The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ IS 32210
โดย
1.นายนวพล วารีบริสุทธิกุล ม.5/4 เลขที่ 3
2.น.ส.ธนาภรณ์ สีสถาน ม.5/4 เลขที่ 21
3.น.ส.พีรญา จันทร์เขียว ม.5/4 เลขที่ 22
4.น.ส.ปุษาบุล จันทร์เกตุ ม.5/4 เลขที่ 23
5.น.ส.พิชญา จันทร์เขียว ม.5/4 เลขที่ 24
6. น.ส.ธัญพิมล พรหมภัทรา ม.5/4 เลขที่ 26

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 2546apec, 2021-03-22 11:04:50

การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร

การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ IS 32210
โดย
1.นายนวพล วารีบริสุทธิกุล ม.5/4 เลขที่ 3
2.น.ส.ธนาภรณ์ สีสถาน ม.5/4 เลขที่ 21
3.น.ส.พีรญา จันทร์เขียว ม.5/4 เลขที่ 22
4.น.ส.ปุษาบุล จันทร์เกตุ ม.5/4 เลขที่ 23
5.น.ส.พิชญา จันทร์เขียว ม.5/4 เลขที่ 24
6. น.ส.ธัญพิมล พรหมภัทรา ม.5/4 เลขที่ 26

40

1) แบบทดสอบปรนัย (Objective tests) ได้แก่ แบบถูก – ผิด
(True -false) แบบจับคู่ (Matching) แบบเติมคำให้สมบูรณ์
(Completion) หรือแบบคำตอบสั้น (Short answer) และแบบ
เลือกตอบ (Multiple choice)

2) แบบอัตนัย (Essay tests) ได้แก่ แบบจำกัดคำตอบ (Restricted
response items) และแบบไม่จำกัดความตอบ หรือ ตอบอย่างเสรี
(Extended response items)

2. แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized tests) เป็นแบบทดสอบที่สร้าง
โดยผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ในเนื้อหา และมีทักษะการสร้างแบบทดสอบ
มีการวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบ มีคำชี้แจงเกี่ยวกับการ
ดำเนินการสอบ การให้คะแนนและการแปลผล มีความเป็นปรนัย
(Objective) มีความเที่ยงตรง (Validity) และความเชื่อมั่น (Reliability)
แบบทดสอบมาตรฐาน ได้แก่ California Achievement Test, Iowa
Test of Basic Skills, Standford Achievement Test แ ล ะ the
Metropolitan Achievement tests เป็นต้น

ส่วนพวงรัตน์ ทวีรัตน์ (2543) ได้จัดประเภทแบบทดสอบไว้ 3 ประเภท ดังน้ี
3. แบบปากเปล่า เป็นการทดสอบที่อาศัยการซักถามเป็นรายบุคคล
ใช้ได้ผลดีถ้ามีผู้เข้าสอบจำนวนน้อย เพราะต้องใช้เวลามาก ถามได้ละเอียด
เพราะสามารถโต้ตอบกันได้
4. แบบเขียนตอบ เป็นการทดสอบที่เปลี่ยนแปลงมาจากการสอบแบบปาก
เปล่า เนื่องจากจำนวนผู้เข้าสอบมากและมีจำนวนจำกัด แบ่งได้
เป็น 2 แบบ คือ
1) แบบความเรียง หรืออัตนัย เป็นการสอบที่ให้ผู้ตอบได้รวบรวมเรียบ
เรียงคำพูดของตนเองในการแสดงทัศนคติ ความรู้สึก และความคิด
ได้อย่างอิสระภายใต้หัวเรื่องที่กำหนดให้ เป็นข้อสอบที่สามารถ
วัดพฤติกรรมด้านการสังเคราะห์ได้อย่างดี แต่มีข้อเสียที่การให้
คะแนน ซึ่งอาจไม่เท่ียงตรง ทำให้มีความเป็นปรนัยได้ยาก
2) แบบจำกัดคำตอบ เป็นข้อสอบ ที่มีคำตอบถูกใต้เง่ือนไขท่ีกำหนดให้
อย่างจำกัด ข้อสอบแบบนี้แบ่งออกเป็น 4 แบบ คือ แบบถูกผิด
แบบเติมคำ แบบจับคู่ และแบบเลือกตอบ

41

5. แบบปฏิบัติ เป็นการทดสอบที่ผู้สอบได้แสดงพฤติกรรมออกมาโดยการ
กระทำหรือลงมือปฏิบัติจริง ๆ เช่น การทดสอบทางดนตรี ช่างกล
พลศึกษา เป็นต้น

สรุปได้ว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
แบบทดสอบมาตรฐาน ซึ่งสร้างจากผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและด้านวัดผลการศึกษา มีการหา
คุณภาพเป็นอย่างดี ส่วนอีกประเภทหนึ่ง คือแบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้น เพื่อใช้ในการทดสอบ
ในชั้นเรียน ในการออกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคำศัพท์เพื่อการสื่อสาร ผู้วิจัยได้
เลือกแบบทดสอบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบบปฏิบัติ ในการวัดความสามารถในการนำคำศัพท์ไปใช้ใน
การสื่อสารด้านการการพูดและการเขียน และเลือกแบบทดสอบแบบเขียนตอบที่จำกัดคำตอบ
โดยการเลือกตอบจากตัวเลือกที่กำหนดให้ ในการวัดความรู้ความเข้าใจความหมายของคำศัพท์
และการนำคำศัพท์ไปใช้ในการฟังและการอ่าน

2.8.5 เกณฑ์การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และสรุปผล

การเรียนรู้ ให้ถือปฏิบัติดังน้ี
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้แจ้งให้ผู้เรียนทราบ

ตัวชี้วัดกผลการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิธีการวัดและประเมินผล เกณฑ์การผ่าน
ตัวช้ีวัดผลการเรียนรู้

ในระดับมัธยมศึกษา การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา
ในการประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้กรายวิชา ระดับมัธยมศึกษา กำหนดให้มี
การประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน 4 ครั้ง ได้แก่ ภาคต้น 2 ครั้ง และภาคปลาย 2 ครั้ง
โดยสรุปผลการเรียน เป็นรายภาคเรียน ได้แก่ ปลายภาคต้นและปลายภาคปลาย มีรายละเอียด
ดังนี้

1. การประเมินผลกำรเรียนรู้ภาคต้นครั้งที่ 1 – 2 และภาคปลาย
ครั้งที่ 1 – 2
การประเมินผลการเรียนรู้ภาคต้นครั้งที่ 1 – 2 และภาคปลายครั้งที่ 1 – 2

เป็นการประเมินผลการ เรียนรู้ตามตัวชี้วัดของหลักสูตร ซึ่งแต่ละครั้ง มีคะแนนเต็ม 50 คะแนน
มีขั้นตอนการดำเนินการ ดังน้ี

1) การกำหนดตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ในการประเมินผล
การกำหนดตัวชี้วัดกผลการเรียนรู้ในการประเมินผล ให้กำหนด

ตัวชี้วัดกผลการเรียนรู้ ใน การประเมินผลการเรียนรู้ในภาคต้นครั้งที่ 1 – 2 และภาคปลาย
ครั้งที่ 1 – 2 โดยเมื่อประเมินผลการเรียนรู้ ครบทั้ง 2 ครั้งของแต่ละภาคเรียน ต้องมีการประเมิน
ครบทุกตัวชี้วัดกผลการเรียนรู้ ซึ่งบางตัวชี้วัดกผลการเรียนรู้ อาจมีการประเมินมากกว่า 1 ครั้ง

42

2) การกำหนดสัดส่วนคะแนนระหว่างเรียนกับคะแนนหลังเรียน
การกำหนดสัดส่วนคะแนนระหว่างเรียนกับคะแนนหลังเรียน

ให้แต่ละกลุ่มสาระการ เรียนรู้กรายวิชากำหนดสัดส่วนคะแนนระหว่างเรียนกับคะแนนหลังเรียน
ตามธรรมชาติของกลุ่มสาระการ เรียนรู้กรายวิชาโดยให้ความสำคัญของคะแนนระหว่างเรียน
มากกว่าคะแนนหลังเรียน เช่น 60 : 40, 70 : 30 หรือ 80 : 20

3) การประเมินระหว่างเรียน (Formative Assessment)
การประเมินระหว่างเรียน ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ การประเมิน

ตัวชี้วัดกผลการเรียนรู้ และการประเมินพฤติกรรมการเรียน การกำหนดสัดส่วนคะแนนตัวชี้วัด
ผลการเรียนรู้ กับคะแนนพฤติกรรมการเรียนให้นำ คะแนนระหว่างเรียนแบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่
คะแนนพฤติกรรมการเรียน 10 คะแนน และคะแนนที่เหลือเป็น คะแนนตัวชี้วัดกผลการเรียนรู้
เช่น สัดส่วนคะแนนระหว่างเรียนกับคะแนนหลังเรียน เป็น 70 : 30 ให้นำ คะแนน 70 คะแนน
มาแบ่งเป็นคะแนนพฤติกรรมการเรียน 10 คะแนน กับตัวชี้วัดกผลการเรียนรู้ 60 คะแนน

4) การประเมินตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้
การประเมินตัวชี้วัดกผลการเรียนรู้เป็นการประเมินผลย่อย

เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยใช้ วิธีการและเครื่องมือการประเมินที่หลากหลาย
เน้นการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) เช่น การทำแฟ้มสะสมงาน การทำงาน
ที่เน้นการปฏิบัติ การทำรายงาน การสร้างผลงาน การทดสอบย่อย และการทดสอบรายหน่วยการ
เรียนรู้ เป็นต้น การประเมินตัวชี้วัดกผลการเรียนรู้ของแต่ละครั้งในภาคต้นครั้งที่ 1 – 2 และภาค
ปลายครั้งที่ 1 – 2 ต้องประเมิน 3 ด้าน ดังต่อไปน้ี

(1) ด้านความรู้กความคิด (Knowledge – K) เป็นการประเมิน
ความรู้ ความคิดของนักเรียนตาม เนื้อหา สาระของตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้กรายวิชา ซึ่งประเมินได้ 6 ระดับ ได้แก่
จำ (Remembering) เข้าใจ (Understanding) ประยุกต์ใช้
( Applying) ว ิ เ ค ร า ะ ห ์ ( Analysing) ป ร ะ เ ม ิ น ค ่ า
(Evaluating) และคิด สร้างสรรค์ (Creating)

(2) ด้านทักษะกกระบวนการ (Process – P) เป็นการประเมิน
ทักษะหรือกระบวนการทำงานของ นักเรียนตามเนื้อหา
สาระ หรือธรรมชาติของกลุ่มสาระการเรียนรู้กรายวิชา เช่น
ทักษะการเขียน ทักษะการ คิดคำนวณ กระบวนการคิด
กระบวนการทำงานกลุ่ม และทักษะการสืบค้นข้อมูลเป็นต้น

43

(3) ด้านคุณลักษณะ/เจตคติ (Attribute/Attitude – A)
เป็นการประเมินคุณลักษณะหรือเจตคติ ของนักเรียนตาม
เนื้อหา สาระ หรือธรรมชาติของกลุ่มสาระการเรียนรู้
รายวิชา เช่น การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การเป็นผู้นำ
และความซาบซึ้งในคุณค่าของวรรณคดี

การประเมินบางตัวชี้วัดกผลการเรียนรู้สามารถให้คะแนนได้ครบทั้ง
ด้านความรู้/ความคิดทักษะ/ กระบวนการ และคุณลักษณะ/เจตคติ แต่บางตัวชี้วัดอาจให้คะแนน
ได้ไม่ครบทุกด้าน

กลุ่มสาระการเรียนรู้กรายวิชาต้องกำหนดสัดส่วนคะแนนทั้ง 3 ด้าน
อย่างเหมาะสมตามธรรมชาติ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา ซึ่งเมื่อรวมแล้วต้องได้เท่ากับ
คะแนนตัวชี้วัดกผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ เช่น กำหนดด้านความรู้/ความคิด : ด้านทักษะ/
กระบวนการ : ด้านคุณลักษณะ/เจตคติ เป็น 30 : 20 : 10 ซึ่งเมื่อ รวมแล้วได้ 60 คะแนน
ตามคะแนนผลการเรียนรู้ตามตัวช้ีวัดที่กำหนดไว้

ผู้เรียนทุกคนต้องผ่านทุกตัวชี้วัด/ผลกำรเรียนรู้ เกณฑ์ที่ใช้ใน
การตัดสินผลกำรประเมินผลกำรเรียนรู้ ระหว่างเรียน ให้แต่ละกลุ่มสำระการเรียนรู้พิจารณาตาม
ความสามเหมาะสม เช่น ร้อยละ 50 ร้อยละ 60 หรือ ร้อยละ 70 แต่ผู้เรียนทุกคนต้องผ่าน
ทุกตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ตามเกณฑ์ขั้นต่ำร้อยละ 50 หาก “ไม่ผ่าน” เกณฑ์ขั้นต่ำ หรือได้คะแนน
รวมทุกตัวชี้วัด/ผลกำรเรียนรู้ ไม่ถึงร้อยละ 50 ของคะแนนเต็ม ผู้สอนต้องหาแนวทางในการแก้ไข
ข้อบกพร่องของผู้เรียนให้สามารถผ่านตัวชี้วัด/ผลกำรเรียนรู้นั้นเม่ือ นักเรียนได้รับการซ่อมเสริมจน
ผ่านแล้ว ให้คะแนนร้อยละ 50 ของคะแนนเต็มเท่านั้น

5) การประเมินพฤติกรรมการเรียน
การประเมินพฤติกรรมการเรียนในภาคต้นครั้งที่ 1 – 2 และภาค

ปลายครั้งที่ 1 – 2 แต่ละครั้งมี คะแนนเต็ม 10 คะแนนโดยให้แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา
พิจารณาเลือกหัวข้อที่สอดคล้องกับ ธรรมชาติของกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาจำนวนไม่
น้อยกว่า 3 หัวข้อ ดังต่อไปน้ี

(1) ตรงต่อเวลา
(2) ต้ังใจเรียนและต้ังใจทำงานที่ได้รับมอบหมาย
(3) ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่าง ๆ

­ ให้ความร่วมมือในการตอบคำถาม
­ ให้ความร่วมมือในการแสดงความคิดเห็น

44

(4) มีความรับผิดชอบ
­ เข้าเรียนสม่ำเสมอ
­ นำอุปกรณ์การเรียนมาครบถ้วนสม่ำเสมอ
­ ทำงานครบถ้วน
­ ส่งการบ้านกงานท่ีได้รับมอบหมายตามเวลาท่ีกำาหนด

(5) ทำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้
6) การประเมินหลังเรียน (Summative Assessment)

การประเมินหลังเรียน เป็นการวัดและประเมินผลรวมเพื่อตัดสินผล
การเรียนของผู้เรียนทั้ง ด้านความรู้กความคิด ทักษะ/กระบวนการ และคุณลักษณะ/เจตคติ โดยใช้
แบบทดสอบหรือแบบวัดการ ปฏิบัติ ตามตัวชี้วัดของแต่ละครั้งในภาคต้นครั้งที่ 1 – 2 และ
ภาคปลายครั้งที่ 1 – 2 ผู้สอนต้องกำาหนดคะแนน เต็มของการประเมินผลการเรียนหลังเรียน
ตามที่กำหนดสัดส่วนไว้ เช่น สัดส่วนคะแนนระหว่างเรียนกับ คะแนนหลังเรียน เป็น 70 : 30
คะแนนเต็มของการประเมินระหว่างเรียนคือ 70 และการประเมินหลังเรียน คือ 30

ตารางท่ี 2.1 การกำหนดสัดส่วนคะแนนระหว่างเรียน กับ หลังเรียน

สัดส่วนคะแนนระหว่าง คะแนนระหว่างเรียน (Formative)

เรียน : หลังเรียน กำรเรียนรู้ตำม พฤติกรรม คะแนนหลังเรียน
Formative : ตัวชี้วัด/ผลกำร นักเรียนเรียน (Summative)
Summative เรียนรู้ (KPA)

60 : 40 50 10 40

70 : 30 60 10 30

80 : 20 70 10 20

การประเมินหลังเรียน เป็นการวัดและประเมินผลเพื่อตัดสินผลการ
เรียนของผู้เรียน คะแนนที่ผู้เรียนได้ถือว่าเป็นผลการเรียนรู้ของผู้เรียน แม้ว่าผู้เรียนสอบได้
คะแนนไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ของคะแนนเต็ม ก็ไม่ต้องสอบแก้ตัว

กรณีที่ผู้สอนมีความเห็นว่าจำเป็นต้องสอนซ่อมเสริ มให้กับผู้เรียน
สามารถดำเนินการสอน ซ่อมเสริมและสอบแก้ตัวได้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจแล้วให้
คะแนนร้อยละ 50 โดยบันทึกคะแนนสอบ ซ่อมเก็บไว้ แต่ไม่ต้องแก้ไขคะแนนสอบ เพื่อให้
การประเมินผลการเรียนรู้หลังเรียนสะท้อนความสามารถที่แท้จริง ของผู้เรียน คะแนนสอบซ่อมที่
บันทึกไว้จะนำมาใช้เมื่อผู้เรียนมีระดับผลการเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้กรายวิชา รายภาค
ไม่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 (คะแนนเฉลี่ยครั้งที่ 1– 2 หรือ ครั้งที่ 3 – 4 ได้ 0 – 49.99 คะแนน)
เพื่อใช้แสดงเป็นระดับผลการสอบแก้ตัว (แก้จาก ระดับผลการเรียนจาก 0.0 เป็น 1.0)

45

การสรุปผลการเรียนภาคต้นครั้งที่ 1 – 2 และภาคปลายครั้งที่ 1 – 2
การสรุปผลการเรียนของแต่ละครั้งในภาคต้นครั้งที่ 1 – 2 และภาคปลายครั้งที่ 1 – 2
เป็นการรวมคะแนนระหว่างเรียนกับคะแนนหลังเรียน ซึ่งแต่ละครั้งมีคะแนนเต็ม 50 คะแนน

7) การสรุประดับผลการเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา
รายภาค
การสรุประดับผลการเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้รายวิชา

รายภาค เป็นการแสดงระดับผลการ เรียนของผู้เรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้กรายวิชาเป็นราย
ภาคเรียน โดยการนำคะแนนที่ได้จากการประเมิน ภาคต้นครั้งที่ 1 - 2 มารวมกันเพื่อหาค่าเฉลี่ย
เลขคณิต แล้วนำไปเทียบกับเกณฑ์ 8 ระดับ เป็นระดับ ผลการเรียนของภาคต้น และนำคะแนนที่
ได้จากการประเมินภาคปลายครั้งที่ 1 - 2 มารวมกันเพื่อหาค่าเฉลี่ยร้อยละ แล้วนำไปเทียบกับ
เกณฑ์ 8 ระดับ เป็นระดับผลการเรียนของภาคปลาย ดังตาราง

ตารางท่ี 2.2 การสรุประดับผลการเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชารายภาค

ค่าเฉล่ยี ร้อยละ ระดบั ผลการเรียน ความหมาย
80.00 - 100 4.0 ดเี ย่ียม
75.00 - 79.99 3.5 ดีมาก
70.00 - 74.99 3.0 ดี
65.00 - 69.99 2.5 ค่อนข้างดี
60.00 - 64.99 2.0 ปานกลาง
55.00 - 59.99 1.5 พอใช้
50.00 - 54.99 1.0
0.0 ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ
0 - 49.99 ไมผ่ า่ นเกณฑ์

กรณีที่เมื่อเทียบกับเกณฑ์แล้วผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์ คือ ได้ค่าเฉลี่ย
ไม่ถึงร้อยละ 50.00 ให้จัดให้มีการ สอบแก้ตัว และเม่ือสอบผ่านแล้วให้ได้ระดับ ผลการเรียน 1.0

การสรุประดับผลการเรียนรายภาคเรียน เป็นการแสดงระดับผล
การเรียนรู้ของผู้เรียนทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้กรายวิชาภาคต้น และภาคปลายโดยการน ำระดับผล
การเรียนรู้ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้รายวิชา คูณกับน้ำหนักของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
รายวิชานำผลที่ได้มารวมกัน แล้วหารด้วยน้ำหนักรวม ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้รายวิชา
คิดเป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งโดยไม่ปัดทศนิยม

2. การวัดและประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แจ้งให้ผู้เรียนทราบ
จุดประสงค์การ เรียนรู้และเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเกณฑ์

46

การตัดสินการผ่านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ผลการประเมิน กิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน เป็นผ่านและ ไม่ผ่าน ดังตาราง

ตารางท่ี 2.3 การวัดและประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

ผ่าน (ผ) หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและผ่าน
ไม่ผ่าน (มผ) จุดประสงค์ตามท่ีสถานศึกษากำหนด

หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมไม่ครบและกหรือไม่ผ่าน
จุดประสงค์ตามท่ีสถานศึกษากำหนด

3. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
แจ้งให้ผู้เรียน ทราบเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการประเมินการอ่าน
คิดวิเคราะห์และเขียน วิธีการประเมินและเกณฑ์การตัดสิน โดยผู้เรียนต้อง
ผ่านการประเมินอย่างต่อเนื่องระหว่างเรียน และกหรือการประเมิน
ปลายปีภาค มีผลการประเมินเป็น ดีเยี่ยม ดี ผ่านและไม่ผ่าน ดังตาราง

ตารางที่ 2.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน

ดีเย่ียม หมายถึง มีผลงานหรือความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์
ดี และเขียนได้ถูกต้องตามหลักการทุกด้านอย่างสมบูรณ์
ผ่าน
หมายถึง มีผลงานหรือความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์
ควรปรับปรุง และเขียนได้ถูกต้องตามหลักการทุกด้าน แต่มีรายละเอียด
บางอย่างไม่สมบูรณ์

หมายถึง มีผลงานหรือความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียนได้ถูกต้องตามหลักการเป็นส่วนใหญ่และยังมี
ข้อบกพร่องบางประการ

หมายถึง ไม่มีผลงานหรือไม่มีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียน ถ้ามีผลงานหรือมีความสามารถในการอ่าน
คิดวิเคราะห์ และเขียน ผลงานหรือความสามารถ ดังกล่าว
ยังมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่

47

4. การวัดและประเมินผลด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์/สมรรถนะสำคัญ
ของผู้เรียน แจ้งให้ผู้เรียนทราบคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของโรงเรียน
และสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน วิธีการ ประเมินผล และเกณฑ์การตัดสิน
โดยผู้เรียนมีพฤติกรรมในแต่ละคุณลักษณะอันพึงประสงค์/สมรรถนะ
สำคัญของผู้เรียน ที่กำหนด และผ่านการประเมินอย่างต่อเนื่องทั้งในและ
นอกห้องเรียน มีผลการประเมิน เป็นดีเย่ียม ดี ผ่านและไม่ผ่าน ดังตาราง

ตารางท่ี 2.5 การวัดและประเมินผลด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์/สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

ดีเย่ียม หมายถึง มีมีผลงานหรือความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์
ดี และเขียนได้ถูกต้องตามหลักการทุกด้านอย่างสมบูรณ์
ผ่าน
หมายถึง มีผลงานหรือความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์
ควรปรับปรุง และเขียนได้ถูกต้องตามหลักการทุกด้าน แต่มีรายละเอียด
บางอย่างไม่สมบูรณ์

หมายถึง มีผลงานหรือความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียนได้ถูกต้องตามหลักการเป็นส่วนใหญ่และยังมี
ข้อบกพร่องบางประการ

หมายถึง ไม่มีผลงานหรือไม่มีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียน ถ้ามีผลงานหรือมีความสามารถในการอ่าน
คิดวิเคราะห์ และเขียน ผลงานหรือความสามารถ
ดังกล่าวยังมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่

5. การประเมินผลก่อนการจัดการเรียนรู้ เพื่อตรวจสอบทักษะเบื้องต้น
และความรู้ พื้นฐานของเร่ืองใหม่ ด้วยวิธีการท่ีหลากหลายและเหมาะสม

6. การประเมินผลการเรียนของผู้เรียนเป็นระยะ ในระหว่างการจัดการ
เรียนรู้ เพื่อตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียนว่าบรรลุผลตามตัวชี้วัดผลการ
เรียนรู้ตามที่กำหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ เมื่อมีผู้เรียนไม่ผ่าน
การประเมิน ให้ผู้สอนจัดการสอนซ่อมเสริมเพื่อให้เป็นการพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่อง และประเมินจนกว่าจะผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่โรงเรียน
กำหนด

2.8.6 เกณฑ์การอนุมัติการจบการศึกษา
1. การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3) ผู้เรียนมีต้อง
คุณสมบัติดังต่อไปน้ี

48

1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน
74 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามท่ีสถานศึกษากำหนด

2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิต ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 85 หน่วยกิต
โดยเป็นรายวิชา พื้นฐาน 74 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อย
กว่า 11 หน่วยกิต

3) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์
การประเมินตามท่ีสถานศึกษากำหนด

4) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผ่านเกณฑ์
การประเมินตามท่ีสถานศึกษากำหนด

5) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์
การประเมินตามท่ีสถานศึกษากำหนด

2. การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6) ผู้เรียนต้อง
มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน 47
หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด
2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิต ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 83 หน่วยกิต โดย
เป็นรายวิชาพื้นฐาน 47 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า
36 หน่วยกิต
3) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์
การประเมินตามท่ีสถานศึกษากำหนด
4) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
5) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์
การประเมินตามท่ีสถานศึกษากำหนด
6) ผู้เรียนมีผลการประเมินโครงการศึกษาความรอบรู้เฉพาะเรื่อง
(Senior Project) ผ่านเกณฑ์การประเมินตามสถานศึกษากำหนด

49

2.9 ทฤษฎีความหมายของผู้เรียน หรือ นักเรียน แผนการเรียนวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ โรงเรียนเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร

TH.WIKIPEDIA.ORGM (2563) นักเรียน ผู้เรียน นิสิต หรือ นักศึกษา ในความหมาย
โดยรวมคือผู้ท่ีเข้าเรียนในสถานศึกษา โดยแบ่งเป็น

1. นักเรียน หมายถึง ผู้เรียนในโรงเรียนระดับอนุบาล ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา
(บางครั้งอาจใช้ในความหมายกว้าง หมายถึง ผู้ศึกษาในสถานศึกษาทั้งหมดก็ได้)

2. นิสิต และ นักศึกษา หมายถึง ผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา (นิสิตเป็นคำที่ใช้เฉพาะ
ในสถาบันอุดมศึกษาบางแห่งเท่าน้ัน)

3. ผู้เรียน (อังกฤษ: learner) เป็นคำที่มีความหมายกว้างรวม นักเรียน นิสิต นักศึกษา
และผู้รับการศึกษาอบรมนอกระบบสถานศึกษาตามปกติ มักใช้ในบริบทของการเรียนรู้

ในที่นี่ ผู้เรียน หรือ นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 แผนการเรียน
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมานครคร
จำนวน 27 คน

2.9.1 ผู้เรียน หรือ นักเรียน แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์
โรงเรียนเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร
ผู้เรียน หรือ นักเรียน แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 โรงเรียนเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 27 คน
ประกอบไปด้วย นักเรียนชายจำนวน 19 คน และนักเรียนหญิงจำนวน 8 คน โดยมี

1. นายสุธี ภาระหันต์ ตําแหน่ง ครู คศ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี หัวหน้างานงานทะเบียนนักเรียน และหัวหน้าศูนย์
โอลิมปิกวิชาการ (สอวน.) คอมพิวเตอร์ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ
กรุงเทพมหานคร

2. นายปริญญา ลิ้มล้ำเลิศกุล ตําแหน่ง ครู คศ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ และผู้ช่วยรองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารงานทั่วไป
โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร

เป็นครูที่ปรึกษาประจำช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ห้อง 4 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเรียนวัดนวลนรดิศ
กรุงเทพมหานคร

50

2.9.2 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ โรงเรียนเรียน
วัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร
แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ของโรงเรียนเรียน

วัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร เป็นแผนการเรียนที่เปิดใหมาขึ้นเพียง 2 ปีเท่านั้น โดยเริ่มเปิด
ทำการเรียนการสอนครั้งแรกในปีการศึกษา 2562 ที่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 4 โดยปัจจุบัน
ในปีการศึกษา 2563 ได้มีการเปิดทำการเรียนการสอน เพียง 2 ระดับชั้นเท่านั้น โดยในระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ห้อง 4 และ ในชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ห้อง 4

2.9.3 โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติวิทยาศาสตร์ -คณิตศาสตร์ - คอมพิวเตอร์
โรงเรียนวัดนวลนรดิศ ปีการศึกษา 2563 – 2564 ห้องเรียนที่ 4
1. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

ตารางที่ 2.6 โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ - คอมพิวเตอร์
โรงเรียนวัดนวลนรดิศ ปีการศึกษา 2563 – 2564 ห้องเรียนท่ี 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลาเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลาเรียน
ภาคเรียนท่ี 1 หน่วยกิต ช.ม.
ภาคเรียนท่ี 2 หน่วยกิต ช.ม.
รายวิชาพืน้ ฐาน 8.5 340 9.0 360
รายวิชาพื้นฐาน
ท31101 ภาษาไทย 1 1.0 40 1.0 40
ค31111 คณิตศาสตร์พืน้ ฐาน 1 1.0 40 ท31102 ภาษาไทย 2 1.0 40
ว31101 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ1 1.0 40 ค31113 คณิตศาสตรพ์ ืน้ ฐาน 1 1.0 40
ว31181 วทิ ยาการคำนวณ 1 1.0 40 ว31182 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ 1.0 40
ส31101 สังคมศึกษา 1 1.0 40 ว31182 การออกแบบเทคโนโลยี 1 1.0 40
ส31102 ประวัติศาสตร์ 1 0.5 20 ส31104 สงั คมศกึ ษา 2 0.5 20
ส31103 พระพทุ ธศาสนา 1 0.5 20 ส31105 ประวัติศาสตร์ 2 0.5 20
พ31101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา1 0.5 20 ส31106 พระพทุ ธศาสนา 2 0.5 20
ศ31101 ศิลปะ 1 0.5 20 พ31102 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 2 0.5 20
ง31102 การงานอาชีพ 2 0.5 20 ศ31102 ศิลปะ 2 0.5 20
อ31101 ภาษาอังกฤษ 1 1.0 40 1.0 40
ง31102 การงานอาชพี 1
รายวิชาเพ่ิมเติม 11.0 440 10.0 400
อ31102 ภาษาองั กฤษ 2
ค31211 คณิตศาสตร์เพ่ิมเติม 1 1.5 60 1.5 60
ค31213 คณิตศาสตร์สำหรับ 0.5 20 รายวิชาเพ่ิมเติม 1.5 60
1.5 60
คอมพิวเตอร์ 1.5 60 ค31212 คณิตศาสตร์เพ่ิมเติม 2 1.5 60
ว31201 ฟิสิกส์ 1 1.5 60 ว31202 ฟิสิกส์ 2 1.0 40
ว31221 เคมี 1 1.5 60 ว31222 เคมี 2
ว31241 ชีววิทยา 1 ว31242 ชีววิทยา 2
ว31262 โลก ดาราศาสตร์ และ
อวกาศ 2

51

ตารางที่ 2.7 (ต่อ) โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ -
คอมพิวเตอร์โรงเรียนวัดนวลนรดิศ ปีการศึกษา 2563 – 2564 ห้องเรียนที่ 4 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4

ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 เวลาเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 เวลาเรียน
หน่วยกิต ช.ม.
ภาคเรียนท่ี 1 หน่วยกิต ช.ม. ภาคเรียนท่ี 2
10.0 400
รายวิชาเพิ่มเติม 11.0 440 รายวิชาเพ่ิมเติม
1.0 40
ว31261 โลก ดาราศาสตร์ และ 1.0 40 ว31283 กราฟฟิกและประมวล
ผลภาพ 1.0 40
อวกาศ 1 ว31284 การเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ 0.5 20
ว31281 พ้ืนฐานวิทยาการคอม - 1.0 40 พ31202 วอลเลย์บอล 0.5 20
อ31221 ภาษาอังกฤษฟัง - พูด 2
พิวเตอร์

ว31282 ก ารเขีย นโ ปร แ ก ร ม 1.0 40

คอมพิวเตอร์ 1

พ31201 ฟุตซอล 0.5 20

ง31241 ห้ อ ง ส มุ ด แ ล ะ ส า ร - 0.5 20

สนเทศ

อ31221 ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ฟั ง - 0.5 20

พูด 1

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

- แนะแนว - 20 - แนะแนว - 20

กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมนักเรียน 20
20
- ชุมนุม - 20 - ชุมนุม - 10*

- ส่งเสริมคุณธรรม - 20 - ส่งเสริมคุณธรรม -

- กิจกรรมเพื่อสังคม - 10* - กิจกรรมเพื่อสังคมและ -

และสาธารณ- สาธารณ- ประโยชน์

ประโยชน์

รวมเวลาเรียนทั้งหมด 19.5 840 รวมเวลาเรียนทั้งหมด 19.0 820

หมายเหตุ : กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ โรงเรียนจัดในลักษณะบูรณาการ
กบั กิจกรรมนกั เรียนทงั้ ในและนอกเวลาเรียน

52

2. ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5

ตารางที่ 2.8 โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ - คอมพิวเตอร์
โรงเรียนวัดนวลนรดิศ ปีการศึกษา 2563 – 2564 ห้องเรียนท่ี 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลาเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 เวลาเรียน
หน่วยกิต ช.ม. หน่วยกิต ช.ม.
ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2
7.5 300 7.5 300
รายวชิ าพน้ื ฐาน รายวิชาพืน้ ฐาน
1.0 40 1.0 40
ท32101 ภาษาไทย 3 1.0 40 ท32102 ภาษาไทย 4 1.0 40
1.0 40 1.0 40
ค32111 คณิตศาสตร์พืน้ ฐาน 5 0.5 20 ค32113 คณติ ศาสตรพ์ ื้นฐาน 7 0.5 20
1.0 40 ว32102 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 2 1.0 40
ว32101 วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 0.5 20 ว32182 การออกแบบเทคโนโลยี 2 0.5 20
0.5 20 ส32103 สังคมศึกษา 4 0.5 20
ว32181 วิทยาการคำนวณ 2 ส32104 พระพทุ ธศาสนา 4 0.5 20
ส32101 สงั คมศกึ ษา 3 0.5 20 พ32102 สุขศึกษาและพลศึกษา 4 0.5 20
ส32102 พระพทุ ธศาสนา 3 0.5 20 ศ32102 ศลิ ปะ 4 1.0 40
พ32101 ส ุ ข ศ ึ ก ษ า แ ล ะ พ ล - 1.0 40 ง32102 การงานอาชีพ 4
อ32102 ภาษาองั กฤษ 4 12.5 500
ศกึ ษา 3 11.0 440
1.5 60
ศ32101 ศิลปะ 3 1.5 60 1.5 60
ง32101 การงานอาชีพ 3 1.5 60 1.5 60
อ32101 ภาษาอังกฤษ 3 1.5 60 1.5 60
1.5 60 1.0 40
รายวิชาเพิ่มเติม 1.0 40 รายวิชาเพ่ิมเติม
1.0 40
ค32211 คณิตศาสตร์เพ่ิมเติม 3 0.5 20 ค32212 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 4 1.0 40
ว32201 ฟิสิกส์ 3 0.5 20 1.0 40
ว32221 เคมี 3 1.0 40 ว32202 ฟิสิกส์ 4
ว32241 ชีววิทยา 3 0.5 20 ว32222 เคมี 4 0.5 20
ว32263 โลก ดาราศาสตร์ และ 0.5 20 ว32242 ชีววิทยา 4 0.5 20
อวกาศ 3 0.5 20
ว32281 โครงสร้างข้อมูล 1.0 40 ว32264 โลก ดาราศาสตร์ และ 0.5 20
ว32282 ระบบการจัดการข้อมูล 1.0 40
ว32283 การเขียนโปรแกรม 3 อวกาศ 4
ส30231 หน้าท่ีพลมือง 1
พ32201 บาสเกตบอล ว32284 การเขียนโปรแกรม 4
อ32221 ภาษาอังกฤษฟัง-พูด 3
I32201 การศึกษาคันคว้าและ ว32285 การเขียนโปรแกรม 5
สร้างองค์ความรู้ ว32286 การเขียนโปรแกรม 6

ส302312 หน้าที่พลเมือง 2
พ32202 แชร์บอล

อ32222 ภาษาอังกฤษฟัง - พูด 4

I32202 การสื่อสารและการ

นำเสนอ

53

ตารางที่ 2.9 (ต่อ) โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ -
คอมพิวเตอร์โรงเรียนวัดนวลนรดิศ ปีการศึกษา 2563 – 2564 ห้องเรียนท่ี 4 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5

ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลาเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลาเรียน

ภาคเรียนท่ี 1 หน่วยกิต ช.ม. ภาคเรียนท่ี 2 หน่วยกิต ช.ม.

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

- แนะแนว - 20 - แนะแนว - 20

กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมนักเรียน

- ชุมนุม - 20 - ชุมนุม - 20

- ส่งเสริมคุณธรรม - 20 - ส่งเสริมคุณธรรม - 20

- กิจกรรมเพื่อสังคม - 10* - กิจกรรมเพื่อสังคมและ - 10*

และสาธารณ- สาธารณ- ประโยชน์

ประโยชน์

รวมเวลาเรียนทั้งหมด 19.0 820 รวมเวลาเรียนทั้งหมด 20.0 860

หมายเหตุ : กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ โรงเรียนจัดในลักษณะบูรณาการ
กับกิจกรรมนักเรียนทงั้ ในและนอกเวลาเรยี น

3. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ตารางที่ 2.10 โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ – คอมพิวเตอร์
โรงเรียนวัดนวลนรดศิ ปกี ารศกึ ษา 2563 – 2564 หอ้ งเรยี นท่ี 4 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เวลาเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 เวลาเรียน
หน่วยกิต ช.ม.
ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 หน่วยกิต ช.ม.
5.0 200 4.5 180
รายวิชาพน้ื ฐาน รายวิชาพ้ืนฐาน
1.0 40 1.0 40
ท33101 ภาษาไทย 5 1.0 40 ท33102 ภาษาไทย 6 1.0 40
ค33111 คณติ ศาสตร์ 9 0.5 20 ค33113 คณิตศาสตรพ์ น้ื ฐาน 11 0.5 20
ส33101 ประวัติศาสตร์ 3 0.5 20 ส33102 ประวัติศาสตร์ 4 0.5 20
พ33101 ส ุ ข ศ ึ ก ษ า แ ล ะ พ ล - พ33102 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 6 0.5 20
0.5 20 ง33102 การงานอาชพี 6 1.0 40
ศกึ ษา 5 0.5 20 อ33102 ภาษาอังกฤษ 6
ศ33101 ศิลปะ 5 1.0 40
ง33101 การงานอาชีพ 5
อ33101 ภาษาอังกฤษ 5

54

ตารางที่ 2.11 (ต่อ) โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ – คอมพิวเตอร์
โรงเรียนวัดนวลนรดศิ ปีการศึกษา 2563 – 2564 หอ้ งเรยี นท่ี 4 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6

ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 เวลาเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลาเรียน
หน่วยกิต ช.ม.
ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 หน่วยกิต ช.ม.
10.0 400
รายวิชาเพ่ิมเติม รายวิชาเพ่ิมเติม 11.5 460
1.5 60
ค33211 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 3 1.5 60 ท33201 หลักภาษาไทย 3 1.0 40
ว33201 ฟิสิกส์ 5 1.5 60 ค33211 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 6 1.5 60
ว33221 เคมี 5 1.5 60
ว33241 ชีววิทยา 5 1.0 40 ว33202 ฟิสิกส์ 6 1.5 60
ว33265 โลก ดาราศาสตร์ และ
อวกาศ 5 0.5 20 ว33222 เคมี 6 1.5 60
ว33281 วิทยาการคำนวณ 3 0.5 20 ว33242 ชีววิทยา 6 1.5 60
ว33283 ไมโครคอมพิวเตอร์ 0.5 20 ว33266 โลก ดาราศาสตร์ และ 1.0 40
ว33284 การเขียนโปรแกรม 7 0.5 20 อวกาศ 6
ส33201 สังคมเพื่อพัฒนา 1 0.5 20 ว33282 การออกแบบเทค - 0.5 20
ส30233 หน้าที่พลเมือง 3 0.5 20
พ33201 แอโรบิคแดนซ์ 0.5 20 โนโลยี 3
อ33221 ภาษาอังกฤษฟัง-พูด 5
ว33285 โครงงานคอมพิวเตอร์ 1.0 40
ส33203 สังคมเพ่ือพัฒนา 2 0.5 20
ส30234 หน้าที่พลเมือง 4 0.5 20
พ33201 เกมพัฒนากับสมรรถภาพ 0.5 20
ทางกาย
อ33222 ภาษาอังกฤษฟัง - พูด 6 0.5 20

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

- แนะแนว - 20 - แนะแนว - 20

กิจกรรมนักเรียน 20 กิจกรรมนักเรียน
20
- ชุมนุม - 10* - ชุมนุม - 20

- ส่งเสริมคุณธรรม - 660 - ส่งเสริมคุณธรรม - 20

- กิจกรรมเพื่อสังคม - - กิจกรรมเพื่อสังคมและ - 10*

และสาธารณ- สาธารณ- ประโยชน์

ประโยชน์

รวมเวลาเรียนทั้งหมด 15.0 รวมเวลาเรียนทั้งหมด 16.0 700

2.10 งานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้อง

จุดมุ่งหมายของการวิจัยน้ี เพื่อ 1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักศึกษาระดับ ปวช. และระดับ ปวส. 2. เพื่อพัฒนาแนวทางในการจัดการเรียนการสอนอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ ของวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพายพั และบริหารธรุ กจิ

55

พัชสดุ า กัลปย์ าณวฒุ (2558) โดยมวี ิธีดำเนินการกับกลุ่มเปูาหมายเพ่ือกลุ่มตวั อย่างที่ใช้ในงานวิจัย
ได้แก่ นักศึกษาระดับปวช.3 จำนวน 291 คน นักศึกษาระดับ ปวส. 2 จำนวน 160 คน รวมทั้งสิ้นจำนวน
451 คน โดยการสุ่มแบบแยกชั้น (Stratified Random Sampling)

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถามปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์
เพ่ือยืนยนั ประเดน็ ปัจจยั ทส่ี ง่ ผลกระทบต่อผลสัมฤทธท์ิ างการศกึ ษา ของนกั ศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพายพั
และบรหิ ารธรุ กิจ

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู ไดแ้ ก่ ค่าร้อยละ คา่ เฉล่ีย สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานวเิ คราะห์
ขอ้ มูล โดยหาคา่ เฉลี่ย (Mean) และคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

ผลการศึกษาวจิ ยั พบว่า จากการศึกษาปัจจัยท่สี ่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผู้เรียน
ระดับ ปวช. 3 และ ปวส. 2 ระดับความพึงพอใจ ของนักศึกษา และปัจจัยที่ส่งผลต่อการสัมฤทธิ์ทาง
การเรียนของนักศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ ทั้ง 4 ด้าน เมื่อพิจารณาโดยรวม
มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากเหมือนกันโดยประเด็นที่มีความพึงพอใจมาก คือ ปัจจัยด้านครอบครัว
ปัจจยั ด้านสภาพแวดลอ้ มของวิทยาลยั ปจั จัยด้านครแู ละปัจจัยดา้ นผู้เรยี น ตามลำดบั

พรศรี พทุ ธานนท์ (2550) ไดท้ ำการศึกษาปจั จัยที่มีผลต่อผลการเรยี นรู้ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษา
ปที ่ี 5 โรงเรียนแม่แตง อำเภอแม่แตง จงั หวัดเชียงใหม่ พบว่า ปัจจัยทีม่ ผี ลกระทบต่อการเรียนของนักเรียน
พบว่า ปัจจัยด้านสถานศึกษา และด้านส่วนตัวมีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลางปัจจัยภายในโรงเรียน
ทีมีผลกระทบต่อการเรียนของนักเรียน ของครูผู้สอน พบว่าปัจจัยด้านหลักสูตรปัจจัยด้านวิธีการสอน
และด้านวัสดุอุปกรณ์มีผลกระทบอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยภายในครอบครัวที่มีผลกระทบต่อ
การเรียนของนกั เรยี น ของผูป้ กครอง พบว่าผลกระทบอยูใ่ นระดับปานกลาง

กัญณัฐฐ์ เอื้อภราดร (2552) ได้ทำการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ของผุ้เรียน ระดับ
มัธยมศึกษาปีที่ 5 และมัธยมศึกษาปีที่ 6: กรณีศึกษาโรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์อำเภอบางบัวทอง
จังหวดั นนทบรุ พี บว่า ปัจจยั ทสี่ ่งผลใหผ้ ู้เรียน มกี ารเรียนรทู้ แี่ ตกตา่ งกัน คอื เพศ ความคาดหวงั ใน การศกึ ษา
ต่อต่างกัน อาชีพผู้ปกครอง ทัศนคติต่อตนเอง ทัศนคติต่อเนื้อหาวิชาที่เรียน ทัศนคติต่อวิธีสอน ทัศนคติ
ต่อวิธีการทำงานของนักเรียน ทัศนคติต่อสภาพแวดลอ้ มของโรงเรียน การปรับตัวกับเพือ่ นและการปรับตวั
กบั ครอบครวั

นกิ สนั วังโพธิ์ (2548) ไดท้ ำการศกึ ษาปัจจยั ที่มอี ทิ ธิพลต่อผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าภาษาอังกฤษ
ของนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรยี นประถมศกึ ษาสังกดั สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาปทุมธานีพบว่า
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ประถมศึกษาสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานีคือ ปัจจัยด้านนักเรียนอย่างมีนัยส ำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ 5 ได้แก่ 1. เพศ .2. แรงจูงใจในสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. อาชีพของผู้ปกครอง
4. รายได้ของผปู้ กครอง สว่ นปัจจัยดา้ นหอ้ งเรยี นไมม่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ

56

สุพัตรา วะยะลุน (2548) ได้ทำการศึกษาปัจจัยที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์
ของนักศึกษาโปรแกรมวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏเขตอีสานใต้ พบว่า
ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่นำมาศึกษาทั้ง 10 ตัว มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .01 และ .05 ปัจจัยที่สามารถพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ได้แก่ ทักษะพ้ืนฐาน
ทางคอมพิวเตอร์แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ ความพร้อมของผู้เรียน การพัฒนาความรู้และเครื่องมืออุปกรณ์
ตัวแปรทั้ง 5 ตวั มีอำนาจในการพยากรณ์ร้อยละ 69.8

บทท่ี 3
วธิ กี ารดำเนินงาน

การศึกษาในครั้งนี้เรื่อง เรื่อง การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของนักเรียน
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 หอ้ ง 4 โรงเรยี นวดั นวลนรดศิ กรงุ เทพมหานคร เพอ่ื ศึกษาปัจจยั ทสี่ ่งผลต่อผลสัมฤทธิ์
ทางการศึกษาของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และคอมพิวเตอร์ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของ
ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ โรงเรียน
วัดนวลนรดศิ กรุงเทพมหานคร และนำไปปรับปรุงต่อไป และพัฒนาแนวทาง ในการจัดการเรียน การสอน
ของผู้เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 หอ้ ง 4 แผนการเรยี น วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ โรงเรียน
วัดนวลนรดศิ กรงุ เทพมหานคร อยา่ งมีประสิทธภิ าพ โดยทางคณะผจู้ ัดทำมวี ธิ กี ารดำเนินดังต่อไปน้ี

3.1 ระเบยี บวิธีทีใ่ ช้ในการศกึ ษา

ในการศึกษาในครั้งนี้ใช้รูปแบบการสำรวจ สืบค้นข้อมูล จากหนังสือ อินเตอร์เน็ต
และตอบแบบสอบถาม เรื่อง ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 โรงเรียน
วัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร

3.2 ประชากรท่ีใช้ในการศกึ ษา

ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 แผนการเรียน
วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ โรงเรียนวัดนวลนรดศิ กรุงเทพมหานคร จำนวน 27 คน

3.3 ระยะเวลาทใี่ ช้ในการศกึ ษา

ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ดำเนินการภายใน ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง
วนั ที่ 31 มนี าคม 2564

3.4 วิธกี ารดำเนนิ งาน

ในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองถือเป็นกระบวนการในการทํางานที่ต้องดําเนินการอย่าง
เป็นลําดับขั้นตอน เพื่อให้เกิดประโยชน์มากที่สุดต่อการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองโดยมีขั้นตอน
วิธกี ารดำเนินงาน ดังตอ่ ไปนี้

58

ตารางที่ 3.1 แผนปฏบิ ตั ิงานและระยะเวลาดำเนินการ

วนั ที่ รายการกจิ กรรมการดำเนินงาน หมายเหตุ

1 - 31 กรกฎาคม 2563 จัดตั้งกลุ่มการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีสมาชิก ตามใบงาน
4 - 25 สิงหาคม 2563 ท้ังหมด 6 คน
1 – 15 กันยายน 2563 กำหนดเรื่องที่จะศึกษาโดยสมาชิกทั้ง 6 คน ประชุมร่วมกัน
และรว่ มกันคดิ และวา่ งแผนวา่ จะศึกษาเร่ืองใด
22 – 29 กนั ยายน สำรวจปัญหาที่พบ ปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของ
2563 นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ
กรุงเทพมหานคร
6 ตลุ าคม 2563 เลือกเรื่องที่จะศึกษา โดยเลือกเรื่องที่มีสมาชิกมีความสนใจ
1 - 30 มากท่ีสุด เพ่อื เป็นแรงจูงใจในการคน้ หาคำตอบ
ศึกษาแนวคิดในการแก้ปัญหา วิธีการสำรวจความคิดเห็นและ
พฤศจิกายน 2563 สร้างเครื่องมือ (แบบสอบถาม) ศึกษาเพียงเพื่อให้มีความรู้
3 ธันวาคม 2563 ความเข้าใจ เรอื่ งกระบวนการการวจิ ัยเทา่ นัน้
ตั้งชื่อเรื่อง การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
4 – 11 ธนั วาคม 2563 ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 โรงเรียนวัดนวลนรดศิ
กรงุ เทพมหานคร
17 ธันวาคม 2563 สมาชิกในกลุ่มทั้ง 6 คน พบครูผู้สอนเพื่อปรึกษา วางแผนและ
รับฟงั ความคิดเหน็ ปรับปรงุ แก้ไข
18 – 30 ธนั วาคม 2563 เขียนความสำคญั ความเป็นมาของปญั หา วตั ถปุ ระสงค์ สมมุติฐาน
ขอบเขตการวิจัยและประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ โดยการศึกษา
ข้อมูลจากหนังสือ วิทยานิพนธ์และสืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต
และจดบันทึกในโครงรา่ งรายงานเชิงวิชาการ
สร้างเครื่องมือ ที่เป็นแบบสอบถาม ออนไลน์ โดยใช้บริการของ
Google Google Form แบ่งออกเป็นทั้งหมดจำนวน 4 ด้าน
รวมท้งั สิ้น 15 ข้อ
นำเครื่องมือ ที่เป็นแบบสอบถาม ออนไลน์ โดยใช้บริการของ
Google Google Form แบ่งออกเป็นทั้งหมดจำนวน 4 ด้าน
รวมทั้งสิ้น 15 ข้อ ที่จัดทำขึ้นไปทดสอบระบบ โดยให้สมาชิก
ภายในกลุ่มทั้ง 6 คน ทดลองตอบแบบสอบถาม และหา
ขอ้ บกพร่อง จากน้ันทำการปรบั ปรงุ แก้ไขกอ่ นใช้งานจริง

59

ตารางที่ 3.2 (ตอ่ ) แผนปฏบิ ตั ิงานและระยะเวลาดำเนินการ

วนั ที่ รายการกิจกรรมการดำเนินงาน หมายเหตุ

นำเครื่องมือท่ีเป็นแบบสอบถาม ออนไลน์ โดยใช้บริการของ

Google Google Form แบ่งออกเป็นทั้งหมดจำนวน 4 ด้าน

7 – 8 มกราคม 2564 รวมทั้งสน้ิ 15 ขอ้ ที่ได้ทำการปรับปรุงแก้ไขแล้วไปรวบรวมข้อมูล
จากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 แผนการเรียน

วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ โรงเรียน

วัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร

ทำการรวบรวมข้อมูลโดยไปรวบรวมข้อมูลจากนักเรียน

กลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 แผนการเรียน

14 – 29 มกราคม 2564 วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ โรงเรียน
วัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร โดยให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างทำ

แบบสอบถาม ออนไลน์ โดยใช้บริการของ Google Google

Form แบ่งออกเป็นทั้งหมดจำนวน 4 ดา้ น รวมทงั้ สิ้น 15 ข้อ

วิเคราะห์ข้อมูล โดยการนำแบบสอบที่ไปรวบรวมข้อมูลจาก

นักเรียน กลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ห้อง 4 แผนการเรยี น

วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ โรงเรียน

4 – 18 วัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร โดยให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างทำ

กุมภาพนั ธ์ 2564 แบบสอบถาม ออนไลน์ โดยใช้บริการของ Google Google

Form แบ่งออกเป็นทั้งหมดจำนวน 4 ด้าน รวมทั้งสิ้น 15 ข้อ

นำมาวิเคราะห์ข้อมูล โดยการหา ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ MAX

(ค่าสงู สดุ ) MIN (ค่าตำ้ สุด)

สรุปผลการศึกษ าที่ได้ ทำก ารศ ึก ษา รว บรว มข้อมู ล

19 กุมภาพันธ์ – และการสำรวจ การตอบแบบสอบถามจากจากนักเรียนกลุ่ม
11 มนี าคม 2564 ตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 แผนการเรียน วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ

กรุงเทพมหานคร มาทง้ั หมด

12 – 25 มนี าคม 2564 ดำเนินการจดั ทำเลม่ รายงานผลการศึกษาค้นควา้

26 มนี าคม 2564 นำเสนอผลงาน ทีไ่ ดจ้ ากการศกึ ษาค้นควา้

ส้นิ สดุ การการศกึ ษาค้นคว้า

60

3.5 เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการศึกษา

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม (หรือแบบประเมินความพึงพอใจ) 1 ฉบับ
ซึ่งมรี ายละเอียดดังนี้

3.5.1 ออกแบบ แบบสอบถาม เรื่อง แบบสอบถามเรื่องปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเรียน
โดยขอคำแนะนำจาก คุณครูอรวรรณ บุญเพ็ง ที่ปรึกษา/คุณครูผู้สอน การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
(Independent Study : IS) โดยเตรียมการร่างข้อคำถาม มีลักษณะเป็น แบบสอบถาม ออนไลน์
โดยใช้บริการของ Google Google Form แบ่งออกเป็นทั้งหมดจำนวน 4 ด้าน รวมทั้งสิ้น 15 ข้อ
เป็นแบบมาตราส่วนประมาณ 5 ระดบั คือ

– 1 หมายถงึ นอ้ ยทีส่ ดุ
– 2 หมายถงึ น้อย
– 3 หมายถึง ปานกลาง
– 4 หมายถึง มาก
– 5 หมายถึง มากทส่ี ดุ

โดยการพิจารณาค่าเฉล่ยี จะใช้เกณฑ์ดงั ต่อไปน้ี ในการพิจารณา

ตารางที่ 3.3 การพิจารณาค่าเฉล่ีย จะใชเ้ กณฑ์

ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.50 หมายถงึ น้อยทีส่ ุด
คา่ เฉลี่ย 1.51 - 2.50 หมายถงึ น้อย
คา่ เฉลย่ี 2.51 - 3.50 หมายถึง ปานกลาง
คา่ เฉลี่ย 3.51 - 4.50 หมายถึง มาก
คา่ เฉลย่ี 4.51 - 5.00 หมายถงึ มากทส่ี ุด

3.5.2 สร้างแบบสอบถาม เรื่อง แบบสอบถาม ออนไลน์ เรื่องปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการ
เรียน โดยขอคำแนะนำจาก คุณครูอรวรรณ บุญเพ็ง ที่ปรึกษา/คุณครูผู้สอน การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
(Independent Study : IS) จากนั้นนำมาปรับปรุงแกไ้ ข แลว้ นำไปตรวจสอบความเหมาะสม

3.5.3 นำแบบสอบถาม เรื่อง แบบสอบถาม ออนไลน์ เรื่องปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเรียน
ที่แก้ไข ปรับปรุงแล้วให้กลุ่มนักเรียนตัวอย่างประเมิน หลังจากนั้นนำผลที่ได้มาหหาค่า ค่าเฉลี่ย ร้อยละ
MAX (คา่ สงู สดุ ) MIN (คา่ ตำ้ สดุ )

61

3.6 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล

ก า ร ศ ึ ก ษ า ค ร ั ้ ง น ี ้ ไ ด ้ ด ำ เ นิ น ก า ร โ ด ย น ำ แ บ บ ส อ บ ถ า ม ท ี ่ ส ร ้ า ง ข ึ ้ น ใ ห ้ ป ร ะ ช า ก ร / ต ั ว อ ย ่ า ง ต อ บ
จำนวน 27 คน และเก็บรวบรวมข้อมูลจาก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ
กรงุ เทพมหานคร ทีเ่ ปน็ กลุ้มตัวอย่าง โดยผู้ศึกษา ดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ดว้ ยตนเอง

3.7 การวิเคราะหข์ ้อมูล

โดยในการวเิ คราะหข์ ้อมูล ผูท้ ่ีศึกษาได้วเิ คราะหข์ อ้ มลู ดงั น้ี
3.7.1 นำแบบสอบถาม ออนไลน์ ทัง้ หมดทต่ี อบโดยตัวอยา่ ง มาหาค่าคะแนนรวม
3.7.2 นำผลรวมมาคิดคา่ รอ้ ยละ

3.8 สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการศึกษา
สถติ ิท่ใี ชใ้ นการศึกษาคร้งั นี้ ไดแ้ ก่
3.8.1 ค่าเฉลย่ี
3.8.2 ร้อยละ
3.8.3 MAX (ค่าสงู สดุ )
3.8.4 MIN (ค่าตำ้ สดุ )

บทท่ี 4
ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล

การศึกษาในครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ทำการศึกษา เรื่อง การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธ์ิ
ทางการศึกษาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร
เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 แผนการเรียน
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร ปัจจัยที่ส่งผลต่อ
ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และคอมพิวเตอร์ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร และนำไปปรับปรุงต่อไป และพัฒนาแนวทาง
ในการจัดการเรียน การสอนของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 แผนการเรียน วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร อย่างมีประสิทธิภาพ โดยทางคณะ
ผูจ้ ดั ทำมผี ลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดงั ต่อไปน้ี

4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ตอนที่ 1 สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ดังตารางที่ 4.1

ตารางที่ 4.1 สถานภาพทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม

ขอ้ มลู ทว่ั ไป จำนวน ร้อยละ

1. เพศ รวม 19 70.4
1.1 ชาย รวม 8 29.6
1.2 หญิง 27 100

2. อายุ 7 25.9
2.1 16 19 70.4
2.2 17 1 3.7
2.3 18 27 100

จากตารางที่ 4.1 พบวา่
1. นักเรยี นผู้ทต่ี อบแบบสอบถามทั้งหมดจำนวน 27 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 แยกเปน็

63

1.1 เพศชาย จำนวน 19 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 70.4
1.2 เพศหญงิ จำนวน 8 คน คดิ เป็นร้อยละ 29.6
2. โดยอายุของนักเรียนผู้ท่ีตอบแบบสอบถามจำนวนท้ัง 27 คน แยกเป็น
2.1 อายุ 16 ปี จำนวน 7 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 25.9
2.2 อายุ 17 ปี จำนวน 19 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 70.4
2.3 อายุ 18 ปี จำนวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 3.7

ตารางท่ี 4.2 ค่าเฉลี่ย ร้อยละ MAX MIN ระดับเกรดเฉลี่ยของผู้เรียนท่ีตอบแบบสอบถาม

ขอ้ มลู ทั่วไป x̅ ร้อยละ MAX MIN แปลผล

3. เกรดเฉล่ีย ม.4 เทอม 1 3.08 76.90 3.88 1.97 ปานกลาง
4. เกรดเฉลย่ี ม.4 เทอม 2
3.05 76.13 3.87 1.30 ปานกลาง

รวม 3.06 76.51 3.88 1.30 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.2 พบว่า ระดับเกรดเฉลี่ยของผู้เรียนที่ตอบแบบสอบถามโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ย
อยู่ในระดับ ปานกลาง ( X̅ = 3.06) คิดเป็นร้อยละ 76.51 เมื่อพิจารณาแล้ว เกรดเฉลี่ยของผู้เรียน
ท่ีตอบแบบสอบถามทั้ง 2 เทอมนั้นอยู่ในระดับปานกลาง เนื่องจากแผนการเรียนวิทยศาสตร์ คณิตศาสตร์
และคอมพิวเตอร์ เป็นแผนการเรียนที่มีรายวิชาเรียน ภาระงานเป็นจำนวนมาก และยาก
ระดบั เกรดเฉล่ยี ของผู้เรยี นทตี่ อบแบบสอบถามจึงมรี ะดบั อยปู่ านกลาง

ตอนท่ี 2 ความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเร

ตารางท่ี 4.3 ค่าเฉล่ีย ร้อยละ MAX MIN ระดับความพึงพอใจของผ

ขอ้ ที่ รายการประเมิน

ด้านท่ี 1 แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ
1 เมื่อนักเรียน ทราบว่า ตนมีผลการเรียนอ่อนด้อยกว่าเพื่อน จะพยายาม
2 มีความต้ังใจและเอาใจใส่ในการเรียนรู้
3 การวางแผนการเรียน มีการอ่านหนังสือก่อนเรียนในแต่ละครั้ง
4 ความรับผิดชอบในการเรียน มีการทำการบ้านหรืองานท่ีได้รับมอบห
5 นักเรียนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยอ่านหนังสือหรือทบทวนบท

รวม

ด้านที่ 2 ทัศนคติและนิสัยในการเรียน

6 มีการขอคำปรึกษาหลังเรียนหากไม่เข้าใจในเนื้อหาที่เรียนกับครูผู้สอ
ห้องเรียน

7 นักเรียนรู้สึกสนุกและมีความสุขในการเรียนวิชาต่าง ๆ

8 นักเรียนรู้สึกชอบเมื่อครูผู้สอน มีการซักถามในชั้นเรียน

9 นักเรียนจะไม่ขาดเรียนถ้าไม่มีความจำเป็นหรือเจ็บป่วย

รวม

64

รียน ดังตารางที่ 4.2
ผู้เรียนที่มีต่อปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเรียน

x̅ % MAX MIN แปลผล

มตั้งใจเรียนให้มากขึ้น 3.85 77.04 5 1 มาก
3.70 74.07 5 1 มาก
หมายส่งตรงต่อเวลา 2.81 56.30 5 1 ปานกลาง
ทเรียน 3.93 78.52 5 2 มาก
2.56 51.11 4 1 ปานกลาง
3.37 67.41 5 1 ปานกลาง

อนหรือเพื่อนภายใน 3.26 65.19 5 1 ปานกลาง

3.07 61.48 4 1 ปานกลาง
2.74 54.81 5 1 ปานกลาง
4.48 89.63 5 2 มาก
3.39 67.78 5 1 ปานกลาง

ขอ้ ท่ี รายการประเมิน

ด้านท่ี 3 ปัจจัยด้านครอบครัว

10 ครอบครัว ผู้ปกครองสนับสนุนด้านการเงินอย่างสม่ำเสมอทำให้นัก
ตั้งใจในการเรียน

11 ครอบครัว ผู้ปกครอง สนับสนุนด้านการเงินแก่นักเรียน จึงทำให้นัก

เรียนอย่างเต็มท่ี

รวม

ด้านท่ี 4 การปรับตัวในการเข้าศึกษา กิจกรรมต่าง ๆ

12 ครูผู้สอนมีทักษะในการสอนให้นักเรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้อย่าง

13 มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายทำให้เข้าใจเนื้อหา

14 เพ่ือน ๆ ในห้องมีความเอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ ซ่ึงกันและกัน และให้คำปรึก

15 นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ๆ ได้ ทำให้งานที่ได้รับรับมอ
ตามกำหนด และมีการเสริมการเรียนรู้ด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซ่ึง

รวม

ผลรวมทั้งหมด

จากตารางที่ 4.3 พบว่า ความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อปัจจัยที่มีผล
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 73.19 เมอ่ื พิจารณาเป็นรายข้อพบว่าทุกขอ้ จะอยู่ในระดับปานกลาง

65

x̅ % MAX MIN แปลผล

กเรียนมีกำลังใจและ 4.07 81.48 5 3 มาก
กเรียนมีเวลากับการ 3.89 77.78 5 2 มาก

3.98 79.63 5 2 มาก

งดี 3.74 74.81 5 3 มาก

วิชาอย่างชัดเจน 3.56 71.11 5 1 มาก

กษาปัญหาต่าง ๆ 4.30 85.93 5 3 มาก

อบมาย สำเร็จลุล่วง 4.00 80 5 3 มาก
งกันและกัน

3.90 77.96 5 1 มาก

3.66 73.19 5 1 มาก

ลกระทบต่อการเรียน โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับพอใจมาก ( ̅X = 3.66)
ง ถงึ มาก

66

โดยเมื่อเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ในด้านที่ 3 ปัจจัยด้านครอบครัว ( X̅ = 3.98) คิดเป็นร้อยละ
79.63 ด้านที่ 4 การปรับตัวในการเข้าศึกษา กิจกรรมต่าง ๆ ( X̅ = 3.90) คิดเป็นร้อยละ 77.96
เมื่อพิจารณาทั้ง 2 ด้านแล้วพบว่าทั้ง 2 ด้านอยู่ในระดับพอใจมาก ตามลำดับ และในด้านที่ 1
แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ ( X̅ = 3.37) คิดเป็นร้อยละ 67.41 และด้านที่ 2 เรื่อง ทัศนคติและนิสัยในการเรียน
( X̅ = 3.39) คดิ เปน็ รอ้ ยละ 67.78 เมือ่ พจิ ารณาทั้ง 2 ดา้ นแล้วพบวา่ ทั้ง 2 ด้านอยู่ในระดับพอใจปานกลาง
ตามลำดบั

บทท่ี 5
สรปุ ผล อภปิ ราย และข้อเสนอแนะ

จากการศึกษาในครั้งน้ี ผู้ศึกษาได้ทำการศึกษา เรื่อง การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธ์ิ
ทางการศึกษาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร
เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 แผนการเรียน
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร ปัจจัยที่ส่งผลต่อ
ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และคอมพิวเตอร์ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร และนำไปปรับปรุงต่อไป และพัฒนาแนวทาง
ในการจัดการเรียน การสอนของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 แผนการเรียน วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถ
สรปุ ผล อภปิ ราย และขอ้ เสนอแนะไดด้ งั ตอ่ ไปน้ี

วตั ถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4

แผนการเรียน วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรงุ เทพมหานคร
2. เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

หอ้ ง 4 แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และคอมพวิ เตอร์ โรงเรียนวดั นวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร
และนำไปปรับปรุงต่อไป

3. เพื่อพัฒนาแนวทาง ในการจัดการเรียน การสอนของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4
แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ โรงเรยี นวดั นวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร อย่างมี
ประสิทธิภาพ

ขอบเขตของการศกึ ษา
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 แผนการเรียน

วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร จำนวน 27 คน
โดยมีระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ดำเนินการภายใน ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง
วนั ที่ 31 มีนาคม 2564

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคร้ั งนี้ ประกอบด้วยแบบสอบถาม จำนวน 27 ฉบับ
เรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 โรงเรียน
วดั นวลนรดศิ กรุงเทพมหานคร แบ่งออกเป็นท้งั หมดจำนวน 4 ดา้ น รวมทงั้ ส้นิ 15 ข้อ

ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์ข้อมูลของนักเรียนเรียนที่มีต่อ การศึกษาปัจจัยท่ี
ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ

68

กรุงเทพมหานคร โดยสถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ การหาค่าเฉลี่ย ร้อยละ MAX (ค่าสูงสุด)
MIN (คา่ ตำ้ สุด)

5.1 สรปุ ผลผลการศกึ ษา

ผลการศึกษา ที่ มี ต่ อ การ ศึ ก ษา เรื่อง การศึกษาป ัจจั ยท ี่ส ่งผล ต่ อผลส ั ม ฤ ท ธิ์
ทางการศึกษาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร
โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับพอใจมาก ( ̅X = 3.66) คิดเป็นร้อยละ 73.19 เมื่อพิจารณาเป็น
รายข้อพบว่าทกุ ข้อจะอย่ใู นระดับปานกลาง ถึงมาก

โดยเมื่อเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ในด้านที่ 3 ปัจจัยด้านครอบครัว ( ̅X = 3.98) คิดเป็นร้อยละ
79.63 ด้านที่ 4 การปรับตัวในการเข้าศึกษา กิจกรรมต่าง ๆ ( ̅X = 3.90) คิดเป็นร้อยละ 77.96
เมื่อพิจารณาทั้ง 2 ด้านแล้วพบว่าทั้ง 2 ด้านอยู่ในระดับพอใจมาก ตามลำดับ และในด้านที่ 1
แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ ( ̅X = 3.37) คิดเป็นร้อยละ 67.41 และด้านที่ 2 เรื่อง ทัศนคติและนิสัยในการเรียน
( X̅ = 3.39) คดิ เปน็ ร้อยละ 67.78 เมอ่ื พจิ ารณาท้ัง 2 ดา้ นแลว้ พบว่าท้ัง 2 ด้านอยใู่ นระดับพอใจปานกลาง
ตามลำดับ

5.2 การอภิปรายผล

จากการศึกษา เรื่อง การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธ์ิ ทางการศึกษาของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร พบว่า โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดับพอใจมาก ( X̅ = 3.66) คิดเป็นร้อยละ 73.19 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าทุกข้อจะอยู่ในระดับ
ปานกลาง ถงึ มาก

ทั้งนี้ ทำการศึกษา เรื่อง การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธ์ิ ทางการศึกษาของนักเรียน
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 โรงเรยี นวดั นวลนรดิศ กรงุ เทพมหานคร ปัจจยั ในดา้ นท่ี 3 ปจั จยั ดา้ นครอบครัว
( ̅X = 3.98) คิดเป็นร้อยละ 79.63 โดยในด้านครอบครัว โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งทางได้ครอบครัว
ได้มีการสนับสนุนด้านการเงิน วัสดุอุปกรณ์การเรียน เป็นอันดับหนึ่ง รองลงมา ด้านที่ 4
การปรับตัวในการเข้าศึกษา กิจกรรมต่าง ๆ ( X̅ = 3.90) คิดเป็นร้อยละ 77.96 การปรับตัวทางการเรียน
มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎี การเรียนรู้ของ บลูม
(Bloom, อ้างถึงใน ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์: 2548, 91) ได้เสนอทฤษฎีการเรียนรู้ ในโรงเรียน
กล่าวคือ พื้นฐานของผู้เรียนเป็นหัวใจในการเรียน ผู้เรียนแต่ละคนจะเข้าชั้นเรียนด้วยพื้นฐาน
ที่จะช่วยให้เขา ประสบความสำเร็จในการเรียนรู้ต่างกัน ถ้าเขามีพื้นฐานที่คล้ายคลึงกัน ผลสัมฤทธิ์ทาง
การศึกษาจะไม่แตกต่างกัน คุณลักษณะของแต่ละคน เช่น ความรู้ที่จำเป็นก่อนเรยี น แรงจูงใจ ในการเรียน
คุณภาพของการสอนเป็นสิ่งที่ปรับปรุงได้ เพื่อให้เหมาะสมกับแต่ละคน โดนเมื่อพิจารณาทั้ง 2 ด้านแล้ว

69

พบว่าทั้ง 2 ด้านอยู่ในระดับพอใจมาก ตามลำดับ และในด้านที่ 1 แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ ( X̅ = 3.37)
คิดเป็นร้อยละ 67.41 แรงจูงใจในการเรียนรู้ แรงจูงใจเป็นแรงเสริมที่เกิดจากทั้งภายในและภายนอก
เป็นขวัญและ กำลังใจในการเรียนรู้และการทำงาน ครูสามารถพัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะ
ในด้านต่าง ๆ ของนักเรียนให้เกิดผลดีจึงต้องมีการพัฒนาแรงจูงใจ สร้างขวัญและกำลังใจ การจัดสภาพ
การเรียนและ การทำงาน รวมทั้งการให้บทเรียนที่เหมาะสมกับสติปัญญาความสามารถของผู้เรียน
ต่อมาด้านที่ 2 เรื่อง ทัศนคติและนิสัยในการเรียน ( ̅X = 3.39) คิดเป็นร้อยละ 67.78 ทั้งน้ี
(อา้ งถงึ ใน ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์,2558) ระบนุ สิ ยั ในการเรยี นของผูเ้ รยี นใหส้ ำเร็จว่าประกอบด้วยพฤติกรรม
การเอาใจใส่ในการเรียน การวางแผนและการจัดระบบการเรียน การมุ่งมั่นที่จะแสวงหาความรู้
และพัฒนาการเรียนให้ดีขึ้นเรื่อย ๆ โดยไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค มีความคิดริเริ่ม ขยัน อดทน รับผิดชอบ
พึ่งตนเอง และมีความภาคภูมิใจในผลการเรียนของตน สอดคล้องกับการศึกษาของ ศิราภรณ์ เทพฉิม
ซึง่ ได้พบว่า ทัศนคตหิ รอื นสิ ัยตลอดจนวธิ ีการปฏิบัติตนในการเรยี นของผู้เรียนมีความสัมพันธ์ในทางบวกกัน
โดยเมอ่ื พิจารณาท้งั 2 ดา้ นแลว้ พบวา่ ทง้ั 2 ด้านอยู่ในระดบั พอใจปานกลาง ตามลำดบั

5.3ขอ้ เสนอแนะ

ขอ้ เสนอแนะในการศกึ ษาครง้ั นี้
1. สามารถนำไปศึกษาปัญหาต่าง ๆ ที่พบในโรงเรียนได้ แต่ควรมีตัวแปรร่วมด้วย

เพ่อื ให้การศกึ ษามคี ณุ ภาพ
2. สามารถนำไปศึกษากับกลุ่มตวั อยา่ งอื่น
3. ควรมีเวลาศึกษามากขึ้น

บรรณานกุ รม

Bic.moe.go.th. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ . (ออนไลน์). สืบค้นจาก :
https://www.bic.moe.go.th/images/stories/Porrorbor2542.pdf. 15 มกราคม 2564.

Digitalschool.club. ( 2557) . ค ว า ม ก ห ม า ย ข อ ง ส ต ิ ป ั ญ ญ า . ( อ อ น ไ ล น ์ ) . แ ห ล ่ ง ท ี ่ ม า :
http://www.digitalschool.club/digitalschool/thai2_4_1/thai7_1/more/page3.php .
15 มกราคม 2564.

Kru.pueng. ( 2 5 6 1 ) . ผ ล ส ั ม ฤ ท ธ ิ ์ ท า ง ก า ร เ ร ี ย น . ( อ อ น ไ ล น ์ ) . ส ื บ ค ้ น จ า ก :
http://supapornouinong.blogspot.com/2018/04/blog-post_25.html. 18 มกราคม 2564.

KruoiySmartEng. ( 2 5 5 9 ) . ผ ล ส ั ม ฤ ท ธ ิ ์ ท า ง ก า ร เ ร ี ย น . ( อ อ น ไ ล น ์ ) . ส ื บ ค ้ น จ า ก :
http://kruoiysmarteng.blogspot.com/2016/08/achievement.html. 18 มกราคม 2564.

Longdo.com. (2557). ทักษะ คืออะไร. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://dict.longdo.com.
15 มกราคม 2564.

Longdo.com. ( 2557) . ส ต ิ ป ั ญ ญ า . ( อ อ น ไ ล น ์ ) . แ ห ล ่ ง ท ี ่ ม า : https://dict.longdo.com.
15 มกราคม 2564.

Nana-bio.com. (2558). ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน. (ออนไลน์). สืบค้นจาก :
http://www.nana-bio.com/. 18 มกราคม 2564.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2564). กระทรวงศึกษาธิการ อำนาจหน้าที่. (ออนไลน์). สืบค้นจาก :
https://www.moe.go.th/. 15 มกราคม 2564.

คู่มือนักเรียน ผู้ปกครอง และครู โรงเรียนวัดนวลนรดิศ. (2563). แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และคอมพิวเตอร์ โรงเรียนเรียนวดั นวลนรดศิ กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร

จินดารัตน์ โพธิ์นอก. (2557). ทักษะ หมายถึง. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://www.dailynews.co.th
/article/223844. 15 มกราคม 2564.

นิเทศออนไลน์ สพป. เชียงราย เขต 2. (2555). ทักษะในศตวรรษที่ 21. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
https : //sites.google.com/a/esdc.go.th/sv-sw/home/thaksa - ni-stwrrs-thi-21.
16 มกราคม 2564.

71

บรรณานกุ รม (ต่อ)

มหาว ิทยาลัยราช มงคลธ ัญบุรี . (2553). สมรรถน ะ ค ืออะไ ร. (ออนไลน์). สืบค้นจาก :
http://www.blog.rmutt.ac.th/?p=24. 29 ธนั วาคม 2563.

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2562). พระราชบัญญัติ (ออนไลน์). สืบค้นจาก :
https://th.wikipedia.org/wiki/. 15 มกราคม 2564.

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2564). เทคโนโลยี. (ออนไลน์). สืบค้นจาก :
https://th.wikipedia.org/wiki. 29 ธันวาคม 2563.

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2564). เทคโนโลยีการศึกษา. (ออนไลน์). สืบค้นจาก :
https://th.wikipedia.org/wiki. 18 มกราคม 2564.

ว ิ กิ พ ี เ ด ี ย ส า ร า น ุ ก ร ม เ ส ร ี . ( 2 5 6 4 ) . โ ล ก า ภ ิ ว ั ต น์ . ( อ อ น ไ ล น ์ ) . ส ื บ ค ้ น จ า ก :
https://th.wikipedia.org/wiki. 18 มกราคม 2564.

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2564). กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย). (ออนไลน์). สืบค้นจาก :
https://th.wikipedia.org/wiki. 15 มกราคม 2564.

ว ิ ล า ว รร ณ พ ิ ม ป ร ะ ส ง ค์ . (2555). ท ั ก ษ ะ แ ห ่ ง ศ ต ว ร ร ษ ท ี ่ 2 1 . (อ อ น ไ ล น ์ ) . แ ห ล ่ ง ท ี ่ ม า :
https://sites.google.com/site/ppvilawan21/thaksa-haeng-stwrrs-thi-21.
16 มกราคม 2564.

ว ิ ล า ว รร ณ พ ิ ม ป ร ะ ส ง ค์ . (2555). ท ั ก ษ ะ แ ห ่ ง ศ ต ว ร ร ษ ท ี ่ 2 1 . (อ อ น ไ ล น ์ ) . แ ห ล ่ ง ท ี ่ ม า :
https://sites.google.com/site/ppvilawan21/thaksa-haeng-stwrrs-thi-21.
16 มกราคม 2564.

อาเซียนในยุคโลกาภิวัฒน์. (2556). สังคมโลกยุคโลกาภิวัฒน์. (ออนไลน์). สืบค้นจาก :
https://sites.google.com/site/xaseiynniyukhlokaphiwathn/sangkhm-lok-yukh-
lokaphiwathn. 18 มกราคม 2564.

ภาคผนวก

73

ภาคผนวก ก
แบบสอบถามที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล

74

แบบสอบถาม
ปจั จัยท่ีส่งผลต่อผลสัมฤทธท์ิ างการศึกษาของนกั เรียน
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ห้อง 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร

แบบสอบถามนี้จัดทำขึ้นเพื่อสำรวจปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 4 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร และเป็นส่วนหนึ่งของวิชา
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองคค์ วามรู้ IS 32210

สว่ นที่ 1 ข้อมูลผู้แบบสอบถามเรื่องปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเรียน

คำชแ้ี จง โปรดทำเคร่ืองหมาย ✓ ลงใน ( ) ท่ีตรงกับความเป็นจริงเก่ียวกับตัวนักเรียนมากที่สุด

ข้อท่ี 1 เพศ

( ) 1. ชาย ( ) 2. หญงิ

ข้อท่ี 2 อายุ

( ) 1. 15 ( ) 2. 16

( ) 3. 17 ( ) 4. 18

ข้อท่ี 3 เกรดเฉลีย่ ม.4 เทอม 1

ขอ้ ที่ 4 เกรดเฉลย่ี ม.4 เทอม 2

สว่ นที่ 2 คำถามเร่อื งปจั จัยที่มีผลกระทบตอ่ การเรียน
แบบสอบถาม ปจั จัยที่สง่ ผลต่อผลสมั ฤทธิท์ างการศึกษาของนักเรยี น ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 5 หอ้ ง 4

โรงเรยี นวัดนวลนรดศิ กรุงเทพมหานคร แบ่งออกเป็นทั้งหมด 4 ตอน รวมทงั้ สิ้น 15 ข้อ
เกณฑ์ท่ใี ช้ในการพิจารณา
– 1 หมายถงึ นอ้ ยทีส่ ุด
– 2 หมายถึง นอ้ ย
– 3 หมายถงึ ปานกลาง
– 4 หมายถึง มาก
– 5 หมายถึง มากทส่ี ดุ

75

คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย ✓ ลงใน  ที่ตรงกับความเป็นจริงเก่ียวกับตัวนักเรียนมากท่ีสุด

ข้อที่ รายการประเมิน 1 2 3 4 5

ด้านท่ี 1 แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ

1 เมื่อนักเรียน ทราบว่า ตนมีผลการเรียนอ่อนด้อยกว่าเพื่อน
จะพยายามตั้งใจเรียนให้มากข้ึน

2 มีความต้ังใจและเอาใจใส่ในการเรียนรู้

3 การวางแผนการเรียน มีการอ่านหนังสือก่อนเรียนในแต่ละครั้ง

4 ความรับผิดชอบในการเรียน มีการทำการบ้านหรืองานที่ได้รับ
มอบหมายส่งตรงต่อเวลา

5 นักเรียนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยอ่านหนังสือหรือทบทวน
บทเรียน

ด้านท่ี 2 ทัศนคติและนิสัยในการเรียน

6 มีการขอคำปรึกษาหลังเรียนหากไม่เข้าใจในเนื้อหาที่เรียนกับ
ครูผู้สอนหรือเพ่ือนภายในห้องเรียน

7 นักเรียนรู้สึกสนุกและมีความสุขในการเรียนวิชาต่าง ๆ

8 นักเรียนรู้สึกชอบเมื่อครูผู้สอน มีการซักถามในช้ันเรียน

9 นักเรียนจะไม่ขาดเรียนถ้าไม่มีความจำเป็นหรือเจ็บป่วย

ด้านท่ี 3 ปัจจัยด้านครอบครัว

10 ครอบครัว ผู้ปกครองสนับสนุนด้านการเงินอย่างสม่ำเสมอทำให้
นักเรียนมีกำลังใจและต้ังใจในการเรียน

11 ครอบครัว ผู้ปกครอง สนับสนุนด้านการเงินแก่นักเรียน จึงทำให้
นักเรียนมีเวลากับการเรียนอย่างเต็มท่ี

ด้านท่ี 4 การปรับตัวในการเข้าศึกษา กิจกรรมต่าง ๆ

12 ครผู สู้ อนมีทกั ษะในการสอนให้นักเรยี นเกดิ กระบวนการเรียนรู้อย่างดี

13 มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายทำให้เข้าใจ
เน้ือหาวิชาอย่างชัดเจน

14 เพื่อน ๆ ในห้องมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ซึ่งกันและกัน และให้
คำปรึกษาปัญหาต่าง ๆ

นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ๆ ได้ ทำให้งานที่ได้รับรับมอบ

15 มาย สำเร็จลุล่วงตามกำหนด และมีการเสริมการเรียนรู้ด้วยการ

แลกเปล่ยี นเรียนรู้ซงึ่ กนั และกัน

76

ส่วนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ

77

ภาคผนวก ข
ผลสรุปรวมการตอบแบบสอบถาม

78

ผลสรุปรวมการตอบแบบสอบถาม

สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ผแู้ บบสอบถามเรอ่ื งปจั จัยท่มี ีผลกระทบต่อการเรยี น

แผนภูมิท่ี ข.1 เพศของนักเรียนผู้ตอบแบบสอบถาม

แผนภูมิที่ ข.2 อายุของนักเรียนผู้ตอบแบบสอบถาม

79

แผนภูมิที่ ข.3 เกรดเฉล่ีย ม.4 เทอม 1ของนักเรียนผู้ตอบแบบสอบถาม
แผนภูมิท่ี ข.4 เกรดเฉลี่ย ม.4 เทอม 2 ของผู้เรียนผู้ตอบแบบสอบถาม

80

สว่ นท่ี 2 คำถามเรอ่ื งปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อการเรยี น

ด้านที่ 1 แรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ์

แผนภมู ิที่ ข.5 ความคดิ เห็นของผเู้ รียนว่า “เม่ือนักเรียน ทราบว่า ตนมีผลการเรียนอ่อนด้อยกวา่ เพ่อื น
จะพยายามต้ังใจเรียนให้มากขึ้น”

แผนภมู ิที่ ข.6 ความคดิ เห็นของผเู้ รยี นวา่ “มคี วามตั้งใจและเอาใจใสใ่ นการเรยี นรู้”

81

แผนภูมิที่ ข.7 ความคิดเห็นของผู้เรียนว่า
“การวางแผนการเรียน มีการอ่านหนังสือก่อนเรียนในแต่ละครั้ง”

แผนภูมิท่ี ข.8 ความคิดเห็นของผู้เรียนว่า
“ความรับผิดชอบในการเรียน มีการทำการบ้านหรืองานท่ีได้รับมอบหมายส่งตรงต่อเวลา ”

82

แผนภูมิที่ ข.9 ความคิดเห็นของผู้เรียนว่า
“นักเรียนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยอ่านหนังสือหรือทบทวนบทเรียน ”
ด้านที่ 2 ทศั นคตแิ ละนสิ ยั ในการเรียน

แผนภูมิที่ ข.10 ความคิดเหน็ ของผเู้ รียนวา่
“มีการขอคำปรึกษาหลงั เรยี นหากไมเ่ ข้าใจในเนื้อหาทีเ่ รยี นกบั ครผู สู้ อนหรือเพื่อนภายในหอ้ งเรยี น”

83

แผนภูมิท่ี ข.11 ความคิดเห็นของผู้เรียนว่า
“นักเรียนรู้สึกสนุกและมีความสุขในการเรียนวิชาต่าง ๆ”

แผนภูมิท่ี ข.12 ความคิดเห็นของผู้เรียนว่า
“นักเรียนรู้สึกชอบเม่ือครูผู้สอน มีการซักถามในชั้นเรียน”

84

แผนภูมิที่ ข.13 ความคิดเห็นของผู้เรียนว่า
“นักเรียนจ ะไม่ขาดเรียนถ้าไม่มีความจำเป็นหรื อเจ็ บป่วย ”
ดา้ นที่ 3 ปัจจยั ด้านครอบครวั

แผนภูมิที่ ข.14 ความคิดเห็นของผู้เรียนว่า
“ครอบครวั ผู้ปกครองสนบั สนุนด้านการเงินอย่างสม่ำเสมอทำใหน้ ักเรียนมีกำลังใจและตั้งใจในการเรยี น”

85

แผนภูมิท่ี ข.15 ความคิดเห็นของผู้เรียนว่า
“ครอบครวั ผปู้ กครอง สนับสนุนด้านการเงนิ แกน่ กั เรยี น จงึ ทำใหน้ กั เรยี นมีเวลากบั การเรียนอยา่ งเตม็ ท่ี”

ดา้ นที่ 4 การปรบั ตวั ในการเข้าศกึ ษา กิจกรรมตา่ ง ๆ

แผนภูมิที่ ข.16 ความคิดเห็นของผู้เรียนว่า
“ครูผู้สอนมีทักษะในการสอนให้นักเรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างดี ”

86

แผนภูมิท่ี ข.17 ความคิดเห็นของผู้เรียนว่า
“มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายทำให้เข้าใจเน้ือหาวิชาอย่างชัดเจน ”

แผนภูมิที่ ข.18 ความคิดเห็นของผู้เรียนว่า
“เพื่อน ๆ ในห้องมีความเอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ ซ่ึงกันและกัน และให้คำปรึกษาปัญหาต่าง ๆ”

87

แผนภูมิที่ ข.19 ความคิดเห็นของผู้เรียนว่า
“นักเรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืน ๆ ได้ ทำให้งานท่ีได้รับรับมอบมาย สำเร็จลุล่วงตามกำหนด

และมีการเสริมการเรียนรู้ด้วยการแลกเปล่ียนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ”
ดา้ นที่ 4 การปรบั ตวั ในการเขา้ ศึกษา กิจกรรมตา่ ง ๆ

แผนภูมิท่ี ข.20 ข้อเสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถาม


Click to View FlipBook Version