The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by itsaraporn.1998kwang, 2022-05-28 22:52:56

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จดั ทำโดย
นาวสาวอิศราภรณ์ คำภูแสน
รหัสนักศกึ ษา 645150120345 กลุ่มเรยี นที่ 2
หลกั สูตรประกาศนียบตั รบัณฑิต สาขาวิชาชพี ครู
คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นครพนม



คำนำ

แผนการจัดการเรียนรชู้ ื่อวชิ า วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว21101 น้ีมุ่งเน้นผูเ้ รยี นสามารถนำ
ความรไู้ ปใชใ้ นการดำรงชีวิตหรือศึกษาตอ่ ได้ โดยจดั เรยี งลำดบั ความยากงา่ ยของเนอื้ หาในแต่ละช้ันให้มีการเช่ือมโยง
ความรูก้ ับกระบวนการเรียนรู้ และการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผเู้ รียนพัฒนาความคิด ท้ังความคิดเป็นเหตุ
เป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่สำคัญทั้งทักษะกระบวนการทางวิทยา ศาสตร์และทักษะใน
ศตวรรษท่ี 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
ตัดสินใจโดยใชข้ ้อมูลหลากหลายและประจักษ์พยานทตี่ รวจสอบได้

การจดั ทำใหม้ กี ารพฒั นาเพ่ือใหเ้ หมาะสมกับผู้เรยี น โดยแบง่ เนื้อหาออกเป็น 3 หน่วยการเรยี นรู้
ประกอบด้วย

1. สารรอบตวั

2. หนว่ ยของสง่ิ มีชีวติ
3. การดำรงชวี ติ ของพชื

พรอ้ มทั้ง แบบฝึกหัด ใบงาน แบบทดสอบพรอ้ มเฉลย และส่อื การเรยี นการสอนตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้ผ้เู รยี น
ได้ฝึกทักษะในสถานการณ์ต่าง ๆ มีทกั ษะการคิดและแก้ปัญหา และบูรณาการกับการเรียนต่าง ๆ ต่อไป

ผู้จดั ทำหวังวา่ แผนการจัดการเรยี นรู้เล่มนีค้ งจะเป็นแนวทางและเปน็ ประโยชนต์ ่อผูเ้ รียน และผู้สนใจ
ทวั่ ไป หากมีขอ้ เสนอแนะประการใด ผู้จดั ทำยนิ ดนี ้อมรบั ไว้เพ่ือปรับปรงุ ในโอกาสต่อไป

ลงชอ่ื

(นางสาวอศิ ราภรณ์ คำภแู สน)
ครูผู้สอน

สารบญั ข

คำนำ หน้า
สารบัญ ก
ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง วิทยาศาสตร์ ข
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 สารรอบตัว 1
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 13
19

4

1

ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง วิทยาศาสตร์

สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบตั ิของสิ่งมีชวี ิต หน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชวี ิต การลำเลยี งสารผ่านเซลล์
ความสัมพนั ธ์ของโครงสรา้ ง และหน้าทข่ี องระบบตา่ ง ๆ ของสตั วแ์ ละมนษุ ยท์ ่ีทำงานสมั พันธ์
กัน ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ งและหน้าทขี่ องอวยั วะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสมั พนั ธ์กนั
รวมทัง้ นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์

ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.1 1. เปรยี บเทยี บรปู รา่ งและ • เซลล์เป็นหน่วยพืน้ ฐานของส่ิงมชี ีวิต ส่ิงมีชีวติ บางชนดิ มี

โครงสร้างของเซลล์พืชและสัตว์ เซลล์เพยี งเซลล์เดยี ว เช่น อะมบี า พารามเี ซยี ม ยีสต์ บาง

รวมทัง้ บรรยายหนา้ ทข่ี องผนงั ชนิดมหี ลายเซลล์ เช่น พืช สตั ว์

เซลล์ เยอ่ื หมุ้ เซลล์ ไซโทพลา • โครงสรา้ งพนื้ ฐานท่พี บทัง้ ในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ และ

ซึม นวิ เคลียส แวคิวโอล ไมโท สามารถสงั เกตได้ดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์ใชแ้ สง ได้แก่ เย่ือหมุ้

คอนเดรยี และคลอโรพลาสต์ เซลล์ ไซโทพลา-ซึม และนิวเคลยี ส โครงสรา้ งทพ่ี บในเซลล์

2. ใช้กล้องจุลทรรศน์ใชแ้ สงศกึ ษา พชื แตไ่ ม่พบในเซลล์สัตว์ ได้แก่ ผนังเซลล์ และคลอโรพ

เซลล์และโครงสรา้ งต่าง ๆ ลาสต์

ภายในเซลล์ • โครงสร้างตา่ ง ๆ ของเซลล์มหี นา้ ที่แตกตา่ งกนั

- ผนังเซลล์ ทำหน้าที่ให้ความแขง็ แรงแก่เซลล์

- เยอื่ หมุ้ เซลล์ ทำหนา้ ทีห่ อ่ ห้มุ เซลล์ และควบคุมการ

ลำเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์

- นิวเคลียส ทำหนา้ ที่ควบคุมการทำงานของเซลล์

- ไซโทพลาซมึ มอี อร์แกเนลล์ทท่ี ำหน้าท่ีแตกต่างกัน

- แวควิ โอล ทำหนา้ ทีเ่ ก็บนำ้ และสารต่าง ๆ

- ไมโทคอนเดรีย ทำหนา้ ท่ีสลายสารอาหารเพ่ือให้ได้

พลงั งานแก่เซลล์

- คลอโรพลาสต์ เป็นแหล่งท่ีเกดิ การสังเคราะหด์ ้วยแสง

3. อธบิ ายความสัมพันธ์ระหว่าง • เซลล์ของสง่ิ มชี วี ิตมรี ูปร่างลักษณะทหี่ ลากหลาย และมี
รปู รา่ งกบั การทำหน้าทีข่ อง ความเหมาะสมกับหนา้ ทขี่ องเซลล์นัน้ เช่น เซลล์ประสาท
เซลล์ สว่ นใหญ่มเี ส้นใยประสาทเปน็ แขนงยาว นำกระแส

2

ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ประสาทไปยังเซลล์อ่ืน ๆ ทีอ่ ยไู่ กลออกไป เซลลข์ นราก

เปน็ เซลลผ์ ิวของรากทม่ี ีผนงั เซลลแ์ ละเย่ือห้มุ เซลล์ยนื่ ยาว

ออกมา ลักษณะคลา้ ยขนเส้นเลก็ ๆ เพื่อเพ่มิ พ้ืนท่ีผวิ ใน

การดูดนำ้ และแรธ่ าตุ

4. อธิบายการจดั ระบบของ • พชื และสัตวเ์ ปน็ สิ่งมีชวี ติ หลายเซลลม์ ีการจดั ระบบ โดยเรม่ิ

สิ่งมชี ีวิต โดยเรม่ิ จากเซลล์ จากเซลลไ์ ปเป็นเน้ือเยอ่ื อวยั วะ ระบบอวยั วะ และส่ิงมชี วี ิต

เนอ้ื เยื่อ อวยั วะ ระบบอวัยวะ ตามลำดับ เซลล์หลายเซลลม์ ารวมกันเปน็ เนอ้ื เยือ่ เน้อื เย่อื

จนเปน็ ส่ิงมชี ีวติ หลายชนดิ มารวมกนั และทำงานร่วมกันเปน็ อวยั วะ อวัยวะ

ตา่ ง ๆ ทำงานร่วมกันเป็นสง่ิ มีชีวิต นอกจากนี้ในกระดูก ฟนั

และกลา้ มเนอ้ื จะมธี าตุเปน็ องคป์ ระกอบดว้ ย

5. อธบิ ายกระบวนการแพร่และ • เซลล์มีการนำสารเข้าสู่เซลล์เพื่อใช้ในกระบวนการตา่ ง ๆ

ออสโมซิส จากหลกั ฐานเชิง ของเซลล์ และมกี ารขจัดสารบางอยา่ งท่ีเซลล์ไมต่ ้องการ

ประจักษ์ และยกตัวอย่างการ ออกนอกเซลล์ การนำสารเข้าและออกจากเซลล์ มหี ลาย

แพร่และออสโมซิส ใน วิธี เชน่ การแพร่ เป็นการเคลอื่ นท่ีของสารจากบริเวณที่มี

ชีวติ ประจำวนั ความเข้มข้นของสารสูง ไปสู่บรเิ วณท่ีมคี วามเขม้ ข้นของ

สารต่ำ ส่วนออสโมซสิ เป็นการแพร่ของนำ้ ผา่ นเย่ือหมุ้ เซลล์

จากด้านทมี่ ีความเขม้ ขน้ ของสารละลายต่ำไปยังดา้ นท่มี ี

ความเข้มข้นของสารละลายสูงกวา่

6. ระบปุ จั จยั ที่จำเปน็ ในการ • กระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพืชทเี่ กดิ ขึน้ ในคลอ

สังเคราะหด์ ้วยแสงและผลผลิต โรพลาสต์ จำเป็นตอ้ งใชแ้ สง แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์

ทเ่ี กิดขึ้นจากการสงั เคราะห์ คลอโรฟลิ ล์ และนำ้ ผลผลิตท่ีไดจ้ ากการสงั เคราะหด์ ้วย

ดว้ ยแสง โดยใชห้ ลกั ฐานเชิง แสง ไดแ้ ก่ น้ำตาลและแก๊สออกซเิ จน

ประจักษ์

7. อธบิ ายความสำคญั ของการ • การสังเคราะห์ด้วยแสงเปน็ กระบวนการท่สี ำคญั ต่อ
สังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพืชตอ่ ส่งิ มีชีวติ เพราะเปน็ กระบวนการเดียวที่สามารถนำ
สง่ิ มีชีวิตและส่งิ แวดล้อม พลังงานแสงมาเปลี่ยนเป็นพลงั งานในรปู สารประกอบ
อนิ ทรียแ์ ละเกบ็ สะสมในรูปแบบตา่ ง ๆ ในโครงสร้างของ
8. ตระหนักในคณุ คา่ ของพืชที่มี พชื พชื จงึ เป็นแหล่งอาหารและพลังงานท่ีสำคญั ของ
ต่อสง่ิ มีชีวิตและส่งิ แวดลอ้ ม ส่งิ มชี วี ติ อนื่ นอกจากน้ีกระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงยงั
โดยการรว่ มกันปลกู และดแู ล
รักษาตน้ ไมใ้ นโรงเรยี น

3

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

เปน็ กระบวนการหลกั ในการสรา้ งแก๊สออกซเิ จนใหก้ ับ

บรรยากาศเพอ่ื ให้ส่ิงมชี ีวิตอืน่ ใชใ้ นกระบวนการหายใจ

9. บรรยายลกั ษณะและหนา้ ที่ • พชื มีไซเลม็ และโฟลเอม็ ซ่ึงเป็นเนื้อเยื่อมีลกั ษณะคล้ายทอ่
ของไซเลม็ และโฟลเอ็ม เรยี งตวั กันเปน็ กลุม่ เฉพาะที่ โดยไซเล็มทำหนา้ ท่ีลำเลียง
นำ้ และธาตุอาหาร มีทศิ ทางลำเลียงจากรากไปสลู่ ำต้น ใบ
10. เขียนแผนภาพที่บรรยายทิศ และส่วนต่าง ๆ ของพืช เพื่อใชใ้ นการสังเคราะหด์ ้วยแสง
ทางการลำเลียง สารในไซ รวมถงึ กระบวนการอ่ืน ๆ สว่ นโฟลเอม็ ทำหนา้ ท่ลี ำเลยี ง
เลม็ และโฟลเอ็มของพืช

อาหารทีไ่ ดจ้ ากการสังเคราะห์ดว้ ยแสง มที ิศทางลำเลียง

จากบริเวณที่มกี ารสังเคราะหด์ ้วยแสงไปสู่ส่วนตา่ ง ๆ ของ
พืช

11. อธิบายการสืบพนั ธแุ์ บบอาศัย • พืชดอกทุกชนิดสามารถสืบพนั ธุ์แบบอาศยั เพศได้ และบาง
เพศ และไม่อาศยั เพศของพืช ชนดิ สามารถสบื พันธ์แุ บบไมอ่ าศัยเพศได้
ดอก
• การสืบพันธ์ุแบบอาศยั เพศเปน็ การสบื พนั ธ์ุที่มีการผสมกัน
12. อธิบายลักษณะโครงสร้างของ ของสเปิร์มกับเซลล์ไข่ การสบื พันธุแ์ บบอาศัยเพศของพชื
ดอกทม่ี ีส่วนทำให้เกิดการถา่ ย ดอกเกิดขึ้นท่ดี อก โดยภายในอับเรณูของสว่ นเกสรเพศผมู้ ี
เรณู รวมท้งั บรรยาย การ เรณู ซง่ึ ทำหน้าที่สรา้ งสเปริ ม์ ภายในออวลุ ของส่วนเกสร
ปฏิสนธขิ องพืชดอก การ เพศเมยี มีถงุ เอ็มบรโิ อ ทำหนา้ ท่ีสรา้ งเซลล์ไข่
เกดิ ผลและเมล็ด การกระจาย
เมล็ด และการงอกของเมล็ด • การสืบพนั ธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เป็นการสืบพันธท์ุ ี่พืชต้นใหม่
ไม่ได้เกิดจากการปฏิสนธริ ะหว่างสเปริ ์มกับเซลลไ์ ข่ แต่เกดิ
13. ตระหนักถงึ ความสำคญั ของ จากส่วนต่าง ๆ ของพืช เช่น ราก ลำตน้ ใบ มีการ
สัตว์ ทช่ี ่วยในการถา่ ยเรณู เจริญเติบโตและพัฒนาขน้ึ มาเป็นตน้ ใหม่ได้
ของพชื ดอก โดยการไม่
ทำลายชวี ิตของสัตว์ ทช่ี ่วย • การถา่ ยเรณู คอื การเคล่ือนยา้ ยของเรณจู ากอับเรณูไปยัง
ในการถา่ ยเรณู ยอดเกสรเพศเมีย ซ่งึ เกย่ี วขอ้ งกับลกั ษณะและโครงสร้าง
ของดอก เช่น สีของกลบี ดอก ตำแหน่งของเกสรเพศผ้แู ละ

เกสรเพศเมยี โดยมีส่งิ ท่ชี ว่ ย ในการถ่ายเรณู เชน่ แมลง

ลม

• การถา่ ยเรณูจะนำไปสู่การปฏิสนธิ ซง่ึ จะเกดิ ขึ้นทถ่ี งุ เอ็มบริโอ
ภายในออวลุ หลงั การปฏิสนธจิ ะไดไ้ ซโกตและเอนโดสเปิรม์ ไซ
โกต จะพฒั นาต่อไปเป็นเอ็มบริโอ ออวุลพัฒนาไปเปน็ เมลด็

และรงั ไข่พฒั นาไปเป็นผล

4

ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

• ผลและเมลด็ มีการกระจายออกจากต้นเดิม โดยวิธีการตา่ ง
ๆ เม่อื เมล็ดไปตกในสภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมจะเกิดการ
งอกของเมล็ด โดยเอม็ บริโอภายในเมล็ดจะเจรญิ ออกมา
โดยระยะแรกจะอาศัยอาหารทส่ี ะสมภายในเมล็ด
จนกระท่ังใบแทพ้ ฒั นา จนสามารถสังเคราะห์ดว้ ยแสงได้
เต็มที่และสรา้ งอาหารไดเ้ องตามปกติ

14. อธบิ ายความสำคญั ของธาตุ • พืชต้องการธาตุอาหารท่ีจำเป็นหลายชนดิ ในการ

อาหารบางชนิดทมี่ ีผลต่อการ เจริญเติบโต และการดำรงชวี ิต

เจรญิ เตบิ โต และการดำรงชวี ติ • พืชต้องการธาตุอาหารบางชนิดในปริมาณมาก ได้แก่
ของพืช ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซียม แคลเซยี ม แมกนเี ซยี ม
15. เลือกใช้ปุ๋ยท่ีมธี าตอุ าหาร และกำมะถัน ซง่ึ ในดนิ อาจมีไมเ่ พียงพอสำหรบั การ
เหมาะสมกับพืชใน เจรญิ เติบโตของพชื จงึ ต้องมี การให้ธาตุอาหารในรูป
สถานการณ์ท่กี ำหนด ของปุย๋ กับพชื อยา่ งเหมาะสม

16. เลือกวิธีการขยายพนั ธ์ุพืชให้ • มนษุ ย์สามารถนำความรเู้ รอื่ งการสืบพันธุแ์ บบอาศัยเพศ
เหมาะสมกับความตอ้ งการของ และไม่อาศยั เพศ มาใช้ขยายพันธ์ุเพอ่ื เพิม่ จำนวนพชื เชน่

มนษุ ย์ โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ การใชเ้ มล็ดท่ไี ด้จากการสืบพนั ธแุ์ บบอาศยั เพศมาเพาะเลี้ยง

การสืบพนั ธุข์ องพืช วิธกี ารนจี้ ะไดพ้ ชื ในปรมิ าณมาก แตอ่ าจมีลกั ษณะที่แตกตา่ ง

17. อธิบายความสำคัญของ ไปจากพอ่ แม่ สว่ นการตอนกงิ่ การปักชำ การต่อกง่ิ การติด

เทคโนโลยี การเพาะเล้ยี ง ตา การทาบกิง่ การเพาะเล้ยี งเน้ือเยอื่ เป็นการ นำ

เนือ้ เยอ่ื พืชในการใช้ประโยชน์ ความรู้เรือ่ ง การสืบพันธแ์ุ บบไม่อาศัยเพศของพืชมาใชใ้ น

ดา้ นต่าง ๆ การขยายพันธุเ์ พือ่ ให้ไดพ้ ชื ท่ีมลี กั ษณะเหมือนต้นเดิม ซง่ึ

18. ตระหนกั ถึงประโยชนข์ องการ การขยายพนั ธ์แุ ตล่ ะวธิ ี มขี น้ั ตอนแตกต่างกัน จึงควรเลือก

ขยายพันธพุ์ ืช โดยการนำความรู้ ใหเ้ หมาะสมกบั ความต้องการของมนษุ ย์ โดยต้องคำนึงถึง

ไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ชนิดของพชื และลกั ษณะการสืบพันธ์ขุ องพชื

• เทคโนโลยกี ารเพาะเลยี้ งเนื้อเยื่อพชื เป็นการนำความรู้
เกย่ี วกบั ปัจจยั ที่จำเปน็ ต่อการเจรญิ เติบโตของพชื มาใช้ใน
การเพม่ิ จำนวนพชื และทำให้พืชสามารถเจริญเตบิ โตได้ใน
หลอดทดลอง ซ่งึ จะได้พืชจำนวนมากในระยะเวลาสั้น และ
สามารถนำเทคโนโลยกี ารเพาะเลี้ยงเนื้อเย่อื มาประยกุ ตเ์ พ่ือ

5

ชัน้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
การอนุรักษ์พนั ธกุ รรมพชื ปรับปรงุ พันธพุ์ ชื ท่มี ีความสำคัญ
ทางเศรษฐกิจ การผลิตยา และสาระสำคญั ในพชื และอืน่ ๆ

สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พันธร์ ะหว่างสมบตั ิของสสารกบั

โครงสร้างและแรงยึดเหนย่ี วระหวา่ งอนภุ าค หลกั และธรรมชาติของการเปลย่ี นแปลงสถานะ
ของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ม.1 1. อธบิ ายสมบัติทางกายภาพบาง • ธาตุแต่ละชนดิ มีสมบตั เิ ฉพาะตัว และมสี มบัตทิ าง

ประการของธาตโุ ลหะ อโลหะ และ กายภาพ บางประการเหมอื นกนั และบาง

ก่งึ โลหะ โดยใช้หลักฐานเชงิ ประการต่างกัน ซง่ึ สามารถนำมาจดั กลุ่มธาตุเปน็

ประจักษ์ที่ไดจ้ ากการสงั เกต และ โลหะ อโลหะ และกง่ึ โลหะ ธาตุโลหะมจี ุดเดอื ด จุด

การทดสอบ และใชส้ ารสนเทศท่ไี ด้ หลอมเหลวสงู มผี วิ มนั วาว นำความร้อน นำไฟฟ้า ดึง

จากแหลง่ ข้อมูลตา่ ง ๆ รวมท้ังจัด เป็นเส้นหรือตีเป็นแผ่นบางๆ ได้ และมคี วาม

กลมุ่ ธาตุเป็นโลหะ อโลหะ และกึ่ง หนาแนน่ ท้งั สงู และต่ำ ธาตอุ โลหะ มจี ุดเดือด จุด

โลหะ หลอมเหลวตำ่ มีผวิ ไม่ มนั วาว ไมน่ ำความรอ้ น ไม่

นำไฟฟา้ เปราะแตกหกั ง่าย และ มีความ

หนาแนน่ ต่ำ ธาตุกงึ่ โลหะมสี มบตั ิบางประการเหมอื น

โลหะ และสมบัติบางประการเหมอื นอโลหะ

2. วเิ คราะห์ผลจากการใช้ธาตุโลหะ • ธาตโุ ลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ ทส่ี ามารถแผร่ งั สไี ด้

อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตุ จดั เป็นธาตกุ มั มันตรังสี

กมั มนั ตรังสีทม่ี ีตอ่ สงิ่ มชี ีวิต

สง่ิ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสงั คม

จากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้

3. ตระหนักถงึ คุณค่าของการใชธ้ าตุโลหะ • ธาตุมที ัง้ ประโยชน์และโทษ การใชธ้ าตุโลหะ อโลหะ

อโลหะ กง่ึ โลหะ ธาตกุ ัมมันตรงั สี โดย ก่ึงโลหะ ธาตุกมั มันตรังสี ควรคำนึงถึงผลกระทบต่อ

เสนอแนวทางการใช้ธาตุอยา่ ง สิ่งมีชีวติ ส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม

ปลอดภัย ค้มุ คา่

4. เปรียบเทียบจุดเดือด จดุ • สารบรสิ ทุ ธ์ิประกอบดว้ ยสารเพียงชนดิ เดียว ส่วนสาร

หลอมเหลวของสารบริสทุ ธแิ์ ละ ผสมประกอบด้วยสารต้ังแต่ 2 ชนดิ ขน้ึ ไป สาร

6

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

สารผสม โดยการวัดอณุ หภูมิ เขียน บริสุทธแ์ิ ต่ละชนดิ มสี มบตั ิบางประการท่เี ป็นค่า

กราฟ แปลความหมายขอ้ มูลจาก เฉพาะตวั เช่น จุดเดอื ดและจุดหลอมเหลวคงท่ี แต่

กราฟ หรอื สารสนเทศ สารผสมมีจดุ เดือดและจุดหลอมเหลวไม่คงท่ี ขน้ึ อยู่

กับชนิดและสัดสว่ นของสารทผี่ สมอยูด่ ว้ ยกัน

5. อธบิ ายและเปรียบเทียบความ • สารบริสทุ ธแิ์ ตล่ ะชนดิ มีความหนาแนน่ หรอื มวลต่อ
หนาแนน่ ของสารบริสทุ ธิ์และสาร หนงึ่ หน่วยปรมิ าตรคงท่ี เปน็ ค่าเฉพาะของสารนั้น ณ
ผสม สถานะ และอณุ หภูมหิ น่ึง แต่สารผสมมีความ
หนาแนน่ ไม่คงท่ี ขน้ึ อย่กู ับชนดิ และสดั สว่ นของสารที่
6. ใช้เครื่องมอื เพอ่ื วดั มวลและ ผสมอยู่ด้วยกนั
ปริมาตรของสารบริสุทธ์ิและสาร
ผสม

7. อธิบายเกย่ี วกบั ความสมั พันธ์ • สารบรสิ ทุ ธิแ์ บ่งออกเปน็ ธาตุและสารประกอบ
ระหวา่ งอะตอม ธาตแุ ละ
สารประกอบ โดยใช้แบบจำลอง • ธาตปุ ระกอบดว้ ยอนภุ าคทีเ่ ล็กทส่ี ุดทย่ี งั แสดงสมบัติ
และสารสนเทศ ของธาตุน้นั เรียกว่า อะตอม ธาตุแตล่ ะชนิด
ประกอบด้วยอะตอมเพยี งชนิดเดียว และไมส่ ามารถ

แยกสลายเปน็ สารอ่ืนไดด้ ว้ ยวธิ ีทางเคมี ธาตุเขยี น

แทนดว้ ยสัญลกั ษณ์ธาตุ สารประกอบเกิดจากอะตอม

ของธาตตุ ง้ั แต่ 2 ชนดิ ข้นึ ไปรวมตวั กันทางเคมใี น

อตั ราสว่ นคงท่ี มสี มบตั ิแตกต่างจากธาตทุ ี่เป็น

องคป์ ระกอบ สามารถแยกเปน็ ธาตุไดด้ ้วยวธิ ที างเคมี

ธาตุและสารประกอบสามารถเขยี นแทนได้ดว้ ยสูตร

เคมี

8. อธิบายโครงสร้างอะตอมท่ี • อะตอมประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และ
ประกอบด้วย อิเล็กตรอน โปรตอน มีประจุไฟฟา้ บวก ธาตชุ นิด
เดยี วกนั มจี ำนวนโปรตอนเท่ากนั และเปน็ คา่ เฉพาะ
โปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ลก็ ตรอน ของธาตนุ ้ัน นิวตรอนเปน็ กลางทางไฟฟ้า ส่วน
โดยใช้แบบจำลอง

อเิ ล็กตรอนมปี ระจุไฟฟา้ ลบ เมอื่ อะตอมมีจำนวน

โปรตอนเท่ากบั จำนวนอิเล็กตรอนจะเป็นกลาง

ทางไฟฟ้า โปรตอนและนิวตรอนรวมกันตรงกลาง

อะตอมเรยี กว่า นวิ เคลยี ส สว่ นอิเลก็ ตรอนเคล่อื นท่ี

อย่ใู นทวี่ า่ งรอบนิวเคลียส

7

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

9. อธิบายและเปรียบเทียบการ • สสารทกุ ชนดิ ประกอบด้วยอนภุ าค โดยสารชนิด
จัดเรยี งอนุภาค แรงยดึ เหนี่ยว เดยี วกนั ทีม่ สี ถานะของแขง็ ของเหลว แก๊ส จะมกี าร
ระหว่างอนภุ าค และการเคลอ่ื นท่ี จัดเรียงอนุภาค แรงยดึ เหน่ียวระหว่างอนภุ าค การ
ของอนภุ าคของสสารชนดิ เดียวกนั เคลื่อนที่ของอนุภาคแตกต่างกัน ซงึ่ มผี ลตอ่ รูปรา่ ง
ในสถานะของแขง็ ของเหลว และ และปริมาตรของสสาร
แก๊ส โดยใชแ้ บบจำลอง
• อนุภาคของของแขง็ เรียงชิดกัน มแี รงยึดเหนยี่ ว

ระหว่างอนภุ าคมากท่ีสุด อนุภาคสนั่ อยู่กับที่ ทำให้มี

รปู ร่างและปริมาตรคงที่

• อนุภาคของของเหลวอยใู่ กล้กัน มแี รงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็ง แตม่ ากกว่าแกส๊

อนุภาคเคลอ่ื นทไี่ ด้แต่ไมเ่ ป็นอสิ ระเทา่ แกส๊ ทำให้มี

รูปรา่ งไม่คงท่ี แต่ปริมาตรคงที่

• อนภุ าคของแกส๊ อยหู่ ่างกนั มาก มีแรงยึดเหนี่ยว

ระหว่างอนภุ าคนอ้ ยที่สดุ อนุภาคเคลือ่ นท่ีไดอ้ ย่าง

อสิ ระทุกทิศทาง ทำให้มรี ปู รา่ งและปริมาตรไม่คงที่

10. อธิบายความสมั พันธร์ ะหว่าง • ความรอ้ นมผี ลตอ่ การเปลยี่ นสถานะของสสาร เมื่อให้
พลังงานความร้อนกับการเปลี่ยน ความร้อนแก่ของแข็ง อนุภาคของของแข็ง จะมี
สถานะของสสาร โดยใชห้ ลักฐาน พลังงานและอุณหภูมเิ พ่ิมขนึ้ จนถงึ ระดบั หนึ่ง ซง่ึ
เชงิ ประจักษแ์ ละแบบจำลอง ของแขง็ จะใช้ความร้อน ในการเปล่ียนสถานะเป็น

ของเหลว เรียกความร้อนที่ใชใ้ นการเปลย่ี นสถานะ

จากของแขง็ เปน็ ของเหลววา่ ความรอ้ นแฝงของการ

หลอมเหลว และอณุ หภูมิขณะเปลี่ยนสถานะจะคงที่

เรียกอณุ หภมู ินว้ี ่า จดุ หลอมเหลว

• เม่ือให้ความร้อนแกข่ องเหลว อนภุ าคของของเหลว
จะมพี ลงั งานและอุณหภมู ิเพมิ่ ขนึ้ จนถงึ ระดับหน่งึ ซ่ึง
ของเหลวจะใช้ความรอ้ นในการเปล่ียนสถานะเปน็

แก๊ส เรียกความรอ้ นท่ใี ชใ้ นการเปลีย่ นสถานะจาก

ของเหลวเป็นแกส๊ วา่ ความร้อนแฝงของการ

กลายเปน็ ไอ และอณุ หภมู ขิ ณะเปลยี่ นสถานะจะคงที่
เรียกอุณหภมู นิ ี้วา่ จดุ เดอื ด

8

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

• เมื่อทำให้อุณหภูมขิ องแก๊สลดลงจนถงึ ระดับหนึ่งแกส๊
จะเปล่ียนสถานะเป็นของเหลว เรียกอุณหภมู ินว้ี ่า
จุดควบแนน่ ซงึ่ มีอณุ หภมู เิ ดียวกับจุดเดอื ดของ
ของเหลวนนั้

• เมือ่ ทำใหอ้ ุณหภมู ขิ องของเหลวลดลงจนถงึ ระดบั
หน่งึ ของเหลวจะเปล่ียนสถานะเป็นของแข็ง เรยี ก
อุณหภูมินี้วา่ จุดเยอื กแข็ง ซง่ึ มอี ุณหภูมเิ ดยี วกบั
จดุ หลอมเหลวของของแข็งน้นั

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงในชีวติ ประจำวัน ผลของแรงท่ีกระทำตอ่ วัตถุ ลกั ษณะการ
เคลือ่ นที่แบบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ชน้ั ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ม.1 1.สร้างแบบจำลองทีอ่ ธบิ าย • เมอ่ื วัตถุอย่ใู นอากาศจะมแี รงทอ่ี ากาศกระทำต่อวัตถุในทกุ

ความสัมพนั ธ์ระหว่างความ ทศิ ทาง แรงท่อี ากาศกระทำตอ่ วัตถุขนึ้ อย่กู ับขนาดพื้นท่ีของ

ดันอากาศกับความสงู จากพืน้ วัตถุน้ัน แรงทอ่ี ากาศกระทำตั้งฉากกบั ผิววตั ถุตอ่ หนึ่ง

โลก หนว่ ยพ้ืนท่ี เรียกวา่ ความดันอากาศ ความดนั อากาศมี

ความสมั พันธก์ บั ความสงู จาก พน้ื โลก โดยบรเิ วณทีส่ ูง

จากพ้ืนโลกข้นึ ไป อากาศเบาบางลง มวลอากาศ

น้อยลง ความดนั อากาศกจ็ ะลดลง

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลย่ี นแปลง และการถ่ายโอนพลงั งาน ปฏสิ ัมพนั ธ์
ระหว่างสสาร และพลังงาน พลงั งานในชวี ติ ประจำวนั ธรรมชาติของคลนื่ ปรากฏการณ์ที่
เกีย่ วข้องกับเสียง แสง และ คลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า รวมท้งั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ม.1 1. วเิ คราะห์ แปลความหมาย • เมอื่ สสารไดร้ ับหรือสูญเสยี ความร้อนอาจทำให้สสาร

ข้อมลู และคำนวณปริมาณ เปลยี่ นอณุ หภูมิ เปลย่ี นสถานะ หรอื เปลี่ยนรปู ร่าง

ความรอ้ นท่ีทำให้สสารเปล่ียน • ปริมาณความร้อนทีท่ ำให้สสารเปลยี่ นอณุ หภมู ิขึ้นกบั มวล

อณุ หภมู ิและเปลยี่ นสถานะ ความรอ้ นจำเพาะ และอณุ หภูมิท่ีเปลี่ยนไป

9

ชั้น ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

โดยใช้สมการ Q = mc∆t • ปริมาณความร้อนท่ที ำให้สสารเปล่ียนสถานะขน้ึ กับมวล

และ Q = mL และความรอ้ นแฝงจำเพาะ โดยขณะทีส่ สารเปล่ยี นสถานะ

2. ใชเ้ ทอรม์ อมเิ ตอรใ์ นการวดั อณุ หภมู ิ จะไมเ่ ปลย่ี นแปลง

อุณหภมู ิของสสาร

3. สรา้ งแบบจำลองทอ่ี ธบิ าย • ความร้อนทำให้สสารขยายตวั หรอื หดตวั ได้ เนือ่ งจากเมื่อ

การขยายตัว หรือหดตวั ของ สสารไดร้ ับความร้อนจะทำให้อนุภาคเคล่อื นที่เร็วขน้ึ ทำ

สสารเนือ่ งจากได้รบั หรือ ใหเ้ กดิ การขยายตัว แตเ่ มอ่ื สสารคายความรอ้ น จะทำให้

สญู เสยี ความรอ้ น อนุภาคเคล่อื นที่ช้าลง ทำใหเ้ กิดการหดตัว

4. ตระหนักถงึ ประโยชน์ของ • ความรเู้ ร่ืองการหดและขยายตวั ของสสารเนอื่ งจากความ

ความรขู้ องการหดและ ร้อน นำไปใช้ประโยชน์ ในด้านต่าง ๆ เช่น การสร้างถนน

ขยายตัวของสสารเนื่องจาก การสรา้ ง รางรถไฟ การทำเทอร์มอมเิ ตอร์

ความรอ้ น โดยวเิ คราะห์

สถานการณป์ ญั หา และ

เสนอแนะวิธีการนำความรู้มา

แกป้ ัญหา ใน

ชีวติ ประจำวนั

5. วเิ คราะหส์ ถานการณ์การถา่ ย • ความร้อนถา่ ยโอนจากสสารท่ีมอี ณุ หภูมิสูงกวา่ ไปยงั สสาร

โอนความร้อน และคำนวณ ทีม่ ีอุณหภมู ิต่ำกวา่ จนกระทั่งอณุ หภูมิของสสารทั้งสอง

ปรมิ าณความรอ้ นท่ีถ่ายโอน เทา่ กัน สภาพท่ีสสารทงั้ สองมีอณุ หภมู ิเท่ากัน เรยี กว่า

ระหวา่ งสสารจนเกดิ สมดุล สมดุลความรอ้ น

ความร้อนโดยใชส้ มการ Q • เมอื่ มีการถา่ ยโอนความร้อนจากสสารทมี่ อี ณุ หภมู ิต่างกนั

สูญเสยี = Qได้รบั จนเกดิ สมดุลความร้อน ความร้อนทเ่ี พิ่มขน้ึ ของสสารหนึ่ง
จะเทา่ กับ ความร้อนท่ีลดลงของอีกสสารหน่งึ ซง่ึ

เปน็ ไปตามกฎการอนุรักษ์พลงั งาน

6. สรา้ งแบบจำลองท่อี ธิบายการ • การถ่ายโอนความร้อนมี 3 แบบ คือ การนำความรอ้ น

ถ่ายโอนความรอ้ นโดยการนำ การพา- ความรอ้ น และการแผร่ ังสีความรอ้ น การนำ

ความร้อน การพาความรอ้ น ความรอ้ นเป็น การถ่ายโอนความรอ้ นที่อาศัย

การแผ่รงั สี ความร้อน ตัวกลาง โดยทีต่ วั กลางไมเ่ คลื่อนท่ี การพาความรอ้ น

เปน็ การถา่ ยโอนความรอ้ นท่ีอาศัยตัวกลาง โดยที่ตวั กลาง

10

ชัน้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

เคลื่อนทไ่ี ปด้วย ส่วนการแผร่ งั สคี วามร้อนเปน็ การถ่ายโอน

ความร้อนท่ไี มต่ อ้ งอาศยั ตวั กลาง

7. ออกแบบ เลอื กใช้ และสรา้ ง • ความรู้เก่ียวกับการถ่ายโอนความรอ้ นสามารถนำไปใช้
อปุ กรณ์เพ่ือแก้ปญั หาใน ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวันได้ เช่น การเลือกใชว้ ัสดุเพอ่ื

ชีวติ ประจำวันโดยใช้ความรู้ นำมาทำภาชนะบรรจุอาหารเพอ่ื เก็บความรอ้ น หรือการ

เกยี่ วกบั การถา่ ยโอนความร้อน ออกแบบระบบระบายความรอ้ นในอาคาร

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองค์ประกอบ และความสัมพนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลงภายในโลก

และบนผวิ โลก ธรณพี ิบตั ิภัย กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศและภมู ิอากาศโลก
รวมทงั้ ผลตอ่ ส่งิ มชี วี ิต และสิ่งแวดลอ้ ม

ชนั้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ม.1 1. สรา้ งแบบจำลองท่อี ธิบายการ • โลกมีบรรยากาศหอ่ หุ้ม นักวทิ ยาศาสตร์ใช้สมบตั ิและ

แบง่ ชน้ั บรรยากาศ และ องคป์ ระกอบของบรรยากาศในการแบ่งบรรยากาศของโลก

เปรียบเทียบประโยชนข์ อง ออกเป็นชั้น ซงึ่ แบ่งได้หลายรปู แบบตามเกณฑท์ แี่ ตกตา่ ง

บรรยากาศแต่ละชั้น กนั โดยท่วั ไปนักวิทยาศาสตร์ใชเ้ กณฑ์การเปล่ยี นแปลง

อุณหภูมติ ามความสงู แบ่งบรรยากาศได้เป็น 5 ช้ัน ได้แก่

ช้ันโทรโพสเฟียร์, ช้นั สตราโตสเฟยี ร,์ ชั้นมโี ซสเฟยี ร์, ชน้ั

เทอร์โมสเฟียร์ และช้นั เอกโซสเฟยี ร์

• บรรยากาศแต่ละชั้นมีประโยชนต์ ่อสงิ่ มชี วี ิตแตกต่างกัน

โดย ชั้นโทรโพสเฟียร์มปี รากฏการณล์ มฟา้ อากาศท่ี

สำคญั ต่อการดำรงชวี ติ ของสิ่งมชี ีวิต ช้ันสตราโตสเฟยี ร์

ชว่ ยดดู กลนื รังสอี ัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยไ์ มใ่ ห้มายัง

โลกมากเกนิ ไป ชนั้ มโี ซสเฟียร์ช่วยชะลอวัตถนุ อก

โลกทผ่ี า่ นเข้ามาใหเ้ กดิ การเผาไหมก้ ลายเป็นวัตถุขนาดเล็ก

ลดโอกาสทจ่ี ะทำความเสียหายแก่สิง่ มีชวี ิตบนโลก ช้ันเทอร์

โมส-เฟียร์สามารถสะท้อนคลืน่ วิทยุ และ ชั้นเอก

โซสเฟยี ร์เหมาะสำหรบั การโคจรของดาวเทียมรอบโลก

ในระดับตำ่

11

ชนั้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

2.อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการ • ลมฟ้าอากาศเป็นสภาวะของอากาศในเวลาหนง่ึ ของพื้นที่

เปล่ยี นแปลงองค์ประกอบของ หนึง่ ทมี่ ี การเปลย่ี นแปลงตลอดเวลาข้ึนอย่กู ับ

ลมฟา้ อากาศ จากข้อมูลที่ องคป์ ระกอบลมฟ้าอากาศ ไดแ้ ก่ อุณหภมู ิอากาศ ความกด

รวบรวมได้ อากาศ ลม ความชื้น เมฆ และหยาดนำ้ ฟ้า โดยหยาดนำ้ ฟ้า

ท่พี บบอ่ ย ในประเทศไทย ไดแ้ ก่ ฝน องคป์ ระกอบลมฟ้า

อากาศเปล่ียนแปลงตลอดเวลาขึน้ อยู่กับปัจจัยตา่ ง ๆ เชน่

ปริมาณรังสจี ากดวงอาทิตยแ์ ละลักษณะพืน้ ผวิ โลกส่งผลตอ่

อุณหภูมิอากาศ อุณหภูมอิ ากาศ และปริมาณไอน้ำส่งผลตอ่

ความชน้ื ความกดอากาศส่งผลต่อลม ความช้นื และลม

สง่ ผลตอ่ เมฆ

3. เปรยี บเทยี บกระบวนการเกดิ • พายุฝนฟา้ คะนอง เกิดจากการท่อี ากาศท่ีมีอุณหภูมิและ

พายฝุ นฟ้าคะนองและพายุ ความชืน้ สงู เคลือ่ นที่ขึน้ สู่ระดบั ความสงู ทีม่ ีอุณหภูมติ ่ำลง

หมนุ เขตรอ้ น และผลที่มตี ่อ จนกระทงั่ ไอนำ้ ในอากาศเกิดการควบแนน่ เปน็ ละอองนำ้

สิง่ มชี ีวิตและส่งิ แวดลอ้ ม และเกดิ ต่อเน่อื งเปน็ เมฆขนาดใหญ่ พายฝุ นฟา้ คะนอง ทำ

รวมทั้งนำเสนอแนวทางการ ใหเ้ กิดฝนตกหนกั ลมกรรโชกแรง ฟา้ แลบฟ้าผ่า ซึ่งอาจ

ปฏิบตั ิตนใหเ้ หมาะสมและ กอ่ ให้เกดิ อนั ตรายต่อชวี ติ และทรัพย์สนิ

ปลอดภยั • พายุหมุนเขตร้อนเกิดเหนือมหาสมุทร หรอื ทะเลที่นำ้

อุณหภูมิสงู ต้ังแต่ 26–27 องศาเซลเซยี สข้นึ ไป ทำให้

อากาศท่ีมีอุณหภูมแิ ละความช้ืนสูงบรเิ วณนั้นเคลื่อนท่ี

สงู ขึน้ อย่างรวดเรว็ เปน็ บรเิ วณกว้าง อากาศจากบรเิ วณอื่น

เคล่อื นเขา้ มาแทนท่ี และพัดเวยี นเขา้ หาศูนย์กลางของพายุ

ย่งิ ใกล้ศูนยก์ ลางอากาศจะเคลื่อนทีพ่ ดั เวียนเกอื บเป็น

วงกลม และมอี ตั ราเร็วสูงทีส่ ุด พายหุ มุนเขตร้อนทำใหเ้ กิด

คลนื่ พายุซัดฝัง่ ฝนตกหนกั ซึ่งอาจกอ่ ใหเ้ กิดอนั ตรายต่อ

ชวี ิตและทรัพย์สนิ จึงควรปฏบิ ัตติ นใหป้ ลอดภัยโดยติดตาม

ข่าวสาร การพยากรณอ์ ากาศ และไม่เขา้ ไปอย่ใู นพน้ื ท่ี

ทเ่ี สีย่ งภยั

4. อธิบายการพยากรณ์อากาศ • การพยากรณอ์ ากาศเปน็ การคาดการณ์ลมฟา้ อากาศทจี่ ะ

และพยากรณ์อากาศอยา่ งง่าย เกดิ ขน้ึ ในอนาคตโดยมีการตรวจวัดองค์ประกอบลมฟา้

จากขอ้ มูลที่รวบรวมได้ อากาศ การสื่อสารแลกเปลีย่ นข้อมูลองค์ประกอบลมฟา้

12

ชนั้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

อากาศระหวา่ งพืน้ ที่ การวิเคราะห์ข้อมูล และสรา้ งคำ

พยากรณอ์ ากาศ

5.ตระหนักถงึ คุณค่าของการ • การพยากรณ์อากาศสามารถนำมาใช้ประโยชนด์ า้ นต่าง ๆ

พยากรณ์อากาศโดยนำเสนอ เชน่ การใช้ชวี ิตประจำวัน การคมนาคม การเกษตร การ

แนวทางการปฏบิ ัตติ น และ ป้องกัน และเฝา้ ระวงั ภยั พิบัตทิ างธรรมชาติ

การใชป้ ระโยชนจ์ ากคำ

พยากรณอ์ ากาศ

6. อธิบายสถานการณ์และ • ภูมิอากาศโลกเกิดการเปล่ยี นแปลงอยา่ งต่อเนื่องโดยปัจจัย

ผลกระทบการเปลย่ี นแปลง ทางธรรมชาติ แต่ปัจจุบนั การเปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศ

ภมู อิ ากาศโลกจากข้อมลู ท่ี เกดิ ขึน้ อย่างรวดเร็วเนอ่ื งจากกิจกรรมของมนษุ ยใ์ นการ

รวบรวมได้ ปลดปลอ่ ยแกส๊ เรือนกระจกสู่บรรยากาศ แก๊สเรอื นกระจก

ทถี่ กู ปลดปล่อยมากทีส่ ุด ได้แก่ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดซ์ ง่ึ

หมนุ เวยี นอยใู่ นวฏั จักรคาร์บอน

7. ตระหนกั ถงึ ผลกระทบของการ • การเปลีย่ นแปลงภมู อิ ากาศโลกกอ่ ให้เกิดผลกระทบตอ่

เปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศโลกโดย สิง่ มีชวี ติ และสิ่งแวดลอ้ ม เช่น การหลอมเหลวของน้ำแข็ง

นำเสนอแนวทางการปฏิบัตติ น ขว้ั โลก การเพ่ิมขน้ึ ของระดบั น้ำทะเล การเปลยี่ นแปลงวฏั

ภายใตก้ ารเปลย่ี นแปลง จักรน้ำ การเกิดโรคอบุ ตั ใิ หมแ่ ละอบุ ตั ิซ้ำ และการเกิดภัย

ภมู อิ ากาศโลก พิบัติทางธรรมชาติที่รุนแรงขนึ้ มนษุ ย์จงึ ควรเรียนร้แู นว

ทางการปฏิบตั ิตนภายใตส้ ถานการณ์ดงั กล่าว ท้ัง

แนวทางการปฏบิ ตั ใิ ห้เหมาะสม และแนวทางการลด

กิจกรรม ทส่ี ง่ ผลต่อการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศโลก

13

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1

สารรอบตวั

เวลา 26 ชวั่ โมง
1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วัด

ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ
โครงสร้างและแรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ยี นแปลงสถานะของ
สาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี
ว 2.1 ม.1/1 อธิบายสมบัตทิ างกายภาพบางประการของธาตโุ ลหะ อโลหะ และกึง่ โลหะ โดยใช้
หลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้จากการสงั เกตและการทดสอบ และใช้สารสนเทศที่ได้จากแหล่งข้อมูล
ตา่ ง ๆ รวมทั้งจดั กลมุ่ ธาตโุ ลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ
ว 2.1 ม.1/2 วิเคราะห์ผลจากการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตุกัมมันตรังสีที่มีต่อ
สงิ่ มีชีวิต สง่ิ แวดล้อม เศรษฐกิจ และสงั คม จากขอ้ มูลที่รวบรวมได้
ว 2.1 ม.1/3 ตระหนักถึงคุณค่าของการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ ธาตุกัมมันตรังสี โดย
เสนอ แนวทางการใชธ้ าตอุ ยา่ งปลอดภยั และคมุ้ คา่
ว 2.1 ม.1/4 เปรียบเทียบจุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารผสม โดยการวัด
อุณหภมู ิ เขยี นกราฟ แปลความหมายขอ้ มลู จากกราฟหรือสารสนเทศ
ว 2.1 ม.1/5 อธิบายและเปรยี บเทยี บความหนาแน่นของสารบริสุทธิ์และสารผสม
ว 2.1 ม.1/6 ใชเ้ ครื่องมือวดั มวลและปรมิ าตรของสารบริสุทธ์แิ ละสารผสม
ว 2.1 ม.1/7 อธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างอะตอม ธาตุ และสารประกอบ โดยใช้
แบบจำลองและสารสนเทศ
ว 2.1 ม.1/8 อธิบายโครงสร้างอะตอมที่ประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน โดย
ใชแ้ บบจำลอง
ว 2.1 ม.1/9 อธิบายและเปรยี บเทียบการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค และ
การเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารชนิดเดียวกันในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส โดยใช้
แบบจำลอง
ว 2.1 ม.1/10 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร
โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์และแบบจำลอง

2. สาระการเรียนรู้
2.1 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

14

1) สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาค โดยสารชนิดเดยี วกันที่มีสถานะของแข็ง ของเหลว แก๊ส จะมี
การจัดเรยี งอนภุ าค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนภุ าค การเคลอื่ นทขี่ องอนุภาคแตกต่างกนั ซง่ึ มีผลต่อ
รูปรา่ งและปริมาตรของสสาร

2) อนภุ าคของของแข็งเรียงชิดกนั มแี รงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาคมากท่ีสดุ อนภุ าคสัน่ อย่กู บั ท่ี ทำให้
มรี ปู ร่างและปริมาตรคงท่ี

3) อนุภาคของของเหลวอยู่ใกล้กัน มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็งแต่มากกวา่ แก๊ส
อนภุ าคเคลื่อนท่ีได้แต่ไมเ่ ป็นอิสระเท่าแกส๊ ทำให้มีรูปรา่ งไมค่ งท่ี แต่ปริมาตรคงท่ี

4) อนภุ าคของแก๊สอยู่ห่างกันมาก มแี รงยดึ เหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยท่ีสุด อนุภาคเคล่ือนที่ได้อย่าง
อิสระทกุ ทิศทาง ทำใหม้ ีรูปร่างและปรมิ าตรไม่คงท่ี

5) ความร้อนมีผลต่อการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อให้ความร้อนแก่ของแข็ง อนุภาคของของแข็ง
จะมีพลงั งานและอุณหภมู เิ พิ่มขึ้นจนถึงระดับหน่งึ ซึ่งของแข็งจะใชค้ วามรอ้ นในการเปล่ียนสถานะ
เปน็ ของเหลว เรียกความร้อนท่ใี ช้ในการเปลย่ี นสถานะจากของแข็งเปน็ ของเหลวว่า ความร้อนแฝง
ของการหลอมเหลว และอณุ หภูมิขณะเปลี่ยนสถานะจะคงท่ี เรยี กอุณหภูมนิ ี้ว่า จดุ หลอมเหลว

6) เมื่อให้ความร้อนแก่ของเหลว อนุภาคของของเหลวจะมีพลังงานและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจนถึงระดบั
หนึ่ง ซึ่งของเหลวจะใช้ความร้อนในการเปลีย่ นสถานะเป็นแก๊ส เรียกความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยน
สถานะจากของเหลวเป็นแก๊สว่า ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ และอุณหภูมิขณะเปลี่ยน
สถานะจะคงท่ี เรยี กอณุ หภูมนิ ี้วา่ จุดเดอื ด

7) เมอ่ื ทำใหอ้ ณุ หภมู ิของแก๊สลดลงจนถึงระดบั หนึง่ แก๊สจะเปลีย่ นสถานะเปน็ ของเหลว เรยี กอุณหภูมิ
น้ีว่า จดุ ควบแน่น ซึ่งมีอุณหภมู เิ ดียวกบั จดุ เดอื ดของของเหลวนนั้

8) เมื่อทำให้อุณหภูมิของของเหลวลดลงจนถึงระดับหนึ่ง ของเหลวจะเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง
เรียกอณุ หภมู ิน้วี ่า จดุ เยอื กแข็ง ซง่ึ มอี ณุ หภมู ิเดียวกบั จุดหลอมเหลวของของแขง็ น้ัน

9) ธาตแุ ต่ละชนดิ มีสมบัตเิ ฉพาะตวั และมีสมบัติ ทางกายภาพบางประการเหมอื นกันและบางประการ
ต่างกัน ซึ่งสามารถนำมาจัดกลุ่มธาตุเป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ธาตุโลหะมีจุดเดือด จุด
หลอมเหลวสูง มีผิวมันวาว นำความรอ้ น นำไฟฟา้ ดึงเปน็ เสน้ หรือตีเปน็ แผน่ บาง ๆ ได้ และ มี
ความหนาแน่นทั้งสูงและต่ำ ธาตุอโลหะ มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่ำ มีผิวไม่มันวาว ไม่นำความ
ร้อน ไม่นำไฟฟ้า เปราะแตกหักง่าย และมีความหนาแน่นต่ำ ธาตุกึ่งโลหะมีสมบัติ บางประการ
เหมอื นโลหะ และสมบตั บิ างประการเหมือนอโลหะ

10) ธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ท่สี ามารถแผ่รังสไี ด้ จัดเป็นธาตกุ ัมมันตรังสี
11) ธาตุมีทั้งประโยชน์และโทษ การใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ ธาตุกัมมันตรังสี ควรคำนึงถึง

ผลกระทบตอ่ สิง่ มีชวี ติ ส่งิ แวดล้อม เศรษฐกิจ และสงั คม
12) สารบริสุทธิ์แบง่ ออกเป็นธาตุและสารประกอบ ธาตปุ ระกอบดว้ ยอนุภาคทเ่ี ล็กท่ีสดุ ท่ยี งั แสดงสมบัติ

ของธาตุนั้นเรียกว่า อะตอม ธาตุแต่ละชนิดประกอบด้วยอะตอมเพียงชนิดเดียวและไม่สามารถ
แยกสลายเป็นสารอื่นได้ด้วยวิธีทางเคมี ธาตุเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ธาตุ สารประกอบเกิดจาก

15

อะตอมของธาตตุ ั้งแต่ 2 ชนิดขึน้ ไปรวมตวั กนั ทางเคมใี นอัตราส่วนคงท่ี มีสมบตั แิ ตกต่างจากธาตุท่ี
เป็นองค์ประกอบ สามารถแยกเป็นธาตุไดด้ ้วยวธิ ที างเคมี ธาตุและสารประกอบสามารถเขียนแทน
ไดด้ ว้ ยสูตรเคมี
13) อะตอมประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน โปรตอนมีประจุไฟฟ้าบวก ธาตุชนิด
เดียวกันมีจำนวนโปรตอนเท่ากันและเปน็ ค่าเฉพาะของธาตุน้ัน นิวตรอนเปน็ กลางทางไฟฟา้ ส่วน
อิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้าลบ เมื่ออะตอมมีจำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน จะเป็นกลาง
ทางไฟฟ้า โปรตอน และนิวตรอนรวมกันตรงกลางอะตอม เรียกว่า นิวเคลียส ส่วนอิเล็กตรอน
เคล่ือนทอ่ี ยูใ่ นท่ีว่างรอบนิวเคลยี ส
14) สารบริสุทธิ์ประกอบด้วยสารเพียงชนิดเดียว ส่วนสารผสมประกอบด้วยสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป
สารบรสิ ุทธิ์แตล่ ะชนดิ มีสมบัตบิ างประการที่เปน็ คา่ เฉพาะตวั เชน่ จดุ เดอื ดและจุดหลอมเหลวคงที่
แต่สารผสมมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับชนิดและสัดส่วนของสารที่ผสมอยู่
ดว้ ยกนั
15) สารบริสุทธิ์แต่ละชนดิ มีความหนาแนน่ หรือมวลต่อหน่ึงหน่วยปริมาตรคงที่เป็นค่าเฉพาะของสาร
นน้ั ณ สถานะและอุณหภูมหิ นึ่ง แตส่ ารผสมมคี วามหนาแนน่ ไมค่ งที่ข้นึ อยู่กับชนดิ และสัดส่วนของ
สารท่ผี สมอยู่ด้วยกัน
2.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่นิ
(พจิ ารณาตามหลกั สตู รสถานศึกษา)

3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
สารรอบตัวประกอบไปด้วยธาตุและสารประกอบ ซึ่งสารแต่ละชนิดมีสมบัติทางกายภาพและสมบัติ

ทางเคมี ทเ่ี หมือนและแตกต่างกัน โดยความร้อนเป็นปัจจยั หนึง่ ที่ทำให้สถานะ ซ่งึ เป็นสมบัติทางกายภาพ
ของสารเปลีย่ นแปลงไป สารทม่ี อี งค์ประกอบเพียงชนดิ เดียว เรยี กว่า สารบรสิ ทุ ธ์ิ ประกอบไปด้วยธาตุและ
สารประกอบ ธาตุแบง่ ออกเป็นธาตุโลหะ ธาตุกง่ึ โลหะ และธาตุอโลหะ นอกจากนธ้ี าตุบางชนิดสามารถแผ่
รงั สไี ด้ เรียกวา่ ธาตุกมั มนั ตรงั สี เมอื่ ธาตุมากกว่าหนึ่งชนดิ มารวมกันทางเคมีทีม่ ีสมบัตแิ ตกต่างไปธาตุเดิมท่ี
เป็นองคป์ ระกอบเรียกว่าสารประกอบ เม่อื สารมากกวา่ หนงึ่ ชนดิ มาผสมกัน เรยี กวา่ สารผสม บางชนิดผสม
กันแล้วมองเห็นเปน็ เนื้อเดียวกัน เรียกว่า สารละลาย บางชนิดผสมแลว้ มองไม่เห็นเป็นเนื้อเดียวกัน ได้แก่
สารแขวนลอย และคอลลอยด์

4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น คุณลักษณะอนั พึงประสงค์

1. ความสามารถในการสอื่ สาร 1. มวี นิ ยั

2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รยี นรู้

1) ทักษะการสังเกต 3. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน

16

2) ทกั ษะการจดั กลุ่ม
3) ทักษะการเปรยี บเทียบ
4) ทักษะการจำแนกประเภท
5) ทกั ษะการสำรวจ
6) ทกั ษะการเชือ่ มโยง
7) ทกั ษะการระบุ
8) ทกั ษะการสำรวจค้นหา
9) ทกั ษะการสรปุ ย่อ
10) ทกั ษะการนำความรไู้ ปใช้
11) ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู
3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ

5. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- ผังมโนทศั น์ เร่ือง สารบริสทุ ธแ์ิ ละสารผสม

6. การวดั และการประเมนิ ผล

รายการวัด วิธวี ดั เคร่ืองมอื เกณฑ์การประเมิน
ระดับคณุ ภาพ 2
6.1 การประเมินชิน้ งาน/ - ประเมนิ ผงั มโนทัศน์ เร่ือง - แบบประเมนิ ชน้ิ งาน ผ่านเกณฑ์

ภาระงาน (รวบยอด) สารบริสุทธ์ิและสารผสม

6.2 การประเมินก่อนเรยี น - แบบทดสอบกอ่ นเรียน ประเมนิ ตามสภาพจรงิ
- แบบทดสอบก่อนเรยี น - ตรวจแบบทดสอบ
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 กอ่ นเรียน - เฉลยใบงานท่ี 1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
เรอ่ื ง สารรอบตัว - เฉลยใบงานที่ 1.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
6.3 การประเมินระหวา่ ง
การจดั กิจกรรม ม.1 เลม่ 1 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
1) สารและการจำแนกสาร - ตรวจใบงานท่ี 1.1 - เฉลยใบงานที่ 1.3 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
- ตรวจใบงานที่ 1.2 - แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์
- ตรวจแบบฝกึ หัด
ม.1 เล่ม 1
2) การเปลีย่ นแปลง - ตรวจใบงานที่ 1.3

ของสาร - ตรวจแบบฝึกหดั

17

รายการวดั วธิ วี ัด เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
3) สารบรสิ ุทธ์ิ - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ม.1 เล่ม 1
4) ธาตุกัมมนั ตรงั สี - ตรวจใบงานที่ 1.4 - เฉลยใบงานที่ 1.4 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

5) สารประกอบ - ตรวจใบงานท่ี 1.5 ม.1 เล่ม 1 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
- ตรวจแบบฝึกหดั - เฉลยใบงานท่ี 1.5 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
- แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์
6) สารผสม - ตรวจใบงานท่ี 1.6 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
- ตรวจแบบฝึกหัด ม.1 เลม่ 1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
- เฉลยใบงานที่ 1.6
7) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ - แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ระดับคณุ ภาพ 2
8) การปฏิบตั ิการ ผลงาน ผา่ นเกณฑ์
- ประเมนิ การปฏิบตั กิ าร ม.1 เล่ม 1 ระดบั คุณภาพ 2
- แบบประเมินการ ผา่ นเกณฑ์
9) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม ระดบั คณุ ภาพ 2
นำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์
รายบคุ คล การทำงานรายบุคคล - แบบประเมนิ การ
ปฏบิ ตั กิ าร
- แบบสังเกตพฤติกรรม
การทำงานรายบคุ คล

10) พฤตกิ รรมการทำงาน - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2

รายกลมุ่ การทำงานรายกล่มุ การทำงานรายกลุ่ม ผ่านเกณฑ์

11) คุณลกั ษณะอันพึง - สงั เกตความมวี นิ ยั - แบบประเมนิ คุณลักษณะ ระดบั คณุ ภาพ 2

ประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ และม่งุ มั่น อนั พึงประสงค์ ผา่ นเกณฑ์

ในการทำงาน

6.4 การประเมินหลงั เรยี น

- แบบทดสอบหลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรียน ประเมนิ ตามสภาพจริง

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 หลงั เรยี น

เรอื่ ง สารรอบตวั

7. กิจกรรมการเรียนรู้
นักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 เรื่อง สารรอบตวั
• แผนฯ ที่ 1 : สารและการจำแนกสาร

วิธีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) 18
• แผนฯ ท่ี 2 : การเปลย่ี นแปลงของสาร
วธิ สี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 4 ชว่ั โมง
• แผนฯ ที่ 3 : สารบริสทุ ธ์ิ เวลา 4 ชั่วโมง
วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 5 ชัว่ โมง
• แผนฯ ท่ี 4 : ธาตกุ มั มันตรงั สี เวลา 2 ชั่วโมง
วิธีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 2 ช่ัวโมง
• แผนฯ ที่ 5 : สารประกอบ เวลา 4 ชั่วโมง
วธิ ีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 5 ชว่ั โมง
• แผนฯ ที่ 6 : สารผสม
วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
• แผนฯ ท่ี 7 : สมบตั ิของสารบริสุทธิแ์ ละสารผสม
วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

8. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้
8.1 สื่อการเรยี นรู้
1) หนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
2) แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
3) ภาพสารตวั อยา่ ง
4) อุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นการทดลอง
5) ใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง การจำแนกสาร
6) ใบงานที่ 1.2 เร่ือง สารรอบตัว
7) ใบงานท่ี 1.3 เรอื่ ง ความร้อนกับการเปลีย่ นสถานะของสาร
8) ใบงานท่ี 1.4 เรอ่ื ง ธาตกุ ัมมันตรังสี
9) ใบงานที่ 1.5 เรือ่ ง สารประกอบ
10) ใบงานท่ี 1.6 เรื่อง สารผสม
8.2 แหลง่ การเรยี นรู้
1) หอ้ งเรียน
2) หอ้ งปฏิบัตกิ ารทดลอง
3) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ

19

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1

สารและการจำแนกสาร

เวลา 4 ช่ัวโมง

1. มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ัด

1.1 ตัวช้ีวัด
ว 2.1 ม.1/9 อธิบายและเปรียบเทยี บการจัดเรยี งอนภุ าค แรงยดึ เหน่ยี วระหวา่ งอนภุ าค และการ
เคล่ือนที่ของอนภุ าคของสสารชนดิ เดียวกันในสถานะของแขง็ ของเหลว และแกส๊ โดย
ใช้แบบจำลอง

2. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายการจัดเรียงอนภุ าค แรงยึดเหนยี่ วระหว่างอนุภาค และการเคลอ่ื นทีข่ องอนุภาคของสารชนดิ
เดียวกนั ในสถานะตา่ งๆ ได้ (K)

2. เปรียบเทียบการจดั เรยี งอนุภาค แรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งอนุภาค และการเคลื่อนท่ีของอนภุ าคของสาร
ชนดิ เดียวกันในสถานะต่าง ๆ ได้ (P)

3. รบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าทแี่ ละงานท่ไี ด้รับมอบหมาย (A)

3. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ

- สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาค โดยสารชนิด พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา
เดียวกันที่มีสถานะของแข็ง ของเหลว แก๊ส จะมี การ
จัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค การ
เคลื่อนที่ของอนุภาคแตกต่างกัน ซึ่งมีผลต่อรูปร่าง และ
ปริมาตรของสสาร
- อนุภาคของของแขง็ เรยี งชิดกนั มแี รงยดึ เหน่ียวระหว่าง
อนุภาคมากท่ีสุด อนุภาคสั่นอยู่กับท่ี ทำให้มีรูปร่างและ
ปริมาตรคงที่
- อนุภาคของของเหลวอยู่ใกล้กัน มีแรงยดึ เหน่ียวระหว่าง
อนุภาคน้อยกว่าของแข็งแต่มากกว่าแก๊ส อนุภาค
เคลื่อนที่ได้แต่ไม่เป็นอิสระเท่าแก๊ส ทำให้มีรูปร่างไม่
คงที่ แตป่ รมิ าตรคงท่ี

20

- อนภุ าคของแก๊สอยูห่ ่างกันมาก มแี รงยึดเหนีย่ วระหว่าง
อนุภาคน้อยที่สุด อนุภาคเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระทุก
ทศิ ทาง ทำให้มรี ูปร่างและปริมาตรไม่คงท่ี

4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด

สารที่อยู่รอบตัวเราลว้ นมีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกตา่ งกัน สารบางชนิดสามารถสงั เกตได้จากลักษณะ
ภายนอกของสารได้ เชน่ สี สถานะ เป็นต้น ซ่ึงเปน็ สมบัติทางกายภาพของสาร แตส่ มบัตบิ างชนิดของสาร
เกิดจากการทำปฏิกิริยาเคมี ทำให้เกิดสารใหม่ที่มีองค์ประกอบแตกต่างไปจากเดมิ เช่น การเผาไหม้ การ
เกดิ สนมิ เป็นต้น ซง่ึ เปน็ สมบัตทิ างเคมีของสาร การระบุว่าสารแต่ละชนดิ เปน็ สารประเภทใดจำเป็นต้องใช้
สมบัตขิ องสารมาวเิ คราะห์ เช่น การใชส้ ถานะ การใช้เนอื้ สาร และการใชข้ นาดของอนุภาคมาเป็นเกณฑ์ใน
การจำแนกสาร

5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี นและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มวี นิ ัย

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรียนรู้

1) ทักษะการสงั เกต 3. ม่งุ มนั่ ในการทำงาน

2) ทกั ษะการจดั กลุ่ม

3) ทกั ษะการเปรยี บเทยี บ

4) ทักษะการจำแนกประเภท

5) ทกั ษะการสำรวจ

3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ

6. กิจกรรมการเรยี นรู้

 วธิ ีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)

ชวั่ โมงท่ี 1

ขั้นนำ

กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครแู จ้งผลการเรียนรู้ใหน้ กั เรยี นทราบ
2. ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน

21

3. ครูถามคำถาม Big Question ว่า สารท่อี ย่รู อบตวั เรามีความแตกต่างกันอยา่ งไร
(แนวคำตอบ สารที่อยู่รอบตัวเราบางชนิดมีสมบัติทางกายภาพบางประการที่เหมือน และแตกต่าง
กัน เช่น สถานะ การนำความร้อน การนำไฟฟ้า เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตามสารแต่ละชนิดย่อม
ลักษณะเฉพาะของสารแต่ละชนิดนั้น ๆ เช่น สภาพการละลาย จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความ
หนาแนน่ ของสาร เป็นต้น)

ขั้นสอน

สำรวจค้นหา (Explore)
1. ครูถามคำถาม prior knowledge กระตนุ้ ความคิดของนักเรียน
2. ครูใหน้ กั เรยี นแบ่งกลมุ่ ออกเปน็ 4 กลุ่ม โดยให้แต่ละกลมุ่ ศึกษา เร่ือง สมบตั ิของสาร จากหนงั สือ
เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนา้ ท่ี 3
3. ครูนำน้ำส้มสายชูใส่ลงในบกี เกอร์ A และนำ้ ใสล่ งในบกี เกอร์ B มาให้นักเรยี นศึกษา และตอบคำถาม
ต่อไปนี้
- นักเรียนคดิ ว่าสารในบกี เกอร์ A และ B เป็นสารชนดิ เดยี วกันหรอื ไม่
(แนวคำตอบ พจิ ารณาคำตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ย่ใู นดลุ ยพินจิ ของครูผูส้ อน)
4. ครูใหน้ ักเรียนตรวจสอบสารในบกี เกอร์ A และ B แล้วถามคำถามนักเรยี น ดังนี้
- สาร A และ B ทน่ี กั เรยี นตรวจสอบ มลี ักษณะอย่างไร
(สาร A และ B เปน็ ของเหลว ไม่มสี ี แต่สาร A มีกลิ่นฉุน เม่อื ทดสอบดว้ ยกระดาษลติ มัส
พบวา่ สาร A มฤี ทธ์ิเปน็ กรด ส่วนสาร B ไม่เปลยี่ นสีกระดาษลิตมสั )
- นกั เรยี นคิดวา่ ลักษณะใดเปน็ สมบตั ิทางกายภาพ
(สถานะของสาร สี กลิน่ เปน็ ตน้ )
- นกั เรยี นคิดวา่ ลกั ษณะใดเปน็ สมบตั ิทางเคมี
(ความเปน็ กรด-เบส เปน็ ต้น)
5. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภิปราย เรือ่ ง สมบัตขิ องสาร โดยครยู กตัวอยา่ งใหน้ ักเรยี นเหน็ จากการนำ
สาร A และ B ท่มี ีลักษณะภายนอกท่เี หมือนกนั แตไ่ มใ่ ช่สารเดียวกนั ดังน้ันจึง จำเปน็ ตอ้ งอาศยั
สมบัติของสารเข้ามาตรวจสอบ จงึ ทำให้ร้วู ่าสารท้ังสองเปน็ สารต่างชนิดกนั
6. ครูเกร่นิ นำเข้าสู่เรื่องถัดไปวา่ การจำแนกสารจำเปน็ ตอ้ งใชส้ มบตั ิของสารมาวเิ คราะห์
7. ครยู กตวั อยา่ งการจำแนกสารโดยใช้สถานะของสาร ซ่งึ เป็นสมบัตทิ างกายภาพมาใหน้ ักเรยี นศึกษา
โดยให้นกั เรียนศกึ ษาในหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าที่ 4
8. ครูยกตัวอยา่ งสถานะของปรอท ซ่ึงเปน็ สารทมี่ ี 3 สถานะเชน่ เดียวกับนำ้ ใน Science focus มาให้
นักเรียนได้ศกึ ษาในหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนา้ ที่ 4
9. ครูใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุม่ ศกึ ษา เรอ่ื ง การจำแนกสารโดยใช้เนอื้ สารและอนภุ าคของสารเปน็ เกณฑ์
จากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนา้ ที่ 5

22

10. ครูแจกภาพแต่ละชดุ ให้แต่ละกล่มุ โดยภาพแต่ละชดุ มี ดงั นี้
สม้ ตำ นำ้ ผลไม้ปนั่ นำ้ เกลือ นำ้ นม กาแฟ สลดั น้ำแป้ง ทองคำขาว น้ำพริก แอลกอฮอลเ์ ช็ดแผล
น้ำส้มสายชู หมอก ควันจากทอ่ ไอเสีย แก๊สหงุ ตม้ เปน็ ต้น

11. ครูแจกใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง การจำแนกสาร เพอื่ ให้แตล่ ะกล่มุ รว่ มกันจำแนกสารจากภาพ แล้วบันทกึ
ลงใน ใบงานท่ี 1.1

ชั่วโมงท่ี 2

ขั้นสอน

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. ครสู ุ่มตวั แทนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอใบงานท่ี 1.1 เรอื่ ง การจำแนกสาร
2. ครเู สริมและเพมิ่ เติมความรูใ้ หก้ ับตัวแทนนักเรียนทอี่ อกมานำเสนอ
3. ครูและนักเรียนรว่ มกนั อภิปรายสมบตั ขิ องสาร การจำแนกสาร เปรียบเทยี บการจัดเรียงอนุภาค และ
การเคลื่อนท่ขี องสารทงั้ 3 สถานะ

ข้ันสรุป

ขยายความเขา้ ใจ (Expand)
1. ครูใหน้ กั เรียนทำแบบฝึกหัดลงในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1

ช่วั โมงที่ 3

ข้นั สอน

สำรวจคน้ หา (Explore)
1. ครูให้นกั เรยี นแบ่งกลุ่มออกเปน็ 3 กลุ่ม โดยใหแ้ ต่ละกลุม่ ส่งตัวแทนออกมาจบั ฉลากหัวขอ้ กิจกรรม
ดงั นี้
- ของแขง็
- ของเหลว
- แกส๊
2. ครูใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุม่ ทำกิจกรรม เรือ่ ง ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ตามหนงั สือเรียน
วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน้าที่ 6 โดยใหแ้ ต่ละกลุ่มทำกิจกรรมภายใตห้ ัวขอ้ ทน่ี ักเรียนจบั ฉลากได้
ดงั น้ี
- กลมุ่ ของแขง็ ให้บรรจเุ มด็ โฟมเต็มขวด
- กลุ่มของเหลว ให้บรรจุเม็ดโฟมครึ่งขวด

23

- กลุ่มแก๊ส ใหบ้ รรจุเมด็ โฟมนอ้ ยกวา่ ครึ่งขวด
3. ครูให้นักเรยี นทำกจิ กรรม เรอื่ ง ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส ตามหนังสือแลว้ บนั ทกึ ผลกจิ กรรม และ

ตอบคำถามท้ายกิจกรรมลงในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1

ชั่วโมงที่ 4

ขนั้ สอน

อธิบายความรู้ (Explain)
1. ครสู ุม่ ตวั แทนกลุ่มออกมารายงานผลจากการทำกิจกรรมหน้าชัน้ เรยี น
2. ครูเฉลยคำตอบจากคำถามท้ายกิจกรรม ในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
ถามคำถามทา้ ยกิจกรรม ดังนี้
- ขวดนำ้ ทบ่ี รรจุเม็ดโฟมของแต่ละกลุ่ม เปรยี บเสมือนกับสถานะของสารใดบ้าง
(แนวคำตอบ สารท่ีอยู่รอบตวั เราบางชนิดมีสมบัติทางกายภาพบางประการทเ่ี หมือน และแตกต่างกัน เช่น
สถานะ การนำความรอ้ น การนำไฟฟ้า เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตามสารแต่ละชนดิ มีย่อมลักษณะเฉพาะของ
สารแต่ละชนิดนนั้ ๆ เช่น สภาพการละลาย จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแนน่ ของสาร เปน็ ต้น)
- หลังจากเป่าลมเขา้ ไปในขวด ลกั ษณะการเคลื่อนท่ีของเมด็ โฟมแต่ละกล่มุ แตกต่างกันหรอื ไม่
อย่างไร
(แนวคำตอบ แตกต่างกนั ขวดท่ีบรรจเุ ม็ดโฟมจนเต็มขวด อนภุ าคของเม็ดโฟมจะสนั่ อยกู่ ลับที่ ถ้าบรรจุ
เม็ดโฟมคร่งึ ขวด บางอนุภาคของเม็ดโฟมจะเคลื่อนที่อิสระ แตถ่ ้าบรรจเุ ม็ดโฟมต่ำกวา่ คร่งึ อนุภาคของ
เม็ดโฟมจะเคลอ่ื นท่ีได้อย่างอิสระ)
3. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเปรยี บเทยี บ การจัดเรียงอนุภาค และการเคล่ือนท่ีของสารทั้ง 3
สถานะ

ขัน้ สรปุ

ขยายความเข้าใจ (Expand)
1. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 1.2 เรอื่ ง สารรอบตวั โดยให้นักเรียนกลับไปสำรวจสารรอบตัวภายในบ้าน
ของนกั เรยี น แลว้ จำแนกสารลงในใบงาน พร้อมตกแตง่ ใหส้ วยงาม
2. ครใู ห้นักเรยี นทำแบบฝกึ หัดแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1

ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น
2. ครตู รวจใบงานท่ี 1.1 เรอื่ ง การจำแนกสาร
3. ครูประเมินการนำเสนอใบงานที่ 1.1 เรื่อง การจำแนกสาร โดยใช้แบบประเมินผลงาน

24

4. ครตู รวจใบงานที่ 1.2 เรือ่ ง สารรอบตัว
5. ครูประเมนิ การทำกจิ กรรม เรื่อง ของแขง็ ของเหลว และแกส๊ โดยใช้แบบประเมินการปฏิบัตกิ าร
6. ครูประเมินพฤติกรรมการทำงานกล่มุ จากการศึกษาและทำใบงาน เร่อื ง การจำแนกสาร

7. การวัดและประเมนิ ผล

รายการวัด วิธีการ เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ

7.1 การประเมินก่อนเรียน

- แบบทดสอบก่อน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบกอ่ นเรียน ประเมนิ ตามสภาพจรงิ

เรียนหนว่ ยการ ก่อนเรียน

เรยี นรู้ที่ 1 เรื่อง

สารรอบตัว

7.2 ประเมนิ ระหวา่ งการ

จดั กิจกรรมการเรียนรู้

1) สารและการจำแนก - ตรวจใบงานท่ี 1.1 - เฉลยใบงานที่ 1.1 เรื่อง ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

สาร เรอ่ื ง การจำแนก การจำแนกสาร

สาร - เฉลยใบงานท่ี 1.2 เรอ่ื ง รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

- ตรวจใบงานท่ี 1.2 สารรอบตัว

เรือ่ ง สารรอบตวั - แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ระดบั คุณภาพ 2

- ตรวจแบบฝกึ หดั ม.1 เล่ม 1 ผ่านเกณฑ์

2) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการเสนอ - แบบประเมนิ การนำเสนอ ระดบั คุณภาพ 2

ใบงานที่ 1.1 เร่อื ง ผลงาน ผา่ นเกณฑ์

การจำแนกสาร

3) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคณุ ภาพ 2
การทำงานรายกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์
รายกลุ่ม การทำงานรายกลุ่ม

4) การปฏิบัตกิ าร - ประเมิน - แบบประเมิน ระดบั คณุ ภาพ 2
การปฏิบัติการ การปฏบิ ัติการ ผา่ นเกณฑ์

5) คณุ ลักษณะอันพงึ - สังเกตความมวี ินัย - แบบประเมนิ คุณลักษณะ ระดบั คณุ ภาพ 2
ประสงค์
ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ ม่นั อันพงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์

ในการทำงาน

25

8. ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้

8.1 สื่อการเรยี นรู้
1) หนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1
2) แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1
3) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง การจำแนกสาร
4) ใบงานท่ี 1.2 เรอื่ ง สารรอบตัว
5) PowerPoint หรือภาพสารตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ส้มตำ นำ้ ผลไมป้ ่นั น้ำเกลือ นำ้ นม กาแฟ สลดั นำ้ แป้ง
ทองคำขาว นำ้ พรกิ แอลกอฮอล์ นำ้ ส้มสายชู หมอก ควนั จากท่อไอเสีย แกส๊ หุงต้ม เปน็ ต้น
6) อุปกรณก์ ารทดลอง เรอ่ื ง ของแข็ง ของเหลว และแกส๊

8.2 แหลง่ การเรยี นรู้
1) ห้องเรยี น
2) ห้องปฏบิ ัติการ

26

ใบงานที่ 1.1

เรื่อง การจำแนกสาร

คำชี้แจง : จงบันทกึ ชอื่ สารจากภาพ และใช้สมบัติทางกายภาพของสารเปน็ เกณฑ์ในการจำแนกชนิดของสาร

โดยขีดเครื่องหมาย ✓ ลงในชอ่ งทกี่ ำหนดให้

สมบัตทิ างกายภาพ

ชอ่ื สาร สถานะ เนื้อสาร อนภุ าค

ของ ของ แก๊ส สาร สาร สาร สาร คอลลอยด์
แขง็ เหลว เนือ้ เดยี ว เน้ือผสม ละลาย แขวนลอย

ใบงานท่ี 1.1 27

เรือ่ ง การจำแนกสาร เฉลย

คำชี้แจง : จงบนั ทกึ ชอื่ สารจากภาพ และใช้สมบัตทิ างกายภาพของสารเปน็ เกณฑใ์ นการจำแนกชนิดของสาร
โดยขดี เครอื่ งหมาย ✓ ลงในชอ่ งทีก่ ำหนดให้

สมบัตทิ างกายภาพ

ช่อื สาร สถานะ เน้ือสาร อนุภาค

ของ ของ แก๊ส สาร สาร สาร สาร คอลลอยด์
แข็ง เหลว เนอ้ื เดียว เนอ้ื ผสม ละลาย แขวนลอย

หมอก

สม้ ตำ

น้ำผลไม้ป่นั

น้ำเกลอื

แก๊สหงุ ตม้

นำ้ สม้ สายชู

ทองคำขาว
แอลกอฮอล์เช็ด
แผล
กาแฟ

สลัด

นำ้ พริก

ควันท่อไอเสยี
นำ้ แปง้
น้ำนม
น้ำโคลน

28

ใบงานท่ี 1.2

เรอื่ ง สารรอบตัว

คำชแี้ จง : ให้นักเรียนสำรวจสิง่ แวดล้อมทอี่ ยู่รอบตัวมา 2 ชนิด และเปรียบเทยี บความแตกตา่ งของสาร
ตามหวั ข้อท่กี ำหนดให้

สถานที่สารวจ:

สารชนิดท่ี 1 สารชนิดที่ 2

สมบตั ิทางกายภาพ

สมบตั ิทางเคมี

ใบงานท่ี 1.2 29

เรอื่ ง สารรอบตัว เฉลย

คำชี้แจง : ให้นักเรยี นสำรวจส่งิ แวดลอ้ มทอ่ี ยรู่ อบตัวมา 2 ชนดิ และเปรียบเทียบความแตกตา่ งของสาร
ตามหวั ขอ้ ท่ีกำหนดให้

สถานที่สารวจ: หอ้ งครวั (ตัวอยา่ งคำตอบ)

สารชนิดท่ี 1 สารชนิดที่ 2

ตวั อยา่ ง นำ้ มะนาว ตวั อยา่ ง ทอ่ เหล็ก

สมบตั ิทางกายภาพ

ของเหลว ของแข็ง
มรี สเปร้ยี ว นำความร้อน

นำไฟฟา้

สมบตั ิทางเคมี

9. ความเห็นมขฤีอทงผธเ์ิบู้ ปร็นิหการรดสถานศกึ ษาหรอื ผทู้ ี่ไดร้ บั มอบหมาย เกิดสนมิ ได้

ขอ้ เสนอแนะ

ลงช่อื 30
(
.................................
ตำแหน่ง ................................ )

.......

10. บันทึกผลหลังการสอน

 ดา้ นความรู้

 ด้านสมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น

 ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์

 ดา้ นอื่น ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมทม่ี ีปัญหาของนักเรยี นเปน็ รายบคุ คล (ถา้ มี))

 ปญั หา/อปุ สรรค
 แนวทางการแกไ้ ข


Click to View FlipBook Version