The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สีทอง ปกรายงาน ลายไทย หน้าปก ปก เอกสาร A4 (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by p30248, 2023-12-14 21:01:58

สีทอง ปกรายงาน ลายไทย หน้าปก ปก เอกสาร A4 (1)

สีทอง ปกรายงาน ลายไทย หน้าปก ปก เอกสาร A4 (1)

... ประวัติความเป็นมา พระอาจารย์ย์ ย์ มั่ ย์ มั่ มั่ น มั่ น ภูภู ภู ริ ภู ริ ริ ทริ ทตฺตฺตฺโตฺต


สารบัญ ประวัติวั ติความเป็น ป็ มาของพระอาจารย์มั่ย์นมั่ภูริภูทริตฺโตฺต คุณคุธรรมที่ควรถือเป็น ป็ แบบอย่าย่ง ความสามารถของพระอาจารย์มั่ย์นมั่ภูริภูทริตฺโตฺต โอวาทธรรม มรณภาพ อ้างอิง จัดจัทำ โดย หน้าน้ 4 5 6-11 12 13-14 15 16


หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต พระอาจารย์ทางวิปัสสนากัมมัฏฐาน ที่ได้รับการยกย่องอย่างสูงจากบรรพชิตและคฤหัสถ์ในทุกภูมิภาคต่างๆ ของประเทศไทย จะครบรอบ 150 ปีชาตกาล ในปี 2563 เป็น บุคคลสำ คัญด้านวัฒนธรรมต่อองค์การ UNESCO (องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์และ วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ) ปรากฏว่าในการประชุมสมัยสามัญของยูเนสโกครั้งรั้ที่ 40 ได้ประกาศยกย่องเป็นบุคคลสำ คัญของ โลกเมื่อวันที่ 28 ก.ค. 2562 ถือเป็นพระสงฆ์รูปที่ 3 ของประเทศไทย นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ยูเนสโก ได้ประกาศยกย่องสมเด็จ พระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสเป็นบุคคลผู้มีผลงานดีเด่นด้านวัฒนธรรมระดับโลก ประจำ ปี พ.ศ. 2533 นับเป็น พระอริยสงฆ์รูปแรกของประเทศไทยที่ได้รับการถวายเกียรตินี้ ประวัติความเป็นมาของพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต 1


ประวัติวั ติพระอาจารย์มั่ย์นมั่ภูริภูทริตฺโตฺต กำ เนิดนิ ในสกุลกุแก่นแก้ว บิดบิาชื่อชื่คำ ด้วด้ง มารดาชื่อชื่จันจัทร์ เกิดวันวัพฤหัสหับดี เดือดืนยี่ ปีมปีะแม ตรงกับวันวัที่ ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๔๓๑ ณ บ้าบ้นคำ บง ตำ บลโขงเจียจีม อำ เภอโขงเจียจีม จังจัหวัดวัอุบลราชธานี (ปัจจุบันบัคือ บ้าบ้นคำ บง ต.สงยาง อ.ศรีเรีชียชีงใหม่ จ. อุบลราชธานี)นีมีพี่มีน้ พี่ อน้ง ๗ คน ท่านเป็นป็บุตรคนแรกของตระกูลกูมีบุมีบุคลิกลักษณะเป็นป็คนร่าร่ง เล็ก ผิวผิขาวแดง แข็งข็แรงว่อว่งไว สติปัญญาดี เป็นป็ผู้ว่ผู้ าว่ง่ายสอนง่าย ในสมัยมัเด็กด็ท่านได้เด้รียรีนอักขรสมัยมั ในสำ นักนัของ อา คือเรียรีนอักษรไทยน้อน้ย อักษรไทย อักษรธรรมและอักษรขอม ต่อมาเมื่อมื่อายุได้ ๑๕ ปี ได้บด้รรพชาเป็นป็สามเณร ณ วัดวับ้าบ้นคำ บง ครั้นรั้บวชแล้วได้ศึด้ ศึกษาหาความรู้ทรู้างพระศาสนามีสมีวดมนต์และ สูตสูรต่าง ๆ เป็นป็ต้น มีกิมี กิริยริามารยาทและความประพฤติเรียรีบร้อร้ยดีงดีามเป็นป็ที่น่าน่เลื่อมใส เมื่อมื่อายุได้ ๑๗ ปีบิดบิาได้ขด้อร้อร้งให้ลห้าสิกสิขาเพื่อพื่ช่วช่ยการงานทางบ้าบ้น ท่านได้ลด้าสิกสิขาออกไปช่วช่ยงานของบิดบิาด้วด้ยความ พยายามและเต็มความสามารถ ต่อมาเมื่อมื่ท่านอายุได้ ๒๒ ปีได้อำด้ อำลาบิดบิามารดาอุปสมบทเป็นป็พระภิกษุในพระพุทธศาสนา ณ วัดวัศรีทรีอง (วัดวัศรีอุรีอุบลรัตรันาราม) อำ เภอเมือมืง จังจัหวัดวัอุบลราชธานี โดยมี พระอริยริกวี (อ่อน) เป็นป็พระอุปัชฌาย์ พระครู สีทสีา ชยเสโน เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูปรูระจักจัษ์อุบลคุณคุ (สุ่ยสุ่ ) เป็นพระอนุสนุาวนาจารย์ เมื่อมื่วันวัที่ ๑๒ มิถุมินถุายน พ.ศ. ๒๔๓๖ ได้นด้ามฉายาว่าว่ภูริภูทริตฺโตฺต แปลว่าว่ “ผู้ใผู้ห้ปัห้ ปัญญา ผู้แผู้ จกจ่าจ่ยความฉลาด” 2


เมื่ออุปสมบทแล้ว ท่านได้กลับมาศึกษาวิปัสสนาธุระกับพระอาจารย์ เสาร์ กนฺตสีโล ณ วัดเลียบ และในระหว่างนั้นนั้ท่านได้ศึกษาข้อปฏิบัติเบื้องต้นอันเป็นส่วนแห่งห่พระวินัย คือ อาจาระ ความประพฤติ มารยาท อาจริยริวัตร และอุปั ชฌายวัตรปฏิบัติได้เรียรีบร้อร้ยดีจนเป็นที่ไว้วางใจของพระอุปัชฌาย์และ ให้ศึห้ ศึกษา ข้อปฏิบัติอบรมจิตใจ คือเดินจงกรมนั่งนั่สมาธิกับการสมาทานธุดงควัตรต่าง ๆ ในสมัยต่อมา ท่านได้แสวงหาวิเวกบำ เพ็ญสมณธรรมในที่ต่าง ๆ ตามราวป่า ป่าช้า ป่าชัฏที่แจ้ง หุบเขา ซอกเขา ห้วย ธารเขา เงื้อมเขา ท้องถ้ำ เรือรืนว่างทาง ฝั่งซ้าซ้ยแม่น้ำ โขงบ้าง ทางฝั่งขวาแม่น้ำ โขงบ้าง แล้วลงไปศึกษากับนักปราชญ์ ทางกรุงเทพฯ จำ พรรษาอยู่ที่วัดประทุมวนาราม และจำ พรรษายังสถานที่ต่าง ๆ ทั้งทั้ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท่านได้ให้การสงเคราะห์สาธุชนในถิ่นนั้นนั้ ๆ มีผู้สนใจในธรรมปฏิบัติได้ติดตามศึกษาอบรมจิตใจมากมาย ศิษยานุศิษย์ของท่านได้แพร่กร่ระจายไปทั่งทั่ทุกภาคของประเทศไทย ยังเกียรติคุณของท่านให้ฟุ้ง ขจรเลื่องลือไป 3


ในวัยวัชรานับนัแต่ พ.ศ. ๒๔๘๔ เป็น ป็ ต้นมา พระอาจารย์มั่ย์นมั่ภูริภูทริตฺโตฺต ได้มด้าอยู่จำยู่จำพรรษาที่จังจัหวัดวัสกลนคร หมุนเวียวีนเปลี่ยนไปตามสถานที่ต่าง ๆ จนถึง พ.ศ. ๒๔๘๗ จึงจึย้าย้ยไปอยู่เยู่สนาสนะป่าป่บ้าบ้นหนองผือผืตำ บลนาใน อำ เภอพรรณานิคนิม จังจัหวัดวั สกลนคร จนถึงปีสุปีดสุท้ายแห่งห่ชีวิชีตวิท่านได้เด้อาธุระอบรมสั่งสั่สอนศิษยานุศินุศิษย์ทย์างสมถวิปัวิ ปัสสนาเป็น ป็ อันมาก ได้มีด้กมีารเทศนาอบรมจิตจิ ใจศิษยานุศินุศิษย์เย์ป็น ป็ ประจำ ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ พระอาจารย์มั่ย์นมั่ภูริภูทริตฺโตฺต เริ่มริ่อาพาธเป็น ป็ ไข้ อาการอาพาธสงบเป็น ป็ ครั้งรั้คราว และกำ เริบริขึ้นขึ้เป็น ป็ ครั้งรั้คราว และต่อมาอาการอาพาธมีแมีต่ทรงกับทรุดรุลง โดยลำ ดับดัครั้นรั้เมื่อมื่วันวัที่ ๑๐ พฤศจิกจิายน ๒๔๙๒ ศิษยานุศินุศิษย์ไย์ด้นำด้นำท่านมาพักพัที่วัดวั ป่าป่สุทสุธาวาส อำ เภอเมือมืง จังจัหวังวัสกลนคร จนถึงวันวัที่ ๑๑ พฤศจิกจิายน ๒๔๙๒ ท่าน ได้ถึด้ ถึงมรณภาพด้วด้ยอาการอันสงบ สิริสิอริายุได้ ๗๙ ปี ๙ เดือดืน ๒๑ วันวั๕๖ พรรษา และได้มีด้กมีารถวายพระเพลิงศพของท่าน ณ วัดวั ป่าป่สุทสุธาวาส จ. สกลนคร ในวันวัอังคารที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๔๓ 4


คุณคุธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่า ย่ ง พระอาจารย์มั่ย์นมั่ภูริภูทริตฺโตฺต ได้ศึกษาเล่าเรียรีนและประพฤติปฏิบัติบั ติามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาอย่า ย่ งเคร่ง ร่ ครัดรัวัตวัรปฏิบัติบั ติของท่านนำ มาซึ่งซึ่ ความเลื่อมใสศรัทรัธาแก่ศิษยานุศิษย์แย์ละพุทธ ศาสนิกชนเป็นจำ นวนมากใน วัยวัเด็กท่านเป็นผู้ว่ผู้ า ว่ ง่ายสอนง่ายมีคมีวามทรงจำ ดี และมีคมีวามขยันยัหมั่นมั่เพียพีรชอบการศึกษาเล่าเรียรีน พระธรรมเทศนาของท่าท่นมักมัให้ข้ห้อข้คิดคิแก่ผู้ก่ ฟัผู้ งฟัเช่นช่ “ท่าท่นทั้งทั้หลายจงอย่าย่ทำ ตัวตัเป็นป็ ตัวตับุ้งบุ้ตัวตัหนอนคอยกัดกัแทะกระดาษ แห่งห่คัมคัภีร์ภีใร์บ ลานเปล่าล่ๆ โดยไม่สม่นใจพิจพิารณาสัจสัธรรมอันอั ประเสริฐริที่มี ที่ อมียู่กัยู่บกัตัวตัแต่มัต่วมัไปยึดยึธรรมที่ศึ ที่ กศึษามาถ่าถ่ยเดียดีว ซึ่งซึ่เป็นป็ สมบัติบัขติองพระพุทธเจ้าจ้มาเป็น ป็ สมบัติบัขติองตน ด้วด้ยความเข้าข้ใจผิดผิว่าว่ตนเรียรีนรู้แรู้ละฉลาดพอตัวตัแล้วล้ทั้งทั้ที่กิ ที่ เกิลสยังยักองเต็ม ต็ หัวหัใจยิ่งยิ่กว่าว่ภูเภูขา มิไมิด้ลด้ดน้อน้ยลงบ้าบ้งเลย จงพากันกัมีสมีติคติอยระวังวัตัวตัอย่าย่ ให้เห้ป็น ป็ คนประเภทใบลานเปล่าล่ๆ เรียรีนเปล่าล่และตายทิ้งทิ้ เปล่าล่ ไม่มีม่ธมีรรมอันอัเป็น ป็ สมบัติบัขติองตัวตัอย่าย่งแท้จท้ริงริติดติตัวตับ้าบ้งเลย” นี่คื นี่ อคืคำ สอนของพระอาจารย์มั่ย์นมั่ภูริภูทริตฺโตฺตที่เ ที่ คยพูดเสมอ ๆ นอกจากนั้นนั้ท่าท่นยังยัเป็น ป็ ตัวตัอย่าย่งของพระนักนัวิปัวิสปัสนากัมกัมัฏมัฐาน ที่เ ที่ คร่งร่ครัดรัมีวัมีตวัรปฏิบัฏิติบัน่ติาน่เลื่อลื่มใสศรัทรัธา ซึ่งซึ่ถือถืว่าว่เป็น ป็ แนวปฏิบัฏิติบั ใตินการบริหริารจิตจิและเจริญริ ปัญปัญาของพุทธศาสนิกนิชนทั่วทั่ไป ในปัจปัจุบัจุนบัจึงจึถือถืว่าว่ท่าท่นเป็น ป็ ชาวพุทธตัวตัอย่าย่งที่ทำ ที่ ทำคุณคุประโยชน์ใน์ห้แห้ก่พก่ระพุทธศาสนาด้วด้ยดี มาตลอด5


๑. บทบาทด้านความเป็นผู้นำ พระอาจารย์มั่น ภูริทัริ ทัตฺโต เป็นผู้นำ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในยุคกึ่ง พุทธกาล โดยการปฏิบัติอย่างเคร่งร่ครัดรั ในสายของพระธุดงคกรรมฐานด้าน วิปัสสนาธุระ (เน้นการปฏิบัติเจริญริสมาธิภาวนา ) เป็นผู้นำ ศิษยานุศิษย์ออก เผยแผ่การปฏิบัติแบบธุดงค์กรรมฐานไปในหลายๆที่ของเมืองไทย ทั้งภาค อีสาน ภาคกลาง ภาคเหนือ ในยุคทีการปฏิบัติแบบธุดงค์กรรมฐานยังไม่เป็นที่ยอมรับรัสังคมในไทย ทั้งยังมีอุปสรรคในการเผยแผ่่อย่างมากมาย เช่น การตำ หนิว่าพระทำ ไมไปอยู่ในป่า ไม่อยู่ในวัด เป็นต้น แต่ด้วยอาศัยความ อดทนความแข็งแกร่งร่ ในทางกายและ ทางใจความเด็ดเดี่ยวกล้าหาญ ความมีระเบียบ เป็นผุ้อ่อนน้อมถาอมตน เคารพในธรรมพระพุทธเจ้า ยึดถือธรรม ในการปกครองพระเณรในวัด โดยเฉพาะยุ คบ้านหนองผือนาใน จ.สกลนคร สิ่งเหล่านี้ท่านได้ปฏิบัติเป็นผู้นำ ในทุกๆด้าน เป็นแบบอย่างแก่ศิษยานุศิษย์ มิใช่แค่การสั่งสอนอย่างเดียว แต่ท่านปฏิบัติเองเป็นแบบอย่างโดยไม่ขาดตกบกพร่อร่ง จนทำ ให้ชาวบ้านนับถือผี หันมานับถือพระรัตรันตรัยรัยึดพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นที่พึ่งจนเป็นที่มาของแนวปฏิบัติของพระวิปัสสนา กรรมฐานมาจนในปัจจุบัน ทำ ให้พระวิปัสสนา กรรมฐานเป็นที่รู้จัรู้ จักและนับถือ ของชาวไทยอย่างมากมาย ความสามารถของพระอาจารย์มั่ ย์ น มั่ ภูริ ภู ทริตฺโตฺต 6


๒. บทบาทด้าด้นการเป็น ป็ ครู พระอาจารย์มั่ย์นมั่ภูริภูทริตฺโตฺต ถือได้ว่ด้าว่เป็น ป็ ยอดบรมครู เป็น ป็ ผู้สั่ผู้ งสั่สอนแนะนำ ลูกลูศิษย์ทั้ย์ ทั้งทั้ บรรพชิตชิและคฤหัสหัถ์อย่าย่งเต็มความสามารถ อบรมสั่งสั่สอนธรรมะอันบริสุริทสุธิ์ใธิ์ห้กัห้ กับ บุคคล ให้รู้ห้จัรู้กจับาป บุญ ให้เห้ว้นว้การกระทำ ชั่วชั่ให้กห้ระทำ ความดี และให้รู้ห้จัรู้กจัการปฏิบัติบั ติภาวนา นั่งนั่สมาธิ เจริญริวิปัวิ ปัสสนา จนชำ ระกิเลสในใจของคนเรา อันนำ มาซึ่งซึ่ความ สงบสุขสุได้อด้ย่าย่งแท้จริงริ โดยการสั่งสั่สอนองค์ท่านได้สด้อนอย่าย่งจริงริจังจั ไม่ลม่ดละ เข้มข้ งวดกับลูกลูศิษย์ใย์ห้ จริงริจังจัในต่อการปฏิบัติบั ติภาวนา ซึ่งซึ่ต่อมาลูกลูศิษย์ใย์นองค์ท่าน ล้วนเป็น ป็ พระมหาเถระที่มีผู้มีคผู้ นเคารพกราบไหว้อว้ย่าย่งมากมาย ทั้งทั้ ในเมือมืงไทยและต่าง ประเทศ เช่นช่หลวงปู่หปู่ลุยลุจนุทนุสาโร หลวงปู่แปู่หวน สุจิสุณฺจิ โณฺณ หลวงปู่ขปู่าว อนาลโย หลวงปู่ฟั่ปู่ ฟั่นฟั่อาจาโรท่านพ่อพ่ลี ธมฺมธโร หลวงปู่ชปู่อบ ฐานสโม หลวงตามหาบัวบัณาณสมฺปนฺโนฺน หลวงปู่ชปู่า สุภสุทิโธ หลวงพ่อพ่พุธ ฐานิโนิยหลวงปู่หปู่ล้า เขมปตฺโตฺต หลวงปู่ศปู่รี มหาวีโวีร หลวงปู่สิปู่มสิพุทฺธทฺาจาโร เป็น ป็ ต้น 7


๓. บทบาทด้านการเป็นนักเศรษฐศาสตร์ พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต นำ ศาสตร์ของความพอเพียงมาจากพระธรรม คำ สอนของพระบรมศาสดาอันได้แก่ ความมักน้อย สันโดษ ยินดีในสิ่งที่ ได้มาโดยจะสามารถดูได้ตั้งแต่การใช้บริขารในการดำ เนินชีวิตเท่าที่ จำ เป็น (บริขาร 8) การฉันข้าวมื้อเดียว การอาศัยในสิ่งปลูกสร้างที่ไม่ หรูหรา การอยู่อย่างสมถะตามอัตภาพ เพียงเพื่อให้ได้ภาวนาพัฒนาด้าน จิตใจเป็นหลัก ข้าวของเครื่องใช้อันไหนชำ รุดก็ซ่อมแซม ผ้าจีวรอันไหน ขาดท่านก็ปะชุนเย็บซ่อม ความเป็นอยู่ทุกอย่างในชีวิตประจำ วันล้วนแต่ พึ่งตนเองพึ่งพาธรรมชาติโดยแท้ ไม่ปลูกสร้างถาวรวัตถุใด ๆ ให้สิ้น เปลือง ส่วนเรื่องลาภยศ สรรเสริญนั้น องค์ท่านไม่ได้ให้ความสำ คัญเลยแม่แต่น้อย 8


๔. บทบาทด้านนักการทูต พระอาจารย์มั่น ภูริทัตฺโต มีวาทศิลป์ในการอบรมสั่งสอนลูกศิษย์ ให้ เข้า ใจในหลักธรรมคำ สอนของพระพุทธเจ้า ทำ ให้พระที่มาอยู่ศึกษา ด้วยกันซึ่งแต่ละท่านมาจากต่างถิ่นสามารถอยู่ ร่วมกันอย่างสันติ ทั้ง ฆราวาสและบรรพชิต โดยการใช้ธรรมะสั่งสอน ทำ ให้บุคคลเกิดความ สงบ ร่มเย็น ก่อเกิดความสงบสันติแผ่กว่างออกไป สู่สังคม จาก สังคมเล็ก ๆ เป็นสังคมที่กว้างขึ้นเรื่อย ๆ และหากนำ ธรรมะกระจาย ออกไปสู่วงกว้าง ก็จะทำ ให้สังคมนั้นๆ สงบสุข ร่มเย็น ความขัดแย้ง หรือสงครามก็จะไม่เกิดขึ้น จึงสามารถกล่าวได้ว่า องค์ท่านเป็น นักการทูตโดยแท้จริง 9


๕. บทบาทด้านการแพทย์และเภสัชศาสตร์ ในเรื่องนี้อาจกล่าวแยกได้ 2 ประเด็น คือ ทั้งแพทย์รักษากาย และแพทย์ รักษาใจ ในส่วนแรกนั้นการสั่งสอนขององค์ท่าน คือการทำ ข้อวัตร ซึ่งข้อ วัดรวมหรือขันธวัตรของพระ ล้วนเป็นสิ่งที่ทำ ให้สุขภาพทางกายแข็งแรง และหากมีการเจ็บป่วยองค์ท่านก็เน้ นรักษาด้วยสมุทรไพรแบบง่ายๆ แต่จะเน้นฝึกให้ลูกศิษย์อดทนกับความเจ็บปวดและเป็น การฝึกฝนจิตใจของ พระกรรมฐานให้เข้มแข็ง ฝ่าฝันกับทุกขเวทนาไปในตัว ในส่วนนี้จะเรียกว่า “ ธรรมโอสถ ” ก็ไม่ผิด ซึ่งสิ่งเหล่านี้ องค์ท่านล้วนเป็นผู้พาปฏิบัติดำ เนิน ด้วยองค์ท่านเองไม่ใช่เพียงแต่การพูดสั่งสอนเท่านั้น ส่วนการเป็นแพทย์ ทางใจนั้น อันนี้ถือว่าสำ คัญมาก อาจจะกล่าวได้ว่า เป็นงานหลักของพระ ธุดงค์กรรมฐานก็ว่าได้ นั้นคือ การเน้นการรักษาใจ แก้ไขใจที่มีกิเลส ให้ เป็นจิตใจที่บริสุทธิ์ ไม่มีกิเลสไม่มีความชั่วปะปนอยู่ในใจโดยการเจริญสมาธิ ภาวนา อบรมจิตใจตนเอง ขั้นต้น ก็ทำ ให้ผู้ปฏิบัติมีจิตใจสงบ มีความสุขขั้นปลายคือ บรมสุขพ้นทุกข์ไม่กลับมาเวียนว่ายตายเกิดอีก ซึ่งถือเป็นยอด ของคำ สั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยแท้ซึ่งในปัจจุบันจะพบว่า การ เจริญสมาธิภาวนา ได้เป็นที่ยอมรับและเผยแพร่ไปยังนานาอารยะประเทศ อย่างกว้างขวาง 10


๖. บทบาทด้าด้นสังสัคมสงเคราะห์ พระอาจารย์มั่ย์นมั่ภูริภูทัริ ทัตโต ได้สด้งเคราะห์ผู้ห์คผู้ นและสัตสัว์โว์ลกโดยไม่ลม่ะเว้นว้เลย ทั้งทั้ บรรพชิตชิคฤหัสหัถ์ และสรรพสัตสัว์ร่ว์วร่มโลก โดยนัยนัที่ท่านเมตตาจะเห็น ห็ ได้ทั้ด้ ทั้งทั้การ สงเคราะห์ด้ห์วด้ยสิ่งสิ่ของ การแบ่งบ่ ปันเผื่อผื่แผ่ใผ่ห้ แก่ผู้ขผู้ าดแคลน และทั้งทั้สงเคราะห์ด้ห์วด้ยการสั่งสั่สอนด้วด้ยธรรมะ ซึ่งซึ่ถือเป็น ป็ การสงเคราะห์ที่ห์ ที่ สูงสูกว่าว่สงเคราะห์ด้ห์วด้ยวัตวัถุแถุบบ เทียบค่าไม่ไม่ด้ นอกจากนี้ ยังยัถือว่าว่ท่านได้ สงเคราะห์ตห์นเองโดยการปฏิบัติบั ติจนสิ้นสิ้กิเลส ต่อถึง สงเคราะห์ผู้ห์อื่ผู้ อื่นและสังสัคมโดยการอุทิศเวลาส่วส่นตัว ออกมาเผยแผ่สัผ่จสัธรรม สั่งสั่สอนให้คห้นเป็น ป็ คนดี โดยไม่เม่ห็น ห็ แก่ความเหน็ด น็ เหนื่อนื่ยแต่อย่าย่งใด ท่านได้อุด้อุทิศเวลาตลอด ชีวิชีตวิ ในสมณเพศขององค์ท่าน เพื่อพื่สั่งสั่สอนให้ทุห้กทุคนรู้แรู้จ้งจ้เห็น ห็ จริงริและพาปฏิบัติบั ติ จริงริจึงจึมีศิมี ศิษย์ยย์านุศินุศิษย์มย์ากมายแต่ในเวลาต่อมา กล่าวโดยสรุปรุในทุกทุบทบาทของพระอาจารย์มั่ย์นมั่ภูริภูทัริ ทัตฺโตฺต ล้วนแต่เป็น ป็ การพัฒพันา คนซึ่งซึ่ถือได้ว่ด้าว่เป็น ป็ ทรัพรัยากรที่มีค่มี ค่ามากที่สุดสุของโลก เนื่อนื่งจากท่าได้พัด้ฒพันามนุษนุย์ ให้เห้ป็น ป็ มนุษนุย์ที่ย์ ที่ มีคุมีณคุค่า มีคุมีณคุธรรม ท่านได้อด้บรมสั่งสั่สอนคน ให้ถืห้ ถือศีล ให้ทห้าน และ เจริญริภาวนา ซึ่งซึ่ถือเป็น ป็ งานทางจิตจิ ใจ จึงจึถือเป็น ป็ งานที่ยากกว่าว่งานใด ๆ ท่านจึงจึเป็นป็ นักนัพัฒพันาโดยแท้ เมื่อมื่ผู้คผู้ นมีคุมีณคุธรรมย่อย่มทำ ให้สัห้งสัคมสงบสุขสุมีสัมีนสัติ มีคมีวามผาสุกสุ นับนัแต่ตัวเอง สังสัคมครอบครัวรัเล็ก ๆ จนสามารถขยายออกไปสู่สัสู่ งสัคมอันกว้าว้งขึ้นขึ้ ตลอดทั่วทั่ทั้งทั้สังสัคมโลกได้ใด้นที่สุดสุ 11


การปฏิบัตินี้ทางที่จะพาให้พ้นทุกข์ได้ คือ มรรค ๘ มรรค ๘ ข้อต้นนั้น ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ เห็นชอบ เห็นอะไร คือ เห็นอริยสัจ ๔ อริยสัจ ๔ คืออะไร คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค มรรคคือ มรรค ๘ ฉะนั้น เมื่อปฏิบัติสัมมา ทิฏฐิข้อเดียว จึงเท่ากับปฏิบัติทั้งหมด ๘ ข้อ ทุกข์คืออะไร คือ ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ใครคือผู้เกิดผู้ตาย คือร่างกายของเรานี้ ฉะนั้น ร่างกายของเรานี้จึงเป็น ตัวทุกข์ เพราะจิตเข้าไปยึดมั่น โอวาทธรรมของพระอาจารย์มั่ ย์ น มั่ ภูริ ภู ทริตฺโตฺต 12


หลวงปู่มั่นละสังขารเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 อายุ 79 ปี 56 พรรษา ณ วัดป่าสุทธาวาสอำ เภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร ซึ่งต่อมาอัฐิของท่านได้แปรสภาพกลายเป็นพระธาตุในหลายที่ ได้มีการแจกตามจังหวัดต่าง ๆ ที่ได้ส่งตัวแทนมารับ วาระนิพพาน ณ วัดป่าสุทธาวาส หลังจากที่ท่านพักอาพาธที่วัดป่าบ้าน กลางโนนภู่ 11 วันแล้ว คณะศิษย์นุศิษย์ได้อาราธนาองค์หลวงปู่มั่นนอนในเปลพยาบาลแล้วนำ ท่านขึ้นรถเพื่อมาพัก ณ วัดป่าสุทธาวาส ออกเดิน ทางแต่เช้าถึงวัดป่าสุทธาวาสประมาณเกือบ 12 นาฬิกา จากบันทึกของ หลวงตาทองคำ จารุวณฺโณผู้อุปฐากองค์หลวงปู่มั่นในช่วงอาพาธได้ บันทึกเหตุการณ์ในช่วงที่องค์ท่านมรณภาพไว้ในหนังสือ "บันทึกวันวาน" ไว้ดังนี้ มรณภาพ 13


". . . จ ากพร รณานิคม ถึง วัดป่า สุทธ า ว า ส สกลนคร เกือบ 1 2 นาฬิกา เพร า ะทา ง หินลูกรั งกลั ว จ ะกร ะเทือนมาก ท่านฯ ก็ห ลับมา ตล อด นำ ท่านฯ ขึ้นกุฏิ ศิษย์ผู้ใ กล้ ชิดก็มี ผู้เ ล่ า ท่านวัน ท่านห ล้ า ผู้จัดที่นอนใ ห้ท่านฯ ได้ผินศีรษะไปทา งทิศใต้ ปกติเ ว ล านอนท่านฯจ ะผินศีรษะไปทา งทิศตะ วันอ อก ด้ว ยคว ามพะ ว้ าพะ วั ง จึ งพากัน ลืมคิดที่จ ะเปลี่ ยนทิศทา งศีรษะ ข อ งท่านฯ เ ว ล าปร ะมาณ 0 1 . 0 0 น. เศษ ท่านฯ รู้ สึกตัวตื่นตื่นขึ้นจ ากห ลับ แ ล้ วพูดอ อกเ สี ย ง ได้แต่ อื อ ๆ แ ล้ วก็โบกมือ เป็นสัญญาณ แต่ไม่มีใครทร าบว่ าท่านฯ ปร ะ ส งค์สิ่ ง ใด มีส ามเณร รูปหนึ่ง อ ยู่ที่นั้น เ ห็นท่า อ ากา ร ไม่ดี จึ ง ใ ห้ ส ามเณร อีกรูปไปนิมนต์พร ะเถร ะทุกรูป มีเ จ้ าคุณจูม พร ะ อ า จ า ร ย์ เทสก์ พร ะ อ า จ า ร ย์ฝั้น เป็นต้น มากันเต็มกุฏิ เท่าที่สั ง เกตดู ท่าน ใกล้ จ ะ ล ะ สั ง ข า ร แ ล้ ว แต่อ ย ากจ ะผินศีรษะไปทา งทิศตะ วันอ อก ท่านพลิกตัว ไปได้เ ล็กน้อ ย ท่านห ล้ า (พร ะ อ า จ า ร ย์ ห ล้ า เ ขมปตฺโต)คง เ ข้ า ใ จ เ ล ย เ อ า หมอนค่อ ย ๆ ผลักท่านไป ผู้เ ล่ าปร ะคอ ง หมอน ที่ท่านหนุน แต่ท่านรู้ สึกเ หนื่อ ยมาก จ ะเป็นกา ร รบกวนท่านฯ ก็ เ ล ย ห ยุด ท่านฯ ก็เ ห็นจ ะ หมดเ รี่ ย ว แ ร ง ข ยับต่อ ไปไม่ได้ แ ล้ วก็ ส งบนิ่ง ยั งมีลมห า ย ใ จ อ ยู่ แต่ต้อ ง เ งี่ ย หูฟัง ท่านวันได้คลำ ชีพจ รที่ เท้า ชีพจ ร ข อ งท่านเต้นเ ร็ ว ชนิดรั ว เ ล ย รั ว จนสุดขีดแ ล้ วก็ดับไป เฉย ๆ ด้ว ย อ ากา ร อันส งบ. . ." 14


อ้างอิง (2493). ชีวชีประวัติวั ติธรรมเทศนา บทประพันพัธ์ และธรรมบรรยาย ของ พระอาจารย์ มั่นมั่ภูริภูทัริ ทัตตเถร. โรงพิมพิพ์ ม. ประเสริฐริ. หอสมุดแห่งห่มหาวิทวิยาลัยธรรมศาสตร์ 2 ถนนพระจันจัทร์ เขตพระนคร กรุงรุเทพฯ 10200 โทรศัพท์: 02 613-3523, 02613 3552 (งานพัฒพันาข้อข้มูลอิเล็กทรอนิกนิส์)ส์ อีเมล: [email protected] 15


จัดจัทำ โดย นาย ณัฐพล สีม่สีว ม่ ง มัธมัยมศึกษาปีที่ 5/7 เลขที่9 นาย สรวิชวิญ์ พงษ์สำ ราญ มัธมัยมศึกษาปีที่ปี ที่ 5/7 เลขที่11 เสนอ คุณ คุ ครู ทิพยวรรณ นามโสวรรณ 16


Click to View FlipBook Version