The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบรายงานผลการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล 165

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by piban08, 2022-09-04 01:36:07

แบบรายงานผลการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล 165

แบบรายงานผลการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล 165

แบบรายงานผลการวเิ คราะหผ์ เู้ รียนรายบคุ คล
ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1/1 รายวิชา วิทยาศาสตร์พน้ื ฐาน1 รหัสวชิ า ว21101

ประจำปกี ารศกึ ษา 2565

นางภบิ าล มตุ ะพัฒน์
ตำแหนง่ ครู

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โรงเรียนตราษตระการคุณ จงั หวัดตราด

สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษาจนั ทบุรี ตราด

บันทึกขอ้ ความ

ส่วนราชการ โรงเรยี นตราษตระการคุณ

ที่ - วนั ท่ี 1 มิถนุ ายน พ.ศ. 2565

เรอื่ ง รายงานการศึกษาและวเิ คราะห์ผูเ้ รียนรายบุคคลของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1/1

เรยี น ผู้อำนวยการโรงเรยี นตราษตระการคุณ

สง่ิ ท่ีส่งมาด้วย รายงานการศึกษาและวิเคราะหผ์ ้เู รยี นรายบุคคลของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1/1 จำนวน 1 ฉบบั

ด้วยข้าพเจ้า นางภิบาล มุตะพัฒน์ ตำแหน่ง ครู โรงเรียนตราษตระการคุณ ได้รับ
มอบหมายให้สอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน1รหัสวิชา ว21101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ได้ศึกษาผู้เรียนรายบุคคลของช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 ประจำปีการศึกษา 2565 ซึ่งมีจำนวน
นักเรียนท้ังหมด 34 คน เพ่ือวเิ คราะหผ์ ู้เรียนเป็นรายบุคคล และเปน็ ขอ้ มูลเบ้ืองต้นในการวางแผนจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ที่เหมาะสม และช่วยเหลือผู้เรียนได้ดีน้ัน จำเป็นอย่างย่ิงท่ีผู้สอนจะต้องทำการวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อ
ทราบปัญหา และความสามารถของแต่ละบุคคล ให้สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนา
ศักยภาพของผู้เรยี น

บัดนี้ ไดท้ ำการวเิ คราะห์เสรจ็ ส้ินแลว้ จงึ ขอรายงานผลตามเอกสารท่แี นบมาดว้ ยน้ี

จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดพจิ ารณา

ลงชื่อ.............................................. ผู้รายงาน
( นางภบิ าล มุตะพัฒน์ )

ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการ

ความเห็นรองผอู้ ำนวยการฝ่ายวชิ าการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชือ่ .................................................
( นายสมัชชา จนั ทร์แสง )

รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ

ความเห็นผ้อู ำนวยการโรงเรยี นตราษตระการคณุ
............................................................................................................................. ....................

.............................................................................................................. ..............................................................

ลงชอื่ .................................................
( นายสำเนา บุญมาก )

ผ้อู ำนวยการโรงเรียนตราษตระการคุณ

คำนำ

ตามหลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 และ พระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนดเป้าหมายและทิศทางการปฏิรูปการศึกษา กระบวนการเรียนรู้เพื่อ
พฒั นาคนไทย ให้เป็นมนุษยท์ ่ีสมบูรณ์ทั้งรา่ งกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้คูค่ ุณธรรม โดยมีหลักการสำคัญของ
การจัดการศึกษา ประกอบด้วย ผู้เรียนมีความสำคัญท่ีสุด ทุกคนสามารถเรยี นรู้ และพัฒนาตนเองได้ ส่งเสริม
ให้ผเู้ รียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศกั ยภาพ

ดังน้ัน ครูผู้สอนซ่ึงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้
พัฒนาตนเอง คิดเอง ปฏิบัติเอง เพ่ือนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ความพึงพอใจ ตามความถนัด
ตามความสนใจของแต่ละบุคคล การวิเคราะห์ผู้เรียนเพ่ือศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคลจึงมีความจำเป็นและ
สำคญั มาก ผู้สอนจึงได้จัดทำแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเล่มนขี้ ึ้นเพ่ือวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ก่อนดำเนินการ
สอนในปีการศึกษา 2565 ขอ้ มูลจากการศึกษาวเิ คราะห์ผู้เรียนในครง้ั นมี้ คี วามสำคัญ และเปน็ ประโยชน์ตอ่ การ
จัดการเรียนการสอนอยา่ งยงิ่

ภิบาล มตุ ะพฒั น์

สารบัญ

เร่อื ง หนา้

คำชแ้ี จง

แนวคิดวตั ถุประสงคแ์ ละขอบเขตของการวิเคราะห์ผูเ้ รยี น

การวเิ คราะหผ์ ้เู รยี นรายบุคคล 1

ตอนท่ี 1 ข้อมูลพนื้ ฐานของนกั เรยี น 1

ตอนท่ี 2 ข้อมูลด้านผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ผลการเรยี นเฉลีย่ ในภาคเรยี นทีผ่ ่านมา 3

ตอนที่ 3 ข้อมลู ดา้ นความสนใจและความสามารถพิเศษ 4

ตอนที่ 4 แบบสรุปผลการวิเคราะห์ผูเ้ รียน 5

ตอนท่ี 5 นักเรยี นต้องการใหค้ รจู ดั การเรยี นรู้ โดยวิธี/แบบใด มากท่ีสดุ 7

การสร้างเครือ่ งมือเพือ่ การวิเคราะห์ผูเ้ รียนแนวทางในการสร้างเครือ่ งมือเพือ่ วเิ คราะห์ผเู้ รยี น 8

ขอ้ มูลอ้างอิงการรายงานผลการวิเคราะหผ์ ู้เรยี นรายบคุ คล 11

สรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียน 22

ภาคผนวก

คำช้แี จง

แบบวิเคราะห์ผู้เรียนเล่มน้ีจัดทำข้ึน เพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับศึกษาวิเคราะห์นักเรียน เพื่อหา
ความแตกต่างระหว่างบุคคล เกี่ยวกับความพร้อมด้านความรู้พ้ืนฐาน และประสบการณ์เดิมท่ีมีอยู่ก่อนท่ีจะให้
ผูเ้ รียนไดร้ ับการเรียนรู้วิชาหรือกลมุ่ สาระการเรียนรู้ใด ๆ ของแต่ละระดับช้ัน ตลอดทั้งศกึ ษาวิเคราะห์เกี่ยวกับ
ความพร้อมด้านพฤตกิ รรม และองค์ประกอบความพรอ้ มด้านตา่ ง ๆ ดงั นี้

1. ด้านความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์
2. ความพรอ้ มดา้ นสติปญั ญา
3. ความพร้อมด้านพฤตกิ รรม
4. ความพรอ้ มด้านรา่ งกาย
5. ความพร้อมด้านสังคม
การวเิ คราะห์ผู้เรียนมกี ารดำเนนิ การ ดงั นี้
1. เก็บรวบรวมข้อมูลในวิชาท่ีต้องการวิเคราะห์จากครูคนเดิมในปีการศึกษาท่ีผ่านมา หรือจัดสร้าง
เคร่ืองมอื แบบทดสอบวิชานน้ั ๆ ขึน้ ใหมแ่ ลว้ นำมาใชท้ ดสอบผูเ้ รียนทุกคน
2. นำข้อมูลมาศกึ ษาวเิ คราะห์ หรือแยกแยะตามความเป็นจรงิ พร้อมจัดกลุ่มผู้เรียนออกเป็น กลุ่มเก่ง
กลุ่มปานกลาง (หรอื ผ่านเกณฑ์) และกลุ่มทตี่ อ้ งปรบั ปรงุ แกไ้ ข
3. การวิเคราะห์ผู้เรียนจะพิจารณาท้ังความพร้อมดา้ นความรคู้ วามสามารถ สติปัญญาและความพรอ้ ม
ดา้ นอนื่ ๆ ของผู้เรยี นควบคูก่ นั ไปด้วย
4. สำหรับนักเรียนท่ีมีความพร้อมต่ำกว่าเกณฑ์ท่ีกำหนด ผู้สอนจะรีบดำเนินการปรับปรุงแก้ไขให้มี
ความพร้อมดีขนึ้ กอ่ น จึงคอ่ ยดำเนินการจัดการเรยี นรู้ในระดับช้ันท่ีจะทำการสอน ส่วนความพร้อมดา้ นอ่ืน ๆ
ได้พยายามปรับปรุงแก้ไขให้ดขี นึ้ ในลำดบั ต่อไป

แนวคดิ วตั ถปุ ระสงค์และขอบเขตของการวเิ คราะหผ์ ู้เรยี น

1. แนวคิดในการวเิ คราะห์ผ้เู รียน
1.1 การจัดการเรียนรใู้ ห้ประสบความสำเรจ็ มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูง

ผู้เรียนจะต้องมีความพร้อมท่ีดีในทุกด้านดังนั้น ก่อนจะเริ่มดำเนินการสอน ครผู ู้สอนได้ศึกษา วิเคราะห์ผู้เรียน
รายบคุ คลเกีย่ วกบั

- ความพรอ้ มดา้ นความรู้ ความสามารถและประสบการณ์
- ความพร้อมดา้ นสติปัญญา
- ความพรอ้ มด้านพฤตกิ รรม
- ความพรอ้ มด้านรา่ งกาย
- ความพร้อมด้านสงั คม
1.2 ก่อนดำเนินการจัดการเรยี น ครูผสู้ อนได้ศึกษาวิเคราะห์ผ้เู รยี นให้รถู้ ึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ในแตล่ ะดา้ น เมือ่ ผู้เรยี นคนใด มีข้อบกพรอ่ งดา้ นใดควรปรับปรงุ แก้ไขใหม้ คี วามพรอ้ มทดี่ ีก่อน
1.3 การเตรียมความพร้อม หรือการแก้ไขข้อบกพร่อง สำหรับผู้เรียนท่ียังขาดความพร้อมในด้านใดๆ
ควรใชก้ จิ กรรมหลายๆแบบ หรอื ใช้เทคนคิ วธิ ีการทเ่ี หมาะสมจนผเู้ รียนมีความพรอ้ ม ดขี ้ึน

2. วัตถปุ ระสงค์ของการวิเคราะห์ผู้เรยี น
2.1 เพอ่ื ศกึ ษาวิเคราะหแ์ ยกแยะ เก่ยี วกับความพร้อมของผเู้ รียนในแตล่ ะดา้ นเปน็ รายบุคคล
2.2 เพื่อให้ครูผู้สอนได้รู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล และหาทางช่วยเหลือผู้เรียน ที่มีข้อบกพร่องให้มี

ความพร้อมที่ดีขน้ึ
2.3 เพอื่ ใหค้ รูผ้สู อนไดจ้ ดั เตรียมการสอน ส่ือ หรือนวัตกรรมสำหรับดำเนนิ การจัดการเรียนรู้แกผ่ ู้เรยี น

ได้สอดคล้องเหมาะสม และตรงตามความต้องการของผู้เรยี นมากย่ิงขน้ึ

3. ขอบเขตของการวิเคราะห์ผเู้ รียน
การวเิ คราะหผ์ ้เู รยี น เพอื่ แยกแยะความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล ในเร่ืองต่างๆ ดังน้ี
1. ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์
1.1 ความรพู้ ืน้ ฐานของวิชาภาษาเขมร
1.2 ความสามารถในการอ่าน
1.3 ความสนใจและสมาธใิ นการเรียนรู้

2. ความพรอ้ มด้านสตปิ ัญญา
2.1 ความคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรค์
2.2 ความมเี หตุผล
2.3 ความสามารถในการเรยี นรู้

3. ความพรอ้ มด้านพฤติกรรม
3.1 การแสดงออก
3.2 การควบคมุ อารมณ์
3.3 ความมงุ่ ม่นั อดทน ขยันหมนั่ เพียร
3.4 ความรบั ผิดชอบ

4. ความพร้อมด้านรา่ งกาย
4.1 ดา้ นสุขภาพรา่ งกายสมบูรณ์
4.2 การเจรญิ เตบิ โตสมวัย
4.3 ความสมบูรณ์ทางด้านสขุ ภาพจติ

5. ความพร้อมด้านสังคม
5.1 การปรับตวั เข้ากับผู้อนื่
5.2 การชว่ ยเหลอื เสียสละ แบ่งปัน
5.3 การเคารพครู กติกา และมรี ะเบียบวนิ ยั

1

การวิเคราะห์ผู้เรยี นรายบคุ คล

การวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีความสำคัญและจำเป็น เพื่อนำข้อมูลไปช่วยเหลือ
แก้ไข ส่งเสริม และสนับสนุนให้ผู้เรียนมีการพัฒนาได้อย่างเหมาะสมเต็มศักยภาพของแต่ละบุคคลและมีความสุข
ในการเรียนช่วยให้ครูผู้สอนนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ท้าทายความสามารถของผู้เรียน
ออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เพ่ือนำผู้เรียนไปสู่
เปา้ หมาย

ผู้สอนได้รับมอบหมายให้สอน รายวิชาวิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน1รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1/1
ผสู้ อนจึงได้ดำเนินการวิเคราะหผ์ ู้เรียนท่ีรบั ผดิ ชอบ เพ่อื ให้ทราบข้อมูลพื้นฐานของผ้เู รียน เพอื่ นำไปวางแผนในการ
จัดกจิ กรรมเพ่ือพฒั นาผู้เรยี น และจัดกระบวนการเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1/1 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ได้วิเคราะห์
ข้อมูลนักเรียนทั้งหมด 34 คน โดยวิเคราะห์ตามประเด็นการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ซึ่งสามารถแบ่งเป็น
5 ตอน ดงั นี้

ตอนที่ 1 ดา้ นข้อมลู พ้นื ฐานของนกั เรยี น
ตอนท่ี 2 ด้านผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น
ตอนที่ 3 ด้านความสนใจและความสามารถพิเศษ
ตอนที่ 4 แบบสรปุ ผลการวิเคราะห์ผู้เรยี น
ตอนท่ี 5 นกั เรยี นต้องการให้ครจู ัดการเรียนรู้ โดยวิธี/แบบใด มากท่สี ุด
ไดแ้ บ่งการนำเสนอ ดังนี้

ตอนท่ี 1 ข้อมูลดา้ นพืน้ ฐานของนักเรยี น
จำนวนนักเรยี นทง้ั หมด 34 คน

ขอ้ มลู รายการ จำนวนนักเรียน
1. อายุของนกั เรียน คน ร้อยละ
1.1 อายุ 12 ปี 29 85.30
2. นำ้ หนักของนักเรยี น 1.2 อายุ 13 ปี 13 11.80
1.3 อายุ 14 ปี 0 0.00
3. สว่ นสงู ของนกั เรยี น 1.4 อายุ 15 ปี 1 2.90
2.1 นำ้ หนักน้อยกวา่ 40 กก. 6 17.60
2.2 นำ้ หนกั 41 – 60 กก. 15 44.10
2.3 น้ำหนกั 61 – 80 กก. 13 38.20
2.4 น้ำหนักมากกว่า 81 กก. 0 0.00
3.1 สงู น้อยกว่า 140. ซม. 1 2.90
3.2 สูง 141 – 160 ซม. 16 47.10
3.3 สงู 161 – 180 ซม. 17 50.00
3.4 สูงกว่า 180 ซม. 0 0.00

2

4. สถานภาพบดิ า - มารดา 4.1 อยู่รว่ มกัน 30 88.20
5. ท่พี กั อาศยั ของนักเรียน 4.2 หย่ารา้ ง 3 8.80
6. อาชีพของผูป้ กครอง 4.3 แยกกันอยู่ 0 0.00
4.4 บิดา/มารดาถึงแก่กรรม 1 2.90
7. ปจั จบุ นั อาศยั อยู่กบั ใคร 4.5 อน่ื ๆ 0 0.00
5.1บ้านพกั ของตนเอง 30 88.20
5.2 พกั กับญาติ 4 11.80
5.3 หอพัก/บา้ นเชา่ 0 0.00
5.5 อนื่ ๆ 0 0.00
6.1 เกษตรกรรม/ประมง 2 5.92
6.2 รบั ราชการ 17 50.00
6.3 ประกอบธรุ กิจส่วนตัว 5 14.70
6.4 คา้ ขาย 5 14.70
6.5 รับจ้างทั่วไป 1 2.90
6.6 ว่างงาน 0 0.00
6.7 อื่นๆ 4 11.80
7.1 บดิ า - มารดา 28 82.40
7.2 บดิ า 1 2.90
7.3 มารดา 0 0.00
7.4 ป้า - ลุง 1 2.90
7.5 นา้ - อา 3 8.80
7.6 อื่น ๆ 1 2.90

จากตารางพบว่า
1. อายุของนกั เรียน จะอยูใ่ นช่วง 12 ปี มี 29 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 85.50
2. น้ำหนกั ของนักเรยี น จะอยู่ในช่วง 41 – 60 กก. มี 15 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 44.10
3. สว่ นสงู ของนกั เรียน จะอยู่ในช่วง 161 - 180 ซม. มี 17 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 50.00
4. สถานภาพบิดา – มารดา ส่วนใหญบ่ ิดา-มารดาอยรู่ ว่ มกัน มี 30 คน คิดเป็นร้อยละ 88.20
5. ท่ีพักอาศัยของนักเรยี น ส่วนใหญ่อยบู่ ้านพักของตนเอง มี 30 คน คิดเปน็ ร้อยละ 88.20
6. อาชพี ของผปู้ กครอง ส่วนใหญ่ผปู้ กครองของนักเรยี นประกอบอาชีพ รบั ราชการ มี 17 คน คดิ เป็น

รอ้ ยละ 50.00
7. ปจั จุบนั อาศัยอยู่กับใคร ส่วนใหญน่ กั เรยี นอาศัยอยู่กบั บิดา-มารดา มี 28 คน คิดเป็นร้อยละ 82.40

3

ตอนที่ 2 ข้อมูลด้านผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน ผลการเรียนในภาคเรียนที่ผา่ นมา
จำนวนนักเรยี นทงั้ หมด 34 คน

ระดบั ผลการเรยี น

ชัน้ /หอ้ ง 0.00-2.00 2.00-3.00 3.00-4.00

ม.2/3 จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ
รวม (คน) (คน) (คน)

0 0.00 0 0.00 34 100.00

0 0.00 0 0.00 34 100.00

การจำแนกผ้เู รยี นตามกลมุ่
1. กลุ่มเก่ง หมายถึง นักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับมากกว่า 3.00 มีความรู้พื้นฐานพร้อมในการ

พัฒนาการเรียนรายวิชานี้อย่างเต็มความสามารถมีจำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 แนวทางการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน สำหรับนกั เรยี นกล่มุ เกง่

จัดการเรียนการสอนตามปกติ โดยเน้นกิจกรรมท่ีเป็น active learning และให้แบบฝึกหัด
เพมิ่ เติมเพอ่ื ให้ผู้เรียนไดพ้ ฒั นาตนเองตามศกั ยภาพของตนอย่างเตม็ ท่ี

2. กลุ่มพอใช้ หมายถึง นักเรียนท่ีมีผลการเรียนในระดับ 2.00 – 3.00 มีความรู้พ้ืนฐานในระดับหน่ึง
พร้อมในการพัฒนาในการเรียนรายวิชานี้ มีจำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.00 แนวทางการจัดกิจกรรมการ
เรยี นการสอน สำหรบั นกั เรยี นกลุ่มพอใช้

จัดการเรียนการสอนตามปกติโดยเน้นกิจกรรมที่เป็น active learning และสอนซ้ำอีกคร้ัง
เพอื่ เพมิ่ ความเขา้ ใจสำหรบั นกั เรยี นกลุ่มนี้รวมทง้ั เนน้ การทำแบบฝึกหดั ในห้องเรียน

3. กลุ่มเน้นการพัฒนา หมายถึง นักเรียนท่ีมีผลการเรียนในระดับต่ำกว่า 2.00 มีความรู้พื้นฐานไม่ถึง
เกณฑ์ท่ีกำหนด ต้องเน้นพัฒนาในการเรียนรายวิชานี้ มีจำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.00 แนวทางการจัด
กิจกรรมการเรยี นการสอน สำหรบั นกั เรยี นกลมุ่ เน้นการพฒั นา

จัดการเรียนการสอนตามปกติโดยเน้นกิจกรรมที่เป็น active learning มีการสอนซ่อมเสริม
ให้กับนักเรียนในช่วงพักกลางวันหรือช่วง หลังเลิกเรียนและให้เรียนเพ่ิมเติมจากการสอนผ่านระบบออนไลน์
โดยใช้ Google Meet , Google Classroom, Line , Facebook

4

ตอนท่ี 3 ข้อมูลดา้ นความสนใจและความสามารถพเิ ศษ จำนวนนักเรียนทั้งหมด 34 คน

ขอ้ มูล รายการ จำนวนนกั เรยี น
1. วิชาท่ีชอบที่สดุ คน รอ้ ยละ
1.1 ภาษาไทย 0 0.00
2. ความสามารถพเิ ศษ 1.2 คณิตศาสตร์ 13 38.20
1.3 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 12 35.30
3. อาชีพท่ีใฝ่ฝนั 1.4 สงั คมศึกษา 0 0.00
4. การศึกษา 1.5 ศลิ ปะและดนตรี 2 5.90
1.6 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 2 5.90
1.7 การงานอาชพี 1 2.90
1.8 ภาษาตา่ งประเทศ 4 11.80
1.9 ภาษาตา่ งประเทศท่ี 2 (จีน, เขมร) 0 0.00
1.10 อ่ืน ๆ 0 0.00
34 100.00
รวม 7 20.60
2.1 ดา้ นกีฬา 1 2.90
2.2 ด้านดนตรี/นาฏศิลป์ 3 8.80
2.3 ดา้ นศลิ ปะ 3 8.80
2.4 ดา้ นคอมพิวเตอร์ 6 17.60
2.5 ด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 2 5.90
2.6 ด้านทำอาหาร/ขนม 6 17.60
2.7 ด้านภาษา 3 8.80
2.8 ดา้ นงานฝีมือ 3 8.80
2.9 ดา้ นอน่ื ๆ 34 100.00
9 26.50
รวม 0 0.00
3.1 รบั ราชการ 13 38.20
3.2 พนกั งานบริษัท 2 5.90
3.3 อาชีพอสิ ระหรือธรุ กิจสว่ นตัว 10 29.40
3.4 ค้าขาย 34 100.00
3.5 อนื่ ๆ 32 94.10
2 5.90
รวม 34 100.00
4.1 ศกึ ษาต่อ
4.2 ประกอบอาชีพ/ไมศ่ ึกษาตอ่

รวม

จากตาราง พบวา่

5

1. วิชาที่ชอบท่ีสุด อันดบั ที่ 1 คณิตศาสตร์ ร้อยละ 38.20 อันดับที่ 2 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร้อยละ
35.30 อนั ดบั ท่ี 3 ภาษาตา่ งประเทศ รอ้ ยละ 11.80

2. ความสามารถพิเศษ อันดับท่ี 1 ด้านกีฬา ร้อยละ 20.60 อันดับท่ี 2 ด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
และด้านภาษา ร้อยละ 17.60 อันดบั ท่ี 3 ดา้ นศิลปะ และด้านคอมพิวเตอร์ รอ้ ยละ 8.80

3. อาชีพท่ีใฝ่ฝัน อันดับท่ี 1 อาชีพอิสระหรอื ธุรกิจส่วนตัว ร้อยละ 38.20 อันดับที่ 2 อ่ืน ๆ ร้อยละ 29.40
อันดับท่ี 3 รบั ราชการ รอ้ ยละ 26.50

4. การศึกษา อนั ดับท่ี 1 ศกึ ษาต่อรอ้ ยละ 94.10 อันดับท่ี 2 ประกอบอาชพี /ไม่ศกึ ษาตอ่ ร้อยละ 5.90

ตอนที่ 4 แบบสรปุ ผลการวิเคราะหผ์ เู้ รยี น
จำนวนนกั เรียนทง้ั หมด 34 คน ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลผู้เรียน ดังน้ี

ผลการวเิ คราะหผ์ เู้ รียน (จำนวนคน)

ลำดับ รายการวเิ คราะห์ผเู้ รียน ดี ปานกลาง ปรบั ปรงุ แกไ้ ข
ท่ี
(3) (2) (1)

คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ

1 ดา้ นความรคู้ วามสามารถและประสบการณ์ 17 50.00 17 50.00 0 0.00
1.1) ความร้พู ้นื ฐาน 16 47.10 18 52.90 0 0.00
1.2) ความสามารถในการอ่าน 14 41.20 18 52.90 0 0.00
1.3) ความสนใจ และสมาธใิ นการเรยี น
12 35.30 22 64.70 0 0.00
2 ความพร้อมด้านสติปญั ญา 18 52.90 16 47.10 0 0.00
2.1) ความคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์ 21 61.80 13 38.20 0 0.00
2.2) ความมีเหตผุ ล
2.3) ความสามารถในการเรยี นรู้ 9 26.50 23 67.60 2 5.90
16 47.10 17 50 0 0.00
3 ความพรอ้ มด้านพฤติกรรม 15 44.10 17 50.00 2 5.90
3.1) การแสดงออก 17 50.00 15 44.10 2 5.90
3.2) การควบคมุ อารมณ์
3.3) ความมงุ่ มั่น อดทน ขยนั หมั่นเพยี ร 22 64.70 12 35.30 0 0.00
3.4) ความรับผิดชอบ 25 73.50 9 26.50 0 0.00
27 79.40 7 20.60 0 0.00
4 ความพร้อมด้านรา่ งกายและจิตใจ
14 41.20 19 55.90 1 2.90
4.1) สุขภาพร่างกายสมบรู ณ์ 17 50.00 16 47.10 1 2.90
19 55.90 14 41.20 1 2.90
4.2) การเจริญเติบโตตามวยั

4.3) ความสมบูรณท์ างด้านสขุ ภาพจติ

5 ความพรอ้ มทางสงั คม

5.1) การปรับตวั เขา้ กับผู้อืน่

5.2) การเสียสละ ไมเ่ หน็ แกต่ วั

5.3) มรี ะเบียบวินยั เคารพกตกิ า

จากตาราง พบว่า
1. ด้านความรคู้ วามสามารถและประสบการณ์
1.1 ความรูพ้ ้นื ฐาน สว่ นใหญอ่ ยู่ในระดับ ดี คดิ เปน็ ร้อยละ 50.00

6

1.2 ความสามารถในการอ่าน ส่วนใหญ่อยูร่ ะดบั ปานกลาง คดิ เปน็ ร้อยละ 52.90
1.3 ความสนใจและสมาธใิ นการเรยี น ส่วนใหญ่อย่ใู นระดับ ปานกลาง คิดเปน็ ร้อยละ 52.90
2. ความพร้อมด้านสตปิ ัญญา
2.1 ความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นรอ้ ยละ 64.70
2.2 ความมีเหตผุ ล สว่ นใหญอ่ ย่ใู นระดบั ดี คดิ เป็นรอ้ ยละ 52.90
2.3 ความสามารถในการเรียนรู้ สว่ นใหญ่อยู่ในระดับ ดี คิดเปน็ ร้อยละ 61.80

3. ความพร้อมด้านพฤติกรรม
3.1 การแสดงออก ส่วนใหญอ่ ยใู่ นระดบั ปานกลาง คิดเป็นรอ้ ยละ 67.60
3.2 การควบคุมอารมณ์ ส่วนใหญอ่ ยู่ในระดบั ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 50.00
3.3 ความมุ่งม่นั อดทน ขยนั หม่ันเพยี ร สว่ นใหญอ่ ยู่ในระดบั ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 50.00
3.4 ความรับผิดชอบ ส่วนใหญ่อยใู่ นระดบั ดี คิดเปน็ รอ้ ยละ 50.00

4. ความพรอ้ มดา้ นรา่ งกายและจติ ใจ
4.1 สขุ ภาพรา่ งกายสมบรู ณ์ ส่วนใหญ่อยูใ่ นระดับ ดี คิดเป็นรอ้ ยละ 64.70
4.2 การเจรญิ เตบิ โตตามวยั สว่ นใหญ่อยู่ในระดับ ดี คิดเปน็ ร้อยละ 73.50
4.3 ความสมบูรณท์ างด้านสขุ ภาพจติ ส่วนใหญ่อยูใ่ นระดับ ดี คดิ เปน็ ร้อยละ 79.40

5. ความพรอ้ มทางสังคม
5.1 การปรบั ตวั เขา้ กับผูอ้ น่ื สว่ นใหญ่อย่ใู นระดับ ปานกลาง คดิ เป็นรอ้ ยละ 55.90
5.2 การเสยี สละ ไมเ่ หน็ แกต่ วั สว่ นใหญอ่ ย่ใู นระดบั ดี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50.00
5.3 มรี ะเบียบวนิ ัย เคารพกติกา ส่วนใหญอ่ ยู่ในระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 55.90

7

ตอนท่ี 5 นักเรยี นต้องการให้ครูจัดการเรยี นรู้ โดยวธิ ี/แบบใด มากทส่ี ุด
จำนวนนกั เรยี นท้งั หมด 34 คน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผู้เรยี น ดังนี้

รายการ จำนวนนักเรียน
คน รอ้ ยละ
1. แบบบรรยาย 13 38.20
2. แบบอภปิ ราย 7 20.60
3. แบบสรา้ งแผนผังความคดิ 4 11.80
4. แบบใชค้ ำถาม 8 23.50
5. แบบโครงงาน 1 2.90
6. แบบแสดงบทบาทสมมุติ 13 38.20
7. แบบทดสอบ 3 8.80
8. กระบวนการกล่มุ 11 32.40
9. แบบบูรณาการ 3 8.80
10. แบบระดมสมอง 7 20.60
11. แบบสาธิต 11 32.40
12. แบบใหล้ งมือปฏบิ ัติ 21 61.80
13. แบบเรียนรจู้ ากแหล่งเรียนรใู้ นทอ้ งถ่ิน 6 17.60
14. แบบสืบคน้ หาความรูด้ ้วยตนเอง 3 8.80
15. อื่น ๆ 2 5.90

จากตาราง พบว่า คดิ เป็นร้อยละ 61.80
นักเรยี นตอ้ งการให้ครูจดั การเรียนรู้ โดยวิธี คิดเป็นรอ้ ยละ 38.20
อนั ดบั 1 แบบให้ลงมือปฏบิ ตั ิ คิดเป็นร้อยละ 32.40
อนั ดับ 2 แบบบรรยายและแบบแสดงบทบาทสมมตุ ิ
อนั ดับ 3 กระบวนการกลุม่ และแบบสาธิต

8

การสร้างเครอ่ื งมอื เพอ่ื การวิเคราะหผ์ ูเ้ รียน
แนวทางในการสรา้ งเคร่อื งมือเพือ่ วิเคราะหผ์ เู้ รียน

การสร้างเครื่องมือสำหรับนำมาทดสอบ หรือตรวจสอบผู้เรียน เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำหรับวิเคราะห์ผู้เรียน
ถือเป็นเร่ืองท่ีมีความจำเป็นและมีความสำคัญมาก ซ่ึงสามารถทำได้หลายแนวทาง แต่ในท่ีน้ีผู้สอนเลือกปฏิบัติ
แบบงา่ ย ๆ 2 แนวทาง ดังน้ี

แนวทางที่ 1 นำผลการประเมินปลายปีการศึกษาท่ีผ่านมา ตลอดท้ังข้อมูลด้านต่าง ๆ ท่ีครูได้
เก็บรวบรวมไว้ นำมาวิเคราะห์แยกแยะตามเกณฑท์ ี่กำหนดไว้ 3 ระดบั คือ

ระดับท่ี 1 ต้องปรับปรงุ แก้ไข
ระดบั ที่ 2 ปานกลาง (ผา่ นเกณฑ์)
ระดบั ท่ี 3 ระดบั ดี
การดำเนินการแยกแยะข้อมูลของนักเรียนเป็นรายบุคคลในแต่ละด้าน แล้วนำมากรอกข้อมูลลงในแบบ
วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล จากนั้นได้ประมวลผลข้อมูลสรุปกรอกลงในแบบสรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียนเม่ือได้
ข้อสรุปแลว้ นำไปกำหนดแนวทางในการแกไ้ ขนักเรียนที่ควรปรับปรงุ เร่ืองตา่ ง ๆ ในแตล่ ะดา้ นต่อไป
แนวทางที่ 2 ครูผู้สอนสร้างเครื่องมือหรือแบบทดสอบเอง ให้เหมาะสมกับเรื่องที่จะวิเคราะห์ผู้เรียนใน
แตล่ ะด้าน เช่น การวดั ความรู้ความสามารถ หรอื ความพรอ้ มด้านสตปิ ัญญา ควรใช้แบบทดสอบสว่ นการตรวจสอบ
ความพรอ้ มพฤติกรรม ดา้ นรา่ งกายและจติ ใจ ดา้ นสงั คม ควรใช้แบบสงั เกต หรือแบบสอบถาม

การสร้างเครือ่ งมือเพ่ือวิเคราะหผ์ เู้ รยี น ยึดหลักที่สำคัญ ดังต่อไปนี้ การ
1. ควรใหค้ รอบคลุมสาระหลัก ๆ ท่จี ะเรยี นรู้ หรือครอบคลุมพฤติกรรมด้านต่าง ๆ ของผเู้ รยี น
2. สอดคล้องกบั ประเดน็ ทีจ่ ะวดั หรือประเมินผูเ้ รยี นในแตล่ ะด้าน
3. กำหนดเกณฑใ์ หช้ ดั เจน เชน่
- ตอบได้ถูกตอ้ งหรอื มตี ามหัวขอ้ ประเมิน น้อยกว่า ร้อยละ 50 ต้องปรับปรงุ แกไ้ ข
- ตอบได้ถูกตอ้ งหรือมตี ามหัวข้อประเมิน รอ้ ยละ 50 – 70 ปานกลาง
- ตอบไดถ้ ูกต้องหรอื มตี ามหัวขอ้ ประเมนิ ร้อยละ 70 ขน้ึ ไป ไดร้ ะดบั ดี
4. การวัดหรือการทดสอบผู้เรียนควรดำเนินการก่อนทำการสอน เพ่ือผู้สอนนำผลสรุป

วิเคราะห์ ไปวางแผนจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เพื่อช่วยเหลือ หรือสง่ เสรมิ นักเรียนได้อย่างเหมาะสม

9

การสรา้ งเครือ่ งมือเพอื่ วิเคราะหผ์ ู้เรยี น วิชาวิทยาศาสตรพ์ ื้นฐาน1ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1/1

การสร้างเคร่ืองมอื สำหรบั นำมาทดสอบหรือตรวจสอบผ้เู รียน เพ่ือใช้เปน็ ข้อมลู สำหรบั วิเคราะหผ์ ู้เรียนได้
แบ่งออกเปน็ หลายๆด้าน ดงั นี้

ด้านท่ี 1 ดา้ นความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์
1. เป็นแบบทดสอบ ครอบคลมุ สาระสำคญั ของวิชาวทิ ยาศาสตรพ์ นื้ ฐาน1ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1/1

ไดค้ ำนงึ ถึง
- ความรูพ้ ้นื ฐานทว่ั ไป
- ความสามารถในการแก้ปญั หา
- ความสนใจในการเรยี นรู้
2. แบบทดสอบเปน็ แบบอตั นัย
3. ความยากงา่ ยมสี ดั ส่วน คอื ความยาก - ปานกลาง – งา่ ย : 30 – 40 – 30
4. เกณฑ์การประเมิน ทำข้อสอบได้ร้อยละ 70 ข้ึนไป ได้ระดับดี ร้อยละ 50 – 70 ระดับปานกลาง ต่ำ

กวา่ ร้อยละ 50 ต้องปรบั ปรงุ แก้ไข

ด้านท่ี 2 ความพร้อมด้านสตปิ ญั ญา
1. ใชแ้ บบทดสอบ
2. การสร้างแบบทดสอบ ความยากง่ายของข้อทดสอบ ใช้เกณฑ์การประเมิน ทำข้อสอบได้ร้อยละ 70

ขึ้นไป ไดร้ ะดับดี รอ้ ยละ 50 – 70 ระดับปานกลาง ต่ำกวา่ ร้อยละ 50 ตอ้ งปรบั ปรุงแกไ้ ข

ดา้ นที่ 3 ความพรอ้ มด้านพฤติกรรม
1. เป็นการสงั เกตพฤตกิ รรมของผเู้ รียนเกย่ี วกับ
- การแสดงออกของผ้เู รยี นในลกั ษณะต่างๆ
- การรจู้ กั ควบคุมอารมณ์
- ความมุง่ มน่ั ตัง้ ใจ ขยันหมน่ั เพยี ร
2. ครูผสู้ อนไดส้ ังเกตพฤติกรรมของผู้เรยี นดว้ ยตนเอง
3. การกำหนดเกณฑ์การวัดไว้ด้วยว่าด้วยการแสดงออกทางพฤติกรรมในระดับดีมาก ดี ปานกลาง และ

ปรับปรงุ แก้ไข

ด้านที่ 4 ความพร้อมด้านรา่ งกาย และจติ ใจ
1) ใชแ้ บบสังเกต และแบบสำรวจเกย่ี วกบั
- สขุ ภาพรา่ งกายของผเู้ รียน
- ความเจรญิ เติบโตสมวยั
- ดา้ นสุขภาพจิต
2. ใช้แบบสงั เกต และสมั ภาษณ์ กับครปู ระจำช้ัน เพื่อนผใู้ กลช้ ิด ผเู้ รยี น หรอื ผปู้ กครอง
3. การกำหนดเกณฑก์ ารวดั ไวด้ ว้ ยว่าความพรอ้ มทางดา้ นจติ ใจในระดบั ดีมาก ดี ปานกลาง และปรับปรุงแก้ไข

10

ด้านที่ 5 ความพรอ้ มดา้ นสังคม
1. ใชแ้ บบสังเกต และแบบสำรวจเก่ียวกบั
- การปรบั ตวั ใหเ้ ข้ากับผู้อ่นื
- การเสียสละไมเ่ หน็ แก่ตัว
- การมรี ะเบียบวนิ ยั และการเคารพกตกิ า
2. ใชแ้ บบสังเกต และสัมภาษณ์ กบั ครปู ระจำช้ัน เพ่อื นผูใ้ กล้ชดิ ผเู้ รียน หรือ ผปู้ กครอง
3. การกำหนดเกณฑ์การวดั ไว้ด้วยว่าความพร้อมทางด้านจติ ใจในระดับดมี าก ดี ปานกลาง และปรับปรุงแกไ้ ข

11

ข้อมูลอา้ งองิ การรายงานผลการวเิ คราะหผ์ เู้ รยี นรายบคุ คล
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1/1

วชิ า วิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน1รหสั วชิ า ว21101

ตอนที่ 1 ข้อมลู ดา้ นพื้นฐานของนักเรียน

12

13

14

ตอนท่ี 2 ข้อมลู ดา้ นผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ผลการเรยี นเฉลย่ี ในภาคเรยี นทีผ่ า่ นมา

ตอนท่ี 3 ข้อมูลดา้ นความสนใจและความสามารถพเิ ศษ

15

16

ตอนที่ 4 ด้านความพร้อมของผู้เรียน
1. ดา้ นความรู้ความสามารถและประสบการณ์

17

2. ความพร้อมดา้ นสติปญั ญา

18

3. ความพร้อมดา้ นพฤติกรรม

19

4. ความพร้อมดา้ นร่างกายและจติ ใจ

20

5. ความพรอ้ มทางดา้ นสังคม

21

ตอนที่ 5 นักเรยี นต้องการใหค้ รจู ดั การเรยี นรู้ โดยวิธี/แบบใด มากทส่ี ุด

22

สรปุ ผลการวเิ คราะหผ์ ู้เรยี น

ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1/1 วิชา วิทยาศาสตร์พืน้ ฐาน1 รหัสวชิ า ว21101 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ
จากตารางสรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 จำนวน 34 คน ปรากฏว่านักเรียน

ส่วนมากของห้อง ( 50 % ข้ึนไป ) มีด้านความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ทางภาษา ความพร้อมด้าน
สติปญั ญา อยู่ในระดบั ดี และความพรอ้ มด้านพฤติกรรม ความพรอ้ มด้านสังคม ความพร้อมด้านสุขภาพ ร่างกาย
จติ ใจ อยู่ในระดบั ดี

ครูผ้สู อนได้นำข้อมลู การวเิ คราะห์ผเู้ รียนมาจดั แบง่ กลุ่มผเู้ รยี น ออกเป็น 3 กลุ่ม โดยพิจารณา จากเกณฑ์มี
ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ทางภาษา ความพร้อมด้านสติปัญญา เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวาง
แผนการสอนใหเ้ หมาะสมกับสภาพความแตกต่างของผ้เู รียน ดังนี้

1. กลุม่ เก่ง มี 34 คน ดงั นี้

ด.ช. กานตพงศ์ โอวาท
ด.ช. จกั รภทั ร นิ่มกรมทอง
ด.ช. จักริน หอมชาติ
ด.ช. จริ ัชย์ ฉันทพันธ์ุ
ด.ช. จริ ฐั ดิษเสถยี ร
ด.ช. ชยพล อำนวยศิลป์
ด.ช. ชวศิ หงษ์ประดับ
ด.ช. เตชนิ ท์ สหัสธารา
ด.ช. ปกปอ้ ง สืบชาติ
ด.ช. ปองคุณ มาศริ ิ
ด.ช. เปรมปรดี ี บุญเนาว์
ด.ช. พทิ ักษ์พงศ์ สมั มา
ด.ช. พฒุ ิธร รตั นพทิ ักษ์
ด.ช. ภคชญช์ วรรณบุตร
ด.ญ. ภัครทุ ร ศรีอรา่ ม
ด.ช. ด.ช.ภูมพิ ชิ ชา เหลา่ ชัย
ด.ช. รภทั กฤช เลิศนิธิการ
ด.ช. ศรัณยว์ ชิ ญ์ ทองอินทร์
ด.ช. ศุภวิชญ์ ตมุ้ ทอง
ด.ช. สริ ศิ กั ด์ิ สฒั นราช
ด.ช. อนพัช สุขสถิตย์
ด.ญ. กชพรรณ ไชยวาที
ด.ญ. กญั ญาภทั ร ประสงคท์ รัพย์

23

ด.ญ. ชนิษฐา เหมง็ หยิม
ด.ญ. ณฐมน เขยี วขจี
ด.ญ. ธนั ฐภัทร์ รำไพ
ด.ญ. นนั ท์นภัส พ่วั พนั ศรี
ด.ญ. ปภัสร์สิตา กมุ ภะ
ด.ญ. ไปรยา จำนงคผ์ ล
ด.ญ. ลภัสรดา พัดพาดี
ด.ญ. วรัญญก์ านต์ ทำประโยชน์
ด.ญ. วริยา ย่งั ยืน
ด.ญ. วภิ าวี หอยสังข์
ด.ญ. ศิริภสั สร ปอ้ งหมู่

2. กลมุ่ ปานกลาง มี 0 คน ดงั น้ี
3. กลุ่มท่ตี ้องปรับปรุงแกไ้ ข มี 0 คน

ลงช่ือ..............................................ผู้รายงาน
( นางภบิ าล มตุ ะพฒั น์ )
ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการ

24


Click to View FlipBook Version