The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wanida Sriin, 2019-06-05 01:03:56

Microorganism

Microorganism

หนว่ ยที่ 3

วนดิ า ศรีอนิ ทร์

10

ใบความรทู้ ่ี 3
ประเภทของจลุ นิ ทรยี ์

1. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1.1 เพ่ือใหผ้ ู้เรียนร้จู ักจุลนิ ทรีย์แต่ละชนดิ
1.2 เพอื่ ให้ผู้เรียนบอกรูปร่าง โครงสรา้ ง การสืบพันธุ์ ของจลุ ินทรยี ์แต่ละชนิดได้

2. สาระการเรยี นรู้

3.1 แบคทเี รยี

แบคทีเรียจัดเป็นจุลินทรีย์ที่มีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับจุลินทรีย์ชนิดอื่น ๆ มีโครงสร้างภายในเซลล์
เป็นแบบง่าย ๆ เป็นพวกโพรคาริโอต (procaryotic cell) คือนิวเคลียสไม่มีเย่ือหุ้ม ทาให้นิวเคลียสกระจัด
กระจายไม่รวมเป็นกลุ่มก้อน ผนังเซลล์แข็งแรง มีขนาดเล็กมาก มีความสาคัญทางด้านการเกษตร
อุตสาหกรรม แพทย์ สิ่งแวดล้อม ฯลฯ สามารถแพร่กระจายทั่วไปทั้งในดิน น้า อาหาร อากาศ แม้แต่ภายใน
รา่ งกายของสิ่งมชี วี ติ

ลเี วนฮคุ เป็นผคู้ น้ พบแบคทเี รียคนแรก ในปี ค.ศ. 1683 ตอ่ มาในปี ค.ศ. 1828 Ehrenberg ใหช้ ่ือ
ว่า Bacterium ( พหูพจน์ของ bacteria ) ซึ่งตรงกับภาษากรีกว่า small droplet ในปัจจุบันแบคทีเรียเป็น
สิง่ มชี วี ิตในอาณาจกั รโมเนอรา ( Kingdom Monera ) ไฟลมั คิโซไมโคไฟตา ( Phylum Schizomycophyta )

สัณฐานวทิ ยาของแบคทีเรยี

รปู รา่ งของแบคทเี รีย

แบคทีเรียมีรูปร่างได้หลายแบบ เช่น กลม รูปไข่ ทรงกระบอกหรือเป็นเกลียว แต่โดยทั่วไปแล้วจะ
แบ่งรูปรา่ งของแบคทเี รียเปน็ 3 แบบ

1. รปู กลมหรือค็อกคสั ( coccus : เอกพจน์, cocci : พหพู จน์ ) เปน็ แบคทเี รยี ท่ีมรี ปู รา่ งเป็น
ทรงกลม ( spherical ) หรือรูปไข่ ( ovoid ) มกี ารจัดเรียงตัวได้หลายแบบ คอื อยเู่ ดยี่ ว ๆ ( coccus ) อยู่เป็น
คู่ ( diplococcus ) หรืออยู่ต่อกันเป็นสายคล้ายลูกโซ่ ( streptococcus ) หรือเกาะกลุ่มกันในหลายลักษณะ
เช่น กลุ่มรูปส่ีเหลี่ยมลูกบาศก์ หรือเรียงเป็นแปด ( sarcina ) เซลล์รูปพวงองุ่น ( staphylococcus )
แบคทีเรยี รูปกลม ได้แก่ แบคทเี รยี ที่ทาใหเ้ กดิ โรคหนองใน โรคปอดบวม

2. รูปท่อน หรือบาซิลลัส ( bacillus : เอกพจน์, bacilli : พหูพจน์ ) เป็นแบคทีเรียท่ีมี
รูปรา่ งเปน็ ท่อนหรือทรงกระบอก หรอื เป็นแท่ง (rodlike) การจัดเรียงตวั ส่วนใหญ่มกั อยเู่ ดีย่ ว ๆ แตอ่ าจปรากฏ
เป็นแท่งเรียงเปน็ คู่ (diplobacilli) เปน็ ชนั้ หรือเป็นแถว เชน่ Corynebacterium diphtheriae ทีท่ าใหเ้ กิด
โรคคอตีบ

3. แบบเกลียว (spirillum) เป็นแบคทีเรียที่มีรูปร่างเป็นท่อนยาวหรือท่อนสั้นแต่จะโค้งงอ
เช่น Vibrio cholera ทาให้เกิด อหิวาตกโรค และ Treponema pallidum ทาใหเ้ กิดโรคซฟิ ิลิส

11

แบคทเี รยี บางชนิดรูปร่างไมแ่ นน่ อน เปลยี่ นแปลงไดห้ ลายแบบเรียกว่า pleomorphic เนอ่ื งจากไม่มี
ผนงั เซลล์ที่จะทาใหเ้ ซลลค์ งรปู อยู่ได้ ไดแ้ ก่ Mycoplasma

A : diplococci B : streptococci
C : straphylococci D : bacilli
E : coccobacilli F : fusiform bacilli
G : filamentous bacillary form H : vibrios
I : spirilla J : sarcinae

จากการศึกษาลักษณะโครงสร้างและสมบัติต่าง ๆ ของเซลล์แบคทีเรีย ได้จัดแบคทีเรียเป็นพืช
เน่ืองจากมีลักษณะตา่ ง ๆ คล้ายคลงึ กบั พืช ดงั นี้

1. ความสามารถในการสังเคราะห์ (synthetic capacity) แบคทีเรียที่ดารงชีวิตแบบอิสระ
หลายชนิด สามารถสังเคราะห์สารอินทรีย์ทีมีโมเลกุลซับซ้อน เช่น ลิปิด โปรตีน และโพลีแซคคาไรด์ ให้เซลล์
นาไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ได้ ส่วนสารท่ีใช้เป็นวัตถุดิบในการสังเคราะห์จะเป็นสา รอนินทรีย์ต่าง ๆ เช่น
แอมโมเนีย คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ฯลฯ แบคทีเรียพวกนี้ได้แก่ photolithotrophic
bacteria และ chemolithotrophic bacteria

2. การนาอาหารเข้าสเู่ ซลล์ (food penetration) แบคทเี รยี นาอาหารเขา้ สู่เซลลใ์ นรปู ของ
สารละลายเช่นเดียวกับพืช

3. การแบ่งเซลล์แบบ binary fission เซลลแ์ บคทีเรียจะแยกจากกันในแนวขวาง
(transverse fission) สว่ นเซลล์สตั วจ์ ะแยกจากกนั ในแนวยาว (longitudinal fission)

4. แบคทเี รียส่วนมากมผี นงั เซลล์ ทาให้เซลล์คงรปู ร่างอยไู่ ด้

โครงสร้างของแบคทเี รยี

12
1. แคปซลู เปน็ โครงสรา้ งท่ีมลี ักษณะเป็นช้ันหนาห่อหุ้มส่วนของผนงั เซลล์ มีความสาคัญ เพราะทาให้
แบคทเี รียทนต่อความแหง้ แล้งและสารเคมี
2. ผนังเซลล์ มลี กั ษณะเปน็ กล่องแข็งและเปน็ รูพรุน มีความสาคัญในการป้องกันเซลล์และทาให้เซลล์
คงรปู รา่ งอยไู่ ด้
3. เซลล์เมมเบรน มีหน้าท่ีลาเลียงสารเข้าสู่เซลล์ และเกี่ยวข้องกับขบวนการสังเคราะห์โปรตีน การ
แบ่งเซลล์และการสรา้ งสปอร์
4. เอนโดสปอร์ เป็นสปอร์ท่ีสร้างขึ้นภายในเซลล์ของแบคทีเรียบางชนิด เช่น Bacillus แบคทีเรีย
บางชนิดสามารถสร้างสปอร์ได้ เรียกว่า เอนโดสปอร์ (endospore) สามารถทนทานต่อการกระทาทางเคมีและ
กายภาพได้ นอกจากนสี้ ปอรย์ ังสามารถเตบิ โตเปน็ เซลล์ได้เม่ืออยใู่ นอาหารและสภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสม
5. แฟลกเจลลา มคี วามสาคญั คือ ใช้เคลอื่ นท่ี

แฟลกเจลลาท่พี บในแบคทีเรียมี 4 ชนดิ คือ
1) monotrichous มีแฟลกเจลลา 1 เส้นท่ีปลายด้านใดด้านหนึ่งของเซลล์ หรือปลายท้ัง 2

ดา้ นของเซลล์ และแฟลกเจลลามคี วามโคง้ มากกว่า 1 โคง้
2) multirichous มีแฟลกเจลลามากกว่า 1 เสน้ ที่ปลายดา้ นใดดา้ นหน่ึงของเซลลห์ รือปลาย

ท้ัง 2 ด้านของเซลล์ และแฟลกเจลลามีความโค้งมากกว่า 2 โคง้
3) lophotrichous มีแฟลกเจลลามากกว่า 1 เส้นที่ปลายด้านใดด้านหนึ่งของเซลล์ หรือ

ปลายทงั้ 2 ด้านของเซลล์ และแฟลกเจลลามีความโคง้ เพยี ง 1 หรอื 2 โคง้ เท่าน้นั
4) peritrichous มีแฟลกเจลลาย่ืนออกมารอบเซลล์

13

การสืบพนั ธุ์ของแบคทีเรีย
แบคทีเรียท่ัวไปมีการสืบพันธุ์โดยการแบ่งเซลล์จากหน่ึงเป็นสอง (Binary fission) จัดเป็นการสืบพันธุ์

แบบไมอ่ าศยั เพศ นอกจากน้ีในสภาพแวดลอ้ มทีไ่ มเ่ หมาะสมแบคทีเรยี บางชนิด สามารถอยู่รอดได้ โดยการสร้าง
สปอร์ และสปอร์สามารถงอกเป็นเซลลใ์ หม่ได้เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสม
เราสามารถแบง่ ชนดิ ของจลุ ินทรียไ์ ดห้ ลายประเภทดังนี้

1. แบง่ ประเภทของแบคทีเรียตามช่วงอุณหภมู ิ
ก. พวก Psychophilic Bacteria คอื แบคทเี รียพวกท่ีเจรญิ ไดด้ ที ีอ่ ุณหภูมิต่า
ข. พวก Mesophilic Bacteria คือแบคทเี รยี พวกท่เี จรญิ ไดด้ ีทีอ่ ณุ หภมู ิปานกลางมีอยู่

มากในดนิ สว่ นใหญ่
ค. พวก Thermophilic Bacteria คือแบคทีเรยี พวกท่เี จริญไดด้ ีทอี่ ุณหภมู ิสูง

2. แบ่งประเภทของแบคทเี รียตามความต้องการออกซเิ จน
ก. แบคทเี รยี พวกที่ต้องการออกซิเจน (Aerobic Bacteria) เป็นแบคทเี รียพวกทเี่ จริญ

ไดด้ ใี นสภาพท่ีมีออกซเิ จน
ข. แบคทีเรยี พวกทไี่ ม่ตอ้ งการออกซิเจน (Anaerobic Bacteria) เป็นแบคทีเรียพวกที่

เจริญได้ดีในสภาพที่ไม่ออกซิเจน
3. แบง่ ประเภทของแบคทเี รียตามลักษณะทางนเิ วศวิทยา
ก. Autochthonous (Indigenous Group) เป็นแบคทีเรียท่ีมีอยู่ดั้งเดิมในธรรมชาติ

ได้รับสารอาหารจากธรรมชาติ อยู่ได้โดยไม่ต้องมีการเพ่ิมสารอาหารและแหล่งพลงั งานจากภายนอก แบคทีเรีย
กลุ่มน้จี ะมปี ริมาณคงทีท่ ุกฤดกู าล

ข. Zymogenous (Fermentation Producing Group) เป็นแบคทีเรียที่สามารถแปรรูป
สารเคมีต่าง ๆ ได้โดยขบวนการหมัก (Fermentation) ทาให้เกิดผลิตภัณฑ์หลายอย่าง แต่กลุ่มนี้มีอยู่ตาม
ธรรมชาตนิ อ้ ยมาก จะเพ่ิมจานวนเมอ่ื มีการเพ่มิ สารอาหารและแหลง่ พลงั งานจากภายนอก

14

4. แบ่งประเภทของแบคทเี รยี ตามการสร้างอาหาร
ก. Autotrophic คอื แบคทีเรียพวกท่ไี ด้คารบ์ อน (C) จากกาซคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2)

และสารประกอบอินทรยี ์อน่ื ๆ เชน่ HCO3
ข. Heterotrophic คือ แบคทีเรยี พวกท่ีได้คารบ์ อนจากอินทรีย์คาร์บอนหรอื สารประกอบ

อนิ ทรยี ์ทว่ั ไป
ค. Chemotrophic คือ แบคทีเรียพวกท่ีเจริญได้ดีในสภาพขาดแสงสว่างและได้พลังงาน

จากปฏกิ ิรยิ าเคมี และขบวนการออกซิเดชั่นของสงิ่ มีชีวิต (Biological Oxidation)
ง. Chemoheterotrophic คือ แบคทีเรียพวกที่เจริญได้ดีในสภาพขาดแสงสว่างและได้

พลังงานจากอินทรยี ส์ าร
จ. Phototrophic คอื แบคทเี รียพวกทไี่ ดพ้ ลงั งานจากการสังเคราะห์แสง

แบคทีเรยี เป็นจุลินทรยี ์ทีพ่ บเปน็ จานวนมากท่ีสดุ ในจลุ นิ ทรยี ท์ ้ังหมด โดยจานวนแบคทีเรยี คดิ เป็น 50%
ของนา้ หนกั จลุ ินทรยี ์ทัง้ หมด และมกี จิ กรรมคดิ เป็น 95% ของจุลนิ ทรียท์ ุกชนิดรวมกนั พบได้ทว่ั ไปในธรรมชาติ
จัดไดว้ ่าเป็นจลุ นิ ทรยี ท์ มี่ ีบทบาทอยา่ งมากในธรรมชาติ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับกระบวนการตา่ ง ๆ ของสงิ่ มีชีวติ

15

3.2 โปรโตซัว (Protozoa)

โปรโตซัวเป็นจุลินทรีย์ท่ีมีขนาดเล็กมาก บางชนิดให้โทษ เป็นปรสิต บางชนิดเป็นประโยชน์ ใช้เป็น
อาหารของสิง่ มชี ีวติ อน่ื ในห่วงโซอ่ าหาร บางชนดิ อยู่เปน็ อสิ ระ เชน่ ยกู ลนี า Volvox เปน็ ต้น บางชนดิ อยรู่ ่วมกนั
แบบภาวะพงึ่ พากัน

มีอวัยวะทใี่ ชใ้ นการเคลอ่ื นท่ี เชน่ เทา้ เทยี มพบในอะมบี า แสเ้ ซลล์ (flagella) ขนเซลล์ (cilia)

สณั ฐานวิทยาของโปรโตซวั

1) รูปรา่ งและลักษณะ โปรโตซัวมีรูปร่างและขนาดแตกต่างกันไป บางชนดิ มีรปู ร่างทรงกลม รี
หรือยาว แต่มรี ูปทรงแบบ bilateral symmetry เปน็ ส่วนใหญ่ ขนาดของเซลลม์ ีต้งั แต่ 2-3 ไมครอนจนถึง 2-3
เซนตเิ มตร

2) ไซโตพลาสซึม มลี กั ษณะใส ไม่มีสี แตม่ ีความหนดื
3) นิวเคลียส มีเย่อื หมุ้ นิวเคลียสหอ่ หุ้ม โดยท่วั ไปโปรโตซวั มีนิวเคลยี ส 1 อนั แตม่ บี างชนิดมหี ลาย
นวิ เคลยี ส เช่น พารามีเซียม เป็นต้น
4) เปลือกหุ้ม โปรโตซัวบางชนิดสามารถสร้างสารพวกเยื่อเมือกขึ้นห่อหุ้มเซลล์ เพ่ือให้เซลล์มีความ
ทนทานตอ่ สภาพแวดลอ้ มต่างๆ ได้ดี เรยี กสภาวะน้วี ่า การสรา้ ง cyst หรอื สปอร์

โครงสร้างของพารามีเซยี ม

16

โครงสร้างของยูกลนี า

A : Euglena gracilis B : ลักษณะของแฟลกเจลลา

Amoeba proteus บรเิ วณลูกศรแสดงการไหลของไซโตพลาสซมึ

การสืบพนั ธุ์
1) การสบื พันธแ์ุ บบไมอ่ าศยั เพศ
- Binary fission เปน็ การแบง่ เซลล์ออกเป็น 2 ส่วนเท่าๆ กนั เช่น อะมบี า
- การแตกหนอ่ หนอ่ ทไ่ี ด้มีขนาดเลก็ กวา่ เซลลแ์ ม่
- Sporulation เป็นการแบ่งนิวเคลียสหลายคร้ัง ต่อมาไซโตพลาสซึมล้อมรอบ นิวเคลียสแต่

ละอันกลายเป็นสปอร์ เช่น Plasmodium

17
2) การสบื พันธ์ุแบบอาศัยเพศ

- คอนจูเกชน่ั (Conjugation) เกดิ จากเซลล์ 2 เซลลเ์ ขา้ ค่กู ัน มีการแลกเปลย่ี นนวิ เคลยี ส
พบในพารามเี ซยี ม (Paramecium)

- การผสมกันของเซลล์เพศผู้และเพศเมีย ไดแ้ ก่ hologamate isogamate และanisogamate

การจาแนกหมวดหมูโ่ ปรโตซวั
โปรโตซวั เปน็ สตั วซ์ งึ่ มีความสามารถสูงและคุณสมบัติในการดารงชีพเหมือนสัตว์หลายเซลล์ โดยมรี ะบบ

ต่าง ๆ ภายในตัวเองอย่างสมบูรณ์ เช่น การสืบพันธ์ุ การย่อยอาหาร การหายใจ และการขับถ่าย โปรโตซัวมี
มากกว่า 3 หมื่นชนิด ประมาณเกือบ 1 หมื่นชนิดเป็นปรสิตของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังและสัตว์ท่ีมีกระดูกสัน
หลงั รวมท้งั มนษุ ย์ การดารงชพี แบง่ เป็น 2 กล่มุ ตามลกั ษณะทีอ่ าศยั คือพวกทอี่ าศยั อยู่อย่างอิสระ (free living
protozoa) และพวกท่ีต้องอาศัยสิ่งมีชีวิตอื่นร่วมด้วย (symbyosis) อาจจะเป็นแบบ commensalism หรือ
parasitism และแบง่ เปน็ 4 กลุ่มใหญต่ ามลกั ษณะของโครงสร้างที่ใช้ในการเคล่ือนท่ีดังนี้

1. ไฟลมั แมสติโกฟอรา หรือ แฟลกเจลลาตา ( Phylum Mastigophora หรือ Flagellata ) โปรโตซวั
ในกล่มุ นจี้ ะเคล่ือนทีโ่ ดยอวยั วะที่สรา้ งขนึ้ มาพิเศษ มลี ักษณะเปน็ สายยาวอาจจะมมี ากกว่าหน่ึงเสน้ กไ็ ด้ เรยี กวา่
“แฟลกเจลลัม” ( flagellum ) โดยสายแฟลกเจลลัมจะโบกไปมาทาให้หมุนตัวเคล่ือนท่ีไปได้ พบทั้งในน้าจืด
และน้าเค็ม มีทั้งท่ีอยู่เป็นอิสระและเป็นปรสิต เช่น Trypanosoma เป็นปรสิตที่พบในเลือดของสัตว์เลี้ยงและ
คน ทาให้เกิดโรคเหงาหลับ ( sleeping sickness )

2. ไฟลัม ซาโคดินา หรือ ไรโซโปดา (Phylum Sarcodina หรือ Rhizopoda) โปรโตซัวในกลุ่มน้ีจะ
เคลื่อนที่โดยการไหลเวียนของไซโตพลาสซึม ภายในเซลล์ โดยไซโตพลาสซึมจะยื่นออกไปเป็นเท้าเทียม
(pseudopoduim) คืบคลานไปตามพ้ืน หรือ อาจจะใช้ในการโอบล้อมอาหารก็ได้ บางชนิดอยู่เป็นอิสระ บาง
ชนดิ เปน็ ปรสติ เช่น Entamoeba histolytica เป็นปรสติ ทีพ่ บในลาไสค้ น ทาให้เกิดโรคบิด

3. ไฟลัม ซีลีเอตา (Phylum Ciliata) โปรโตซัวในกลุ่มน้ีจะเคลื่อนที่โดยซิเลีย (cilia) ตามบริเวณผิว
ของเซลล์พัดโบกทาให้เคลื่อนที่ได้ว่องไวมาก นอกจากนี้ยังมีซีเลียในส่วนท่ีเป็นช่องปาก เพื่อพัดอาหารเข้าไป
ภายในเซลล์ โปรโตซัวในกลุ่มนส้ี ว่ นใหญ่จะอยู่เปน็ อสิ ระในนา้ จืด

18
4. ไฟลัม สปอโรซัว (Phylum Sporozoa) โปรโตซัวในกลุ่มนี้จะไม่มีอวัยวะที่ใช้สาหรับการเคล่ือนท่ี
การดารงชีวิตจะ เป็นแบบปรสิตท้ังส้ิน การสืบพันธ์ุมีท้ังแบบไม่อาศัยเพศและอาศัยเพศ
ตัวอย่างเช่น Plasmoduim ท่ีเป็นสาเหตุของโรคไข้จับส่ัน จะมีช่วงชีวิตของการสืบพันธุ์แบบ
ไม่อาศัยเพศในมนุษย์ด้วยการสร้างสปอร์ขนาดเล็กๆ ขึ้นจานวนมากในเม็ดเลือดแดง และการ
สืบพนั ธ์ุแบบอาศัยเพศในยงุ ก้นปล่องดว้ ยการสรา้ งเซลล์สบื พนั ธ์ุ (gamete) ทีต่ า่ งกัน
โปรโตซัวมักจะเป็นสาเหตุของโรคหลายชนิดทั้งในคนและสัตว์ ส่วนประโยชน์ของโปรโตซัวก็มีเช่นกัน
ซ่ึงมักจะเก่ียวข้องกับระบบนิเวศวิทยา เป็นส่วนใหญ่ ตัวอย่างเช่น ในแง่ของโซ่อาหาร (food chain) โปรโตซัว
จะกนิ แบคทีเรียเป็นอาหาร ซงึ่ ลักษณะดังกล่าว จะเป็นการป้องกันไม่ให้ปริมาณของแบคทีเรียมีมากเกินไป จาก
คุณสมบัตินี้ จึงได้มีการนามาประยุกต์ใช้กับระบบการกาจัดน้าเสีย ด้วยการทาให้เกิดสมดุล ระหว่างจานวน
โปรโตซัวและ แบคทีเรีย เพ่ือให้ระบบกาจดั มปี ระสทิ ธิภาพดที ี่สุด

โครงสร้างและหน้าที่ (form and function)
โปรโตซวั เป็นสตั ว์เซลล์เดียว มีขนาดตง้ั แต่ 1 ไมโครเมตร จนถงึ 150 ไมโครเมตร มนี ิวเคลยี สอยา่ งน้อย

1 อัน หรืออาจจะมีมากกว่านั้น ที่สาคัญไซโทพลาสซึมมีเยื่อหุ้ม มีออร์แกเนลล์สาคัญที่ทางานคล้ายสัตว์ชั้นสูง
ไดแ้ ก่ mitochondria , Golgi's body, endoplasmic reticulem ฯลฯ โปรโตซวั มหี ลายกลมุ่ ซง่ึ มีออรแ์ กเนลล์
ไมแ่ ตกต่างกันให้เห็นชัดเจน มีการดารงชวี ิตได้หลายแบบ เช่น แบบอยอู่ ยา่ งอสิ ระ (free living) หรอื เป็นปรสิต(
parasitism )

การสืบพันธุ์แบบไม่มีเพศ ( asexual ) โดยการแบ่งตัว (binary fission ) แตกหน่อ ( Budding )
การสรา้ งเกราะหุ้มตัวเองแล้วแบ่งนิวเคลียสและแบ่งไซโตพลาสซึมตาม ส่วนการสบื พันธ์แุ บบมีเพศ ( sexual )
โดยสืบพนั ธุ์แบบใช้เซลลเ์ พศ

ภาพโครงสร้างภายใน ของโปรโตซวั

ภาพโครงสร้างของโปรโตซัวชนดิ หน่งึ ที่ประกอบไปด้วยแฟลกเจลลามากมาย

19

วงจรชีวิตของโปรโตซัว

การแพรพ่ ันธ์ุของโปรโตซวั เป็นไปอย่างง่าย ส่วนใหญ่เป็นการสืบพันธ์ุแบบไม่มีเพศซ้ากันหลายครั้ง โดย
มีการแบ่งของนวิ เคลียสกอ่ น ตอ่ มาไซโทพลาสซมึ จึงแบง่ ตัว ซง่ึ วงจรชวี ติ ของโปรโตซัวมีหลายแบบ ดังน้ี

1. จากคนหนึ่งไปอีกคนหน่ึงโดยตรง (person to person) เช่น Entamoeba gingivalis ซึ่งอาศัย
อยู่ในปาก มีระยะท่ี เคลื่อนที่ได้เรียกว่า โทรโฟซอยด์ ติดต่อจากคนหน่ึงไปอีกคนหน่ึง โดยปนเป้ือนไปกับน้าลาย
หรือ Trichomonous vaginalis ติดต่อไดท้ างเพศสัมพนั ธ์

2. การมีโฮสตก์ ่ึงกลางเป็นตัวนาแพร่กระจาย มักไดแ้ ก่ โปรโตซวั ท่อี าศยั ในกระแสเลือดหรือในเนื้อเย่ือ
พวกทีม่ ีแมลงเปน็ ตวั นาพาหะ เชน่ ตัวไร (mite) นาโปรโตซัว ( Hepatozoon muris ) ยุงนาเชื้อมาลาเรีย หรือ
ตัวปลิงนาโปรโตซวั Trypanosoma rotatorium ไปสูก่ บ

3. การสืบพันธุ์แบบใช้เซลล์เพศ (sexual stage) จะพบในโปรโตซัวท่ีอยู่ใน class Sporozoa ซึ่งมีท้ัง
การสืบพนั ธุแ์ บบอาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศในวงจรชีวิต

20

3.3 ฟงั ไจ ( Fungi )

3.3.1 ยสี ต์ (Yeast)

ยีสต์ (Yeast) เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ต้องอาศัยกล้องจุลทรรศน์ส่องดู ยีสต์
จัดเป็นราจาพวกหนึ่ง มีท้ังอยู่ ในคลาสแอสโคไมซีติส (Ascomycetes class) และคลาสเบสิดิโอไมซีติส
(Basidiomycetes class) ยีสต์ส่วนใหญ่จะเป็น เซลล์เดียวที่มีรูปร่างแตกต่างกันออกไปตามสายพันธุ์ เช่น ทรง
กลม รี ทรงกระบอก และสามเหล่ียม บางสายพันธ์ุจะมี ลักษณะของเซลล์ยืดยาวออกและต่อกันเป็นสายคล้าย
เส้นใย (pseudomycelium)

ยีสต์มีลักษณะพิเศษอีกอย่างคือชอบแยกตัวอยู่เป็นอิสระในรูปของเซลเดี่ยว ๆ แต่บางคร้ังก็จะเหน็ ว่ามี
2 เซลอยู่ติดกันได้ ซึ่งเป็นกรณีพิเศษคือเป็นช่วงที่มัน "แตกหน่อ" จึงเห็นเป็น 2 เซลติดกัน เซลหน่ึงใหญ่ อีกเซล
หน่ึงเล็ก บางชนิดสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยการสร้างสปอร์ที่เรียกว่า แอสโคสปอร์ (Ascospore) อาจมีการ
แบ่งเซลล์โดยต่อกันเป็นสายยาว ใช้เป็นแหล่งอาหารโปรตีนสาหรับมนุษย์และสัตว์และมีประโยชน์ใน
อตุ สาหกรรมหลายชนดิ เช่น อตุ สาหกรรมแอลกอฮอล์ สุรา ไวน์ ขนมปงั ผลติ โปรตีน วิตามิน และอุตสาหกรรม
การหมัก แต่ยีสต์บางสายพันธ์ุก่อให้เกิดโทษ เช่น ทาให้เกิดโรคกับคนและสัตว์ ชนิดทั้งท่ีเกิดกับอวัยวะภายใน
และภายนอก ได้แก่ Cryptococcus meoformans เป็นสาเหตุของโรคเย่ือสมองอักเสบ ยีสต์ยังเป็นสาเหตุ
สาคัญของโรครูขุมขนอักเสบ (สิว) โดยเฉพาะกลุ่มยีสต์ชนิดท่ีชอบกินน้ามันเป็นอาหาร ซึ่งมี ชื่อทาง
วทิ ยาศาสตรว์ า่ พิทธโี รสปอรุ่ม ( Pityrosporum ) พวกนี้เวลาท่เี อาไปเพาะเช้ือ ต้องเติมนา้ มนั มะกอกเขา้ ไปด้วย
จึงจะโตดี

การสบื พันธุ์

เน่ืองจากยีสต์เป็นจุลินทรีย์ที่สามารถดารงชวี ติ อยู่ได้ด้วยเซลล์ ๆ เดียว ดังนั้น การสืบพันธ์ุจึงไม่ยุ่งยาก
ซบั ซอ้ น เหมือนส่ิงมีชวี ิตช้นั สงู การสบื พันธุม์ ีทงั้ แบบไม่อาศยั เพศและแบบอาศัยเพศ ดงั น้ี

1. การสบื พันธุแ์ บบไมอ่ าศยั เพศ เมือ่ เซลลข์ องยีสตเ์ จรญิ เตบิ โตเตม็ ท่กี จ็ ะมีการแตกหน่อ (budding)
ให้เซลล์ใหม่ ซึ่งมีโครง สร้าง และองค์ประกอบทุกอย่างเหมือนเซลล์แม่แต่มีขนาดเล็กกว่า ตาแหน่งของเซลล์ท่ี
จะมกี ารแตกหนอ่ จะขนึ้ อยกู่ บั สายพันธุ์ บางสายพันธุ์จะแตกหนอ่ บริเวณปลายขว้ั ขา้ งใดขา้ งหนึ่ง หรอื แตกหนอ่ ที่
ปลายทั้ง 2 ขา้ ง หรอื อาจจะแตกหนอ่ ได้รอบเซลล์ แตม่ ี บางสายพันธเ์ุ มอ่ื เซลล์เจริญเติบโตเต็มที่แล้วกจ็ ะแบ่งตัว
ออกเปน็ 2 ส่วนเท่าๆ กนั (fission) คลา้ ยแบคทเี รีย ได้เซลลใ์ หม่ 2 เซลล์

21

2. การสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศ เป็นการสืบพันธุ์ท่ีอาศัยเซลล์สืบพันธุ์ 2 ชนิด ซ่ึงจะไม่ยุ่งยากและ
ซบั ซอ้ นเหมือนในส่ิงมี ชวี ิตช้นั สงู ตลอดจนเซลลส์ ืบพนั ธุ์ในกรณีของยีสต์ยังไมส่ ามารถแบ่งแยกออกอย่างเด่นชัด
ว่าเป็นเพศผู้หรือเพศเมีย ดังน้ัน จึงแบ่งเรียกว่า a และ a การสืบพันธ์ุแบบมีเพศของยีสต์นี้แบ่งออกได้ เป็น 2
กลุ่มใหญ่ๆ คอื

* ในกลุ่มแอสโคไมซีติส สปอร์ของการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศจะเกิดในโครงสร้างท่ีมีลักษณะ
คล้ายถุงที่เรียกว่า “แอสคัส” (ascus) ส่วนใหญ่จะมีปริมาณต้ังแต่ 1 ถึง 4 สปอร์ แต่ก็มีบางสายพันธุ์จะมี
ปริมาณสปอรต์ ัง้ แต่ 8 ถงึ 16 สปอร์ ซึ่งไม่มากนัก ไดแ้ ก่ ยสี ตใ์ นกลมุ่ Lipomyces

* ในกลุ่มเบสิดโิ อไมซตี สิ สปอรข์ องการสืบพันธ์ุแบบอาศยั เพศ จะเกดิ อยู่ในโครงสร้าง ทเ่ี รยี กว่า
เบสิเดยี ม (basidium)

การจัดจาแนกชนิด

การจัดกลุ่มและจาแนกชนิดของยีสต์ อาศัยคุณสมบัติทางกายภาพ เคมี และโภชนาการที่แตกต่างกัน
ดงั น้ี

1. รูปร่างลกั ษณะของเซลล์ เช่น รปู กลม รูปรี รปู ทรงกระบอก สามเหล่ยี ม เสน้ ใย
2. ลกั ษณะการสืบพนั ธุ์ แบง่ ออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้

* ลกั ษณะการสบื พนั ธ์ุแบบไมอ่ าศัยเพศ เช่น การแตกหน่อ (budding) และแบ่งเซลล์เปน็
2 ส่วน (fission)

* ลักษณะการสบื พันธ์ุแบบอาศยั เพศ เชน่ ลกั ษณะรูปร่างของสปอร์
3. ความต้องการอาหาร ชนิดของน้าตาล ชนดิ ของแหล่งอาหารไนโตรเจนในการดารงชวี ิต เป็นต้น
4. ชนดิ ของน้าตาลทส่ี ายพันธ์ยุ สี ต์หมกั ได้ (fermentedsugar)

22

3.3.2 รา (Mold)

ราจัดอยู่ในพวกเห็ดราเชน่ เดียวกับยีสต์ ราไม่สามารถสังเคราะห์แสงไดต้ ้องอาศัยอาหารจากสิ่งอ่ืน เช่น
ซากพชื ซากสตั ว์ พืชหรอื สิ่งท่ีมีชีวิตอยู่ จึงเปน็ สาเหตขุ องโรคต่าง ๆ ได้ ปกตเิ ซลล์มีลักษณะเป็นเส้นใย ที่เรียกว่า
hypha ถ้าอยู่รวมกันมาก ๆ เรยี กวา่ mycelium ราเสน้ ใย เปน็ จุลินทรีย์ท่ีมกี ารพัฒนามาดารงชีวติ อยู่ในสภาพ
หลายเซลล์ (Multicellular) โดยส่วนใหญ่จะมีลักษณะการเจริญเป็นเส้นใย (Hyphae) ซ่ึงอาจมีผนังกั้น
(Septate Hypha) หรือไม่มีผนงั ก้นั (Non Septate Hypha หรอื Coenocytic Hypha)

การสืบพันธ์ุ

เช้อื ราเป็นจลุ นิ ทรีย์ทมี่ ีความหลากหลาย มคี วามแตกต่างกนั มากในดา้ นขนาดรูปรา่ งของโครงสร้างและ
ระบบการสืบพันธ์ุ โดยทั่วไปเช้ือรามีการสืบพันธุ์ด้วยการสร้างสปอร์ ซึ่งมีทั้งสปอร์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual
Spores) และสปอร์แบบอาศัยเพศ (Sexual Spores) ราสืบพันธ์ุโดยการสร้างสปอร์ มี 2 แบบ คือ แบบอาศัย
เพศและแบบไมอ่ าศยั เพศ

1) การสบื พนั ธแ์ุ บบไม่อาศัยเพศ
เปน็ การสร้างสปอรท์ ่ีไม่มกี ารรวมนิวเคลยี ส จานวนนิวเคลียสในสปอรจ์ ะเท่ากบั เซลลป์ กติ

สปอร์แบบไมอ่ าศัยเพศ ได้แก่
- สปอแรงเจียม (Sporangium) เปน็ สปอรท์ ่มี ีโครงสรา้ งห่อหมุ้
- คอนเิ ดยี (conidia) เปน็ สปอรท์ ี่ไม่มโี ครงสร้างหอ่ หุ้ม อย่เู ป็นอิสระ
- ซูโอสปอร์ (Zoospore) มีแส้เซลล์ สามารถเคล่ือนท่ใี นน้าได้
- อะพลาโนสปอร์ (Aplanospore) ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้
- บลาสโตสปอร์ (Blastospore) เปน็ สปอร์ผนังบางเกดิ จากแตกหน่อบนเส้นใย
- คลามัยโดสปอร์ (Chlamydospore) เปน็ สปอร์ผนงั หนา
- อารโ์ ทสปอร์ หรือออยเดียร์ (Arthospore, oidia) เกิดจากเส้นใยแบง่ เปน็ ทอ่ น ๆ

2) การสืบพนั ธุแ์ บบอาศัยเพศ เปน็ การสร้างสปอรโ์ ดยมกี ารรวมนวิ เคลยี ส ไดแ้ ก่
- โอโอสปอร์ (oospore) เกิดจากการปฏิสนธริ ะหว่างตวั อสจุ ิกบั ไข่ของรา
- ไซโกสปอร์ (Zygospore) มีผนังหนา เกิดจากปลายเส้นใยของเชื้อราเพศผู้มาพบกับปลาย

เส้นใยของเชื้อราเพศเมยี ทาใหเ้ กดิ การรวมกันของนวิ เคลียส
- แอสโคสปอร์ (Ascospore) เกิดภายในถงุ หุม้ ทีเ่ รียกวา่ แอสคสั (Ascus)
- เบสดิ ิโอสปอร์ (Basidiospore) เปน็ สปอร์ทีพ่ บในเห็ดชนิดตา่ งๆ

สัณฐานวทิ ยาของฟังไจ

ฟงั ไจ มีทั้งชนิดทีเ่ ปน็ เซลล์เดยี วหรือหลายเซลล์ ซ่ึงเซลลจ์ ะเรยี งตวั กันอยู่ในแนวเดยี วกนั มีลักษณะเป็น
เส้นใย พวกเซลล์เดียว ได้แก่ ยีสต์ ส่วนพวกเป็นเส้นใย ได้แก่ รา ขนาดของฟังไจ มีต้ังแต่ 5-50 ไมครอน จนถึง
มองเห็นดว้ ยตาเปล่า ฟังไจโดยท่ัวไปมที ลั ลัส ประกอบด้วยเส้นใยเลก็ ๆ ทีม่ องไมเ่ ห็นด้วยตาเปลา่ เสน้ ใยแต่ละ

23

เส้นเรียกว่า hypha ถา้ hypha รวมกันอย่มู าก ๆ เรียก mycelium เซลลข์ องราและยสี ต์แตล่ ะเซลลม์ ีผนงั เซลล์
เป็นสารพวกเซลลูโลส หรือ chitin กับเซลลูโลส นอกจากน้ียังมีสารอื่นๆ แตกต่างกันไปในแต่ละชนิด ภายใน
เซลล์ของรามีนิวเคลียส 1 อันหรือมากกว่า ตามปกติการดูเซลล์ของราด้วยกล้องจุลทรรศน์จะไม่เห็นนิวเคลียส
เนื่องจากมขี นาดเลก็ และโปรง่ แสง ต้องใช้วิธยี อ้ มสจี งึ จะเห็นชัดเจนขนึ้

เส้นใยของรามี 2 ชนดิ คือ
1. เสน้ ใยไม่มผี นังกั้น (non septate hypha) ทาใหเ้ ปน็ ท่อทะลตุ อ่ ถงึ กนั ตลอด มีไซโต-

พลาสซึมและนิวเคลียสอยู่ต่อเนื่องกัน เรียกว่า coenocytic hypha ราชนิดน้ีเม่ือมีอายุมากหรือสภาพไม่
เหมาะสมอาจสรา้ งผนังกน้ั ข้นึ ได้

2. เสน้ ใยมผี นงั กน้ั (septate hypha) แต่ละตอนของเสน้ ใยมีผนังกน้ั ลกั ษณะดูเป็นห้อง ๆ
แต่ละหอ้ งมนี วิ เคลยี สและไซโตพลาสซึม

ลกั ษณะของเสน้ ใยสามารถนาไปใชใ้ นการจาแนกราเปน็ หมวดหมู่

ก. เสน้ ใยไม่มผี นงั กน้ั ข. เสน้ ใยมีผนงั ก้ัน

แอคติโนมัยซิท (Actinomycetes) เป็นจุลินทรีย์จาพวกเซลล์เด่ียวที่มีลักษณะคล้ายคลึงท้ังแบคทีเรีย
และเชื้อรา โดยมีขนาดเล็กคล้ายแบคทีเรีย แต่มีการเจริญเป็นเส้นใยและสร้างสปอร์คล้ายเชื้อรา มีเส้นใยที่ยาว
เรียวและอาจจะแตกสาขาออกไปเส้นใยเรียกว่า Hyphae หรอื Filaments

24

3.4 สาหร่าย ( Algae )

สาหร่ายเป็นพืชช้ันต่าที่มีโครงสร้างแบบง่าย ๆ ไม่มีรูปร่างที่แน่นอนว่าส่วนใดเป็นราก ลาต้น ใบ ดอก
เรยี กลกั ษณะน้วี ่า ทลั ลสั (Thallus) พบทั่วไปในทะเล แม่น้า ดนิ หิน ตน้ ไม้ ลาตวั สตั ว์ บางชนดิ พบในน้าพุร้อน
อุณหภูมิสูงถึง 90 องศาเซลเซียส ใช้ประโยชน์นามาทาอาหาร มีโปรตีนสูง ช่วยในการปรับปรุงอนุรักษ์ดินและ
รกั ษาสภาวะแวดล้อมสมดลุ ธรรมชาติ

สญั ฐานวิทยาของสาหร่าย

สาหร่ายมีรูปร่างหลายแบบอาจเป็นเซลล์เด่ียว รูปร่างกลม ท่อน สาย หรือหลายเซลล์ต่อกันเป็นกลุ่ม
ขนาดของเซลล์เลก็ 0.5 - 2.5 ไมครอน บางชนิดเซลลต์ ่อกันยาวกวา่ 100 ฟุต บางชนิดมีผนังเซลล์แข็งแรง เช่น
ไดอะตอม

อวัยวะในการเคล่อื นที่
สามารถบางชนดิ สามารถเคลอ่ื นท่แี บบอมบี า บางชนิดใชแ้ ส้เซลล์ หรือ แฟลกเจลลา

การสืบพนั ธ์ุ

1) การสบื พันธแ์ุ บบไม่อาศัยเพศ
- Binary fission แบง่ เซลลจ์ าก 1 เป็น 2 เชน่ Ceratium
- Fragmentation เกิดจากการหกั หรือขาดเป็นท่อนๆ ของทลั ลัส เช่น Oscillatoria ,

Ulotrix
- Sporulation เป็นการสร้างสปอร์ภายในเซลล์ เช่น Anabaena , Nostoc

2) การสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศ เป็นการรวมกันของเซลล์สืบพันธ์ุเพศผู้และเพศเมีย ปฏิสนธิเป็นไซโกต
เรียกวา่ Zygospore

การจาแนกหมวดหมู่
สาหรา่ ย ทีม่ ขี นาดเลก็ สามารถแบ่งสาหร่ายออกเปน็ กลมุ่ ๆ ได้ 3 กล่มุ ดังนี้

1. ดิวิชัน ไพร์โรไฟตา (Division Pyrophyta) สาหร่ายในกลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะเป็นเซลล์เดียว
พบทั้งในน้าจืดและน้าเค็ม ในทะเลบางคร้ังจะเกิดปรากฏการณ์ น้าทะเลเปล่ียนสี ส่วนใหญ่จะเกิดจากสาหร่าย
ในกลุ่มนี้เจริญเติบโตและเพิ่มจานวนมากผิดปกติ (water boom) ซึ่งชาวทะเลเรียกว่า ข้ีปลาวาฬ สาหร่ายสนี า้
เงิน แกมเขียว (Blue green algae) ดิวชิ น่ั ไซยาโนไฟตา (Cyanophyta)

สาหร่ายสีน้าเงินแกมเขียว (Blue-green algae) เป็นพืชชั้นต่า จัดรวมอยู่พวกเดียวกับแบคทีเรีย แต่มี
คณุ สมบตั ิท่ีแตกตา่ งออกไปคือ มีคลอโรฟลิ ล์ เอ ทาใหส้ ามารถสังเคราะห์แสงได้ และมอี อกซเิ จนเกิดขนึ้ จากการ
สังเคราะห์แสงอีกด้วย สาหร่ายกลุ่มนี้สามารถตรึงไนโตรเจนได้ และอาจข้ึนรวมอยู่กับส่ิงมีชีวิตชนิดอื่นได้ทั้งพืช
และสตั ว์ การตรงึ ไนโตรเจนของสาหร่าย สีน้าเงนิ แกมเขียวเกิดขน้ึ ได้ทัง้ ในภาวะทอี่ ยเู่ ปน็ อสิ ระ หรอื ในภาวะทอ่ี ยู่

25

ร่วมกับส่ิงมีชีวิตอื่น ผลที่ได้จากการตรึงไนโตรเจน คือแอมโมเนีย สาหร่ายพวกน้ีไม่มีคลอโรพลาสต์ ดังนั้น
คลอโรฟลิ ลจ์ ึงกระจายอยูท่ ว่ั ไปในเซลล์ เชน่ Anabaena, Nostoc, Oscillatoria

ลกั ษณะสาคญั ของ สาหรา่ ยสนี าเงนิ แกมเขยี ว

1. สารสีสาหรบั สังเคราะห์แสง (Photosynthetic pigments) ประกอบดว้ ย

- คลอโรฟลิ ล์ ได้แก่ คลอโรฟิลล์ เอ
- แคโรทนี อยด์ ประเภท แคโรทีน ได้แก่ เบต้า-แคโรทนี

- ไฟโคบโิ ลโปรตนี ได้แก่ ซี-ไฟโคไซยานนิ
2. สาหร่ายสีนา้ เงินแกมเขยี วทุกชนดิ ไม่มีหนวด (flagella) มกี ารเคลื่อนทแี่ บบเลือ่ นไหล
3. ผลผลิตจากการสังเคราะห์แสง (photosynthetic product) เป็นสารจาพวกแป้ง คือ ไซยาโนไฟ
เซียน (cyanophycean starch)

2. ดิวิชัน คลอโรไฟตา (Division Chlorophyta) สาหร่ายในกลุ่มน้มี ชี ือ่ เรยี กทัว่ ไปว่า
สาหรา่ ยสเี ขยี ว จดั เป็นกลมุ่ ทใ่ี หญท่ ีส่ ดุ พบทงั้ ในน้าจดื นา้ เค็ม และน้ากร่อย บางชนดิ ลอยตามผวิ นา้ บางชนิด
เกาะกบั พืชอืน่ หรือก้อนหนิ บางชนดิ อาศัยอยใู่ นเซลล์ส่งิ มชี วี ติ อน่ื เชน่ ในโปรโตซัว ไฮดรา หรอื ฟองน้า ใน
แหลง่ น้ธรรมชาติ บางครง้ั จะพบว่าน้ามีสีเขยี วเข้มเกดิ ข้ึน สาหรา่ ยสีเขยี วทพี่ บบ่อย ได้แก่ คลามายโดโมแนส
(Chlamydomonas), คลอเรลลา (Chlorella), โอโอซีสทีส (Oocystis) และ ซนี ีเดสมสั (Scenedesmus)

ลักษณะสาคัญ

1. สารสีสาหรับการสังเคราะหแ์ สง ประกอบดว้ ย

- คลอโรฟิลล์ เอ บี

- แคโรทนี อยด์ ประเภท แคโรทนี ได้แก่ alfa, beta และ gamma แคโรทีน

- แซนโธฟลิ ล์
2. สาหร่ายสีเขียวส่วนใหญ่สะสมอาหาร คือ แป้ง ซึ่งประกอบด้วย อะไมโลส
(amylose) และ อะไมโลเพคตนิ (amylopectin)

3. ดิวิชั่น โครโมไฟตา (Division Chromophyta) กล่มุ ทีม่ ีประโยชน์ทางเศรษฐกิจมาก
คือ ไดอะตอม เน่ืองจากการตายทับถม กันของพวกไดอะตอมเป็น เวลานาน จนกลายเป็นไดอะตอมมาเชียส
เอิร์ท (diatomaceous earth) ซึ่งมีประโยชน์ในด้านอุตสาหกรรมต่าง ๆ มากมาย เช่น ยาขัดเครื่องเงิน เคร่ือง
ทองเหลือง ใช้ในการฟอกสี และเป็นฉนวน เช่น Dinobryon, Chrysocapsa, Chrysamoeba และท่ีพบมาก
ในบ่อเลี้ยงกุ้ง เป็นอาหารหลักสาหรับ อนุบาลลูกกุ้งวัยอ่อน ได้แก่ สเกลีโตนีมา(Skeletonema) คีโตเซอรอส
(Chaetoceros) เตตรา้ เซลมสี (Tetraselmis)

26

ลักษณะสาคัญ
1. สารสีหลัก ประกอบดว้ ย คลอโรฟลิ ล์ เอ และซี สารสปี ระกอบ ไดแ้ ก่

- แคโรทนี
- แซนโธฟิลล์
- ไฟโคบโิ ลโปรตนี
ปริมาณของแคโรทีนอยด์ และแซนโธฟิลล์มมี ากกว่า คลอโรฟิลล์ ดังน้ัน สีของไดอะตอมจึงมีสี
เหลอื ง เหลืองแกมเขยี ว ไปจนถึงสีนา้ ตาลอ่อน นา้ ตาลอมทอง และนา้ ตาลเขม้
2. อาหารสะสม ได้แก่ ไขมัน (fat) และแป้ง ในรูปของเหลวท่ีเรียกว่า คริโซลามินาริน
(Chrysolaminarin)

3. ผนังเซลล์ของไดอะตอมประกอบดว้ ย เพคติน และซลิ ิกา

แพลงค์ตอนพืชที่สาคัญในดิวิช่ัน โครโมไฟตานี้ อีกชนิดหน่ึง คือ ไดโนแฟลกเจลเลต พบ
ปริมาณมากรองจากไดอะตอม มีการดารงชีวิตแบบพืชโดยการสังเคราะห์แสง มีสารสีสาหรับสังเคราะห์แสง
ประกอบด้วย คลอโรฟิลล์ เอ และคลอโรฟิลล์ ซี แคโรทีนอยด์ และ แซนโธฟิลล์แพลงค์ตอนกล่มุ น้ี เป็นแพลงค์
ตอนท่ีก่อให้เกิดพิษ ไดโนแฟลกเจลเลต เม่ือเกิดการบลูม จะทาให้น้าทะเลเปลี่ยนเป็น สีน้าตาลแดง เรียก
ปรากฏการณน์ ีว้ ่า "red tide" หรือ ข้แี ดด ชนดิ ของไดโนแฟลกเจลเลต ท่กี ่อใหเ้ กดิ การบลูม ได้แก่ จมิ โนดเิ นียม
(Gymnodinium) ไดโนไฟซีส (Dinophysis) น็อคติลูกา (Noctiluca) อเล็กซานเดรียม (Alexandrium)
นอกจากน้ีไดโนแฟลเจลเลตยังทาให้เกิดการบลูมในน้าจดื ได้อีก ชนดิ ที่เป็นสาเหตุ ได้แก่ ซีราเตยี ม (Ceratium),
จมิ โนดเิ นียม (Gymnodinium) และเพอริดิเนียม(Peridinium) เปน็ ต้น

27

3.5 ไวรัส (Virus)

เป็นส่ิงมีชวี ติ ทจ่ี ัดอยู่ในอีกพวกหน่ึงต่างหาก ไมใ่ ชโ่ พรทสิ ตา (อาณาจกั รของสิ่งมีชีวติ เซลลเ์ ดยี ว) เพราะ
โครงสร้างยังไม่ครบถ้วนเป็นเซลล์

เป็นจุลินทรีย์ที่มีขนาดเล็กที่สุด มีลักษณะเป็นอนุภาค มีสารพันธุกรรมเป็น DNA หรือ RNA อย่างใด
อย่างหนง่ึ เป็นสาเหตขุ องโรคคน สัตว์ และพืช

สณั ฐานวทิ ยา

มรี ูปร่างหลายแบบ ได้แก่ เปน็ ทอ่ นตรง โคง้ งอ สเ่ี หลีย่ มผืนผ้า รปู ลกู บาศก์

ลักษณะสาคญั อนภุ าคท่ีสมบรู ณ์ของไวรสั เรียกว่า ไวริออน ( Virion ) ท่ปี ระกอบด้วย

- โมเลกลุ ของกรดนวิ คลอี กิ ( DNA หรอื RNA ชนดิ ใดชนดิ หนง่ึ เท่านนั้ ) เป็นเเกนกลาง ( core ) สว่ น
ใหญ่เป็นกรดนิวคลีอิกโมเลกุล เดี่ยวที่เป็นเส้นเด่ียวหรือเส้นคู่ก็ได้- มีเปลือกหุ้มเป็นโปรตีน หรือ ไลโปโปรตีน
หรอื ไกลโคโปรตีน เรยี กว่า เเคปซิด ( capsid ) ซง่ึ ประกอบดว้ ยหนว่ ยย่อยเรียกว่า เเคปโซเมอร์ ( envelope )

ขนาดเเละรูปรา่ งของไวรัส

28

- ไวรัสมีขนาดเล็กโดยทั่วไปมีขนาดเลก็ กวา่ 20 นาโนเมตร ไมส่ ามารถมองเหน็ ด้วยกลอ้ งจลุ ทรรศน์
ธรรรมดา นอกจากใช้กลอ้ งจุลทรรศน์อเิ ล็กตรอนท่มี กี าลงั ขยายสูงมาก

- รปู ร่างมหี ลายเเบบ เเตอ่ าจเเบง่ ได้เปน็ สามพวก ไดเ้ เก่
พวกท่ีมีรูปร่างหลายเหลี่ยมด้านเท่า ( isometric ) พวกรูปเเท่งหรือยาว ( rod shaped or
elongated )
พวกท่ีมหี ัวหางคลา้ ยลกู อ๊อด ( tadpolelike ) เช่น ไวรัสเเบคเทอรโิ อฟาจบางชนดิ

( bacteriophage )
- ไวรสั ขนาดเล็กทีส่ ุดคือ ไอโคซาดรอน ( icosahedrons ) ลักษณะเปน็ เหล่ยี ม 20 ด้าน ขนาดกว้าง

ประมาณ 18 - 20 นาโนเมตร
- ไวรสั ขนาดใหญท่ ีส่ ดุ เปน็ รปู เเทง่ อาจยาวหลายไมโครเมตร เเตก่ ว้างไมเ่ กนิ 100 นาโนเมตร ซงึ่ กย็ ัง

มองไม่เห็นด้วยกล้องจลุ ทรรศน์ธรรมดา
การสบื พันธุ์

ไวรัสไม่สามารถสืบพันธ์หุ รือทวีจานวนเป็นอิสระไดด้ ว้ ยตวั เอง จะตอ้ งอาศัยขบวนการเมทาบอลิซึมของ
เซลล์ที่ใหอ้ าศยั ทาใหเ้ กดิ โรคกบั คน สัตว์ และพืช

29

การจาลองตัวเองของไวรสั

- ไวรัสไมม่ เี มทาบอลิซึมของตัวเอง ไมม่ ีเอนไซม์เเละสารต้งั ตน้ สาหรับปฏิกิรยิ าต่าง ๆ จาเป็นตอ้ ง
ดารงชีวิตเเบบปรสิตภายในเซลล์ ( Obligate intracellular parasites ) ไวรัสจาลองตัวเองได้เมื่ออาศัยอยู่ใน
เซลล์เจ้าบ้าน

- สามารถอาศัยอยู่ในเซลลข์ องสง่ิ มีชีวิตเเทบทุกชนิด ทง้ั คน สตั ว์ พชื เเบคทีเรีย เเละเห็ดรา
- เม่ืออยูภ่ ายนอกเซลล์ ไวรัส มสี ภาพเพียงสารโมเลกลุ ใหญท่ ่ีไม่มีชวี ิต
- เมอ่ื ไวรสั เขา้ สู่เซลล์ เปลือกห้มุ ไวรสั ถูกย่อยโดยเอนไซม์ของเซลล์ กรดนวิ คลอี กิ ของไวรัส ( RNA หรือ
DNA ) เข้าไปเกาะติดกับไรโบโซมของเซลล์ เพื่อกาหนดให้สร้างโปรตีนของไวรัส ข้ึนพร้อม ๆ กับกรดนิวคลีอิก
ของไวรสั มีการจาลองตวั เอง ประกอบเป็นไวรสั อนภุ าคใหมเ่ กิดข้นึ
- ไวรัสที่เกิดข้ึนใหม่อาจถูกปล่อยออกมาพร้อมกับเซลล์เจ้าบ้านถูกทาลายไป หรืออาจเกิดหน่อของ
ไวรัสอาจจาลองตัวเองอยูใ่ นเซลลโ์ ดยไม่ทาใหเ้ กดิ อันตรายเเกเ่ ซลลเ์ จา้ บา้ น

ไวรัสเป็นจุลินทรีย์ที่มีบทบาทสาคัญต่อมนุษย์ เพราะมนุษย์เป็นผู้ให้อาศัยท่ีดีของไวรัสต่าง ๆ ปัจจุบัน
วงการแพทย์กาลังค้นคว้าอย่างรีบเร่งเพื่อหาวิธีควบคุมไวรัสให้ได้ เนื่องจากเป็นสาเหตุของโรคท่ีสาคัญร้ายแรง
ได้แก่โรคเอดส์ ซ่ึงเป็นโรคทแ่ี พร่ระบาดอยา่ งรวดเร็วและยงั ไม่มียาใด ๆ รกั ษาให้หายได้


Click to View FlipBook Version