2
ชื่อเรื่อง การพฒั นาศนู ยบ์ ริหารการศกึ ษาด้วยเทคโนโลยดี ิจทิ ัล ในสถานการณ์การระบาดของโรค
ตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา
สมุทรปราการ เขต 1
ผู้วิจยั นายภูมิ พระรักษา
รองผูอ้ ำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
ปี พ.ศ. 2564
ความเปน็ มาและความสำคัญ
สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19
(Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) มีการระบาดในวงกว้าง องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้
ประกาศใหโรคโควิด 19 เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (Public Health
Emergency of International Concern) โดยแนะนำให้ทุกประเทศเร่งรดั การเฝ้าระวังและป้องกัน
ความเสี่ยงจากโรคโควิด 19 สำหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยและผู้เสียชวี ติ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมี
โอกาสขยายวงกว้างขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวโนมที่จะเกิดการแพรระบาดในสถานศึกษา
ดังนั้น การสร้างความตระหนัก รูเท่าทัน และเตรียมความพรอมในการรับมือกับการระบาดของโรค
อย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งเพื่อลดความเสี่ยงและป้องกันไม่ให้ส่งกระทบต่อ
สุขภาพนักเรียน ครู ผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษา อันเป็นทรัพยากรที่สำคัญในการขับเคลื่อน
และพัฒนาประเทศในอนาคต (กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2563) ทั้งนี้โรคติดเชื้อไวรัสโคโร
นา 2019 (Coronavirus Disease 2019 : COVID-19) มีการระบาดในวงกว้าง โดยเมื่อวันที่ 30
มกราคม พ.ศ.2563 องคก์ ารอนามัยโลก ได้ประเมินสถานการณ์และประกาศใหโ้ รค COVID-19 เป็น
ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (Public Health Emergency of International
Concern) โดย แนะนำให้ทุกประเทศเร่งรดั การเฝ้าระวังและป้องกันความเสีย่ งจากเชื้อ COVID-19.
และสำหรับในประเทศไทยนั้นได้มีการพบผู้ป่วยติดเชื้อจำนวนหนึ่ง ซึ่งถึงแม้ว่าตัวเลขผู้ป่วย ติดเชื้อ
ในแต่ละวันจะมีจำนวนลดนอ้ ยลง แต่ก็ยังคงอยู่ในสภาวการณ์ที่ไม่อาจวางใจได้ ดังนั้น เพื่อลดความ
เสี่ยงของประชาชนทุก คนต่อการสัมผัสเชื้อโรค และป้องกันไม่ให้ประชาชนได้รับ ผลกระทบต่อ
สุขภาพ ต้องให้ความสำคัญต้ังแต่การรักษาสุขวิทยาส่วนบคุ คล โดยเฉพาะในประชาชนกลุ่มเสี่ยง ทั้ง
เด็ก ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีโรคประจําตัว รวมถึงการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างถูกสุขลักษณะ
และเหมาะสมในทุกพื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่สาธารณะ (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,
2563) ทัง้ นจ้ี ากการประชุมคณะรัฐมนตรใี นวนั องั คารที่ 7 เมษายน 2563 มมี ติใหเ้ ล่อื นเปดิ เทอมจาก
วันที่ 16 พฤษภาคม เป็นวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท่ีอาจสง่ ผลกระทบในหลายดา้ นทงั้ ตอ่ ตัวเด็ก ผ้ปู กครอง ไปจนถึงครู
และโรงเรียน ด้วยเหตุผลและความจำเปน็ ดังกล่าว กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จึงกำหนดแนวนโยบายการ
จัดการเรียนการสอนภายใต้สถานการณ์วิกฤตโควิด - 19 ตามแนวคิด “การเรียนรู้นำการศึกษา
3
โรงเรียนอาจหยุดได้ แต่การเรียนรู้หยุดไม่ได้” ในทุกระดับชั้นและทุกประเภทการศึกษา (สำนักงาน
เลขาธิการสภาการศกึ ษา, 2563)
สถานศึกษาเป็นสถานที่ที่มีนักเรียนอยู่รวมกันจำนวนมาก มักจะมีความเสี่ยงสูงหากมี
ระบบการจัดการที่ไม่ดี อาจจะมีการแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ได้ในกลุ่มเด็กเนื่องจากพบว่า
การติดเชื้อ COVID-19 ส่วนใหญ่จะไม่ค่อยมีอาการหรือมีอาการแสดงค่อนข้างน้อย ความรุนแรงจะ
น้อยมาก แต่เด็กนักเรียนจะเอาเชื้อกลับบ้าน อาจทำให้การแพร่ระบาดเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว
(Super spread) ไปยังบุคคลในบ้าน หากมีการระบาดในกลุ่มเด็กขึ้น จะมีผลกระทบในสังคมหรือผู้
ใกลช้ ดิ เชน่ ครู พอ่ แม่ ผูส้ งู อายทุ ่ีตดิ เชื้อจากเด็ก ดังนั้น หากมกี ารเปิดเรียน มีโอกาสสูงที่จะเกิดการ
ติดเชื้อในกลุ่มเด็กเพิ่มมากข้ึน ซึ่งเด็กเป็นกลุม่ ที่ตอ้ งไดร้ ับการดูแลและระมัดระวังในการกระจายเชอื้
เป็นอย่างมาก มาตรการในการเปิดเทอมจึงมีความสำคัญมากในการควบคุมการระบาดการวางแผน
เปิดเทอมจึงต้องมั่นใจว่า สามารถควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดของโรคในเด็กนักเรียนได้ (สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2563) ทั้งนี้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้
กำหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) โดยดำเนินการจัดประชุมทางไกลในวันที่ 7 พฤษภาคม 2563 เพื่อสร้าง
ความเข้าใจถึงแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกลและเตรียมพร้อมส ำหรับการเปิดภาคเรียน
โดยได้กำหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนระบบทางไกล แบ่งเปน็ 4 ระยะ ดังนี้ ระยะท่ี 1 การ
เตรยี มความพร้อม (7 เมษายน – 17 พฤษภาคม 2563) ดำเนนิ การสำรวจความพรอ้ มในดา้ นอปุ กรณ์
การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตของนักเรียน ผู้ปกครอง ครู และระบบการบริหารจัดการการเรียนการสอน
ดำเนินการขออนุมัติใช้ช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิทัลจาก กสทช. เพื่อจัดการเรียนการสอน
ตั้งแต่ระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อมขออนุมัติเผยแพร่การเรียนการสอนจาก
ห้องเรียนต้นทาง ในระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษา
ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) มูลนิธิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียมฯ ดำเนินการจัดทำสื่อวีดทิ ัศน์
การสอนโดยครูตน้ แบบระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และรวบรวมส่ือ
การเรียนรูอ้ อนไลนใ์ นโปรแกรมสำหรับใหบ้ ริการเผยแพรเ่ นอ้ื หาอิเล็กทรอนกิ ส์ หรอื OBEC Content
Center ชุดโปรแกรมและแพลตฟอร์มการเรียนรู้ครบวงจรของกระทรวงศึกษาธิการ เช่น Tutor ติว
ฟรี.com, e-Book เป็นต้น รวมถึงการเตรียมโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบเครือข่ายเพื่อรองรับการ
ใหบ้ ริการแพลตฟอร์มการเรียนรูใ้ ห้เช่อื มโยงกบั ระบบ Digital e-Learning ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ระยะท่ี 2 การทดลองจัดการเรียนการสอนทางไกล (18 พฤษภาคม – 30 มถิ ุนายน 2563)
ดำเนินการทดลองจัดการเรยี นการสอนทางไกลในระดบั ปฐมวยั ถงึ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ผ่านชอ่ ง
รายการโทรทัศน์ในระบบดิจิทลั โดยการเผยแพร่สัญญาณจากมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
ในพระบรมราชูปถัมภ์ (DLTV) ระดับปฐมวยั เน้นกิจกรรมเตรยี มความพร้อมเด็ก ระดับประถมศึกษา
ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเน้นเนื้อหาตาม 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ส่วนในระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย จัดการเรียนการสอนผ่านช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิทัลและระบบออนไลน์โดยครู
ต้นแบบ ด้วยเครื่องมือการเรียนรู้ตามความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา รวมทั้งเปิดศูนย์รับ
ฟังความคิดเห็นการเรียนการสอนทางไกลจากผู้ปกครอง ประชาชน และผู้เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนว
ทางการปรับปรุงและพัฒนา และประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ ความเข้าใจ แนะนำช่องทางการเรียน
ทางไกลให้กับผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง ระยะที่ 3 การจัดการเรียนการสอน (1 กรกฎาคม 2563 –
4
30 เมษายน 2564) มีการวางแผนไว้เพื่อรองรับทั้งสถานการณ์ ดังนี้ สถานการณ์ที่ 1 กรณีที่
สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ไม่คลี่คลาย ดำเนินการจัดการ
เรียนการสอนระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ด้วยระบบทางไกลผ่าน DLTV และระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย ด้วยวีดิทัศน์การสอนโดยครูต้นแบบ และระบบออนไลน์ด้วยเครื่องมือการ
เรียนรู้ตามความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา และสถานการณ์ที่ 2 กรณีที่สถานการณ์การ
แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID–19) คลี่คลายดำเนินจัดการเรียนการสอนปกติใน
โรงเรียน โดยให้เว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) และมีแผนเตรียมการเพื่อรองรับ
สถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ โดยจะต้องได้รบั การอนุมตั ิจากคณะกรรมการศกึ ษาธิการจังหวดั ซึ่งมีผู้วา่
ราชการจังหวัดเป็นประธาน และระยะที่ 4 การทดสอบและการศึกษาต่อ (1 เมษายน – 15
พฤษภาคม 2564) ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการทดสอบและคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ
ได้แก่ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เกี่ยวกับระบบคัดเลือกเข้าศึกษาใน
สถาบันอุดมศึกษา (TCAS,GAT, PAT) และสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ เกี่ยวกับการ
ทดสอบ ONET ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2563)
สำนักงานคณกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดรูปแบบการ
จัดการเรียนการสอนสำหรับโรงเรียน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) ใน 3 รูปแบบ ซึ่งโรงเรียนสามารถเลือกรูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดย
พิจารณาตามความเหมาะสมและบริบทของโรงเรียน ดังนี้ 1) การเรียนในชั้นเรียน (On-Site) คือ
การเรียนการสอนที่เน้นการจัดกิจกรรมการเรยี นรูใ้ นโรงเรียนหรอื ในชั้นเรียนเป็นหลัก โดยครูผู้สอน
สามารถนํารูปแบบการเรียนการสอนอ่ืน ๆ มาบูรณาการใชก้ ับการเรียนในชัน้ เรียนได้ เช่น การเรียน
ผ่านโทรทัศน์ (On-Air) หรือ การเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต (Online) เป็นต้น 2) การเรียนผ่านโทรทัศน์
(On-Air) คือ การเรียนการสอนทางไกลผ่านโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล และระบบดาวเทียมเพื่อให้
นักเรียนเข้าถึงการเรียนรู้ในทุกครัวเรือน ทั้งนี้ มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรม
ราชปู ถมั ภ์ ได้อนเุ คราะห์ในการส่งสัญญาณออกอากาศ 15 ช่องสัญญาณ (อนุบาล 1 –ม.6) พร้อมท้ัง
อนุเคราะหเ์ น้ือหาสาระการเรียนรู้ในระดบั ชน้ั อนบุ าลปที ่ี 1 ถึงระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 สว่ นเนอ้ื หา
สาระการเรียนรู้ในระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ถึงระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นผู้จัดทําสื่อวิดิทัศน์การเรียนการสอน และ 3) การเรียนการสอนแบบ
ออนไลน์ (Online) คือ การเรียนการสอนแบบ ออนไลน์ เป็นการศึกษาผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต
โดยนักเรียนสามารถเลือกเรียนตามความสนใจ หรือครูอาจกำหนดเนื้อหาการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียน
เข้าถงึ เนื้อหาดว้ ยตนเองไดท้ ุกที่ทุกเวลา เน้ือหาอาจประกอบด้วย ข้อความ รปู ภาพ เสยี ง วิดีโอ และ
สื่อมัลติมีเดียอื่น ๆ ซึ่งนักเรียน ครู และ เพื่อนร่วมชั้นเรียนสามารถติดต่อสื่อสาร ปรึกษาหรือ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นแบบเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนทั่วไป โดยใช้ช่องทางการสื่อสารผ่าน E-
mail Chat Social Network เป็นตน้ (สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน, 2563)
สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสมทุ รปราการเขต 1 มีหนา้ ทห่ี ลกั ในการส่งเสริม
สนบั สนุน ช่วยเหลอื และกำกบั ตดิ ตาม การบริหารจดั การของโรงเรียนในสังกัดในพืน้ ที่ 3 อำเภอของ
จังหวัดสมุทรปราการ ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอพระประแดง และอำเภอพระสมุทรเจดีย์ จำนวน
ทั้งสิ้น 72 โรงเรียน มีครูและบุลากรทางการศึกษากว่า 2,000 คน และมีนักเรียนตั้งแต่ระดับช้ัน
อนุบาลถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวนกว่า 35,000 คน อยู่ในพื้นที่ที่มีการระบาดของเชื้อไวรัส
5
โคโรนา 2019 (COVID–19) จำเป็นต้องปฏิบัติตามมาตรการทางสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด ทั้งน้ี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเรียนรู้ของนักเรียน รวมทั้งความ
ปลอดภัยของนักเรียน ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง จึงได้
ดำเนินการวิจัยเพื่อศึกษาและพัฒนาแนวทางการบริหารการศึกษาด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ใน
สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้โรงเรียนสามารถพัฒนา
คุณภาพผูเ้ รียนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพและนกั เรียนได้เรยี นรูอ้ ยา่ งมีคุณภาพต่อไป
วตั ถุประสงค์การวจิ ยั
1. เพื่อวเิ คราะห์สภาพปัญหา และศกึ ษาแนวทางการบรหิ ารการศกึ ษาด้วยเทคโนโลยี
ดิจทิ ลั ในสถานการณก์ ารระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศกึ ษาสมุทรปราการ เขต 1
2. เพอ่ื พัฒนาศูนย์บริหารการศึกษาด้วยเทคโนโลยดี ิจิทัล ในสถานการณ์การระบาดของ
โรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ
เขต 1
3. เพื่อศกึ ษาผลการดำเนินงานของศนู ย์บรหิ ารการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ิทัล ใน
สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาสมทุ รปราการ เขต 1
วิธีดำเนินการวจิ ยั
การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเพื่อพัฒนาเก็บรวบรวมข้อมูลแบบผสมผสานทั้งเชิงปริมาณและเชิง
คุณภาพ แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การวิเคราะห์สภาพปัญหา และศึกษาแนวทางการ
บริหารการศึกษาด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ระยะที่ 2 การพัฒนา
ศูนย์บริหารการศึกษาด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 และ ระยะที่ 3
การศึกษาผลการดำเนินงานของศูนย์บริหารการศึกษาด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ในสถานการณ์การ
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สมทุ รปราการ เขต 1 โดยมีรายละเอียดการดำเนินการวิจัย ดังนี้
ระยะท่ี 1 การวเิ คราะหส์ ภาพปัญหา และศึกษาแนวทางการบริหารการศกึ ษาด้วยเทคโนโลยี
ดิจิทัล ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพ้นื ที่
การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 โดยใช้การประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ร่วมกับการ
วิเคราะห์เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และ
สถานการณก์ ารระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซง่ึ ผู้รว่ มประชุมในครงั้ น้ี เป็น
บุคลากรสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ประกอบด้วย
ผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 3 คน ครู จำนวน 3 คน และศึกษานิเทศก์ จำนวน 3 คน ได้มาจาก
วธิ กี ารเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) รวมทง้ั ส้นิ 9 คน ระยะที่ 2 การพฒั นาศูนยบ์ ริหาร
6
การศึกษาด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 โดยการยกร่าง
องค์ประกอบและบทบาทหน้าที่ของศูนย์บริหารการศึกษาด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ในสถานการณ์การ
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สมุทรปราการ เขต 1 ซง่ึ ผ้วู ิจัยสังเคราะห์ขนึ้ จากข้อมลู ท่ีได้จากระยะท่ี 1 และทำการประเมนิ 4 ด้าน
ได้แก่ ด้านความเหมาะสม ความเป็นประโยชน์ ความเป็นไปได้ และความพร้อมในการดำเนินงาน
โดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากร
ทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ปีการศึกษา
2563 จำนวน 2,025 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และ
บุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ปี
การศึกษา 2563 จำนวน 323 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้เกณฑ์ตามตารางสำเร็จรูป
ของ เครซี และ มอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1986 อ้างใน บุญชม ศรีสะอาด, 2554) ที่ระดับ
ความคลาดเคลื่อน 0.05 ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) และ ระยะที่ 3
การศึกษาผลการดำเนินงานของศูนย์บริหารการศึกษาด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ในสถานการณ์การ
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สมุทรปราการ เขต 1 ดำเนินการโดยการนิเทศ ติดตามการดำเนนิ งาน รว่ มกบั ประชมุ สะท้อนผลการ
ดำเนินงานดว้ ยเทคนคิ การทบทวนหลังการปฏบิ ัติงาน (After Action Review: AAR)
ผลการวิจัย
ผลการวจิ ยั คร้งั น้นี ำเสนอตามวัตถปุ ระสงค์การวจิ ยั เป็น 3 ตอน ดงั น้ี
ตอนที่ 1 ผลการศกึ ษาสภาพปญั หาและแนวทางการบรหิ ารการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล
ในสถานการณ์การระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพืน้ ที่
การศึกษาประถมศกึ ษาสมุทรปราการ เขต 1
ผลการวิจัยตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการบริหารการศึกษาด้วย
เทคโนโลยีดิจิทัล ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 นำเสนอเป็น 2 ส่วน ดังนี้
1. สภาพปัญหาการบริหารการศกึ ษาในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019
(COVID-19) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาสมทุ รปราการ เขต 1
1.1 ความล่าช้า และความผิดพลาดของข้อมลู ความพร้อมด้านอปุ กรณก์ ารสื่อสารด้วย
เทคโนโลยีดิจิทลั ของนักเรียน ผู้ปกครอง ครู ผู้บรหิ ารโรงเรียนและบุคลากรทางการศึกษาในการ
บรหิ ารการศกึ ษาและการเรยี นรู้
1.2 การส่ือสารที่ไมช่ ดั เจน และไม่ทั่วถึงในนโยบายและแนวทางในการจดั การเรียนการ
สอนในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ
7
1.3 นกั เรยี น ผู้ปกครอง ครู ผ้บู ริหารโรงเรยี น และบุคลากรทางการศึกษาบางส่วนไม่มี
สมรรถนะในการใช้เทคโนโลยดี จิ ิทลั ในการบริหารจัดการศึกษา และการจัดการเรยี นรู้ในสถานการณ์
การระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
1.4 นกั เรยี น ผปู้ กครอง ครู ผูบ้ รหิ ารโรงเรียน และบคุ ลากรทางการศึกษา ขาดความพร้อม
ดา้ นอุปกรณด์ ้านเทคโนโลยดี ิจทิ ัลท่ีจำเปน็ ในการบริหาร จัดการศึกษา และการจัดการเรียนรู้ใน
สถานการณ์การระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
1.5 โรงเรยี น และสำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา ขาดความพร้อมด้านอปุ กรณด์ ้าน
เทคโนโลยีดิจทิ ลั ทจ่ี ำเปน็ ในการบรหิ ารจัดการศึกษา และการจดั การเรยี นรู้ในสถานการณก์ ารระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
1.6 สอื่ การเรียนรูไ้ ม่พร้อมสำหรบั ใช้ผ่านเทคโนโลยดี ิจทิ ลั จึงไม่สามารถจดั การเรยี นรู้ใน
สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ได้
1.7 วัสดอุ ปุ กรณ์ เครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ และงบประมาณไม่เพยี งพอต่อการจดั การเรยี นรู้
ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
1.8 นโยบายจากส่วนกลางเรง่ ด่วนและไม่ไดม้ ีการกำหนดแผนการดำเนนิ การล่วงหนา้ ทำ
ใหผ้ ทู้ ี่มีส่วนเกีย่ วข้องไม่สามารถเตรยี มความพร้อมเพื่อปฏิบัตติ ามนโยบายได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
1.9 การสื่อสารถงึ แนวทางการปฏิบัตไิ มม่ คี วามชัดเจนระหวา่ งกระทรวงศึกษาธกิ าร
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และโรงเรียนส่งผลให้
โรงเรียนเกดิ ความสับสนและเข้าใจคลาดเคลื่อนการดำเนินงานไม่เป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ของ
นโยบาย
1.10 กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน สำนกั งานเขต
พื้นท่กี ารศึกษาไม่มีการสำรวจข้อมูลจากผทู้ เ่ี กย่ี วข้องและผู้ท่ีไดร้ บั ผลกระทบจากการใชน้ โยบายใน
เบ้อื งตน้ เพ่ือนำข้อมลู ดังกล่าวประกอบการตัดสนิ ใจก่อนนำนโยบายไปปฏบิ ตั จิ รงิ
1.11 สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา สถานศึกษา ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาบางพ้นื ท่ีรอเพียงแนว
ทางการปฏบิ ัตจิ ากสว่ นกลางเทา่ นั้น ส่งผลให้การปฏบิ ัตขิ าดความต่อเน่ือง
1.12 ผู้ทม่ี ีสว่ นเกย่ี วขอ้ งในการกำหนดนโยบาย มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในบรบิ ทและสภาพ
ปญั หาในการทำงานท่ีแทจ้ รงิ ของผ้ปู ฏิบัติไม่ชัดเจน ส่งผลให้การกำหนดนโยบายไม่ตอบสนองความ
ต้องการของผูร้ บั บรกิ ารอยา่ งแทจ้ ริง
1.13 ครผู ูส้ อนทจี่ ัดการเรียนการสอนทางไกลบางคนขาดเทคนิคในการสอนเพ่อื จูงใจ
ผูเ้ รยี นใหเ้ กดิ ความสนใจ การออกแบบการสอนไมต่ อบโจทยค์ วามต้องการของผู้เรยี น สอนเร็ว
ไมส่ ามารถอธบิ ายให้ผู้เรยี นเข้าใจได้โดยงา่ ย และมกี ารถา่ ยทอดเน้ือหา ความรทู้ ผ่ี ดิ พลาดทำให้
ผูเ้ รยี นไดร้ บั ข้อมูลท่ีไมถ่ ูกต้อง
1.14 ครบู างสว่ นไม่ได้รบั การสนับสนนุ จากรฐั เทา่ ทีค่ วร เช่น ไม่สามารถเบิกค่าน้ำมันรถได้
หรอื ในบางสถานศกึ ษาไม่มีใบงานแจกใหผ้ ูเ้ รียน เปน็ ตน้
1.15 นักเรียนบางสว่ นมีพืน้ ฐานความร้แู ละความสามารถในการเรยี นร้ทู ีแ่ ตกตา่ งกนั เชน่
เด็กที่มีความต้องการจำเปน็ พิเศษ อาทิ เดก็ ท่มี คี วามปกติด้านการเรียนรู้ เดก็ ท่ีมคี วามสามารถพเิ ศษ
ฯลฯ เด็กกลุม่ ดังกล่าวจำเป็นตอ้ งใชว้ ธิ ีการถา่ ยทอดและเน้ือหาในการเรยี นการสอนทีแ่ ตกต่างกัน
8
1.16 เด็กปฐมวัยไมส่ ามารถน่ังเรยี นผา่ นหนา้ จอได้เป็นเวลานาน เน่อื งจากธรรมชาติของ
เด็กสามารถเรียนรู้ได้ดจี ากการลงมือปฏบิ ัติ
1.17 เวบ็ ไซตส์ ่วนกลางขาดความเสถียร สง่ ผลให้ช่องทางหลกั ในการเรียนออนไลนล์ ่ม
นกั เรียนไมส่ ามารถเรียนรู้ได้
1.18 การเรยี นแบบออนไลนส์ ำหรบั เดก็ เล็กจำเปน็ ต้องมีการกำกับดูแลโดยผู้ปกครอง แต่
ผ้ปู กครองบางคนไม่มีเวลาทจ่ี ะดแู ลบุตรหลานเน่ืองจากต้องทำงานประจำหารายไดเ้ พื่อเลี้ยง
ครอบครวั
1.19 ผปู้ กครองไม่มีความพร้อมในการสนับสนนุ ทรัพยากรทางการศกึ ษา เชน่ โทรทศั น์
คอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน ฯลฯ
1.20 ผปู้ กครองไม่มีความรู้ความเข้าใจเกยี่ วกบั เน้ือหาทำให้ไมส่ ามารถใหค้ ำแนะนำ
ช่วยเหลอื ชี้แนะ เม่อื ผเู้ รียนไมเ่ ข้าใจบทเรียน
1.21 การเรยี นดว้ ยระบบทางไกลผ่าน DLTV เปน็ การเรียนการสอนแบบสื่อสารทางเดยี ว
(one – way communication) ทำให้นักเรยี นไมส่ ามารถมปี ฏิสมั พันธก์ ับผู้สอนได้
1.22 การวดั ประเมินผลในบางรายวชิ าไม่เหมาะสมกบั ระดับของนักเรียนและเน้อื หาของ
บทเรยี น
2. แนวทางการบรหิ ารการศึกษาด้วยเทคโนโลยีดิจทิ ัล ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชอ้ื
ไวรสั โคโรนา 2019(COVID-19) สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสมุทรปราการ เขต 1
1.1 สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสมุทรปราการ เขต 1 ควรกำหนดนโยบาย
อยูบ่ นพื้นฐานของขอ้ มลู และการสำรวจความตอ้ งการทั้งจากนักเรยี น ครู และโรงเรยี น และคำนงึ ถงึ
ประโยชน์ท่ผี เู้ รียนจะไดร้ บั เป็นสำคัญ
1.2 สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาควรสนบั สนุน ดำเนนิ การใหเ้ กิดขึ้นจริงตามข้อมูลปญั หา
และความต้องการท่ีได้จากการสำรวจอย่างแทจ้ รงิ
1.3 สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา และโรงเรียนควรมีแผนสำรองและมาตรการการจดั การ
เรยี นการสอนเพ่ือรองรับการแพร่ระบาดของการแพร่ระบาดโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-
19) ในรอบตอ่ ไปหรือสถานการณต์ ่าง ๆ ท่ีจะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต
1.4 นโยบายของสำนักงานเขตพืน้ ที่ควรมีความหลากหลายและตอบโจทย์ความต้องการใน
แต่ละโรงเรียนตามบรบิ ทพ้นื ที่ การออกแบบการจัดการเรียนการสอนท่ีองิ บริบทพ้ืนทผ่ี ่านการทำงาน
ร่วมกนั และประสานความร่วมมอื
1.5 มกี ารสือ่ สารถึงนโยบายด้วยความชัดเจนในแง่ของการดำเนินการ การปฏิบตั ิ และ
บทบาทของผ้ทู ่ีมีสว่ นเก่ยี วขอ้ งในการดำเนินการเพ่ือให้บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ของนโยบายทวี่ างไว้
1.6 สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา และโรงเรยี นดำเนินการเพือ่ อำนวยความสะดวกให้
นกั เรียนสามารถเขา้ ถงึ การเรียนการสอนแม้ไม่สามารถไปโรงเรยี นได้
1.7 สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา และโรงเรยี นควรสนบั สนนุ ให้ครูสามารถดำเนินการ
จัดการเรยี นการสอนได้อย่างสะดวก เช่น สนบั สนนุ งบประมาณในการดำเนินการ การจัดอบรมเรื่อง
การใช้เทคโนโลยี เป็นตน้
9
1.8 ควรมีการประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมออนไลน์ท่ีใหบ้ ริการโดยท่วั ไป อาทิ Zoom, Google Meet,
Microsoft Team ในกรณีท่ีสามารถใช้งานเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ ได้ และให้ความรู้ถึงกระบวนการใช้งาน
ทำในลักษณะคู่มอื ความรู้ หรือการจัดอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ
1.9 จดั ใหม้ ีการเรยี นการสอนออนไลน์ในรูปแบบทีห่ ลากหลาย อนั ได้แก่ DLTV โปรแกรม
ออนไลน์ (Zoom, Google Meet, Microsoft Team) สื่อการเรยี นการสอนแบบ Offline การจดั การเรียน
การสอนผา่ นการถ่ายทอดสด (LIVE) เป็นต้น โดยพิจารณาถงึ ความเหมาะสมของผ้เู รียนในทุกประเภทและ
ระดบั การศึกษา เพอื่ เป็นการเพม่ิ ทางเลือกในการเรยี นรู้ให้แก่ผเู้ รยี นมากยง่ิ ขนึ้ หรืออาจนำหลักการ 4 on
มาประยกุ ต์ใช้ อันไดแ้ ก่ online, on air, on hand และ on site
1.10 ในกรณีท่ไี มส่ ามารถจดั การเรยี นการสอนไดต้ ามปกติ สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา
และโรงเรียนควรมีการสนับสนุนผเู้ รยี นเพิ่มเตมิ ในสว่ นอนื่ อาทิ อาหารกลางวัน คา่ ใช้จา่ ยอื่น ๆ ที่
จำเปน็ ในกรณีผู้เรียนที่มีฐานะลำบาก
1.11 ควรสร้างเจตคติใหมใ่ นการใชเ้ ทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษาให้แกค่ รูและผ้ทู ี่มสี ว่ น
เกยี่ วข้อง
1.12 สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา และโรงเรียนควรออกแบบหลกั สตู ร โครงสร้างเวลา
เรยี น และกระบวนการติดตามประเมนิ ใหม่ โดยการกระชับหลกั สูตรและปรบั ใหส้ อดคล้องกับ
สถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19)
1.13 ควรมกี ารสื่อสารใหผ้ เู้ กี่ยวขอ้ งทุกภาคสว่ น เพมิ่ ความยืดหยนุ่ ของโครงสร้างเวลา
เรียนและความหลากหลายของรูปแบบการเรียนรู้
1.14 สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา และโรงเรยี นควรออกแบบหนว่ ยการเรียนรแู้ ละมี
แผนการสอนทเี่ หมาะสมให้ผู้เรยี นสามารถเข้าใจถงึ สถานการณ์ตา่ ง ๆ และประยุกต์ใชท้ กั ษะต่าง ๆ
ใหเ้ หมาะสมตามสถานการณ์ไดอ้ ย่างถูกต้อง
1.15 สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษา และโรงเรียนควรออกแบบและยกระดับการ
ประเมินผลการบรหิ ารการจัดการศกึ ษา และการจดั การเรียนการสอนไปส่กู ารประเมินเพื่อพฒั นา
และประเมินเพื่อรับผดิ ชอบ
1.17 การจัดการเรยี นรตู้ ้องคำนึงถงึ มาตรการดแู ลเพ่ิมเติมข้ึนเปน็ พเิ ศษ เพ่ือลดความเส่ียง
จากการแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อันอาจเกดิ ซ้ำข้ึนได้
ตอนท่ี 2 ผลการพฒั นาศนู ย์บรหิ ารการศึกษาด้วยเทคโนโลยดี ิจิทลั ในสถานการณ์การระบาดของ
โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษา
สมุทรปราการ เขต 1
ผลการวจิ ยั ตอนท่ี 2 การพัฒนาศนู ย์บริหารการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยดี ิจิทลั ในสถานการณ์
การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 นำเสนอเป็น 2 ส่วน ดังนี้
10
1. องค์ประกอบและบทบาทหน้าท่ีของศูนยบ์ ริหารการศึกษาด้วยเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล ในสถานการณ์
การระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาสมุทรปราการ เขต 1
ผลการศึกษาพบองค์ประกอบของศูนย์บริหารการศึกษาด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ใน
สถานการณก์ ารระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาสมุทรปราการ เขต 1 โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อจัดระบบบริหาร และสนับสนุนโรงเรียนใน
สงั กดั เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพนักเรยี นท่ามกลางสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) อย่างปลอดภัยทั้งนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาทุกคน ประกอบด้วย 5
องค์ประกอบ ดังน้ี 1) ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ 2) ระบบการประชุม 3) ระบบสนับสนุนการ
จัดการเรียนการสอน 4) ระบบการนิเทศ ติดตามและประเมินผล และ 5) ระบบการพัฒนาครู
ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศกึ ษาด้วยเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล
องค์ประกอบทั้ง 5 ของศูนย์บริหารการศึกษาด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ในสถานการณ์การ
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สมทุ รปราการ เขต 1 มบี ทบาทหน้าที่ท่ีสมั พันธ์กนั ดังนี้
1.1 ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ
ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ เพื่อรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลความพร้อมในการ
บรหิ ารการจัดการศึกษา และการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) ของนักเรยี น ครู ผ้บู ริหาร บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครอง ดำเนนิ การโดย
ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการสำรวจ รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล ผ่านแพลตฟอร์ม Google
datastudio, Google form
1.2 ระบบการประชุม
ระบบการประชุม เพื่อใช้ในการสื่อสาร ประชุมชี้แจง สร้างความเข้าใจ รับฟังความ
คิดเห็น รวมทั้งการติดตาม ช่วยเหลือแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการ การจัดการศึกษา และการ
จัดการเรียนรู้ ดำเนินการโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการสื่อสารผ่านแพลตฟอร์ม Google meet ,
www.facebook.com
1.3 ระบบสนับสนนุ การจัดการเรียนการสอน
ระบบการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย 4 ส่วน ดังนี้ 1) ระบบ
สนับสนุนสนับสนุนการบริหารจัดการชั้นเรียน 2) ระบบสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนสำหรับ
เด็กปฐมวัย 3) ระบบสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
(DLTV) และ 4) ระบบสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT)
ดำเนินการผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัล เพื่อวางแผนจัดระบบการบริหารการเรียนรู้ การจัดการชั้นเรียน
การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา การผลิตสื่อการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการ
เรียนรู้ของนักเรียน รวมทั้งการติดตามช่วยเหลือ และสนับสนุน การจัดการเรียนการสอนของ
ค ร ู ผ ู ้ ส อ น ผ ่ า น แ พ ล ต ฟ อ ร์ ม Google Classroom, www.DLTV.ac.th, www.DLIT.ac.th,
Application DLTV, www.facebook.com, www.youtube.com
11
1.4 ระบบการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล
ระบบการนิเทศ ติดตามและประเมินผล เพื่อใช้ในการส่งเสริม สนับสนุน ติดตาม
ช่วยเหลือผู้บริหารโรงเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ในการบริหารจัดการการศึกษา การ
จัดการเรยี นรู้ รวมทั้งดำเนนิ งานตามระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรูอ้ ย่าง
มีคุณภาพ ผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้ปฏิบัติหน้าที่เต็มศักยภาพอย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยเทคโนโลยีดิจิทัลผ่านแพลตฟอร์ม Google form, Google meet, Application
Line, www.facebook.com, www.youtube.com
1.5 ระบบการพัฒนาครู ผู้บรหิ าร และบคุ ลากรทางการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล
ระบบการพฒั นาครู ผู้บริหาร และบคุ ลากรทางการศึกษาด้วยเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่ือใช้
ในการเสริมสรา้ งสมรรถนะของครู ผบู้ ริหาร และบคุ ลากรทางการศึกษา ใหส้ ามารถปฏบิ ัตหิ นา้ ทที่ ั้ง
การบรหิ ารสถานศึกษาสำหรับผู้บริหารสถานศกึ ษา และการจดั การเรยี นการสอนสำหรับครู รวมท้ัง
การประสาน ส่งเสรมิ สนับสนนุ การบริหารจดั การการศึกษาสำหรับบุคลากรทางการศึกษาได้อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ ดำเนินการโดยใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัลผ่านแพลตฟอร์ม Google form, website
ผ้วู ิจัยสังเคราะห์เป็นภาพประกอบ ดงั ภาพต่อไปนี้
12
2. ผลการประเมนิ ศนู ย์บริหารการศึกษาด้วยเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ในสถานการณก์ ารระบาดของโรค
ตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษา
สมุทรปราการ เขต 1
ผลการประเมินความเหมาะสม ความเป็นประโยชน์ ความเป็นไปได้ และความพร้อมใน
การดำเนินงานของศูนย์บริหารการศึกษาด้วยเทคโนโลยีดิจิทลั ในสถานการณ์การระบาดของโรคติด
เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1
พบดังนี้ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.68 S.D.=0.57) และทุกด้านมีค่าเฉล่ีย
อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ ( =
4.71 S.D.=0.55) รองลงมาคือ ด้านความเป็นไปได้ ( = 4.67 S.D.=0.58) และความพร้อมของ
โรงเรยี น ( = 4.67 S.D.=0.59)
ตอนที่ 3 ผลการดำเนนิ งานของศนู ย์บรหิ ารการศกึ ษาด้วยเทคโนโลยดี ิจทิ ัล ในสถานการณ์การ
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาสมุทรปราการ เขต 1
จากการนิเทศ ติดตาม และการประชมุ ผ้เู ก่ียวข้องเพอื่ สะท้อนผลการดำเนินงานของศูนย์
บริหารการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยีดจิ ิทลั ในสถานการณ์การระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 พบวา่ ศนู ย์บรหิ าร
การศึกษาดว้ ยเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ในสถานการณ์การระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 เปิดดำเนินงานอย่าง
เป็นทางการในวนั ที่ 1 พฤษภาคม 2563 และดำเนินงานตามบทบาทหนา้ ท่ีถงึ วนั ที่ 30 เมษายน
2564 นำเสนอผลการดำเนินงานเปน็ 3 ส่วน คอื 1) ผลการดำเนินงาน 2) ปญั หา อปุ สรรค และ 3)
ขอ้ เสนอแนะ โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้
1. ผลการดำเนินงาน
1.1 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1
สามารถประชุมผ่านระบบการประชุมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลได้อย่างชัดเจนทั้งภาพและเสียง จำนวน
72 โรงเรียน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100
1.2 ผู้อำนวยการโรงเรียนทุกโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สมุทรปราการ เขต 1 สามารถประชมุ ทางไกลกบั ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาในสังกัดทุกโรงเรยี น
1.3 ผอู้ ำนวยการโรงเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาสงั กดั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ได้รับการพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลครอบคลุมทั้ง 3
ขั้น คอื ขนั้ พืน้ ฐาน ขนั้ ตน้ และขนั้ ประยกุ ต์
1.4 โรงเรียนและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 มีข้อมูล
สารสนเทศของนักเรียนรายบุคคล เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการบริหารการศึกษา และ
วางแผนการจัดการเรยี นรู้อยา่ งมคี ุณภาพ
13
1.5 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ทุก
โรงเรียนวางแผนช่วยเหลือเบ้ืองต้นนักเรียนเป็นรายบุคคลในการเตรยี มความพร้อมในการจัดการเรียนรู้
ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรบั นักเรียนทกุ คน
1.6 ผ้อู ำนวยการโรงเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาสงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติหน้าที่ในสถานการณ์การ
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
1.7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ทุก
โรงเรยี นวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และช่วยเหลือนักเรียนรายบุคคลสอดคล้องกับความต้องการ
จำเปน็ ของนักเรยี น ผ้ปู กครอง และสภาพแวดล้อมอ่ืนตา่ งๆ ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
1.8 โรงเรียนมีสื่อการเรียนรู้มีความหลากหลาย ทันสมัย และมีความพร้อมสอดคล้องกับ
ความต้องการจำเป็นของนักเรยี น ผู้ปกครอง และสภาพแวดล้อมอ่ืนต่างๆ ในสถานการณ์การระบาด
ของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เหมาะสมกบั นักเรียนทกุ คน
1.9 ผู้บริหารการศึกษา ศึกษานิเทศก์ และบุคลากรทางการศึกษา มีช่องทางและเครื่องมือ
ในการนเิ ทศตดิ ตาม ช่วยเหลอื และสนับสนนุ การบริหารสถานศึกษา การจัดการเรียนการสอนของครู
ของโรงเรียนทกุ โรงเรียน
1.10 ครูทุกคนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 มี
สื่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการจำเป็นของนักเรียน ผู้ปกครอง และ
สภาพแวดล้อมอ่นื ตา่ งๆ ในสถานการณ์การระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
1.11 นักเรียนทุกคนที่เรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สมทุ รปราการ เขต 1 ได้เรยี นรู้อย่างมีคุณภาพ เหมาะสมและปลอดภยั ในสถานการณ์การระบาดของ
โรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
2. ปัญหา อปุ สรรค
2.1 อปุ กรณ์การสือ่ สาร และการเรยี นรูข้ องนกั เรียนและผู้ปกครองบางคนไม่พร้อม
ไมส่ ามารถใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
2.2 สัญญาณอนิ เทอร์เน็ตทใี่ ช้ในการเรียนการสอนสำหรบั นักเรยี นไม่เพียงพอ เพราะขาด
ค่าใชจ้ า่ ยสำหรับค่าสญั ญาณอินเทอรเ์ นต็
2.3 ผปู้ กครองบางสว่ นไม่สามารถกำกบั ดูแลการเรยี นของนักเรียนเมื่อนักเรียนเรียนท่ีบา้ นได้
2.4 สภาพแวดลอ้ มรอบท่ีพักของนักเรียนไม่เหมาะสมในการจดั การเรียนรู้
3. ข้อเสนอแนะ
3.1 ควรปรบั ปรุง และพัฒนาอุปกรณ์ ระบบและสัญญาณอินเทอร์เน็ตของศนู ย์บรหิ าร
การศึกษาดว้ ยเทคโนโลยีดิจทิ ัล ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-
19) สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ให้มีประสิทธภิ าพสูงข้ึน
3.2 ผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาบางสว่ นควรไดร้ บั การพฒั นาสมรรถนะด้าน
เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั รวมทั้งทศั นคตแิ ละการใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัลอยา่ งสรา้ งสรรค์
14
เอกสารอ้างอิง
กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ . (2563). คู่มือการปฏบิ ัติสำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ้ งกัน
การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19. นนทบรุ ี: คิว แอดเวอรไทซิง่ จำกัด
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน. (2563). แนวทางการจัดการเรียนการสอนของ
โรงเรยี นสังกดั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นฐานในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปกี ารศึกษา 2563.
กรงุ เทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2563). รายงาน เรยี นออนไลน์ยุคโควดิ -19 : วกิ ฤตหรอื
โอกาสการศึกษาไทย. กรงุ เทพฯ: กลมุ่ พฒั นานโยบายด้านการมสี ่วนรว่ มและสมัชชา
การศึกษา และกล่มุ พฒั นานโยบายด้านการเรยี นรู้
สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. (2563). รปู แบบการจัดการเรียนรสู้ ำหรับนกั เรียนระดับ
การศกึ ษาขั้นพน้ ฐานทีไ่ ดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19. กรุงเทพฯ:
สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา
15