วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์
วิชาประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การศึกษาประวัติศาสตร์
ก การศึกษาประวัติศาสตร์
ค าน า
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้ จัดท าขึ้นเพื่อนเป็นส่วนของรายวิชา
ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เพื่อให้ได้ศึกษาความรู้ในเรื่อง
วิธีการทางประวัติศาสตร์ เพื่อเป็นประโยชน์แสะดวกในการศึกษาหา
ความรู้
ทางผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้
จะมีประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียนที่ก าลังศึกษาข้อมูลเรื่องนี้
และหากมีข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดท าขออภัยมา ณ โอกาสนี้ด้วย
นางสาวนิสรา บุญฤทธิ์
ข การศึกษาประวัติศาสตร์
สารบัญ
เรื่อง หน้า
การศึกษาประวัติศาสตร์..............................................................................1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ขั้นที่ 1 ..............................................................2
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ขั้นที่ 2................................................................3
หลักฐานชั้นต้น.................................................................................3
หลักฐานชั้นรอง.................................................................................5
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ขั้นที่ 3................................................................7
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ขั้นที่ 4................................................................8
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ขั้นที่ 5..........................................................9
ตัวอย่างการน าวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษาค้นคว้าในท้องถิ่น..........10
บรรณานุกรม...............................................................................................14
ตั้งใจเรียนนะครับ
ค การศึกษาประวัติศาสตร์
ค าแนะน าการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E-Book )
ส าหรับนักเรียน
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E- book) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เรื่องวิธีทางประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชาประวัติศาสตร์ นักเรียนควร
ปฏิบัติดังนี้
1. อ่านค าชี้แจงและจุดประสงค์การเรียนรู้ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
(E- book) ให้เข้าใจ
2. ศึกาเนื้อหาไปทีละหน้า ขอให้ผู้เรียนตั้งใจศึกษาและท าความเข้าใจ
เนื้อหาอย่างละเอียดในขณะที่ผู้เรียนตั้งใจศึกษาเนื้อหา
3. หากผู้เรียนไม่เข้าใจในเนื้อหาหรือมีข้อสงสัยให้สอบถามครุผุ้สอนให้
เข้าใจก่อนท าแบบทดสอบและแบบฝึกหัด
ง การศึกษาประวัติศาสตร์
สาระส าคัญ
การรวบรวม พิจารณาไตร่ตรอง วิเคราะห์และตีความจากหลักฐาน
แล้วน ามาเปรียบเทียบอย่างเป็นระบบ เพื่ออธิบายเหตุการณ์ส าคัญ
ที่เกิดขึ้นในอดีตว่าเหตุใดจึงเกิดขึ้น หรือเหตุการณ์ในอดีตนั้นได้เกิดและ
คลี่คลายอย่างไร ซึ่งเป็นความมุ่งหมายที่ส าคัญของการศึกษา
ประวัติศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญของเวลาและยุคสมัย
ทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ วิเคราะห์
เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ
จ การศึกษาประวัติศาสตร์
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ป.6/1 อธิบายความส าคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์ใน
การศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์อย่างง่ายๆ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายความส าคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์ได้ (K)
2. นักเรียนสามารถจ าแนกขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ได้ (P)
3. นักเรียนมีความสนใจเกี่ยวกับวิธีการทางประวัติศาสตร์ (A)
1 การศึกษาประวัติศาสตร์
บทที่ 1 การศึกษาประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์ คือ ขั้นตอนหรือวิธีการที่เราใช้เพื่อศึกษาค้นคว้า
และเรียบเรียงเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์จากหลักฐานต่างๆ
วิธีการทางประวัติศาสตร์ช่วยให้เราได้ข้อมูลหรือเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่มีความ
ถูกต้อง เที่ยงตรง สมบูรณ์ และมีความน่าเชื่อถือสามารถน าวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้
ศึกษาค้นคว้าความเป็นมาของชาติและท้องถิ่นได้ โดยมีวิธีการค้นคว้า ๕ ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ ๑ การก าหนดหัวข้อที่สนใจ
ขั้นตอนที่ ๒ การรวบรวมหลักฐาน
ขั้นตอนที่ ๓ การตรวจสอบหลักฐาน
ขั้นตอนที่ ๔ การตีความหลักฐาน
ขั้นตอนที่ ๕ การเรียบเรียงและน าเสนอข้อมูล
2 การศึกษาประวัติศาสตร์
ขั้นตอนที่ ๑ การก าหนดหัวข้อที่สนใจ
เป็นการก าหนดหัวข้อที่เราสนใจศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ
ความเป็นมาของชาติและท้องถิ่น โดยอาจตั้งค าถามกว้างๆ
เช่น
สภาพความเป็นอยู่ของคนในสมัยรัชกาลที่ ๕ เป็นอย่างไร
สถานที่ที่เราต้องการศึกษามีประวัติความเป็นมาอย่างไร
บุคคลที่เราต้องการศึกษามีประวัติเเละผลงานส าคัญอะไร
ท้องถิ่นของเรามีประวัติความเป็นมาอย่างไร
ชื่อของสถานที่มีที่มาอย่างไร
3 การศึกษาประวัติศาสตร์
ขั้นตอนที่ ๒ การรวบรวมหลักฐาน
เป็นการรวบรวมสิ่งที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ
ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ที่เราต้องการศึกษา
ค้นคว้า ซึ่งหลักฐานเเบ่งเป็น ๒ ชั้น ดังนี้
หลักฐานชั้นต้น เป็นหลักฐานร่วมสมัยกับบุคคลหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต
เป็นหลักฐานที่เกิดขึ้นในยุคสมัยนั้นจริงๆ เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ
กฎหมายพระราชพงศาวดาร บันทึกประจ าวัน ภาพถ่าย เเถบบันทึกภาพ
เเถบบันทึกเสียง หนังสือพิมพ์ เอกสารราชการ สถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมหรือสิ่งปลูกสร้างในอดีตที่ยังเห็นอยู่ในปัจจุบัน อาคาร
บ้านเรือนเเบบตะวันตก นอกจากนี้ยังมีสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ ที่มีอยู่ในสมัย
นั้น เช่น นาฬิกา พัดลม วิทยุ
วัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย
4 การศึกษาประวัติศาสตร์
วัดแก้ว นับเป็นโบราณสถานที่ส าคัญในการศึกษา
สถาปัตยกรรมในสมัยศรีวิชัย เนื่องจากมีสภาพสมบูรณ์
ที่สุด ลักษณะทางสถาปัตยกรรมเป็นเจดีย์ทรงปราสาท
ก่ออิฐไม่สอปูน ขัดผิวหน้าอิฐเรียบ ผังเป็นรูปกากบาท
จัดเป็นหลักฐานชั้นต้น
เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ ๙ สร้างขึ้น
เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ซึ่งเป็นเรือล าแรกที่สร้างในรัชกาลที่ ๙
จัดเป็นหลักฐานชั้นต้น
5 การศึกษาประวัติศาสตร์
หลักฐานชั้นรอง
เป็นหลักฐานที่สร้างขึ้นมาในภายหลังเหตุการณ์ที่
4. WHO IS THE WRITER?
เกิดขึ้นโดยใช้ข้อมูลจากหลักฐานชั้นต้น เช่น หนังสือ
บทความหรือบันทึกความทรงจ าที่เขียนขึ้นหลังเหตุการณ์
ส าคัญในประเทศไทย เช่น อนุสาวรีย์วีรชนชาวบ้าน
บางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยที่สร้างขึ้น
● Romeo & Juliet
เพื่อเป็นที่ระลึกถึงเหตุการณ์เปลี่ยนเเปลงการปกครองเป็น
● Hamlet
ระบอบประชาธิปไตย เป็นต้น
● Macbeth
● Othello
● A Midsummer’s
Night Dream
อนุสาวรีย์บางระจัน อนุสาวรีย์ ประชาธิปไตย
6 การศึกษาประวัติศาสตร์
นอกจากนี้ ในบางท้องถิ่นอาจจะยังมีต านานหรือเรื่องที่เล่า
ต่อๆ กันมาที่เกี่ยวกับความเป็นมาของท้องถิ่น ที่มาของชื่อสถานที่
ซึ่งถือว่าต านานหรือเรื่องเล่าเหล่านี้เป็นหลักฐานชั้นรองด้วย
ต านานวัดเจดีย์ไอ้ไข่
ต านานเพ่อตาขุนทะเล
ต านานถ้ าขมิ้น
ต านานเขาอกทะลุ
ต านานหินตาหินยาย
ไอ้ไข่วัดเจดีย์ ถ้้าขมิ้น
7 การศึกษาประวัติศาสตร์
ขั้นตอนที่ ๓ การตรวจสอบหลักฐาน
เป็นการตรวจสอบหลักฐานที่หามาได้ว่ามีความถูกต้อง
และน่าเชื่อถือเพียงใด เช่น ข้อมูลที่ได้จากผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ย่อม
น่าเชื่อถือมากกว่าผู้ที่ได้รับการบอกเล่าต่อกันมาโดยไม่ได้เห็นด้วย
ตนเอง หลักฐานทางราชการย่อมน่าเชื่อถือมากกว่าบุคคลทั่วไป
หลักฐานที่เป็นต้นฉบับย่อมถูกต้องมากกว่าฉบับคัดลอก เป็นต้น
การตรวจสอบหลักฐานจะท าให้ผู้ใช้หลักฐานรู้ว่า หลักฐานใดมี
ความถูกต้องกว่า สมบูรณ์กว่า เเละน่าเชื่อถือมากกว่า
หลักฐานชั้น.............. หลักฐานชั้น..............
8 การศึกษาประวัติศาสตร์
ขั้นตอนที่ ๔ การตีความหลักฐาน
เป็นการน าข้อมูลจากหลักฐานที่ได้มาตรวจสอบความถูกต้อง
1. WHAT OBJECT DOES SHE USE?
เเละความน่าเชื่อถือ แล้วน ามาจัดเป็นหมวดหมู่เเละตีความว่าจะ
ได้รับความรู้หรือเรื่องราวใดจากข้อมูลนั้นบ้าง โดยเรียงล าดับข้อมูล
ตามความส าคัญตามล าดับเวลาก่อนหลัง หรือเรียงตามหัวข้อ
Mary loves to spend the weekend
เพื่อความสะดวกในการน าข้อมูลที่ได้จากหลักฐานมาใช้
outside taking pictures. She uses
something that Mary’s father gave her
as a present, although she needs to
use the flash option at night!
9
ก การศึกษาประวัติศาสตร์
การศึกาประวัติศาสตร์
ขั้นตอนที่ ๕ การเรียบเรียงและน าเสนอข้อมูล
เป็นการน าข้อมูลจากหลักฐานที่ได้มาเรียบเรียงให้เป็นเรื่องราว
เพื่อตอบข้อสงสัยหรือประเด็นที่ตั้งไว้ โดยน ามาเรียบเรียงอย่างมี
เหตุผลและมีหลักฐานอ้างอิงที่สามารถเชื่อถือได้ ไม่ล าเอียง จากนั้นก็
น าเสนอความรู้ที่ค้นคว้ามาได้ในรูปแบบต่างๆ เช่น น ามาเขียน
เรียงความ เล่าให้ผู้อื่นฟัง น ามาจัดท าเป็นนิทรรศการ จ าท ารายงาน
หรือจัดป้ายนิเทศ เป็นต้น
การจัดนิทรรศการ
10 การศึกษาประวัติศาสตร์
ตัวอย่างการน าวิธีการทางประวัติศาสตร์
มาใช้ศึกษาค้นคว้าในท้องถิ่น
1. การก าหนดหัวข้อที่สนใจ
สมมุติว่านักเรียนเป็นชาวจังหวัดบุรีรัมย์ และมีความสนใจในการศึกษา
ประวัติของจังหวัดบุรีรัมย์ นักเรียนอาจจะก าหนดหัวข้อที่สนใจ เช่น
สถานที่ส าคัญทาง
ประวัติความเป็นมาของ ประวัติศาสตร์ของจังหวัด
จังหวัดบุรีรัมย์
บุรีรัมย์
ประเพณีวัฒนธรรมของ
ที่มาของชื่อจังหวัดบุรีรัมย์
จังหวัดบุรีรัมย์
11 การศึกษาประวัติศาสตร์
2. การรวบรวมหลักฐาน
หลักฐานชั้นต้น เช่น ปราสาทหินเมืองต่ า
แหล่งเตาเผาโบราณ อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง ราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๖ ร.ศ. ๑๑๘ เป็นต้น
จารึกปราสาทหินพนมรุ้ง
อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง
12 การศึกษาประวัติศาสตร์
สถานที่ เช่น ศาลากลางจังหวัด
บุรีรัมย์ ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดบุรีรัมย์
อนุสาวรีย์เราสู้ เป็นต้น
หนังสือ เช่น บุรีรัมย์มาจากไหน
ของสุจิตต์ วงษ์เทศ สารานุกรมวัฒนธรรมไทย
ภาคอีสาน ของมูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย
ธนาคารไทยพาณิชย์ เป็นต้น
ประเพณีวัฒนธรรม เช่น งานมหกรรม
ว่าวอีสาน งานประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง งานเครื่อง
เคลือบพันปีประเพณีบ้านกรวด งานเทศกาลข้าว
หอมมะลิ เป็นต้น
บุคคล เช่น ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอ าเภอ
ผู้ใหญ่บ้าน ก านัน คนในชุมชน เป็นต้น
13 การศึกษาประวัติศาสตร์
3. การตรวจสอบหลักฐาน
น าหลักฐานที่ได้มาพิจารณาว่ามีความถูกต้อง น่าเชื่อถือหรือไม่และควรพิจารณาจาก
หลักฐานหลายชิ้นประกอบกัน แล้วเลือกเอาข้อมูลที่ตรงกันทุกแหล่งข้อมูล
4. การตีความหลักฐาน
น าหลักฐานที่ได้ตรวจสอบมาแยกประเภทจัดหมวดหมู่ เรียงล าดับตามเวลาก่อนหลัง
ผู้ตีความต้องท าใจให้เป็นกลาง ไม่อคติ ไม่น าความคิดเห็นส่วนตัวไปใช้ในการตีความ จึงจะเป็น
ข้อมูลที่ถูกต้องและน่าเชื่อถือ
5. การเรียบแรงและน าเสนอข้อมูล
น าข้อมูลที่ตีความแล้วมาเสนอความจริงและข้อเท็จจริงให้
ผู้อื่นรับทราบ มีหลายวิธี อะไรบ้าง
14 การศึกษาประวัติศาสตร์
บรรณานุกรม
วุฒิชัย มูลศิลป์.ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. กรุงเทพฯ :
อักษรเจริญทัศน์, 2558.
THANK YOU