The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบความรู้ที่ 6.2 อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และแนวทางการป้องกัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Saisuda Pamaungmoon, 2019-09-13 02:46:44

ใบความรู้ที่ 6.2 อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และแนวทางการป้องกัน

ใบความรู้ที่ 6.2 อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และแนวทางการป้องกัน

ใบความรทู ่ี 6.2 อาชญากรรมคอมพวิ เตอรและแนวทางการปอ งกัน
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง31241) เวลา 2 คาบ ครูผสู อน นายประทนิ ทบั ไทร
1. อาชญากรรมคอมพิวเตอร
โลกปจ จุบันเปนยคุ ของเทคโนโลยีสารสนเทศหรอื ทเี่ รยี กวา ยุคไอที ซง่ึ เทคโนโลยสี ารสนเทศเขามามีบทบาท
และมคี วามสําคัญตอชวี ติ ประจําวันของมนษุ ยใ นหลายดาน เชน การติดตอ สอ่ื สาร การซ้อื ขายแลกเปลยี่ นสินคาและ
บรกิ าร การแลกเปลยี่ นขอมูลขาวสาร เปนตน นอกจากจะมีผลดแี ลว แตก ็ยังเปน ชองทางหนึง่ ใหม จิ ฉาชพี เขามา
แสวงหาประโยชนอยา งผิดกฎหมาย หรือทําใหเกดิ ปญหาการขยายตวั ของอาชญากรรมขามชาติ รวมถงึ อาชญากรรม
รปู แบบใหม ทีม่ ีความซอน ซึ่งเรยี กวา ‘’ อาชญากรรมคอมพวิ เตอร ‘’ ซึ่งในปจจบุ นั ถอื เปนปญ หาทางสังคมอยา งหนง่ึ
ที่กาํ ลังเพมิ่ ความรนุ แรงและสรางความเสยี หายแกส งั คมทวั่ ไป
1.1 ความหมายของอาชญากรรมคอมพิวเตอร
1. การกระทาํ ใด ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ งกบั การใชค อมพิวเตอร ซงึ่ ทาํ ใหผ ูอ ่ืนไดรบั ความเสียหาย ในขณะเดียวกันกท็ าํ
ใหผูกระทําความผดิ ไดร บั ประโยชน เชน การลกั ทรัพยอ ุปกรณคอมพิวเตอร เปนตน
2. การกระทาํ ใด ๆ ท่ีเปนความปดทางอาญา ซึ่งจะตองใชความรูเก่ียวกบั คอมพวิ เตอรในการกระทําความผดิ
น้ัน เชน การบิดเบอื นขอมูล (Extortion) การเผยแพรรปู อนาจารผเู ยาว (child pornography) การฟอกเงิน
(money laundering) การฉอ โกง (fraud) การถอดรหัสโปรแกรมคอมพิวเตอร โดยไมไดร ับอนญุ าต เผยแพรใหผูอื่น
ดาวนโ หลด เรยี กวา การโจรกรรมโปรแกรม (software Pirating) หรอื การขโมยความลบั ทางการคาของบริษัท
(corporate espionage) เปนตน
1.2 ประเภทของอาชญากรรมคอมพวิ เตอร
ปจ จุบันอาชญากรรมคอมพวิ เตอรท ่ีเกิดข้นึ มีหลากหลายรูปแบบ ทม่ี ีผลกระทบตอ ความปลอดภยั ของชีวติ และ
ระบบเศรษฐกิจของประเทศ ซ่งึ แบง ได 9 ประเภท ดังน้ี
1) อาชญากรรมทเี่ ปน การขโมย โดยขโมยจากผใู หบ ริการอนิ เทอรเน็ต (internet service provider) หรือผู
ท่เี ปนเจาของเว็บไซตใ นอนิ เทอรเน็ต รวมถงึ การขโมยขอมลู ของหนวยงานหรอื องคกรตา ง ๆ เพ่ือใชป ระโยชนใ นการ
ลกั ลอบใชบ ริการ เชน การขโมยขอ มลู เกี่ยวกบั บัญชผี ใู ชจ ากผใู หบ ริการอนิ เทอรเ น็ตเพ่อื ใชบ ริการอนิ เทอรเ น็ตฟรี เปน
ตน
2) อาชญากรรมที่ใชการสอื่ สารผา นเครอื ขายคอมพวิ เตอร เพื่อนํามาใชขยายความสามารถในการกระทาํ
ความผิดของตน รวมไปถึงการใชค อมพวิ เตอรปกปด หรอื กลบเกลื่อนการกระทาํ ของตนไมใหผ ูอ ื่นลวงรู ดว ยการตง้ั รหสั
การส่อื สารข้นึ มาเฉพาะระหวา งหมูอาชญากร ดวยกันซึ่งผอู ่นื มาสามารถเขาใจได เชน อาชญากรคายาเสพติดใชอ ีเมล
ในการติดตอ ส่อื สารกับเครือขา ยยาเสพติด เปนตน
3) การละเมดิ ลขิ สิทธิแ์ ละการปลอมแปลง เชน การปลอมแปลงเชค็ การปลอมแปลงสือ่ มัลตมิ ีเดีย รวมถงึ
การปลอมแปลงโปรแกรมคอมพวิ เตอร เปน ตน
4) การใชค อมพวิ เตอรเ ผยแพรภาพน่ิงหรอื ภาพเคลื่อนไหว ลามกอนาจาร รวมถึงขอ มูลทม่ี ีผลกระทบทางลบ
ตอวฒั นธรรมของแตละสงั คม ตลอดจนขอมลู ทไ่ี มส มควรเผยแพร เชน วธิ กี ารกอ อาชญากรรม สูตรการผลิตระเบดิ
เปน ตน

5) การฟอกเงนิ ทางอิเลก็ ทรอนิกส โดยใชอุปกรณคอมพิวเตอร และการสอื่ สารเปนเครอ่ื งมือ ทําใหสามารถ
เปลี่ยนทรัพยส นิ ท่ีไดจ ากการประกอบอาชีพผดิ กฎหมาย เชน การคายาเสพติด การคาอาวธุ เถอื่ น ธุรกิจสนิ คา หนภี าษี
การเลนพนัน การละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิ การปลอมแปลงเงินตรา การลอ ลวงสตรแี ละเดก็ ไปคาประเวณี เปนตน ใหม าเปน
ทรพั ยส ินทถ่ี ูกกฎหมาย

6) อนั ธพาลทางคอมพวิ เตอรแ ละผูก อ การราย ซึ่งมีวัตถุประสงคตัง้ แตการรบกวนระบบจนกระทัง่ การสราง
คมเสยี หายใหก บั ระบบโดยการเขา ไปในเครอื ขา ยคอมพวิ เตอร แลว ทาํ ลาย ตดั ตอ ดัดแปลงขอ มูลหรือภาพ เพือ่
รบกวนผูอนื่ สง่ิ ที่นากลัวท่ีสุด คอื การเขา ไปแทรกแซงทาํ ลาย ระบบเครอื ขา ยของสาธารณปู โภค เชน การจายน้ํา การ
จายไฟ การจราจร เปนตน

7) การหลอกคาขายลงทนุ ผา นทางเครอื ขา ยคอมพิวเตอร เชน การประกาศโฆษณา การชกั ชวนใหเร่มิ ลงทนุ
แตไมไดม กี จิ การเหลา นัน้ จริง เปนตน

8) การแทรกแซงขอ มูลโดยมชิ อบ โดยการนาํ เอาขอมูลเหลานนั้ มาเปน ประโยชนตอ ตน เชน การเจาะผาน
ระบบอนิ เทอรเ น็ตเขาไปแลวแอบลว งความลบั ทางการคา การดกั ฟงขอมลู เพอ่ื นํามาเปน ประโยชนต อ กจิ การของตน
เปนตน

9) การใชเทคโนโลยีคอมพวิ เตอรด ดั แปลงขอมูลบัญชีธนาคาร หรือการโอนเงนิ จากบัญชหี นึง่ เขาไปอกี บัญชี
หนงึ่ โดยท่ีไมมีการเปลย่ี นถายทรัพยสินกนั จริง
1.3 ปญหาท่ีเก่ียวขอ งกับการปอ งกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร

1) ความยากงายในการตรวจสอบ วาอาชญากรรมจะเกดิ ข้ึนเมอื่ ใด ท่ใี ด อยา งไร ทาํ ใหเกดิ ความยากลําบาก
ในการปองกนั

2) การพิสจู นก ารกระทาํ ผิดและการตามรอยของความผดิ โดยเฉพาะอยางย่งิ ความผดิ ทเี่ กิดขน้ึ โดยผานระบบ
อนิ เทอรเ น็ต ตัวอยา งเชน การทีม่ ีผเู จาะระบบเขา ไปฐานขอมูลของโรงพยาบาล และแกไขโปรแกรมการรกั ษาพยาบาล
ของผูปว ย ทาํ ใหแ พทยรกั ษาผดิ วิธี ซงึ่ ตํารวจไมสามารถสบื ทราบและพสิ จู นไ ดว า ใครเปน ผกู ระทําความผิด

3) ปญหาการรับฟง พยานหลกั ฐาน ซึง่ จะมลี ักษณะแตกตาง ไปจากหลกั ฐานของคดอี าชญากรรม แบบ
ธรรมดาอยางส้นิ เชิง

4) ความยากลาํ บากในการบงั คบั ใชก ฎหมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งอาชยากรรมเหลาน้มี ักเปน อาชญากรรมขาม
ชาติ ซ่ึงกฎหมายของแตล ะประเทศอาจครอบคลุมไปไมถึง

5) ปญหาความไมร เู ก่ียวกบั เทคโนโลยใี หม ๆ ของเจาพนักงาน หรอื เจาพนักงานดังกลา วมงี านลน มอื โอกาส
ทีจ่ ะศกึ ษาเทคนคิ หรอื กฎหมายใหม ๆจงึ ทําไดน อย

6) ความเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยสี มัยใหม ซ่งึ เปลีย่ นแปลงรวดเรว็ มากจนหนว ยงานที่รับผิดชอบตามไม
ทนั
1.4 แนวทางการปอ งกันและแกไขปญหาอาชญากรรมคอมพิวเตอร

1. มกี ารวางแนวทางและเกณฑในการรวบรวมพยานหลักฐาน เพอื่ ดาํ เนนิ คดอี าชญากรรมคอมพิวเตอรและ
ชว ยใหพนักงานสอบสวน พนกั งานอัยการทราบวาพยานหลักฐานเชนใดค วรนําเขาสูการพิจารณาของศาล จะไดล งทา
ผกู ระทําความผดิ ได

2. จดั ใหม ผี ูท ี่มคี วามรูความชาํ นาญในดานเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่ือเขา รว มเปน คณะทาํ งานในคดีอาชยา
กรรมคอมพิวเตอร เพ่อื ใหเ กดิ ประสทิ ธภิ าพในการดําเนินคดี

3. จัดต้งั หนวยงานทเ่ี กย่ี วกบั อาชญากรรมคอมพวิ เตอรโ ดยเฉพาะ เพ่ือใหมีเจาหนาทท่ี ี่มีความรคู วามชาํ นาญ
เฉพาะในการปราบปราม และการดาํ เนนิ คดีอาชญากรรมคอมพิวเตอร

4. บัญญตั ิกฎหมายเฉพาะเกีย่ วกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร รวมถึงแกไขเพิ่มเติมกฎหมายท่ีมีอยใู ห
ครอบคลมุ การกระทําอันเปนความผิดเก่ยี วกบั อาชญากรรมคอมพวิ เตอรทุกปะเภท

5. สง เสริมความรวมมอื กบั ตางประเทศ ทัง้ โดยสนธิสญั ญาเกีย่ วกบั ความรวมมือระหวางประเทศทางอาญา
หรอื โดยวธิ อี ืน่ ในการสบื สวนสอบสวนดาํ เนนิ คดี และการปราบปรามอาชญากรรมคอมพิวเตอร

6. เผยแพรค วามรูเกี่ยวกบั อาชญากรรมคอมพวิ เตอร ใหแ กผูใ ชคอมพวิ เตอร หนว ยงาน และองคกรตา ง ๆให
เขา ใจแนวคดิ และวิธีการ ของอาชญากรรมคอมพวิ เตอร เพือ่ ปอ งกนั ตนเองเปน เบ้อื งตน

7. สงเสริมจรยิ ธรรมในการใชคอมพิวเตอร ทั้งโดยการสรา งความรคู วามเขา ใจแกบ ุคคลท่วั ไปในการใช
คอมพวิ เตอรอ ยางถูกตอ ง โดยการปลูกฝง เด็กต้ังแตใ นวยั เรยี นใหเขาในกฎเกณฑ มารยาทในการใชคอมพวิ เตอร อยาง
ถูกวธิ แี ละเหมาสม
2. มารยาททั่วไปในการใชอินเทอรเ น็ต

1. ไมใ ชอนิ เทอรเน็ตเพือ่ การทาํ รา ยหรอื รบกวนผอู ่ืน
2. ไมใชอนิ เทอรเ น็ตเพอ่ื การทาํ ผิดกฎหมายหรือผิดศีลธรรม
3. ไมเ จาะระบบเครอื ขายอนิ เทอรเ น็ตของตนเองและผอู ่นื
4. ไมใชบัญชอี ินเทอรเ นต็ ของผอู ่ืนและไมใ ชเ ครือขายท่ไี มไ ดร บั อนุญาต
5. การติดตอ สอ่ื สารกับผอู ื่นบนเครอื ขายอินเทอรเน็ต ตอ งใหเกยี รตซิ ึง่ กันและกัน
แนวทางการปอ งกันอาชญากรรมทางคอมพวิ เตอรท ี่สามารถปฏิบตั ิไดงา ย ๆ มี 4 ขอ ดงั นี้
1. การปอ งกันขอมลู สวนตัว โดยการตั้งรหสั เขา ขอมูลชองไฟลข อมูลท่ีตอ งการปองกัน
2. การปองกันการเขา สรู ะบบคอมพิวเตอร เชน การใสชื่อ Username และ password, การใชสมารท การด
ในการควบคุมการใชงาน หรอื กญุ แจเพือ่ การปองกันการใชคอมพิวเตอรโดยไมไ ดร ับอนุญาต, การใชอปุ กรณท าง
ชวี ภาพ เชน ตรวจสอบเสียง ลายนวิ้ มอื ฝา มือ ลายเซน็ มา ยตา เปน ตน
3. การสํารองขอ มูล โดยไมเ ก็บขอมูลไวที่เดียว สามารถสํารองไวใ นอปุ กรณท่ีใชอา นอยางเดียว เชน แผน ซดี ี
และแผนวดี ีโอ
4. การตง้ั คาโปรแกรมคนหาและกําจัดไวรสั คอมพิวเตอร เปนการปองกันทนี่ ิยมใชก ันอยา งแพรหลาย
เน่อื งจากสามารถปองกันอาชญากรรมคอมพวิ เตอรไ ด


Click to View FlipBook Version