The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นริศรา เกษร, 2019-12-18 05:01:12

สื่อและอุปกรณ์การรับส่งข้อมูล

สื่อและการรับส่งข้อมูล

ส่ือและอุปกรณ์การรับส่งข้อมูล (Communication Media)

นาเสนอโดย
นางสาวนริศรา เกษร
ปวส 1/9 เลขท่ี 11

เสนอ
อาจารย์วริ ิยา สีขาว
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยนี ครราชสีมา

สื่อสามารถแบ่งออกเป็ นกลุ่มใหญ่ๆได้ 2 กลุ่มคือ
1.ส่ือประเภทเหน่ียวนา ไดแ้ ก่ สายคูบ่ ิดเกลียว สายโคแอกเชียล และสายใยแกว้ นาแสง
2.สื่อประเภทกระจายคล่ืน ไดแ้ ก่ คล่ืนวทิ ยุ ไมโครเวฟ

สื่อประเภทเหน่ียวนา

สายคู่บดิ เกลยี ว (Twisted-Pair Cable)

สายคู่บิดเกลียว ประกอบดว้ ยสายทองแดง ท่ีหุม้ ดว้ ยฉนวนพลาสติก หลงั จากน้นั กจ็ ะนาสายท้งั 2

เส้นมาถกั กนั เป็นเกลียวคู่ โดยสายคูห่ น่ึงกจ็ ะใชส้ าหรับการสื่อสารหน่ึงช่องทาง จานวนคูท่ ่ีเกิดจากการนา

สาย2เส้นมาถกั กนั เป็ นเกลียว ซ่ึงอาจจะมีหลายๆคู่ท่ีนามารวบเขา้ ดว้ ยกนั และหุม้ ดว้ ยฉนวนภายนอก

**การที่นาสายมาถกั เป็นเกลียว มีเหตุผลสาคญั คือ ช่วยลดการแทรกแซงจากสัญญาณรบกวน**

สายคู่บิดเกลยี วจะมอี ยู่ 2 รูปแบบด้วยกนั คือ แบบมชี ีลด์ และแบบไม่มีชีลด์

สายคู่บิดเกลยี วชนิดไม่มชี ีลด์ (UTP) เป็นสายชนิหน่ึงที่มีความนิยมใชง้ านมากในปัจจุบนั มีลกั ษณะ

คลา้ ยกบั สายโทรศพั ทท์ ่ีใชต้ ามบา้ น โดยหน่วยงาน EIA ไดม้ ีการพฒั นามาตรฐานสาย UTP ตามเกรดการใช้

งาน

**สาย UTP ท่ีนิยมใชก้ บั เครือข่ายทอ้ งถิ่น คือ (CAT 5)**

สายคู่บิดเกลยี วชนิดมชี ีลด์(STP) มีลกั ษณะคลา้ ยกบั สาย UTP แต่สาย STP จะมีชีลดห์ ่อหุม้ อีกช้นั หน่ึง

ทาใหป้ ้องกนั สัญญาณรบกวนไดด้ ีวา่ UTP โดยหากมีการนาสาย UTP หลายๆเส้นมามดั รวมกนั หรือมีการ

วางพลาด ระหวา่ งกนั อาจเกิดสญั ญาณรบกวนท่ีเรียกวา่ ครอสทอลก์ ได้ ดงั น้นั จะเห็นไดว้ า่ สาย

STP น้นั มีคุณภาพที่ดีกวา่ แต่ก็มีตน้ ทุนท่ีสูงกวา่ เช่นกนั

สาหรับการส่งข้อมูลด้วยสายคู่บดิ เกลยี ว จะมคี ุณลกั ษณะสาคญั ต่างๆ ดังต่อไปนี้
-กรณีส่งขอ้ มูลแบบ แอนะลอ็ ก จาเป็นตอ้ งมีเคร่ืองขยาย (Amplifiers) เพอ่ื เพ่มิ เพ่ิมกาลงั ส่งในระยะทางทุกๆ
5-6 กม.
-กรณีส่งขอ้ มูลแบบดิจิตอล จาเป็นตอ้ งใชอ้ ุปกรณ์ที่เรียกวา่ เครื่องทวนสญั ญาณ (Repeater)ในระยะทางทุกๆ
2-3 กม.
-ใชง้ านบนระยะทางที่จากดั
-มีแบนดว์ ดิ ธ์ท่ีจากดั
-อตั ราความเร็วในการส่งขอ้ มูลจากดั

-ไวตอ่ สัญญาณรบกวน

ข้อดีและข้อเสียของสายคู่บดิ เกลยี ว
ข้อดี
-ราคาถูก
-ง่ายต่อการนาไปใช้
ข้อเสีย
-จากดั ความเร็ว
-ใชก้ บั ระยะทางส้ันๆ
-ในกรณีเป็ นสายแบบไม่มีชีลด์ กจ็ ะไวต่อสัญญาณรบกวน

สายโคแอกเชียล Coaxial Cable)
สายโคแอกเชียลหรือมกั เรียกส้ันๆวา่ สายโคแอกซ์ จะมีช่วงความถี่ หรือแบนดว์ ดิ ธ์ที่สูงกวา่ สายคูบ่ ิดเกลียว
สายมกั จะทาดว้ ย ทองแดงอยแู่ กนกลาง และถูกหุม้ ดว้ ยพลาสติกจากน้นั ก็จะมีชีลดห์ ุม้ อยอู่ ีกช้นั หน่ึงเพ่ือ
ป้องกนั สัญญาณรบกวน และหุม้ ดว้ ยเปลือกนอกอีกช้นั หน่ึง จึงทาใหส้ ายโคแอกเชียลน้ีเป็นสายท่ีสามารถ
ป้องกนั สัญญาณรบกวนจากคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าไดด้ ี
สายโคแอกเชียลท่ีเราสามารถพบเห็นไดท้ ว่ั ไปกค็ ือ สายที่นามาใชต้ ่อเขา้ กบั เสาอากาศทีวที ี่ใชต้ ามบา้ น
นนั่ เอง
ข้อดแี ละข้อเสียของสายโคแอกเชียล
ข้อดี
-เชื่อมตอ่ ไดใ้ นระยะทางไกล
-ป้องกนั สัญญาณรบกวนไดด้ ี
ข้อเสีย
-มีราคาแพง
-สายมีขนาดใหญ่
-ติดต้งั ยาก

สายไฟเบอร์ออปติค
สายไฟเบอร์ออปติค หรือสายใยแกว้ นาแสง เป็นสายท่ีมีลกั ษณะโปร่งแสง มีรูปทรงกระบอกภายในตนั
ขนาดประมาณเส้นผมของมนุษยแ์ ตม่ ีขนาดเลก็ กวา่ เส้นใยแกว้ นาแสงจะเป็นแกว้ บริสุทธ์ิ โดยแกนกลางของ
เส้นใยน้ีจะเรียกวา่ คอร์ และจะถูกหอ้ มลอ้ มดว้ ยแคลดดิ้งและจากน้นั กจ็ ะมีวสั ดุที่ใชส้ าหรับห่อหุม้ แคลดดิ้ง

หรือบฟั เฟอร์และตามดว้ ยวสั ดุห่อหุม้ ภายนอก
เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์สามารถนาสายไฟเบอร์ออปติคมาใชใ้ นการส่งขอ้ มูลไดซ้ ่ึงมกั เรียกวา่ ออปติคไฟ
เบอร์ นอกจากสายไฟเบอร์ออปติคยงั เป็ นสายท่ีทนต่อการรบกวนสญั ญาณภายนอกไดเ้ ป็นอยา่ งดี ไม่วา่ จะ
เป็นคล่ืนความถี่วทิ ยุ คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า รวมถึงความปลอดภยั ของขอ้ มูลซ่ึงมีความปลอดภยั สูงกวา่ สาย
เคเบิลทว่ั ไป สายไฟเบอร์ออปติคน้ีจะมีอยหู่ ลายชนิดดว้ ยกนั ตามแต่ละคุณสมบตั ิ
ข้อดีและข้อเสียของสายไฟเบอร์ออปตคิ
ข้อดี
-มีอตั ราคา่ ลดทอนของสัญญาณต่า
-ไมม่ ีการรบกวนของสญั ญาณไฟฟ้า
-มีแบนดว์ ดิ ธ์สูงมาก
-มีขนาดเล็กและน้าหนกั เบา
-มีความเป็ นอิสระทางไฟฟ้า
-มีความปลอดภยั ในขอ้ มูล
-มีความทนทานและมีอายกุ ารใชง้ านยาวนาน
ข้อเสีย
-เส้นใยแกว้ มีความเปราะบาง แตกหกั ง่าย
-การเดินสายตอ้ งระมดั ระวงั อยา่ ใหโ้ คง้ งอมาก
-มีราคาสูง เมื่อเทียบกบั สายเคเบิลทวั่ ไป
-การติดต้งั จาเป็นตอ้ งพ่งึ พาผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะ

สื่อประเภทกระจายคล่ืน
เป็นสื่อแบบไร้สาย การรับส่งขอ้ มูลโดยทว่ั ไปจะผา่ นอากาศซ่ึงภายในอากาศน้นั จะมีพลงั งานคล่ืน

แมเ่ หล็กไฟฟ้าแพร่กระจายอยทู่ ว่ั ไป โดยจะตอ้ งมีอุปกรณ์ท่ีไวค้ อยจดั การกบั คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าเหล่าน้นั ซ่ึง
ปกติแลว้ จะมีอยู่ 2ชนิดดว้ ยกนั

1.แบบ Directional เป็นแบบกาหนดทิศทางของสัญญาณ ดว้ ยการโฟกสั คล่ืนน้นั ๆ ซ่ึงจาเป็นตอ้ งทาการ
รับส่งดว้ ยความระมดั ระวงั โดยจะตอ้ งอยใู่ นระนาบเดียวกนั

2.แบบ Omnidirection เป็นการกระจายสญั ญาณรอบทิศทาง ซ่ึงสญั ญาณท่ีส่งออกไปน้นั จะกระจายหรือ
แพร่ไปทวั่ ทิศทางในทางอากาศ ทาใหส้ ามารถรับสญั ญาณเหล่าน้ีไดด้ ว้ ยการต้งั เสาอากาศ การกระจาย
สญั ญาณแบบรอบทิศทาง เช่น วทิ ยกุ ระจายเสียง หรือการแพร่ภาพสัญญาณโทรทศั น์ ซ่ึงทาไดโ้ ดยการติดต้งั
สาอากาศทีวเี พอื่ รับภาพสญั ญาณโทรทศั น์ท่ีแพร่มาตามอากาศ

คลื่นวทิ ยุ (Radio Frequency)
การสื่อสารโดยอาศยั คลื่นวทิ ยุ จะกระทาโดยการส่งคลื่นไปยงั อากาศเพือ่ เขา้ ไปยงั เครื่องรับวทิ ยุ โดยการใช้
เทคนิคการกล้าสญั ญาณ ท่ีเรียกวา่ มอดูเลต ดว้ ยการรวมคลื่นเสียงท่ีเป็นคลื่นไฟฟ้าความถ่ีเสียงรวมกนั ทาให้
กาส่ือสารดว้ ยวทิ ยกุ ระจายเสียงน้นั ไมจ่ าเป็นตอ้ งใชส้ าย อีกท้งั ยงั สามารถส่งคลื่นไดใ้ นระยะทางท่ีไกล
ออกไปไดต้ ามประเภทของคลื่นน้นั ๆ

ไมโครเวฟ (Terrestrial Microwave Transmission)
คล่ืนโทรทศั น์และคล่ืนไมโครเวฟจะสามารถทะลุผา่ นไปยงั ช้นั บรรยากาศไปยงั นอกโลก คล่ืนโทรทศั นจ์ ะมี
ช่วงความถี่ อย2ู่ ความถี่ที่นิยมใชง้ านคือ คลื่น UHFและ VHF สาหรับคลื่นไมโครเวฟบนพ้นื โลกจะเดินทาง
เป็นแนวเส้นตรงในระดบั สายตามิไดโ้ คง้ ไปตามเปลือกโลก ดงั น้นั หากมีความตอ้ งการส่งขอ้ มูลในระยะไกล
ออกไป จึงจาเป็นตอ้ งมีจานรับส่งท่ีทาหนา้ ที่ทวนสัญญาณเพ่อื ส่งตอ่ ในระยะไกลออกไปได้ ขอ้ เสียของ
สญั ญาณไมโครเวฟคือ สามารถถูกรบกวนไดง้ ่ายจากคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมท้งั สภาพภูมิอากาศแปรปรวน
ก็จะส่งผลต่อระบบการส่ือสาร และเน่ืองจากการส่ือสารดว้ ยไมโครเวฟบนพ้ืนดินน้นั จะมีขอ้ จากดั เร่ืองของ
ภูมิประเทศ เช่นภูเขาบดบงั สัญญาณ ดงั น้นั จึงเกิดไมโครเวฟบนฟ้า ซ่ึงเรียกวา่ ดาวเทียม

โทรศัพท์เซลลูลาร์(Cellular Telephone)
ยคุ 1G (First-General Mobile Phone: Analog Voice) เป็นโทรศพั ทเ์ ซลลูลาร์ระบบแรกที่นามาใชง้ าน ซ่ึง
เป็นการส่งสัญญาณไร้สายแบบ แอนาล็อก
ยคุ 2G (Second-General Mobile Phone: Digital Voice) ไดม้ ีการพฒั นาระบบเซลลูลาร์แบบดิจิตอลข้ึน
เพือ่ ใหส้ ามารถส่ือสารกนั ไดท้ วั่ โลกและเป็นไปตามมาตรฐานเดียวกนั
ยคุ 3G (Third-General Mobile Phone: Digital Voice and Data) ไดม้ ีการพฒั นาเทคโนโลยกี ารส่ือสารของ
ระบบโทรศพั ทเ์ ซลลูลาร์อยา่ งเห็นไดช้ ดั โทรสัพทไ์ มใ่ ช่แค่เพียงใชง้ านเพอ่ื สื่อสารพูดคุยกนั เทา่ น้นั แต่
สามารถเขา้ ถึงระบบเครือขา่ ยได้ เช่นการเชื่อมตอ่ แบบไร้สายเพือ่ เขา้ สู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพ่ือดาเนินธุ
กรรมบนเครือข่ายและมีแนวโนม้ ในอนาคตก็จะเป็นแบนดว์ ดิ ธ์ที่สูงข้ึนเพอ่ื เขา้ สู่ยคุ 4G ตอ่ ไป

อนิ ฟราเรด (Infrared Transmission)
ในแนวเส้นตรง สามารถสะทอ้ นวตั ถุผวิ เรียบไดช้ ่วงระยะเพยี งไม่กี่เมตร
สาหรับขอ้ เสียของอินฟราเรดก็คือ แสงอินฟราเรดก็คือ แสงอินฟราเรดไม่สามารถส่ือสารทะลุวตั ถุทึบแสง
หรือกาแพงท่ีกีดขวางได้

บลูธูท(Bluetooth)
เทคโนโลยบี ลูธูท ถูกออกแบบมาเพื่อใชเ้ ป็นวธิ ีใหมข่ องการเช่ือมต่อหูฟังเขา้ กบั เซลลโ์ ฟนไดส้ ะดวก
ยง่ิ ข้ึน มีขอ้ ดี ตรงท่ีลงทุนต่าและใชพ้ ลงั งานต่า มีความแตกต่างเมื่อเทียบกบั การส่ือสารดว้ ยแสงอินฟราเรด
ตรงที่สามารถสื่อสารทะลุส่ิงกีดขวางหรือกาแพงได้ อีกท้งั ยงั เป็นการสื่อสารไร้สายดว้ ยการแผค่ ล่ืนออกเป็ น
รัศมีรอบทิศทางดว้ ยคลื่นความถ่ีสูง บลูธูท สามารถสื่อสารระหวา่ งอุปกรณ์หลายๆอุปกรณ์ดว้ ยกนั เช่น
เคร่ืองคอมพิวเตอร์ เคร่ืงพมิ พ์ แฟกซ์ และรวมถึงเคร่ืองพีดีเอ

ข้อกาหนดความต้องการของบลูธูทได้มกี ารระบุไว้ว่า

ระบบตอ้ งสามารถนาไปใชง้ านไดท้ ว่ั โลก
-รองรับการใชง้ านท้งั ขอ้ มูลและเสียง หรือมลั ติมีเดียได้
-อุปกรณ์รับส่งคล่ืนสญั ญาณวทิ ยุ จะตอ้ งใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าต่าและมีขนาดเลก็ เพื่อใหส้ ามารถนาไปบรรจุไว้
ในอุปกรณ์เคลื่อนท่ีอยา่ ง โทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ี หูฟัง หรือเครื่องพดี ีเอได้
**แต่ปัญหาของบลูธูทก็มีในเร่ืองของการส่ือสารกบั อุปกรณ์หลายๆอยา่ งพร้อมกนั ในดา้ นของการ
ซิงโครไนซ์ขอ้ มูลกบั อุปกรณ์แตล่ ะตวั ที่ยงั ทางานไดไ้ ม่ดีนกั **

WAP (Wireless Application Protocol)
WAP เป็นมาตรฐานสากลที่ใชส้ าหรับการส่ือสารขอ้ มูลแบบไร้สาย โดย WAP เป็นโปรโตคอลที่ใชง้ านบน
อุปกรณ์พกพาต่างๆจะใชภ้ าษา HTML เพ่ือแสดงผลในรูปแบบของการเบราเซอร์เพอื่ ใหส้ ามารถท่องไปยงั
อินเตอร์เน็ตได้

การพจิ ารณาตวั กลางส่งข้อมูล
การพิจารณาตวั กลางในการส่งขอ้ มูลน้นั จาเป็นอยา่ งยง่ิ ที่จะตอ้ งพจิ ารณาถึงเทคโนโลยที ่ีรองรับใน

อนาคต รวมถึงปัจจยั ดา้ นอื่นๆประกอบ ซ่ึงจะพจิ ารณาเกี่ยวกบั ดา้ นตา่ งๆดงั น้ี
1.ตน้ ทุน
2.ความเร็ว
3.ระยะทางและการขยาย
4.สภาพแวดลอ้ ม

สื่อกลางที่ใชใ้ นการส่ือสารขอ้ มูล

องคป์ ระกอบท่ีสาคญั ท่ีใชใ้ นการส่ือสารขอ้ มูลอนั หน่ึงที่ขาดไม่ได้ คือสายส่ือกลาง ซ่ึงแบ่งเป็น 2
สายไฟเบอร์ออฟติก (Fiber Optic) และสื่อกลางที่กาหนดเส้นทางไมไ่ ด้ เช่น คล่ืนวทิ ยุ คล่ืนดาวเทียม คลื่น
ไมโครเวฟ เป็นตน้

การเลือกสื่อกลางที่จะนามาใชใ้ นการเช่ือมตอ่ ระบบสื่อสารขอ้ มูลน้นั จาเป็นตอ้ งพิจารณากนั หลาย
ประการ เช่น ความเร็วในการส่งขอ้ มูล ราคาของอุปกรณ์ท่ีใช้
สถานที่ใช้ การบริการ การควบคุม ตลอดจนเทคโนโลยที ่ีจะนามาใช้ ซ่ึงลื่อกลางแตล่ ะชนิดจะมีคุณสมบตั ิ
แตกต่างกนั ไป

สายโคแอกเซียล (Coaxial Cable)

สายโคแอกเซียลเป็นสายท่ีนิยมใชก้ นั คอ่ นขา้ งมากในระบบการสื่อสารความถี่สูง เช่น สายอากาศของ
ทีวี สายชนิดน้ีถูกออกแบบมาใหม้ ีคา่ ความตา้ นทาน 75 โอห์มและ 50 โอห์ม โดยสาย 75 โอห์ม ส่วนใหญ่ใช้
กบั สายอากาศทีวแี ละสาย 50 โอห์ม จะนามาใชก้ บั การส่ือสารที่เป็นระบบดิจิตอล

คุณสมบตั ิของสายโคแอกเซียลประกอบดว้ ยตวั นาสองสาย โดยมีสายหน่ึงเป็นแกนอยตู่ รงกลางและอีก
เส้นเป็นตวั นาลอ้ มรอบอยอู่ ีกช้นั มีขนาดของสาย 0.4 ถึง 1 นิ้ว

สายโคแอกเซียลมี 2 แบบ คือ แบบหนา (Thick) และแบบบาง (Thin) แบบหนาจะแขง็ การเดินสายทา
ไดค้ อ่ นขา้ งยาก แตส่ ามารถส่งสญั ญาณไดไ้ กลกวา่ แบบบาง

สายคูบ่ ิดเกลียว ( Twisted-Pair)

สายคู่เกลียวเป็นสายมาตรฐานสองเส้นหุม้ ดว้ ยฉนวนแลว้ บิดเป็ นเกลียว สามารถรับส่งขอ้ มูลไดท้ ้งั แบบ
อนาลอกและแบบดิจิตอล สายชนิดน้ีจะมีขนาด 0.015-0.056 นิ้ว ส่งขอ้ มูลไดด้ ว้ ยความเร็ว 10 เมกะบิตตอ่
วนิ าที ถา้ ใชส้ ่งสญั ญาณแบบอนาลอกจะตอ้ งใชว้ งจรขยายหรือแอมพลิฟายเออร์ ทุก ๆ ระยะ 5-6 กม. แต่ถา้
ตอ้ งการส่งสัญญาณแบบดิจิตอลจะตอ้ งใชอ้ ุปกรณ์ทาซ้าสัญญาณ (Repeater) ทุก ๆ ระยะ 2-3 กม. โดยทวั่ ไป
แลว้ สาหรับการส่งขอ้ มูลแบบดิจิตอล สญั ญาณที่ส่งเป็ นลกั ษณะคล่ืนสี่เหลี่ยม สายคูบ่ ิดเกลียวสามารถใชส้ ่ง
ขอ้ มูลไดห้ ลายเมกะบิตต่อวนิ าทีในระยะทางไดไ้ กลหลายกิโลเมตร เน่ืองจากสายคูเ่ กลียว มีราคาไม่แพงมาก
ใชส้ ่งขอ้ มูลไดด้ ี และมีน้าหนกั เบา นอกจากน้นั ยงั ง่ายต่อการติดต้งั จึงถูกใชง้ านอยา่ งกวา้ งขวางตวั อยา่ งของ
สายคู่บิดเกลียว คือ สายโทรศพั ท์ สาหรับสายคู่บิดเกลียวน้นั จะมีอยู่ 2 ชนิดคือ

• สายคูบ่ ิดเกลียวชนิดหุม้ ฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคูบ่ ิดเกลียวที่หุม้ ดว้ ยฉนวนช้นั นอก
ท่ีหนาอีกช้นั หน่ึง เพ่ือป้องกนั การรบกวนของคล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟ้าดงั รูป

• สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุม้ ฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุม้ ดว้ ยฉนวน
ช้นั นอกท่ีบางทาใหส้ ะดวกในการโคง้ งอ แต่จะป้องกนั การรบกวนของคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้าไดน้ อ้ ยกวา่ ชนิด
แรก ดงั รูป

สายส่งแบบไฟเบอร์ออฟติก (Fiber Optic)

เป็นการส่งสัญญาณดว้ ยใยแกว้ และส่งสญั ญาณดว้ ยแสงมีความเร็วในการส่งขอ้ มูลสูงสามารถส่งขอ้ มูลได้
ดว้ ยเร็วเทา่ กบั แสง ไมม่ ีสญั ญาณรบกวนจากภายนอก สายส่งขอ้ มูลแบบไฟเบอร์ออฟติกจะประกอบดว้ ยเส้น
ใยแกว้ 2 ชนิด ชนิดหน่ึงอยูต่ รงแกนกลาง อีกชนิดหน่ึงอยดู่ า้ นนอก โดยที่ใยแกว้ ท้งั 2 น้ีจะมีดชั นีในการ
สะทอ้ นแสงต่างกนั ทาใหแ้ สงท่ีส่งจากปลายดา้ นหน่ึงผา่ นไปยงั อีกดา้ นหน่ึงได้

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยนี ครราชสีมา
สังกดั สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ


Click to View FlipBook Version