อรุณ ชนะวีรวรรณ รองอธบิ ดีผูพ้ ิพากษาภาค 8
๑๑. นายเรืองสิทธิ์ อนุชติ วงศ์
๑๒. นางสาวปทติ ตา สริ ภิ าพโสภณ ผู้พิพากษาหวั หนา้ คณะในศาลแรงงานกลาง ชว่ ยทางานช่ัวคราวใน
๑๓. นางสาวฉันทนา เจริญศกั ด์ิ ตาแหนง่ ผ้ชู ่วยผู้พิพากษาศาลอุทธรณป์ ระจากองผ้ชู ว่ ยผพู้ ิพากษา
ศาลอุทธรณ์คดีชานญั พิเศษ

ผ้พู พิ ากษาหวั หนา้ ศาลประจากองผชู้ ว่ ยผ้พู พิ ากษาศาลฎกี า

ผู้พิพากษาหวั หนา้ คณะในศาลอาญากรุงเทพใต้

ผพู้ ิพากษาหวั หนา้ คณะในศาลอาญา

ผู้ช่วยผพู้ พิ ากษาศาลอทุ ธรณ์

ผ้พู ิพากษาหัวหน้าคณะในศาลลม้ ละลายกลาง

รองเลขาธกิ ารสถาบันพฒั นาข้าราชการฝ่ายตลุ าการ
ศาลยตุ ิธรรม

3

ระเบยี บคณะกรรมการบริหารศาลยตุ ธิ รรม
วา่ ดว้ ยการอบรมและพัฒนาขา้ ราชการตลุ าการศาลยตุ ธิ รรม

พ.ศ. ๒๕๔๖

โดยที่เป็นการสมควรให้มีระเบียบเพ่ือกาหนดแนวทางและวิธีการบริหารหลักสูตร
และอานวยการอบรมข้าราชการตุลาการศาลยุตธิ รรมให้เป็นไปตามเป้าหมายอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๗ (๑) แห่งพระราชบัญญตั ิระเบยี บบริหารราชการ
ศาลยุตธิ รรม พ.ศ. ๒๕๔๓ คณะกรรมการบรหิ ารศาลยตุ ิธรรม (ก.บ.ศ.) ออกระเบียบไวด้ งั ต่อไปน้ี

ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม ว่าด้วย
การอบรมและพฒั นาขา้ ราชการตลุ าการศาลยุตธิ รรม พ.ศ. ๒๕๔๖”

ขอ้ ๒ ระเบยี บน้ใี หใ้ ชบ้ งั คับตง้ั แต่วันประกาศเปน็ ต้นไป

ข้อ ๓ ให้สานักงานศาลยุติธรรมดาเนินการจัดการอบรมและพัฒนาข้าราชการตุลาการ
ศาลยตุ ธิ รรมตามหลักสตู รท้ายระเบยี บนี้

๑ข้อ ๔ ในการบริหารหลักสูตรท้ายระเบียบน้ีให้มีคณะกรรมการกากับหลักสูตร
และแผนการพัฒนาข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรมทาหน้าท่ีดูแลบริหารหลักสูตรต่าง ๆ และให้มี
คณะกรรมการอานวยการอบรมและพัฒนาข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม ทาหน้าท่ีดูแลบริหาร
หลักสูตรผู้พิพากษาประจาศาลและหลักสูตรผู้พิพากษาหัวหน้าศาลท้ายระเบียบนี้ ตามอานาจหน้าที่
ท่ีกาหนดไว้

๒ข้อ ๕ คณะกรรมการกากับหลักสูตรและแผนการพัฒนาข้าราชการตุลาการ
ศาลยุตธิ รรมประกอบด้วย

(๑) ประธานศาลอุทธรณ์ เป็นประธานกรรมการ
(๒) กรรมการโดยตาแหน่ง ได้แก่ รองประธานศาลฎีกาคนท่ีสอง อธิบดีผู้พิพากษา
ศาลแพ่ง อธิบดีผพู้ ิพากษาศาลอาญา อธิบดผี ู้พิพากษาศาลชานัญพิเศษหรือศาลพิเศษที่มีอาวุโสสูงสุด
และอธบิ ดผี ู้พิพากษาภาค ๑
(๓) เลขาธิการสานักงานศาลยตุ ิธรรมหรือผู้แทน เป็นกรรมการ
(๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจานวนไม่เกิน ๕ คน ซ่ึงคัดเลือกและแต่งตั้งโดย ก.บ.ศ.
จากข้าราชการตุลาการซ่ึงดารงตาแหน่งในศาลฎีกาและศาลอุทธรณ์ศาลละ ๒ คน และบุคคลท่ีมี
ความเชี่ยวชาญทางด้านการบริหารงานบุคคล การพัฒนาองค์กร การบริหารและการจัดการ หรือด้าน
อนื่ ใดที่ ก.บ.ศ. เห็นสมควรอีกจานวน ๑ คน

๑ แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยระเบยี บฯ ฉบับที่ ๗ ลงวนั ที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๐
๒ แก้ไขเพมิ่ เตมิ โดยระเบยี บฯ ฉบบั ที่ ๕ ลงวนั ที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๙

๒ 4

(๕) เลขาธิการสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม เป็นกรรมการและ
เลขานุการ

เลขาธิการสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมอาจแต่งต้ังข้าราชการ
ฝ่ายตลุ าการศาลยุติธรรม เปน็ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร ได้ตามทเ่ี ห็นสมควร

ข้อ ๖ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามข้อ ๕ (๔) อาจเป็นหรือไม่เป็นข้าราชการฝ่ายตุลาการ
ศาลยุติธรรมก็ได้ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระอยู่ในตาแหน่งคราวละสองปี ในกรณีท่ีกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งก่อนครบวาระให้ผู้ได้รับการแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งแทนอยู่ในตาแหน่ง
เทา่ กบั วาระที่เหลืออยขู่ องกรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ซิ ง่ึ ไดร้ บั แต่งต้งั ไว้แลว้

กรรมการผทู้ รงคุณวุฒซิ ึง่ พ้นจากตาแหน่งตามวาระอาจได้รบั แตง่ ตงั้ อีกได้

ข้อ ๗ นอกจากพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามข้อ ๖ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ พ้นจาก
ตาแหนง่ เม่ือ

(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) เปน็ บคุ คลลม้ ละลาย
(๔) เปน็ คนไรค้ วามสามารถ หรอื เสมือนไรค้ วามสามารถ
(๕) ไดร้ ับโทษจาคกุ โดยคาพิพากษาถึงที่สดุ ให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิด
ท่ไี ด้กระทาโดยประมาท หรอื ความผดิ ลหโุ ทษ

ข้อ ๘ คณะกรรมการกากับหลักสูตรและแผนการพัฒนาข้าราชการตุลาการ
ศาลยุติธรรมมีอานาจและหน้าท่ีควบคุมดูแลให้การอบรมหลักสูตรต่าง ๆ ท้ายระเบียบนี้ ดาเนินไป
ด้วยความเรียบร้อย ตรงตามวัตถุประสงค์ รวมท้ังมีอานาจในการเสนอแนวนโยบายต่อ ก.บ.ศ. เพื่อ
การพัฒนาหลักสตู รการอบรมและพฒั นากระบวนการฝึกอบรมให้มีประสทิ ธภิ าพยิ่งข้นึ

๓ข้อ ๙ คณะกรรมการอานวยการอบรมและพัฒนาข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม
หลักสูตรผูพ้ ิพากษาหัวหน้าศาลท้ายระเบยี บน้ี มีจานวนไม่น้อยกวา่ ๓ คน แต่ไม่เกิน ๗ คน โดย ก.บ.ศ.
คัดเลือกจากข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรมซึ่งปฏิบัติหน้าท่ีในศาลฎีกาและศาลช้ันอุทธรณ์ท่ีตั้งอยู่
ในกรุงเทพมหานคร โดยมีวาระการดารงตาแหน่งต้ังแต่วันที่ ก.บ.ศ. มีคาส่ังแต่งต้ังจนถึงวันที่เสร็จสิ้น
การทาหน้าที่ตามข้อ ๑๐ (๓) ให้กรรมการผู้มีอาวุโสสูงสุดเป็นประธานกรรมการ เลขาธิการสถาบัน
พัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเป็นกรรมการ รองเลขาธิการสถาบันพัฒนาข้าราชการ
ฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเป็นกรรมการและเลขานุการ และเลขานุการคณะกรรมการอาจเลือก
ขา้ ราชการศาลยุติธรรม สงั กัดสถาบันพฒั นาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุตธิ รรม เปน็ ผู้ช่วยเลขานกุ ารได้

๓ แก้ไขเพ่มิ เติมโดยระเบียบฯ ฉบับท่ี ๗ ลงวันท่ี ๒๗ มนี าคม ๒๕๖๐

สำนกั คณะกรรมกำรบริหำรศำลยตุ ธิ รรม

๓ 5

ตามจานวนที่เห็นสมควร สาหรับคณะกรรมการอานวยการศึกษาอบรมหลักสูตรการศึกษาอบรม
ผู้ช่วยผู้พิพากษาให้เป็นคณะกรรมการอานวยการอบรมและพัฒนาข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม
หลักสตู รการอบรมผู้พพิ ากษาประจาศาลต่อเนือ่ งอกี หลักสตู รหนง่ึ

๔ข้อ ๙/๑ กรรมการอานวยการอบรมและพัฒนาข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม
จะต้องไม่เปน็ ผู้ท่ีอย่รู ะหวา่ งถูกดาเนนิ การทางวนิ ยั หรอื เคยถกู ลงโทษทางวินยั มากอ่ น

๕ข้อ ๙/๒ กรรมการอานวยการอบรมและพัฒนาข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม
เลขาธิการสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม หรือรองเลขาธิการสถาบันพัฒนา
ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมต้องไม่เป็นกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม กรรมการบริหาร
ศาลยตุ ิธรรม หรืออนุกรรมการตลุ าการศาลยุติธรรมประจาช้นั ศาล

ขอ้ ๑๐ ให้คณะกรรมการอานวยการอบรมและพฒั นาข้าราชการตลุ าการศาลยตุ ธิ รรม
หลกั สูตรต่าง ๆ ท้ายระเบียบนี้ มีอานาจหนา้ ทดี่ งั ตอ่ ไปนี้

(๑) ดูแลการอบรมและพัฒนาข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรมให้ดาเนินไปอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

(๒) กาหนดวิทยากรในหลักสูตรที่รับผิดชอบ รวมทั้งเพิ่มเติม งดหรือเปล่ียนแปลง
หวั ขอ้ วชิ าการอบรม ระยะเวลาในหวั ขอ้ วิชา ไดต้ ามความจาเปน็

(๓) ประเมินผลการอบรมตามเง่ือนไขการอบรมและพัฒนาแต่ละหลักสูตรแล้ว
สรปุ ผลการอบรมและรายงานพร้อมแจ้งความเหน็ ไปยงั เลขาธกิ ารสานักงานศาลยุติธรรม เพ่ือนาเสนอ
ก.บ.ศ. และ ก.ต. พจิ ารณาตอ่ ไป

ข้อ ๑๑ การประชุมคณะกรรมการกากับหลักสูตรและแผนการพัฒนาข้าราชการ
ตุลาการศาลยุติธรรม หรือคณะกรรมการอานวยการอบรมข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรมต้องมี
กรรมการมาประชุมไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หน่ึงของจานวนกรรมการท้งั หมดจึงจะครบองคป์ ระชมุ

ในการประชุมของคณะกรรมการ หากประธานไม่มาหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้
ใหท้ ปี่ ระชุมเลอื กกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานทปี่ ระชุม

การวนิ จิ ฉัยชขี้ าดของทป่ี ระชุมให้ถอื เสยี งข้างมาก
กรรมการคนหน่ึงให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธาน
ออกเสียงเพมิ่ ข้ึนหนง่ึ เสียงเปน็ เสยี งชขี้ าด

ข้อ ๑๒ ในการประชุมคณะกรรมการกากับหลักสูตรและการพัฒนาข้าราชการ
ตุลาการศาลยุติธรรมอาจเชิญประธานกรรมการอานวยการอบรมข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม
หลักสูตรใดหรือผแู้ ทนเข้าร่วมประชุมเพื่อใหค้ วามเหน็ ตอ่ ที่ประชมุ ไดต้ ามที่เห็นสมควร

๔ แก้ไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบฯ ฉบับท่ี ๗ ลงวนั ท่ี ๒๗ มนี าคม ๒๕๖๐
๕ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยระเบียบฯ ฉบับที่ ๗ ลงวันท่ี ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๐

สำนกั คณะกรรมกำรบริหำรศำลยุติธรรม

๔ 6

๖ข้อ ๑๓ ให้คณะกรรมการกากับหลักสูตรและแผนการพัฒนาข้าราชการตุลาการ
ศาลยตุ ธิ รรมและคณะกรรมการอานวยการอบรมขา้ ราชการตุลาการศาลยตุ ธิ รรมไดร้ บั เบ้ียประชมุ ตาม
บญั ชี ๓ แนบท้ายระเบยี บคณะกรรมการบรหิ ารศาลยตุ ธิ รรมวา่ ด้วยเบย้ี ประชุมกรรมการ อนกุ รรมการ
และคา่ ตอบแทนบุคคลหรือคณะบุคคล

ขอ้ ๑๔ ใหเ้ ลขาธิการสานักงานศาลยุติธรรมรักษาการตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖

(ลงช่ือ) อรรถนติ ิ ดษิ ฐอานาจ
(นายอรรถนติ ิ ดษิ ฐอานาจ)

ประธานกรรมการบรหิ ารศาลยุตธิ รรม

ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม ว่าด้วยการอบรมและพัฒนาข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม
(ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๖๐ ลว. ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๐

ข้อ ๗ ให้ยกเลิกหลักสูตรการอบรมผู้พิพากษาประจาศาลและหลักสูตรการอบรมผู้พิพากษา
ผู้บริหารในศาลชั้นต้นท้ายระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม ว่าด้วยการอบรมและพัฒนา
ข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๖ และให้ใช้หลักสูตรการอบรมผู้พิพากษาประจาศาล
และหลักสตู รการอบรมผพู้ พิ ากษาหัวหน้าศาลทา้ ยระเบยี บนี้แทน

ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม ว่าด้วยการอบรมและพัฒนาข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม
(ฉบบั ที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๖๐ ลว. ๒๘ ธนั วาคม ๒๕๖๐

ข้อ ๓ ให้ยกเลิกหลักสูตรการอบรมผู้พิพากษาศาลชั้นต้น หลักสูตรการอบรมผู้พิพากษา
ศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค หลักสูตรการอบรมผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลอุทธรณ์
และศาลอุทธรณ์ภาค และหลักสูตรการอบรมผู้พิพากษาศาลฎีกาท้ายระเบียบคณะกรรมการบริหาร
ศาลยุติธรรม ว่าด้วยการอบรมและพัฒนาข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๖ และให้ใช้
หลักสูตรการอบรมผู้พิพากษาศาลช้ันต้น (ชั้น ๓) หลักสูตรการอบรมผู้พิพากษาหัวหน้าคณะชั้นต้น
หลักสูตรการอบรมผู้พิพากษาศาลช้ันอุทธรณ์ หลักสูตรการอบรมผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลชั้น
อทุ ธรณ์ และหลักสูตรการอบรมผพู้ พิ ากษาศาลฎกี าทา้ ยระเบยี บนแ้ี ทน

๖ แกไ้ ขเพิ่มเตมิ โดยระเบียบฯ ฉบบั ท่ี ๔ ลงวนั ที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๕๗
สำนกั คณะกรรมกำรบริหำรศำลยุตธิ รรม

7

โครงการอบรม
หลักสตู ร “ผพู้ ิพากษาประจาศาล” (ผชู้ ว่ ยผพู้ ิพากษา รุ่นท่ี 73 และ 74)

ระหว่างวนั ท่ี 10 มกราคม ถงึ วนั ที่ 4 กุมภาพันธ์ ๒๕65
ผา่ นโปรแกรม Zoom

****************************

1. หลกั การและเหตผุ ล

การบริหารความถูกต้องและความยุติธรรม เพ่ือขจัดปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน
ซ่ึงเป็นคู่กรณที ัง้ สองฝ่ายในการดาเนนิ กระบวนพจิ ารณาคดเี ป็นงานหลกั ทส่ี าคัญของศาลยตุ ธิ รรม

ผู้พิพากษาประจาศาลซ่ึงปฏิบัติงานในฐานะข้าราชการตุลาการมีหน้าที่รับผิดชอบในงาน
ของศาลยุติธรรมสาหรับศาลชั้นต้น ดังนั้น การปฏิบัติงานของผู้พิพากษาประจาศาลจะต้องมีความรู้
ความสามารถในการน่ังพิจารณาและพิพากษาคดี มีความรเู้ ก่ยี วกับเหตุการณป์ ัจจุบันสามารถคาดหมาย
ผลกระทบในด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม มีความรู้เบ้ืองต้นในการบริหารจัดการ สามารถ
บริหารงานคดีในความรับผิดชอบ มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยเชิงกฎหมาย มีทักษะและศิลปะ
ในการเจรจาไกล่เกล่ียระงับข้อพิพาท และมีจริยธรรม ความประพฤติในการวางตวั อย่างเหมาะสม ท้ังน้ี
เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย หากผู้พิพากษาประจาศาลได้รับการอบรม ได้มีความรู้ความเข้าใจ
ในวธิ ีปฏิบตั ิ และแนวทางในการครองตน และวางตวั อยา่ งเหมาะสมแลว้ ก็จะเป็นประโยชนต์ ่อผูพ้ ิพากษา
ประจาศาลในการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ ประพฤติตนอย่างเหมาะสม และวิสัยทัศน์ทันต่อ
เหตกุ ารณ์ สามารถนาไปบูรณาการในการปฏบิ ตั ิงานได้

2. วตั ถปุ ระสงค์
เพ่ือใหผ้ ู้พิพากษาประจาศาล

๑. มีความรู้ ความสามารถในการนงั่ พิจารณาและพพิ ากษาคดใี นฐานะผพู้ พิ ากษาองคค์ ณะ
๒. มีความสามารถในการวินิจฉัยชี้ขาดคาร้อง คาขอ คาพิพากษา ท่ีอยู่ในสานวนของตน
ตามกฎหมายวิธีพจิ ารณา
๓. มีความสามารถในการควบคุมกระบวนพิจารณาในการออกน่ังพิจารณา และสามารถ
ทางานรว่ มกับผู้พิพากษาและบคุ ลากรอืน่ ในกระบวนการยุตธิ รรมได้อยา่ งเหมาะสม
๔. มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ในปัจจุบัน สามารถคาดหมายผลกระทบในด้าน
การเมือง เศรษฐกิจและสังคม สภาพของคนเพ่ือนาไปบรู ณาการในการปฏิบัตงิ านไดอ้ ย่างเหมาะสม
๕. มีความรู้เบ้ืองต้นในการบริหารจัดการ การบริหารงานบุคคล และบทบาทภาระหน้าท่ี
ของหน่วยงานตามโครงสร้างใหม่ของสานักงานศาลยุติธรรม สามารถติดต่อและบริหารงานคดีใน
ความรบั ผิดชอบอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
๖. สามารถใช้ภาษาไทยเชิงกฎหมายอย่างถูกต้องเหมาะสม และมีทักษะทางภาษา
การสอื่ สารทมี่ ีประสิทธิภาพในการพจิ ารณาคดี หรือการปฏิบัตสิ ัมพันธก์ บั กลุ่มคนหรอื กลมุ่ บุคคล

/7. มีทกั ษะ ...

8



๗. มีทักษะและศิลปะในการเจรจาไกล่เกลีย่ และระงับข้อพพิ าทอย่างเหมาะสม
๘. มีความประพฤตแิ ละวางตัวอยา่ งเหมาะสม

3. วิธีการ
วิธีการอบรมจะเป็นการบรรยาย การอภิปราย การศึกษากรณีตัวอย่าง การระดมสมอง

การปฏิบัติ การสัมมนาวิชาการ และศึกษาดูงาน ซึ่งมุ่งเน้นการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory
Learning : PL) โดยให้มีการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เข้ารับการอบรมด้วยกันเอง และระหว่างผู้เข้ารับ
การอบรมกับวิทยากร เพ่ือเป็นการเสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของผู้เข้ารับ
การอบรมให้มปี ระสทิ ธิภาพมากย่ิงขึน้

4. คุณสมบัตผิ เู้ ขา้ รับการอบรม

ผู้พิพากษาประจาศาล (ผ้ชู ว่ ยผพู้ พิ ากษา รุ่นท่ี 73 และรุ่นท่ี 74) จานวน 172 คน

5. ระยะเวลา

ระหวา่ งวนั ท่ี 10 มกราคม ถงึ วนั ที่ 4 กมุ ภาพนั ธ์ 2565

6. ขอบเขต/เน้ือหาหลกั สตู ร

แบ่งเปน็ 2 ส่วน
- สว่ นท่ี 1 วชิ าการ ประกอบดว้ ย 4 หมวดวชิ า คอื
หมวดวชิ าที่ 1 ความรู้ในการปฏิบตั ิงานคดี
หมวดวชิ าที่ 2 ความร้เู ก่ียวเนอื่ งกบั การปฏบิ ตั งิ านคดี
หมวดวชิ าท่ี 3 ความรทู้ วั่ ไป
หมวดวิชาที่ 4 การเสรมิ สรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม และบคุ ลกิ ภาพตลุ าการ
- สว่ นที่ 2 การศกึ ษาดงู าน
๑) การศึกษาดงู านภายในประเทศ
๒) การศึกษาดูงานตา่ งประเทศ

๗. สถานที่
การอบรมทางไกลผา่ นจอภาพด้วยโปรแกรม Zoom ระหว่างวนั ที่ 10 มกราคม ถึงวันที่ 4

กุมภาพันธ์ 2565 ซ่ึงผู้อบรมสามารถเข้ารับการอบรม ณ ที่ทาการของหน่วยงานต้นสังกัดหรือบ้านพกั
ในเขตพืน้ ทท่ี าการของผู้เข้ารับการอบรม

๘. วิทยากร
ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายใน และภายนอกศาลยตุ ธิ รรม

๙. งบประมาณ

ใช้งบประมาณของสถาบันพัฒนาขา้ ราชการฝ่ายตุลาการศาลยตุ ิธรรม

9



๑๐. การประเมนิ ผล

1. ประเมนิ จากการเข้ารบั การอบรมตลอดหลักสตู รโดยผู้เขา้ รบั การอบรมตอ้ งมีเวลาในการ
อบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ของระยะเวลาตามหลักสูตร จึงจะมีสิทธิเข้ารับการอบรมส่วนที่ 2 ข้อ 2
การศกึ ษาดูงานต่างประเทศ

2. โดยการสังเกตในระหวา่ งการอบรมและใช้แบบสอบถามหลงั เสร็จส้ินการอบรม

๑๑. ผลที่คาดวา่ จะได้รับ

ผูพ้ พิ ากษาประจาศาลมคี วามร้คู วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั การน่งั พิจารณาคดี การวนิ ิจฉัยสัง่ คาร้อง
คาขอ และคาพพิ ากษา มีจรยิ ธรรมในการดารงตนอยา่ งเหมาะสม มีวสิ ยั ทศั น์ทันต่อเหตกุ ารณ์ในปจั จุบนั
และสามารถนาไปบรู ณาการในการปฏบิ ตั งิ านได้

๑๒. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ
วิทยาลัยขา้ ราชการตลุ าการศาลยตุ ธิ รรม สถาบนั พฒั นาข้าราชการฝ่ายตลุ าการศาลยตุ ธิ รรม

โทร. ๐ ๒๕๑๒ ๘๐๓7, 0 2512 8063

ท่ปี รึกษาโครงการ เลขาธกิ ารสถาบนั พฒั นาขา้ ราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม
๑. นายภีม ธงสันติ รองเลขาธิการสถาบนั พัฒนาข้าราชการฝา่ ยตุลาการศาลยตุ ิธรรม
2. นางสาวฉันทนา เจริญศกั ด์ิ
3. นางสาวอาภาธรี อาสภวิริยะ ผู้พพิ ากษาศาลชน้ั ตน้ ประจาสานักประธานศาลฎกี า
4. นายศรัณยร์ ฐั ศรัณยสนุ ทร ผูพ้ พิ ากษาศาลชนั้ ตน้ ประจาสานกั ประธานศาลฎีกา
5. นางสาวมาเรียม วันเดวา ผูอ้ านวยการสถาบนั พัฒนาขา้ ราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม

ผูด้ าเนนิ งานโครงการ
๑. นางสาวพิมพ์จุฑา วราทรพั ย์ นกั ทรัพยากรบคุ คลปฏิบัตกิ าร
๒. นายกิตติภพ ผา่ นพินิจ นักทรพั ยากรบคุ คลปฏิบตั กิ าร
๓. นายธราพงษ์ ธรรมจารี เจ้าพนักงานธรุ การปฏิบตั งิ าน
4. นางสาวธชั สรัญ วนั ดปี ระเสริฐ นกั ทรพั ยากรบคุ คล
5. นางสาวสปุ ราณี เทศจนั ทร์ นักทรัพยากรบุคคล

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

หัวข้อวิชา ระยะเวลา และวิทยากร การอบ

ส่วนท่ี 1 วิชาการ
หมวดที่ 1 ความร้ใู นการปฏิบัติงานคดี ระยะเวลา 39 ชั่วโมง

หัวข้อวิชา / ชม. มติทปี่ ระชุม มติที่ประชุม

(ตามหลักสูตร) ผู้พพิ ากษาประจาศาล (ผชู้ ่วย รุ่นที่ 70) ผ้พู พิ ากษาประจาศาล (ผู้ช่ว

1. การวิเคราะห์คดที ่ีจะเข้าสู่ วิทยากร 1. นายสุวิชา สขุ เกษมหทัย วิทยากร 1. นายสวุ ิชา สุขเกษ
(1.30 ชม.)
กระบวนการไกลเ่ กลยี่ และการประนอม (1.30 ชม.)

ข้อพิพาท (3 ชม.) ผลการประเมิน มากท่ีสุด

บรรยาย นวัตกรรมการไกลเ่ ก
วิทยากร นายปรชั ญา อยู่ประเ
ผลการประเมิน

2. สัมมนาวิธีพิจารณา คดีแพ่ง (6 ชม) วิทยากร 1. นายประทีป เฉลมิ ภัทรกุล (3 ชม.)วิทยากร 1. นายเอ้อื น ขุนแก้ว

(อภิปราย 3 ชม. / สัมมนา 3 ชม.) 2. นายประเสริฐ เสียงสทุ ธิวงศ์ 2. นางสุวิมล ทัสสโร

3. นายภุชพงศ์ จรสั ทรงกิติ

4. นางสาวศิริรัตน์ น้อมนาทร

5. นางสาววิรยิ า ไทยมงคล

ผลการประเมิน มากท่ีสดุ ผลการประเมิน

บรรยาย ขั้นตอนการบังคับคดแี พ่ง ฝึกปฏิบัติ (3 ชม.)
วิทยากร นายเออ้ื น ขุนแก้ว (3 ชม.) วิทยากร กลมุ่ ท่ี 1 นางสุวิมล ท

นางสาววิรยิ
กลมุ่ ที่ 2 นายภุชพงศ์ จรสั ทรง

นางสาวศิรริ ตั น์ น้อ

ผลการประเมิน มากที่สุด ผลการประเมิน

26

บรมหลักสูตร "ผู้พิพากษาประจาศาล"

มติทป่ี ระชุม ผพู้ ิพากษาประจาศาล (ผูช้ ่วยฯ รุน่ ที่ 73 - 74)

วย รุ่นท่ี 71) ผพู้ พิ ากษาประจาศาล (ผชู้ ่วย รุ่นท่ี 72) ระหว่างวันท่ี 10 ม.ค. - 4 ก.พ. 2565

ษมหทัย การวิเคราะห์คดีและการปฏิบัตทิ ่ีจะเข้าสู่ วิทยากร

กระบวนการไกลเ่ กลย่ี และการประนอม

ข้อพิพาท และกฎหมายเกยี่ วกับกระบวนการ

ไกลก่ ลย่ี ก่อนฟ้องและหลังฟ้องคดี

วิทยากร นายประมวล นิลกลาง (1.30 ชม)

ลยี่ (1.30 ชม) บรรยาย นวัตกรรมการไกล่เกลย่ี
เสริฐ วิทยากร นายปรัชญา อยปู่ ระเสริฐ (1.30 ชม)

สารอง 1. นายสุวิชา สุขเกษมหทัย
ผลการประเมิน มากที่สุด

ว (3 ชม.) วิทยากร 1. นายเออ้ื น ขุนแก้ว (3 ชม.) วิทยากร
2. นายภุชพงศ์ จรสั ทรงกิติ
3. นางนพร เพชรคุณ (ไม่สะดวก)

รพั ย์ นางสาวจิราพร คกาทอง
4. นางสาววิรยิ า ไทยมงคล
ผลการประเมิน

ฝึกปฏิบัติ ขน้ั ตอนการบังคับคดีแพ่ง (3 ชม.) ฝกึ ปฏิบัติ

ทัสสโร วิทยากร กลมุ่ ท่ี 1 นายเออ้ื น ขุนแก้ว วิทยากร

ยา ไทยมงคล นางสาวจิราพร คกาทอง

งกิติ กลมุ่ ที่ 2 นายภุชพงศ์ จรัสทรงกิติ

อมนาทรัพย์ นางสาววิริยา ไทยมงคล

ผลการประเมิน มากท่ีสดุ

หัวข้อวิชา / ชม. มติทป่ี ระชุม มติทป่ี ระชุม

(ตามหลักสูตร) ผู้พิพากษาประจาศาล (ผ้ชู ่วย ร่นุ ที่ 70) ผู้พิพากษาประจาศาล (ผู้ช

3. สัมมนาวธิ ีพิจารณา คดอี าญา (6 ชม.) วิทยากร นายธานิศ เกศวพิทักษ์ (3 ชม.) วิทยากร 1. นายเกียรตคิ ุณ แม

(อภิปราย 3 ชม. สัมมนา 3 ชม.) 2.นายฉันชาย โรจนสโรช

3.นางสาวจุไรรัตน์ จรยิ ธรรมา

ผลการประเมิน วิทยากร มากที่สดุ 4. นางสาวรังสิมา ลัธธนันท์

ฝึกปฏิบัติ (3 ชม.)

การพิจารณาคดอี าญาในระบบไต่สวน (3 ชม.) วิทยากร กลมุ่ ที่ 1 นายเกียรต

วิทยากร นายยอธิคม อินทุภูติ นายฉันชา

ผลการประเมิน มากท่ีสุด กลมุ่ ท่ี 2 นางสาวจุไรรัตน์ จริย

นางสาวรังสมิ า ลัธธน

ผลการประเมิน

4. เทคนิคการควบคุมการพิจารณาคดี วิทยากร 1. นายสพุ จน์ อินทิวร (3 ชม.) วิทยากร 1. นายสพุ จน์ อินท

(3 ชม.) 2. นายณรัช อม่ิ สุขศรี 2. นายณรชั อม่ิ สุข

ผลการประเมิน วิทยากร มากท่ีสดุ ระยะเวลา เหมาะสม ผลการประเมิน

5. วิธีพิจารณาคดใี นศาลแขวง (6 ชม.) วิทยากร ผพู้ ิพากษาหัวหน้าศาล วิทยากร 1.นางสาวปทิตตา ส

(อภิปราย 3 ชม. / สัมมนา 3 ชม.) 2.นายกิตติ สกลศิลป

ผลการประเมิน

ศึกษาดงู าน ศึกษาดงู าน ศาลแขวงพระนค

1. ศาลแขวงพระนครเหนือ/ศาลแขวงดอนเมือง ผลการประเมิน

2. ศาลแขวงนนทบุรี

3. ศาลแขวงสมุทรปราการ

4. ศาลแขวงธนบุรี

27

มติทป่ี ระชุม ผูพ้ ิพากษาประจาศาล (ผชู้ ่วยฯ รุน่ ที่ 73 - 74)

ช่วย รุ่นที่ 71) ผูพ้ ิพากษาประจาศาล (ผู้ช่วย ร่นุ ที่ 72) ระหว่างวันที่ 10 ม.ค. - 4 ก.พ. 2565

ม้นเลขา (3 ชม.) วิทยากร 1.นายธานี สงิ หนาท (3 ชม.) วิทยากร

2.นายชาตชิ าย เหลอื งอ่อน

านุกูล 3.นายมุขเมธิน กลน่ั นุรกั ษ์

4. นายสวุ ิชา สขุ เกษมหทัย

ฝึกปฏิบัติ (3 ชม.)

ตคิ ุณ แม้นเลขา วิทยากร กลมุ่ ท่ี 1.นายธานี สิงหนาท

าย โรจนสโรช นายมุขเมธิน กลนั่ นุกรักษ์

ยธรรมานุกูล/ กลมุ่ ท่ี 2.ชาตชิ าย เหลืองอ่อน

นันท์ นายสุวิชา สุขเกษมหทัย

ผลการประเมิน มากท่ีสดุ

ทิวร (3 ชม.) วิทยากร 1. นายสุพจน์ อินทิวร (3 ชม.) วิทยากร

ขศรี 2. นายณรัช อ่ิมสุขศรี

ผลการประเมิน มากท่ีสุด

สิริภาพโสภณ วิทยากร ผพู้ ิพากษาหัวหน้าศาล (3 ชม.) วิทยากร

ป์ (3 ชม.) 1. ศาลแขวงพระนครเหนือ

2. ศาลแขวงดอนเมือง

ครเหนือ (3 ชม.) 3. ศาลแขวงดุสิต/บางบอน (ทาคลิป)

4. ศาลแขวงนนทบุรี

5. ศาลแขวงพระนครใต้

6. ศาลแขวงปทุมวัน

วิทยากร 1. นายธรรมศาสตร์ ระดมกิจ

หน.ศาลแขวงนครปฐม

2. นายสุพจน์ ปรชี าสถิต

หน.ศาลแขวงนนทบุรี

3. นางสาวเสมอแข เสนเนียม

หน.แขวงพัทยา

ผลการประเมิน มากที่สุด

หัวข้อวิชา / ชม. มติท่ีประชุม มติทีป่ ระชุม

(ตามหลักสูตร) ผ้พู ิพากษาประจาศาล (ผู้ช่วย รุน่ ท่ี 70) ผพู้ ิพากษาประจาศาล (ผชู้

6. วิธีพิจารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั วธิ ีพจิ ารณาคดีในศาลเยาวชนและครอบครัว วธิ ีพิจารณาคดใี นศาลเยาวชน

(6 ชม.) วิทยากร นายสทิ ธิศักดิ์ วนะชกิจ (3 ชม.) วิทยากร 1. นางอโนชา ชีวิตโส

(คดแี พ่ง 3 ชม. และคดอี าญา 3 ชม.) ผลการประเมิน มากท่ีสุด 2. นายธนะ สุจริตกุล

3. นายภัทรศักด์ิ ศิรสิ ินธว์

4. นางวิรา กะจิ ณ พิกุล

5. นางสาวสภุ าพร ทองนิ่ม

ศึกษาดูงานศาลเยาวชนและครอบครัวกลางศึกษาดูงานศาลเยาวชนและค

(3 ชม.) (3 ชม.)

7. เทคนิคการปรกึ ษาคดี วิทยากร 1. นายจรญั เตชะวิจิตรา (3 ชม.) วิทยากร 1. นางวรานุช ภูวร

ในการทาคาพิพากษาและคาสง่ั (3 ชม.) 2. นายเกรกิ เกียรติ พุทธสถิตย์ 2. นายเจรญิ ชัย อัศ

3. นายพลภัทร บุญ

ผลการประเมิน มากที่สุด ผลการประเมิน
8. การบริหารจัดการคดีในศาลชัน้ ต้น วิทยากร 1. นางสภุ าพ ศิรกิ ังวาลกุล วิทยากร 1. นางสาวมรกต ว
(6 ชม.) 2. นายอนันต์ คงชื่น (3 ชม.)
2. นายอนันต์ คงช่นื

ผลการประเมิน มากที่สุด ผลการประเมิน
วิทยากร 1. นายวีรศักด์ิ ขจีจิตต์ วิทยากร 1. นายวีรศักดิ์ ขจีจ

2. นายอนันต์ คงชนื่ (3 ชม.) 2. นายอนันต์ คงชน่ื

ผลการประเมิน มากท่ีสุด ผลการประเมิน

28

มติทป่ี ระชุม ผู้พิพากษาประจาศาล (ผู้ช่วยฯ รุน่ ท่ี 73 - 74)

ช่วย รนุ่ ท่ี 71) ผู้พิพากษาประจาศาล (ผชู้ ่วย รุ่นท่ี 72) ระหว่างวันที่ 10 ม.ค. - 4 ก.พ. 2565

นและครอบครัว วธิ พี ิจารณาคดใี นศาลเยาวชนและครอบครัว วิธพี ิจารณาคดีในศาลเยาวชนและครอบครัว

สภณ (3 ชม.) วิทยากร 1.นางอโนชา ชีวิตโสภณ (3 ชม.) วิทยากร 1. นายประกอบ ลีนะเปสนันท์

2. นายภัทรศักด์ิ ศิริสินธว์ และคณะ

3. นางสาวอัมภัสชา ดิษฐอานาจ

ผลการประเมิน มากท่ีสดุ

ครอบครัวกลางศึกษาดูงานศาลเยาวชนและครอบครัวกลางศึกษาดูงานศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง

(3 ชม.) (3 ชม.)

รักษ์ (3 ชม.) วิทยากร 1. นางดวงใจ สงิ หนาท (3 ชม.) วิทยากร

ศวพิรยิ อนันต์ 2. นายมุนี คล้ายสังข์

ญ-หลง

ผลการประเมิน มากท่ีสดุ

วัฒนรงุ่ เรืองยศ วิทยากร 1. นางสาวมรกต วัฒนรงุ่ เรอื งยศ วิทยากร

น (3 ชม.) 2. นายบัลลังก์ จิระบุญศรี (3 ชม.)

จิตต์ ผลการประเมิน มากที่สดุ วิทยากร
(3 ชม.) วิทยากร นายอนันต์ คงช่นื (3 ชม.)

ผลการประเมิน มากท่ีสุด

หมวดท่ี 2 ความรู้เกย่ี วเน่ืองกบั การปฏิบัติงานคดี (43 ชว่ั โมง 30 นาที)

หัวข้อวิชา / ชม. มติที่ประชุม มติที่ประชุม
(ตามหลักสูตร)
1. การใช้ดลุ พินิจในการ ผูพ้ ิพากษาประจาศาล (ผชู้ ่วย รนุ่ ที่ 70) ผพู้ ิพากษาประจาศาล (ผูช้
พิจารณาพิพากษาคดี (3 ชม.)
วทิ ยากร ศ.พิเศษ ม.ล.ไกรฤกษ์ เกษมสนั ต์ (3 ชม.) วิทยากร ศ.พิเศษ ม.ล.ไกรฤกษ์ เกษ

ผลการประเมิน มากที่สุด ผลการประเมิน

2. การใช้ภาษากฎหมายไทย วิทยากร ศ.พิเศษ ไพโรจน์ วายุภาพ (3 ชม.) วิทยากร ศ.พิเศษ ไพโรจน์ วา
ในการพิจารณาพิพากษาคดี (3 ชม.)

ผลการประเมิน มากที่สุด ผลการประเมิน

3. กฎหมายคุ้มครองผบู้ รโิ ภค (3 ชม.) วิทยากร นายพัสกร ทัพมงคล (1.30 ชม.) วิทยากร 1. นายพัสกร ทัพมงค

ผลการประเมิน มากที่สดุ 2. ดร.ศิระณัฐ วิทย

วิทยากร นางสาวสารี อ๋องสมหวัง (1.30 ชม.)

ผลการประเมิน มากที่สดุ ผลการประเมิน

4. วิธีพิจารณาคดผี บู้ ริโภค (3 ชม.) วิทยากร นายกงจักร์ โพธ์ิพร้อม (3 ชม.) วิทยากร นายรังสรรค์ วิจิตร

ผลการประเมิน มากที่สดุ ผลการประเมิน

5. การใช้กฎหมายของศาลยุตธิ รรม วิทยากร 1. นายวินัย เรืองศรี (3 ชม.) วิทยากร 1. นายวินัย เรอื งศร
เกย่ี วกับการแก้ไขปัญหาสงิ่ แวดลอ้ ม
(3 ชม.) 2. นางสาวสนุ ทรียา เหมือนพะวงศ์ 2. นางสาวสุนทรียา

3. นายณรงค์ ใจหาญ 3. นางสาวปาริชาต

ผลการประเมิน มากที่สุด ผลการประเมิน

29

มติท่ีประชุม ผู้พิพากษาประจาศาล (ผ้ชู ่วยฯ รนุ่ ที่ 73 - 74)
ช่วย รุน่ ท่ี 71) ผู้พิพากษาประจาศาล (ผชู้ ่วย รนุ่ ที่ 72) ระหว่างวันที่ 10 ม.ค. - 4 ก.พ. 2565
ษมสันต์ (3 ชม.) วิทยากร นายนิพันธ์ ช่วยสกุล (3 ชม.)
วิทยากร
และนายอภิชาติ คงชาตรี

ผลการประเมิน มากที่สดุ
ายุภาพ (3 ชม.) วิทยากร ศ.พิเศษ ไพโรจน์ วายุภาพ (3 ชม.) วิทยากร

ผลการประเมิน มากที่สดุ

คล (3 ชม.) วิทยากร นายรังสรรค์ วิจิตรไกรสร (3 ชม.) วิทยากร
ยาธรรมรชั

-ตดั -

ผลการประเมิน
รไกรสร (3 ชม.) วิทยากร นายรังสรรค์ วิจิตรไกรสร (3 ชม.) วิทยากร

ผลการประเมิน มากที่สดุ

รี (3 ชม.) วิทยากร 1. นายวินัย เรืองศรี (3 ชม.) วิทยากร

า เหมือนพะวงศ์ 2. นางสาวสนุ ทรยี า เหมือนพะวงศ์

ม่นั สกุล 3. นางสาวปารชิ าต มัน่ สกุล

ผลการประเมิน มากท่ีสดุ

หัวข้อวิชา / ชม. มติท่ปี ระชุม มติทป่ี ระชุม
(ตามหลักสูตร)
6. กฎหมายเกย่ี วกับอาชญากรรม ผูพ้ ิพากษาประจาศาล (ผชู้ ่วย รุ่นที่ 70) ผูพ้ ิพากษาประจาศาล (ผู้ช
ทางเศรษฐกิจ (3 ชม.)
วิทยากร พ.ต.ท.พเยาว์ ทองเสน (1.30 ชม.) วิทยากรนายธานี สงิ หนาท(1
7. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
(3 ชม.) ผลการประเมิน วิทยากร มากท่ีสดุ ระยะเวลา เหมาะสม ผลการประเมิน

วิทยากร พ.ต.อ.พัฒนา ฉายาวัฒน์ (1.30 ชม.)

ผลการประเมิน มากที่สดุ ผลการประเมิน

วิทยากร พ.ต.อ.ญาณพล ยง่ั ยืน (3 ชม.) วิทยากร พ.ต.อ.ญาณพล ยั่งยืน

ผลการประเมิน มาก ผลการประเมิน
วิทยากร 1. นางสันทนี ดิษยบุตร (3 ชม.)
8. อาชญากรรมข้ามชาติ
และการสง่ ผรู้ า้ ยข้ามแดน (3 ชม.) 2. นายวิพล กิตตทิ ัศนาสรชัย
ผลการประเมิน มากท่ีสุด
-ตดั -

9. การดาเนินกระบวนพิจารณา วิทยากร ศ.พิเศษ จิรนิติ หะวานนท์ (3 ชม.) วิทยากร 1. นายอธิคม อินทุภ
ที่เกยี่ วข้องกับกฎหมาย
ว่าดว้ ยการวินิจฉัยชี้ขาดอานาจ ผลการประเมิน มากท่ีสุด 2. นางคิดงาม คงตร
หน้าท่ีระหว่างศาล (3 ชม.)
ผลการประเมิน
10. การตรวจพิสูจน์พยานหลกั ฐาน
โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (3 ชม.) วิทยากร 1. พ.ต.ท.วรรณพงษ์ คชรกั ษ์ (3 ชม.)วิทยากร 1. ผศ.นพ.วรวีร์ ไวย

2. ผศ.นพ.วรวีร์ ไวยวุฒิ 2. พ.ต.ต.หญงิ ปวีณา

3. พ.ต.ต.หญงิ ปวีณา กสิกิจวัฒน์ 3. น.ส.สุปราณี พันธะท

4. น.ส.สปุ ราณี พันธะทัน

ผลการประเมิน มากที่สุด ผลการประเมิน

30

มติที่ประชุม ผูพ้ ิพากษาประจาศาล (ผชู้ ่วยฯ ร่นุ ที่ 73 - 74)

ช่วย รุน่ ท่ี 71) ผ้พู ิพากษาประจาศาล (ผชู้ ่วย รนุ่ ที่ 72) ระหว่างวันท่ี 10 ม.ค. - 4 ก.พ. 2565

1.30 ชม.) วิทยากร นายธานี สิงหนาท (1.30 ชม.) วิทยากร

น (3 ชม.) ผลการประเมิน มากท่ีสดุ
วิทยากร 1. นางสาวอัจฉรินทร์ พัฒนพันธ์ชัยวิทยากร
ปลดั กระทรวงดจิ ิทัลฯ (3 ชม.)
2. นายสถาพร สวนเสนา
ผเู้ ช่ียวชาญเฉพาะด้านกฎหมาย สานักงาน
ปลัดกระทรวงดิจิทัลฯ
ผลการประเมิน มากที่สดุ

วิทยากร

-ตัด-

ภูติ (3 ชม.) วิทยากร 1. นายอธิคม อินทุภูติ (3 ชม.) วิทยากร

ระกูล ลี 2. นางคิดงาม คงตระกูล ลี

ยวุฒิ (3 ชม.) ผลการประเมิน มากที่สุด วิทยากร
า กสกิ ิจวัฒน์ วิทยากร 1. ผศ.นพ.วรวีร์ ไวยวุฒิ (3 ชม.)
ทัน รอง ผอ.สถาบันนิติวิทยาศาสตร์

2. พ.ต.ต.หญงิ ปวีณา กสกิ ิจวัฒน์
หน.กลมุ่ ตรวจพยานเอกสาร สถาบันนิตฯิ

3. น.ส.สุปราณี พันธะทัน
หน.กลมุ่ ตรวจพิสูจน์ทางเคมี สถาบันนิติฯ

ผลการประเมิน มากที่สุด

หัวข้อวิชา / ชม. มติที่ประชุม มติท่ีประชุม
(ตามหลักสูตร)
11. นิตเิ วชศาสตร์ (3 ชม.) ผูพ้ ิพากษาประจาศาล (ผชู้ ่วย รนุ่ ที่ 70) ผูพ้ ิพากษาประจาศาล (ผชู้

วิทยากร พล.ต.ต.นพ.พรชัย สธุ ีรคุณ (3 ชม.) วิทยากร พล.ต.ต.นพ.พรชัย ส

ผลการประเมิน มากท่ีสดุ ผลการประเมิน

12. นิตจิ ิตเวชศาสตร์ท่ีเก่ยี ว วทิ ยากร พญ.ดวงตา ไกรภัสสร์พงษ์ (3 ชม.) วทิ ยากร พญ.ดวงตา ไกรภัสส
ข้องกับการดาเนินคดี (3 ชม.)

ผลการประเมิน มากท่ีสุด ผลการประเมิน

13. จิตวิทยาทั่วไปในการพิจารณาคดี วิทยากร ดร.ฐนันดรศกั ด์ิ บวรนันทกุล (3 ชม.) วทิ ยากร ผช. ดร.ฐนันดรศ์ ักดิ์ บวรน

(3 ชม.)

ผลการประเมิน มากที่สดุ ผลการประเมิน

14. อานาจศาลตามพระราชบัญญัติ วิทยากร นายชาญณรงค์ ปราณีจิตต์ (1.30 ชมว.ิท) ยากร นายชาญณรงค์ ปรา
และกฎหมายพิเศษ (1.30 ชม.)

15. การปฏิบัติท่ีเหมาะสม ผลการประเมิน มากท่ีสุด ผลการประเมิน
ต่อพยานบุคคล (3 ชม.) วิทยากร นายศุภกิจ แย้มประชา (3 ชม.) วิทยากร 1. นายอาเลก็ จรรยา

2. นายบุญเขตร์ พุ่มท

ผลการประเมิน มากท่ีสดุ ผลการประเมิน

31

มติทปี่ ระชุม ผู้พิพากษาประจาศาล (ผู้ช่วยฯ รุ่นที่ 73 - 74)

ช่วย รุน่ ที่ 71) ผูพ้ ิพากษาประจาศาล (ผ้ชู ่วย รนุ่ ท่ี 72) ระหว่างวันท่ี 10 ม.ค. - 4 ก.พ. 2565

สธุ ีรคุณ (3 ชม.) วิทยากร พล.ต.ต.นพ.พรชัย สุธีรคุณ (3 ชม.) วิทยากร

รองนายแพทย์ใหญ่ รพ.ตารวจ

ผลการประเมิน มากท่ีสดุ
สรพ์ งษ์ (3 ชม.) วิทยากร นพ.ศรุตพันธุ์ จักรพันธุ์ ณ อยุธยา วิทยากร

(3 ชม.) ตดิ ภารกิจ มอบนพ.อภิชาต แสงสนิ

(นายแพทยช์ านาญการ สถาบันกลั ยาณ์ราชนครินทร์)

ผลการประเมิน มากที่สุด วิทยากร
นันทกุล (3 ชม.) วิทยากร นายแรงรณ ปรพิ นธ์พจนพิสทุ ธิ์

(3 ชม.)

ผลการประเมิน มากที่สดุ วิทยากร
าณจี ิตต์ (3 ชม.)วิทยากร นายชาญณรงค์ ปราณจี ิตต์

(3 ชม.)

าทรพั ย์กิจ ผลการประเมิน มากท่ีสดุ วิทยากร
ทิพย์ วิทยากร 1. นายกาพล รงุ่ รตั น์ (3 ชม)

2. นายวิชัย ลีลาสวัสดิ์

ผลการประเมิน มากท่ีสดุ

หมวดท่ี 3 ความรู้ท่ัวไป (27 ช่ัวโมง)

หัวข้อวิชา / ชม. มติท่ีประชุม มติทป่ี ระชุม
(ตามหลักสูตร)
1. เทคนิคการสอ่ื สารและ ผพู้ ิพากษาประจาศาล (ผู้ช่วย ร่นุ ท่ี 70) ผ้พู ิพากษาประจาศาล (ผู้ช
มนุษยสัมพันธ์ ในการทางาน
(3 ชม.) วิทยากร ดร.บรรจบ ปิยมาตย์ (3 ชม.) วิทยากร 1. นายบรรพต ฉาย

2. นายเฉลิมพล ม่งิ ข

3. นายอาทิตย์ พงษ

ผลการประเมิน มากท่ีสดุ ผลการประเมิน

2. การบรหิ ารงานบุคคล วิทยากร นายนิตธิ ร วงศ์ยืน (2 ชม.) วิทยากร นายศุภกิจ แย้มประ
สาหรับข้าราชการตุลาการ
ศาลยุติธรรม (3 ชม.) ผลการประเมิน มากท่ีสุด ผลการประเมิน

3. บทบาทและอานาจหน้าท่ี วิทยากร 1. นายชาติชาย กรชิ ชาญชัย (3 ชม.) วิทยากร 1. นายสิทธิศักดิ์ วน
ของคณะกรรมการบรหิ าร
ศาลยุตธิ รรม (3 ชม.) 2. นายฉัตรชัย ไทรโชต 2. นายวิศรุต มาเจริญ

ผลการประเมิน มากที่สุด

4. สมั มนาปัญหาการเมือง วิทยากร รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์ ผลการประเมิน
เศรษฐกิจ และสงั คม (6 ชม.) (3 ชม.) วิทยากร รศ.ดร.สมชาย ภคภา
(3 ชม.)

ผลการประเมิน มากที่สุด ผลการประเมิน

5. วิสยั ทัศน์ใหม่เก่ยี วกับ วทิ ยากร ดร.พิมพ์รภชั ดษุ ฎอี ิสรยิ กลุ (3 ชม.)
ระบอบประชาธิปไตย (3 ชม.)
-ตัด-

ผลการประเมิน มากที่สดุ

32

มติที่ประชุม ผพู้ ิพากษาประจาศาล (ผูช้ ่วยฯ รุ่นที่ 73 - 74)

ช่วย รนุ่ ท่ี 71) ผู้พิพากษาประจาศาล (ผ้ชู ่วย รุน่ ที่ 72) ระหว่างวันท่ี 10 ม.ค. - 4 ก.พ. 2565

ยมุกดา (3 ชม.) วิทยากร ดร.บรรจบ ปิยมาตย์ (3 ชม.) วิทยากร

ขวัญ อาจารย์ประจาคณะนิติศาสตร์ ม.หัวเฉียว

ษ์กลดั

ผลการประเมิน มากท่ีสุด

ะชา (3 ชม.) วิทยากร นายพงษ์เดช วานิชกิตตกิ ูล วิทยากร
(1.30 ชม.)

ผลการประเมิน มากท่ีสดุ วิทยากร
นะชกิจ (3 ชม.) วิทยากร 1. นายชาญณรงค์ ปราณจี ิตต์

2. นายรงุ่ ศักดิ์ วงศ์กระสนั ต์ (1.30 ชม.)
3. นายณรงค์ กลนั่ วารนิ ทร์

าสน์วิวัฒน์ ผลการประเมิน มากท่ีสดุ วิทยากร
วิทยากร รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์
นักวิชาการอิสระเนเศรษฐศาสตร์
และการเมือง

ผลการประเมิน มากที่สุด
-ตดั -

หัวข้อวิชา / ชม. มติทีป่ ระชุม มติที่ประชุม
(ตามหลักสูตร)
6. บทบาทอานาจหน้าท่ี ผพู้ ิพากษาประจาศาล (ผชู้ ่วย รุ่นท่ี 70) ผพู้ ิพากษาประจาศาล (ผู้ช
ของคณะกรรมการการเลอื กตง้ั
(3 ชม) วิทยากร นายฉัตรไชย จันทร์พรายศรี วิทยากร นายฉัตรไชย จันทรพ์

(3 ชม.) (3 ชม)

ผลการประเมิน วิทยากร ผลการประเมิน

7. ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร - -
(3 ชม.) -ตัด-

8. สภาพเศรษฐกิจ สงั คม ของประเทศ -ตัด-
ที่จะไปศึกษาดงู าน (1.30 ชม.)

9. ระบบกฎหมายของประเทศ ราชอาณาจักรฮัชไมตจ์ อร์แดน
ท่ีจะไปศึกษาดูงาน (1.30 ชม.) วิทยากร 1. นายอภิชาติ เพ็ชรรตั น์ (1.30 ชม.)

2. นายบุญเขตร์ พุ่มทิพย์
ผลการประเมิน มากที่สดุ

สาธารณรัฐประชาชนจีนและสาธารณรัฐเกาหลี
วิทยากร 1. นายเผา่ พันธ์ ชอบน้าตาล (1.30 ชม.)

2. นางสาวอัมภัสชา ดิษฐอานาจ
ผลการประเมิน มากท่ีสดุ

33

มติท่ีประชุม ผูพ้ ิพากษาประจาศาล (ผูช้ ่วยฯ ร่นุ ที่ 73 - 74)

ช่วย รุ่นที่ 71) ผพู้ ิพากษาประจาศาล (ผู้ช่วย ร่นุ ที่ 72) ระหว่างวันที่ 10 ม.ค. - 4 ก.พ. 2565

พรายศรี วิทยากร

-ตดั -

วิทยากร
-

วิทยากร
-ตดั -

วิทยากร

-ตัด-

หมวดท่ี 4 การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรม และบุคลิกภาพตุลาการ (15 ชว่ั โมง)

หัวข้อวิชา / ชม. มติท่ปี ระชุม มติท่ีประชุม

(ตามหลักสูตร) ผพู้ ิพากษาประจาศาล (ผู้ช่วย ร่นุ ท่ี 70) ผู้พิพากษาประจาศาล (ผ้ชู

1. คุณธรรมในการครองตน ครองคน วิทยากร นายวีรพล ตง้ั สุวรรณ (3 ชม.)

และครองงานของผพู้ ิพากษา (3 ชม.) -ตดั -

ผลการประเมิน มากที่สุด

2. การดารงตนให้อย่ใู นวินัย วิทยากร นายกิจชัย หงจิตธารารกั ษ์ (3 ชม.)

ของผพู้ ิพากษา (3 ชม.) -ตดั -

ผลการประเมิน มากที่สดุ

3. เสวนาปัญหาจริยธรรม วิทยากร 1. นางสาวปิยกุล บุญเพ่มิ (3 ชม) วิทยากร 1. นางสาวปิยกุล บ

และจรรยาบรรณ ในวิชาชีพ (3 ชม.) 2. นายอโนชา ชีวิตโสภณ 2. นางอโนชา ชีวิตโสภณ

3. นายสทิ ธิโชติ อินทรวิเศษ 3. นายสทิ ธิโชติ อินทรวิเศษ

ผลการประเมิน มากท่ีสุด ผลการประเมิน

4. สถาบันพระมหากษัตริย์ วิทยากร ศ.พิเศษ อรรถนิติ ดิษฐอานาจ วิทยากร ศ.พิเศษ อรรถนิติ ด
กับศาลยุตธิ รรม (3 ชม.)
(1.30 ชม.) (1.30 ชม.)

ผลการประเมิน มากท่ีสุด ผลการประเมิน

5. การดูแลรกั ษาสุขภาพเพ่อื วิทยากร ดร. ชาญวิทย์ ผลชีวิน (3 ชม.) วิทยากร ดร.กิตตพิ งษ์ โพธิม
เสรมิ สรา้ งประสทิ ธิภาพ
การทางาน (3 ชม.)

ผลการประเมิน มากท่ีสุด ผลการประเมิน

34

มติท่ปี ระชุม ผพู้ ิพากษาประจาศาล (ผชู้ ่วยฯ รนุ่ ที่ 73 - 74)

ช่วย รุ่นท่ี 71) ผูพ้ ิพากษาประจาศาล (ผูช้ ่วย รนุ่ ที่ 72) ระหว่างวันท่ี 10 ม.ค. - 4 ก.พ. 2565

วิทยากร

-ตัด-

วิทยากร
-ตดั -

บุญเพมิ่ (3 ชม) วิทยากร 1. นางสาวปิยกุล บุญเพม่ิ (3 ชม) วิทยากร
2. นางอโนชา ชีวิตโสภณ
3. นายสทิ ธิโชติ อินทรวิเศษ

ผลการประเมิน มากที่สดุ

ดษิ ฐอานาจ วิทยากร ศ.พิเศษ อรรถนิติ ดิษฐอานาจ วิทยากร
(1.30 ชม.)

ผลการประเมิน มากที่สุด

มู (3 ชม) วิทยากร ดร.กิตติพงษ์ โพธิมู (3 ชม) วิทยากร
อดตี อธิบดีกรมพลศึกษา

ผลการประเมิน มากท่ีสดุ

ส่วนที่ 2 การศึกษาดูงาน มติท่ปี ระชุม มติทป่ี ระชุม

หัวข้อวิชา / ชม. ผู้พิพากษาประจาศาล (ผู้ช่วย รนุ่ ท่ี 70) ผ้พู ิพากษาประจาศาล (ผู้ช
(ตามหลักสูตร)
1. การศึกษาดูงานภายใน - ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง (3 ชม) - ศาลเยาวชนและครอบครวั ก
ประเทศ (ประมาณ 6 ชม.)

- ศาลแขวง (3 ชม.) - ศาลแขวง (3 ชม.)

1. ศาลแขวงพระนครเหนือ/ศาลแขวงดอนเมือ1ง.ศาลแขวงพระนครเหนือ

2. ศาลแขวงนนทบุรี

3. ศาลแขวงสมุทรปราการ

4. ศาลแขวงธนบุรี

2. การศึกษาดูงานต่างประเทศ
(ประมาณ 5 วัน)
(ภายในงบประมาณ)

35

มติทป่ี ระชุม ผพู้ ิพากษาประจาศาล (ผชู้ ่วยฯ ร่นุ ท่ี 73 - 74)

ช่วย ร่นุ ที่ 71) ผ้พู ิพากษาประจาศาล (ผชู้ ่วย รุ่นที่ 72) ระหว่างวันที่ 10 ม.ค. - 4 ก.พ. 2565

กลาง (3 ชม) - ศาลเยาวชนและครอบครวั กลาง (3 ชม.)

- ศาลแขวง (3 ชม.)
1. ศาลแขวงพระนครเหนือ
2. ศาลแขวงดอนเมือง
3. ศาลแขวงดสุ ิต
4. ศาลแขวงนนทบุรี
5. ศาลแขวงพระนครใต้
6. ศาลแขวงปทุมวัน

หัวข้อวิชาอน่ื ๆ โดยกรรมการฯ พิจารณา

หัวข้อวิชา / ชม. มติทีป่ ระชุม มติทป่ี ระชุม
(ตามหลักสูตร) ผพู้ ิพากษาประจาศาล (ผู้ช่วย รุน่ ท่ี 70) ผพู้ ิพากษาประจาศาล (ผชู้
1. มารยาทและการปฏิบัติตน
ในการเข้าสังคม (3 ชม)
2. บทบาทของศาลยุติธรรมไทย
ตง้ั แตอ่ ดตี ถึงปัจจุบัน
3. กระบวนการยุตธิ รรม
ทางเลอื ก

4. ความสาคัญของการทดสอบ
สมรรถภาพทางกายวิธีการเตรยี มตวั
ก่อนการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
วิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
และการพัฒนาสมรรถภาพทางกาย

5. การปลอ่ ยช่วั คราว

6. การบริหารจัดการคดแี ละ
งานธุรการในศาลยุคดิจิทัล

7. การนานโยบายของประธาน วิทยากร นางเมทินี ชโลธร (1.30 ชม.) วิทยากร นางเมทินี ชโลธร (1.
ศาลฎีกาไปสกู่ ารปฏิบัติสาหรับ ผลการประเมิน
ผพู้ ิพากษาในศาลชั้นตน้

36

มติท่ีประชุม ผู้พิพากษาประจาศาล (ผ้ชู ่วยฯ รุ่นที่ 73 - 74)

ช่วย รนุ่ ท่ี 71) ผ้พู ิพากษาประจาศาล (ผ้ชู ่วย รุ่นท่ี 72) ระหว่างวันท่ี 10 ม.ค. - 4 ก.พ. 2565

วิทยากร

วิทยากร

วิทยากร

วิทยากร

วิทยากร 1. นายสันติ บุตรดี (เพม่ิ ) (3 ชม.) วิทยากร
2. นายประเสรฐิ ผดุงเกียรติวัฒนา (เปลยี่ น)

นายชยกมล เกษมสันต์ ณ อยุธยา

ผลการประเมิน มากที่สดุ

วิทยากร

.30 ชม.) วิทยากร นางเมทินี ชโลธร (1.30 ชม.) วิทยากร
ผลการประเมิน มากที่สุด

หัวข้อวิชา / ชม. มติที่ประชุม มติที่ประชุม
(ตามหลักสูตร)
8. ความรทู้ ่ัวไปเกี่ยวกับ ผู้พิพากษาประจาศาล (ผ้ชู ่วย รุ่นที่ 70) ผพู้ ิพากษาประจาศาล (ผู้ช
วิศวกรรมก่อสร้าง
วิทยากร ดร.ธเนศ วีระศิริ (3 ช
9. ความเห็นทางการแพทย์
ต่อการพิจารณาคดี ผลการประเมิน
วิทยากร รศ.นายแพทย์เมธี ว
10.การบริหารจัดการ
การเปลยี่ นผ่าน (3 ชม)
11. กระบวนการพิจารณา ผลการประเมิน
คดีเลือกตง้ั สาหรบั ศาลชน้ั ตน้
วิทยากร ดร.จตพุ ร สังขวรรณ
12.การชสี้ องสถาน ผลการประเมิน
และการประชุมคดี
วิทยากร นายธีระศาสตร์ มงค
13.การสร้างคุณค่าให้เดก็ (3 ชม)
และเยาวชนก่อนคืนสสู่ ังคม
ผลการประเมิน

วิทยากร 1.นายวิวัฒน์ ว่องวิวั
2.นายเดชา อุบลพงษ

ผลการประเมิน
วิทยากร นางทิชา ณ นคร (

ผลการประเมิน


Click to View FlipBook Version