The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว รพ ธมส ฉบับ 2561

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว รพ ธมส

แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว รพ ธมส ฉบับ 2561

Keywords: ผู้ป่วยก้าวร้าว,แนวทางดูแล

ผู้ป่วยพฤติกรรมก้าวร้าว

แนวทางการดูแล
THANYARAK

MAEHONGSON

HOSPITAL

แนวทางการดูแลผู้ป่วย
ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว







โรงพยาบาลธัญญารักษ์
แม่ฮ่องสอน

แนวทางการดูแลผู้ป่วยทมี่ พี ฤตกิ รรมก้าวรา้ ว

ประเมนิ พฤติกรรม - แบบประเมนิ OAS ทุก case
กา้ วร้าว

มี ไมม่ ี

ปฏิบตั ติ ามแนวทางพฤติกรรม Admit Detox
กา้ วร้าว (ภาวะฉกุ เฉนิ OPD)

ประเมินอาการซา้ มี ไมม่ ี
สงบ
ไมส่ งบ สงบ - ดูแลทว่ั ไป
ปฏิบตั ติ ามแนวทางพฤติกรรม - กรณพี รบ.รอย้ายตกึ ตามแนวทาง
กา้ วรา้ ว (detox)

สง่ ตอ่ /ตามการ ประเมินอาการซา้ Admit Rehab
พจิ ารณาของทีม

ไมส่ งบ มี ไมม่ ี

ส่งตอ่ /ตามการ - ดแู ลทวั่ ไป
พิจารณาของทีม

ผรู้ ักษา
ปฏิบตั ติ ามแนวทางพฤติกรรม
ก้าวร้าว (Rehab)

ไม่สงบ

ประเมนิ อาการซา้

สงบ

1 - ดแู ลท่วั ไป
- เฝา้ ระวงั อาการ

TMH | เรมิ่ ใช้ 9 กค. 61

กลุ่มงานการพยาบาล
ผู้ป่วยนอก

แนวทางการบริหารจดั การเมอื่ ผู้ปว่ ยเกิดพฤตกิ รรมกา้ วร้าว
กลมุ่ งานการพยาบาลผ้ปู ่วยนอก

ประเมินผ้ปู ่ วยด้วยแบบ
ประเมนิ OAS

OAS 1 คะแนน OAS 2 คะแนน OAS 3 คะแนน

- ตามเจ้าหน้าทร่ี ักษา - รายงานแพทย์ - ตามเจ้าหน้าท่ีรักษาความ
ความปลอดภยั -แยกผ้ปู ่ วยให้อยใู่ นที่ปลอดภยั ปลอดภยั
- พดู คยุ กบั ผ้ปู ่ วย
รายงานแพทย์ -เตรียมหตั ถการเพ่ือระงบั พฤติกรรม รายงานแพทย์
- แยกผ้ปู ่ วยให้อยใู่ นที่ คนไข้ -แยกผ้ปู ่ วยให้อยใู่ นทป่ี ลอดภยั
ปลอดภยั -ตามทมี เคลอื่ นท่ีเร็ว
- พดู คยุ กบั ผ้ปู ่ วย -มดั /ยา -ขอความร่วมมอื สถานีตารวจ
ตามเจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภยั -เตรียมหตั ถการเพือ่ ระงบั
พฤตกิ รรมคนไข้
อาการสงบ อาการรุนแรงขนึ ้
-มดั /ยา
admit ประเมนิ ซา้
ทกุ 15 นาที สง่ ตอ่

หอผู้ป่วยบำบัดยา

แนวทางการดูแลผู้ปว่ ยทม่ี พี ฤติกรรมก้าวรา้ วในหอผปู้ ว่ ยบาบดั ยา

ความหมายของพฤติกรรมก้าวร้าวคอื
พฤติกรรมกา้ วร้าว หมายถึง การกระทาหรอื พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกอย่างรุนแรง ทงั้ ทางวาจาหรือทาง

กาย ซึ่งเกดิ จาก ความคับข้องใจ / ไมส่ มหวงั / ความโกรธ หรอื ถกู ระราน อาจแสดงออกกบั บุคคลอ่นื กับตนเอง
หรอื สงิ่ แวดลอ้ ม (ภาควิชาการพยาบาลจิตเวชศาสตร์ วทิ ยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย, 2457; สมภพ, 2542)
ความรุนแรงจะเพิ่มขนึ้ อย่างต่อเนือ่ งโดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในผู้ป่วยท่ใี ช้ยาเสพตดิ และผู้ปว่ ยท่มี อี าการทางจิตเวช
สภาพแวดล้อมที่มีความตึงเครียดสูง ว่นุ วายผู้ปว่ ยท่ีเข้ามารบั บริการต่างมีความวิตกกังวลใจปัจจัยเหลา่ น้ี ล้วน
เสริมใหเ้ กดิ ความเสีย่ งทจ่ี ะเกิดความรนุ แรงมากขึ้น (มาโนช, 2548) เนื่องจากยาเสพติดท้ังหลาย เม่อื เกิดการ
เสพติดจะมผี ลกระทบต่อร่างกายและจิตใจของผ้เู สพ ซ่ึงทาให้ลกั ษณะ และความประพฤติของผเู้ สพยาเสพติด
เปล่ียนไปจากเดิม อารมณ์ฉุนเฉียว หงุดหงิดง่าย เอาแต่ใจตัวเอง อุปนสิ ยั เปลย่ี นไป เชน่ จากเปน็ คนเรยี บร้อย
เชอื่ ฟงั กลายเปน็ คนก้าวร้าว ดดุ ัน หงุดหงดิ โมโหงา่ ย (สสส, 2553)

ลักษณะของพฤติกรรมกา้ วร้าว (สมภพ, 2542)
1. พฤตกิ รรมกา้ วร้าวทางคาพูด: ใชค้ าพดู ตาหนิ ตเิ ตียน วิพากษ์วิจารณ์พดู ในแงร่ ้าย เสยี งดัง ขู่ตะคอก เอะอะ
อาละวาด วางอานาจ วาจาหยาบคาย
2. พฤติกรรมกา้ วรา้ วแสดงออกทางรา่ งกาย: มีสีหนา้ บงึ้ ตึงแววตาไมเ่ ปน็ มิตร ท่าทางไมพ่ อใจ กระวนกระวาย
อยู่ไม่นิ่ง ไม่สนใจเร่ืองการกนิ การนอน การขบั ถ่าย แบ่งออกเปน็ 3 ลักษณะไดแ้ ก่

2.1 พฤติกรรมก้าวร้าวทาลายสง่ิ ของ ไดแ้ ก่ ทบุ ทาลายสง่ิ ของเคร่ืองใช้ ทุบกระจก จุดไฟเผา ปิดประตู
เสียงดัง

2.2 พฤติกรรมกา้ วร้าวทารา้ ยคนอื่น หาเร่ืองวิวาททารา้ ย และละเมิดสิทธิผู้อน่ื โดยการกัด การตี การ
ผลัก และการใช้อาวธุ ทาร้ายคนอน่ื ใหไ้ ดร้ ับบาดเจ็บ

2.3 พฤติกรรมก้าวรา้ วทารา้ ยตนเอง เชน่ การหยกิ ข่วนตนเอง การใช้มีดกรดี ข้อมือตนเอง การดึงผม
จดุ ไฟเผาตนเอง การฆา่ ตวั ตาย เป็นตน้

การจดั การเม่ือมีเหตุการณ์ ( As incident management) ประกอบดว้ ย
1) การจากัดพฤตกิ รรมด้วยวาจา (verbal restraint) เช่น การสร้างสมั พันธภาพเพ่ือการบาบัด การลดระดับ
ความรนุ แรง
2) การจากัดพฤติกรรมด้วยเทคนคิ ทางกายภาพ ( non-verbal restraint) เช่น การผูกมัด การใชห้ ้องแยกเด่ยี ว
การใช้ยา การควบคุมด้วยมือเปล่า ซ่ึงการใชว้ ธิ กี ารท้ังหลายเหลา่ น้มี คี วามเสยี่ งทง้ั สิ้น และตอ้ งพจิ ารณาดว้ ย
ความเป็นธรรม ไม่มอี คติหรอื ทาเพ่ือความสะดวกสบายของผดู้ ูแลเทา่ น้นั และโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ต้องคานึงถงึ
ความปลอดภัยของทั้งผ้ปู ว่ ยและบุคลากรผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน

การจดั การหลงั เหตุการณ์ (Post incident management ) เป็นการทบทวนหลงั เกิดเหตุการณเ์ พ่ือใช้
เป็นขอ้ มูลวางแผนปอ้ งกนั การเกดิ ปัญหาในอนาคต โดยจะต้องมีการรว่ มกันทบทวนรว่ มกันอย่างเปน็ ระบบ
ดงั น้ี

1) การทบทวนร่วมกบั ผ้ปู ่วยและครอบครัว
2) การทบทวนแก้ไขปัญหาในหนว่ ย
3) การทบทวนกระบวนการทางคลินิกของหน่วยงาน

เข้าไปพดู คยุ เพ่อื ให้ ขนั้ ตอนการปฏิบัติ ผู้ป่วยทม่ี ีอาการเอะอะ ก้าวรา้ ว
อาการสงบ
ผ้ปู ่ วยมพี ฤตกิ รรม
เอะอะ ก้าวร้าว

พยาบาลประเมนิ ระดบั ความ
รุนแรง

ลกั ษณะความรุนแรง

- เสยี งดัง ขู่ตะคอก เอะอะอาละวาด วางอานาจ
วาจาหยาบคาย
- ทุบทาลายสิง่ ของเครอ่ื งใช้ ทุบกระจก จดุ ไฟเผา
ปดิ ประตเู สยี งดงั
- การตี การผลกั และการใช้อาวธุ ทารา้ ยคนอืน่ ให้
ได้รบั บาดเจบ็
- ทาร้ายตนเอง เช่น การหยกิ ขว่ นตนเอง การใช้
มดี กรีดข้อมือตนเอง การดึงผม จดุ ไฟเผาตนเอง
การฆ่าตวั ตาย เป็นตน้

แยกผ้ปู ่ วยรายอ่นื แจ้งและรปภ.เข้าควบคมุ ภายใน 10 นาที
พยาบาลให้ข้อมลู การชว่ ยเหลอื ผ้ปู ่ วย
รายงานแพทย์

แนวทางการจดั การพฤติกรรมก้าวรา้ ว หอผปู้ ว่ ยบาบดั ยา

ผู้ปว่ ยมีพฤตกิ รรมก้าวร้าว

OAS = 1 คะแนน พยาบาลประเมนิ OAS = 3 คะแนน
ระดับความ
- พูดคุยใหส้ งบสติอารมณ์ รนุ แรง
- เฝา้ ระวงั สังเกตพฤติกรรม
เปลยี่ นแปลง OAS

- ประเมินซา 1 วนั คะแนน= 2 - ตาม รปภ.
- รายงานแพทย์ - รายงานแพทย์
- พดู คุยใหส้ งบสติอารมณ์ - ใหย้ าตามแพทย์สั่ง + ปฏิบตั ิ
No - ตาม รปภ. ตามแนวทางการให้ยา HAD
- รายงานแพทย์ - ผูกยดึ พร้อมทงั แยกผู้ป่วยจาก
ดูแลอาการท่วั ไป - ใหย้ าตามแพทย์สั่ง ผ้ปู ว่ ยรายอ่ืน
- ผกู ยึดพร้อมทงั แยกผปู้ ่วยจาก - ประเมนิ ซาทุก 30 นาที
สงบ ผู้ปว่ ยรายอน่ื
สงบ

ดแู ลอาการทั่วไป

- ประเมินซา 2 ชม ไมส่ งบ ไมส่ งบ
- รายงานแพทย์
- สง่ ต่อ
- แจ้งเจา้ หน้าที่

ตารวจ

หอผู้ป่วย
ฟื้ นฟูสมรรถภาพ

แนวทางการดูแลผู้ปว่ ยท่ีมีพฤตกิ รรมกา้ วร้าว

หอผู้ป่วยฟ้นื ฟสู มรรถภาพ กลมุ่ งานการพยาบาลผู้ป่วยใน กลุ่มภารกิจดา้ นการพยาบาล
วัตถปุ ระสงค์

1. เพื่อมีแนวทางการดูแลผูป้ ว่ ยทีม่ พี ฤตกิ รรมก้าวร้าว ในหอผูป้ ่วยฟื้นฟูสมรรถภาพ
2. เพอื่ ป้องกนั ผู้ปว่ ยทารา้ ยตนเองและผู้อน่ื
3. เพื่อปอ้ งกนั ความเสี่ยงของเจ้าหน้าท่จี ากผู้ป่วยทาร้าย
ขอบเขต

เจา้ หน้าที่หอผ้ปู ว่ ยฟนื้ ฟสู มรรถภาพ
รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบตั ิ

1. ประเมินสภาพผู้ป่วยเก่ียวกับพฤติกรรมก้าวร้าว ประเมินระดับความรุนแรงของพฤติกรรมก้าวร้าว
ตามแบบประเมินพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง (OAS : Overt Aggression Scale for objective rating
of verbal and physical aggression) แบง่ เป็น 3 ระดบั ดงั นี้
1. ประเมนิ พฤติกรรมทเี่ ป็นสัญญาณของพฤติกรรมกา้ วรา้ วรุนแรงต่อตนเอง
ระดับ 0 ไม่พบ
ระดับ 1
ระดบั 2 ขีดขว่ นผวิ หนัง ตีตนเอง ดงึ ผม โขกศรี ษะ กรดี ตัวเองเป็นรอย ขนาดเลก็
ระดับ 3 ทาร้ายตนเองรุนแรง เช่น มีรอยชา้ มรี อยกรีดลึกเลือดออก หรอื มีการบาดเจบ็ ของ
อวัยวะ ภายใน หรือหมดสตฯิ ลฯ
2. ประเมนิ พฤติกรรมที่เป็นสัญญาณของพฤติกรรมกา้ วรา้ วรุนแรงตอ่ ผู้อื่น พฤตกิ รรมกา้ วร้าวทง้ั ทาง
คาพดู และการแสดงออก
ระดบั 0 ไม่พบ
ระดับ 1 หงุดหงิดส่งเสยี งดงั ตะโกนดว้ ยความโกรธหรอื ตะโกนด่าผอู้ ืน่ ด้วยถ้อยคาไม่รนุ แรง
ระดับ 2 ดา่ คาหยาบคาย ใช้คาสกปรก รนุ แรง / แสดงท่าทางคกุ คาม เชน่ ถลกเส้ือผ้า ทาทา่ ตอ่ ย
ลม หรอื กระชากคอเสื้อผอู้ ืน่ พุ่งชน เตะ ผลัก หรือดงึ ผมผ้อู น่ื แตไ่ มไ่ ดร้ บั บาดเจ็บ
ระดบั 3 พูดขม่ ขู่จะทาร้ายผ้อู ื่นชัดเจน เชน่ ฉนั จะฆ่าแก ฯลฯ/ ทารา้ ยผู้อื่น จนไดร้ บั บาดเจบ็ เชน่
ช้า เคล็ด บวม เกดิ บาดแผล กระดกู หัก หรอื เกดิ การบาดเจบ็ ของอวยั วะภายใน หมดสติ
ตาย ฯลฯ
3. ประเมินพฤตกิ รรมท่เี ป็นสญั ญาณของพฤติกรรมก้าวรา้ วรนุ แรงตอ่ ทรัพย์สนิ
ระดบั 0 ไมพ่ บ
ระดับ 1 ปดิ ประตูเสยี งดงั ร้ือข้าวของกระจัดกระจาย
ระดับ 2 ขว้างปา/ เตะ/ ทบุ วัตถุหรอื สง่ิ ของ
ระดับ 3 ทาสิ่งของแตกหัก กระจดั กระจาย เชน่ ทบุ กระจก ขวา้ งแก้ว จาน มดี หรือสิ่งของที่

2. กาหนดแนวทางการดูแลตามระดับความรุนแรงของพฤติกรรมก้าวร้าว ตามแบบประเมินพฤติกรรม

ก้าวรา้ วรนุ แรง (OAS)

ระดับ 1 หงุดหงิดส่งเสียงดัง ตะโกนด้วยความโกรธหรือตะโกนด่าผู้อ่ืนด้วยถ้อยคาไม่รุนแรง ปิดประตูเสียงดัง
รอื้ ขา้ วของกระจดั กระจาย การปฏบิ ตั ิการพยาบาล ไดแ้ ก่

- พยาบาลควรดูแลผปู้ ว่ ยด้วยทา่ ทีทีเ่ ปน็ มติ ร สงบ และให้เกยี รติผู้ปว่ ย เพอ่ื ให้ผูป้ ว่ ยรสู้ กึ ไว้วางใจ
- ควบคุมอารมณ์ของตนเองเมื่อถูกผูป้ ่วยกระตุน้ หรอื ยัว่ ยุ

- การจดั ส่งิ แวดล้อมใหป้ ลอดภยั เชน่ การเกบ็ อุปกรณท์ ี่สามารถดัดแปลงเป็นอาวธุ ได้
- เรยี กชื่อผูป้ ่วยและพดู คยุ ดว้ ยน้าเสียงท่ีออ่ นโยน ไมต่ าหนิ ใช้คาถามปลาบเปิด ใหผ้ ูป้ ว่ ยได้ระบายความ

ไม่พอใจ
- เชิญผู้ป่วยพูดคุย สนทนาเพื่อการบาบัด เม่ือผู้ป่วยมีพฤติกรรมสงบลง ควบคุมตนเองได้ ให้พูดคุยหา

สาเหตุที่ทาให้โกรธ วิธีการลดความโกรธ รวมถึงวิธีการให้การช่วยเหลืออย่างถูกต้อง จากนั้นดูแล
ทัว่ ไปและเฝ้าระวงั พฤตกิ รรมก้าวรา้ วท่อี าจเกิดขึน้ ได้
- ดูแลให้น่ังเก้าอี้ เพ่ือใชค้ วามคดิ ทบทวนเหตุการณแ์ ละควบคมุ อารมณ์
- การจัดกิจกรรมที่ผู้ป่วยสามารถระบายความรู้สึกโกรธ เช่น กลุ่มกิจกรรมบาบัด กลุ่มสัมพันธ์ หรือขีด
เขียน วาดรปู
- แนะนาทักษะการถ่ายทอดความรู้สึกและความต้องการของตนเอง ตลอดจนการผ่อนคลายความตึง
เครียด
- การศึกษาประวัตผิ ู้ปว่ ยเกย่ี วกับพฤติกรรมกา้ วร้าวในอดีตมหี รอื ไม่
- การส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยให้กับเจ้าหน้าที่ที่ ดูแลผู้ป่วยทุกคนเพื่อรับทราบข้อมูลผู้ป่วยท่ีมีพฤติกรรมเส่ียง
ตอ่ การเกิดพฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว

ระดับ 2 ขีดข่วนผิวหนัง ตีตนเอง ดึงผม โขกศีรษะ กรีดตัวเองเป็นรอย ขนาดเล็ก ด่าคาหยาบคาย ใช้คา
สกปรก รุนแรง / แสดงท่าทางคุกคาม เช่น ถลกเส้ือผ้า ทาท่าต่อย ลม หรือกระชากคอเสื้อผู้อื่น พุ่งชน เตะ
ผลกั หรือดึงผมผู้อ่ืนแต่ไม่ได้รบั บาดเจ็บ ขว้างปา/ เตะ/ ทบุ วัตถุหรอื สงิ่ ของ การปฏิบัตกิ ารพยาบาล ได้แก่

- รายงานแพทย์ในรายทมี่ พี ฤตกิ รรมก้าวร้าวรุนแรง
- ดูแลให้น่งั เก้าอ้ี เพอื่ ใช้ความคิด ทบทวนเหตุการณแ์ ละควบคมุ อารมณ์
- เชิญผปู้ ว่ ยพดู คุย สนทนาเพอ่ื การบาบัด หลังจากมอี ารมณ์ทส่ี งบลง
- การจัดส่ิงแวดล้อมให้ปลอดภัย โดยการแยกผู้ป่วยออกจากสถานการณ์ หรือสิ่งแวดล้อมชั่วคราวเพื่อ

ลดส่งิ คกุ คามความรู้สกึ ผ้ปู ว่ ย จนกวา่ ผ้ปู ่วยสามารถควบคุมตนเองได้
- อยู่ห่างผู้ป่วยพอสมควร การช่วยเหลือผู้ป่วยท่ีไม่เป็นมิตร ก้าวร้าวรุนแรง ควรตระหนักถึงช่องว่าง

ระหวา่ งบคุ คล และไมค่ วรเขา้ หาตวั ผปู้ ่วยเพอ่ื ลดความรสู้ ึกถูกคกุ คาม
- เม่ือผู้ป่วยมีพฤติกรรมสงบลง ควบคุมตนเองได้ ให้พูดคุยหาสาเหตุที่ทาให้โกรธ วิธีการลดความโกรธ

รวมถึงวิธีการให้การช่วยเหลืออย่างถูกต้อง จากน้ันดูแลทั่วไปและเฝ้าระวังพฤติกรรมก้าวร้าวท่ีอาจ
เกดิ ขึ้นได้
- การจัดกิจกรรมที่ผู้ป่วยสามารถระบายความรู้สึกโกรธได้เช่น การเล่นกีฬา การทางานกลางแจ้ง
สนทนากับผู้ป่วย แนะนาทักษะการถ่ายทอดความรู้สึกและความต้องการของตนเอง ตลอดจนการ
ผ่อนคลายความตึงเครียด
- แจ้ง รปภ. เพอ่ื ขอความช่วยเหลอื
- พฤติกรรมไม่สงบลงย้ายไปรกั ษาตอ่ ท่ีตึกบาบัดยา
ระดับ 3 ทาร้ายตนเองรุนแรง เช่น มีรอยช้า มีรอยกรีดลึกเลือดออก หรือมีการบาดเจ็บของอวัยวะ ภายใน
หรือหมดสตฯิ ลฯ พูดข่มขูจ่ ะทารา้ ยผู้อื่นชัดเจน เช่น ฉันจะฆ่าแก ฯลฯ/ ทาร้ายผู้อ่ืน จนได้รับบาดเจ็บ เช่น ช้า
เคล็ด บวม เกิดบาดแผล กระดูกหัก หรือเกิดการบาดเจ็บของอวัยวะภายใน หมดสติ ตาย ทาสิ่งของแตกหัก
กระจดั กระจาย เชน่ ทุบกระจก ขวา้ งแก้ว จาน มีด หรือสง่ิ ของทเ่ี ป็นอันตราย การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล ได้แก่

- รายงานแพทย์ในรายท่ีมีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงไม่สงบลง เวรตรวจการหรือหัวหน้าหอผู้ป่วย
ตามลาดบั

- แจง้ รปภ. เพ่ือขอความช่วยเหลือ
- พจิ ารณาการผกู ยดึ ตามแนวทาง และให้การรกั ษาดว้ ยยาเพื่อสงบอาการในกรณีที่ไม่ให้ความร่วมมือใน

การรักษา
- การจัดส่ิงแวดล้อมให้ปลอดภัย โดยการแยกผู้ป่วยออกจากสถานการณ์ หรือสิ่งแวดล้อมชั่วคราวเพ่ือ

ลดสิ่งคุกคามความรู้สึกผู้ป่วย โดยมีเจ้าหน้าที่ดูแล พร้อมท้ังคณะรับผิดชอบ 2 คน จนกว่าผู้ป่วย
สามารถควบคุมตนเองได้
- พฤตกิ รรมไมส่ งบลงยา้ ยไปรักษาตอ่ ที่เหมาะสม
- หากไม่สามารถให้ผู้ปว่ ยสงบลงได้ ใหแ้ จง้ เจา้ หนา้ ทต่ี ารวจ (พจิ ารณาทาหนงั สอื การฝากขงั )
สงิ่ ทคี่ วรระวังในการเขา้ ไปพูดคยุ กบั ผู้ปว่ ยท่ีมพี ฤติกรรมกา้ วรา้ ว ไดแ้ ก่

- ไมค่ วรเข้าไปพบผูป้ ่วยตามลาพงั
- ยนื ห่างจากผ้ปู ่วยประมาณ 8 ฟตุ เพ่อื ป้องกันการกระตุ้นใหผ้ ูป้ ่วยมีพฤตกิ รรมก้าวรา้ ว
และรุนแรง เพราะคิดว่า พยาบาลจะเข้าจ่โู จม
- ไม่ถูกต้องตัวผ้ปู ว่ ยทม่ี ีท่าทเี อะอะอาละวาด
- ไม่เผชญิ หน้ากับผู้ป่วย ควรยืนทแยง
- ทา่ ทางของพยาบาลทอี่ าจจะกอ่ ใหเ้ กิดพฤติกรรมรุนแรงมากข้ึน เช่น การยนื ท้าวสะเอว
เหมือนวางอานาจ / ยืนเอามือไขวห้ นา้ เหมือนกลัวผปู้ ว่ ย / ยนื เอามอื ไขวห้ ลงั เหมือน
ซอ่ นอาวธุ ไมใ่ ชส้ ายตาจ้องผูป้ ่วยเกินไป จะทาให้ผ้ปู ่วยหวาดกลวั ยิง่ ขนึ้
ส่งิ ทีค่ วรปฏิบัติ

- พยาบาลควรดูแลผู้ป่วยดว้ ยทา่ ทีทเี่ ป็นมิตร สงบ และใหเ้ กียรตผิ ้ปู ่วย เพอ่ื ใหผ้ ูป้ ่วยรู้สึกไว้วางใจ
- ควบคมุ อารมณ์ของตนเองเมื่อถกู ผปู้ ่วยกระตนุ้ หรอื ยัว่ ยุ
- พยาบาลตอ้ งเผชญิ สถานการณด์ ว้ ยความมัน่ ใจ อยา่ งมีแผน ระมัดระวัง และมที ่าทีสงบ
- จากัดพฤติกรรมด้วยวาจา เรียกช่ือผปู้ ่วยและพดู คุยกบั ผู้ป่วยด้วยน้าเสียงอ่อนโยน ไม่ตาหนิ ใช้คาถาม

ปลายเปิดให้ผู้ป่วยได้ระบายความไมพ่ อใจ
- อยู่ห่างผ้ปู ว่ ยพอสมควร และไมค่ วรเข้าหาตัวผปู้ ่วยเพื่อลดความร้สู กึ ถูกคกุ คาม
- จากดั พฤติกรรมด้วยวาจา เรยี กชื่อผู้ปว่ ยและพดู คุยกบั ผู้ป่วยด้วยน้าเสียงอ่อนโยน ไม่ตาหนิ ใช้คาถาม

ปลายเปดิ ให้ผปู้ ่วยไดร้ ะบายความไมพ่ อใจ
- เมื่อผู้ป่วยมีพฤติกรรมสงบลง ควบคุมตนเองได้ ให้พูดคุยหาสาเหตุท่ีทาให้โกรธ วิธีการลดความโกรธ

รวมถึงวิธีการให้การช่วยเหลืออย่างถูกต้อง จากน้ันดูแลท่ัวไปและเฝ้าระวังพฤติกรรมก้าวร้าวที่อาจ
เกดิ ขึน้ ได้

แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่มพี ฤติกรรมกา้ วร้าว หอผปู้ ่วยฟื้นฟูสมรรถภาพ โรงพยาบาลธญั ญารกั ษแ์ มฮ่ ่องสอน
ผู้ป่วยมีพฤตกิ รรมก้าวร้าว

ประเมินผปู้ ่วยด้วยแบบ
ประเมนิ OAS

OAS=1คะแนน OAS=2 คะแนน OAS=3 คะแนน

- เรียกช่ือป่วยและพูดคุย - เรียกชื่อผู้ป่วยและพูดคุยด้วย - เรียกชือผู้ป่วยและพูดคุย
ดว้ ยน้าเสียงที่อ่อนโยนแต่มี น้ า เ สี ย ง ท่ี อ่ อ น โ ย น แ ต่ มี ค ว า ม ด้วยน้าเสียงที่อ่อนโยนแต่มี
ความชัดเจน ชดั เจน ความชัดเจน
- จั ด ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ใ ห้ - จัดส่ิงแวดล้อมให้ปลอดภัย - จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย
ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ ดู แ ล ใ ห้ น่ั ง แยกผู้ป่วยออกจากสถานการณ์ แ ย ก ผู้ ป่ ว ย อ อ ก จ า ก
เกา้ อีใช้ความคดิ แ ล ะ / ห รื อ ดู แ ล ใ ห้ น่ั ง เ ก้ า อี ใ ช้ สถานการณ์
- พูดคุยให้ค้าปรึกษา เปิด ความคิด (ถ้าทา้ ได)้ - รายงานแพทย์
โอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบาย - รายงานแพทย์ - แจ้งรปภ./แจง้ จนท.ตา้ รวจ
ค ว า ม รู้ สึ ก แ ล ะ ค้ น ห า - แจ้งรปภ. - เตรียมอุปกรณ์ส้าหรับการ
สาเหตุ - เม่ือผู้ป่วยสงบลง พูดคุยให้ ผูกยึดและเตรียมยาฉีดระงับ
- รายงานแพทย์ ค้าปรึกษา เปิดโอกาสให้ผปู้ ่วยได้ อาการ
- บันทึกข้อมูล ระบายความรู้สึก และค้นหา - บันทกึ ขอ้ มลู
สาเหตุ
ไม่สงบ - บนั ทกึ ข้อมูล ประเมินซา้ หลัง
ครบ 30 นาที
ประเมินซ้าหลัง ไม่สงบ
ครบ 24 ชม. สงบ ไม่สงบ
ประเมินซา้ หลัง
สงบ ครบ 2 ชม. -รายงาน
แพทยเ์ พื่อฝาก
สงบ ขัง/ส่งต่อ/ปรบั
สงบ
แผน
ดูแลต่อเน่อื ง
(ทีมสหวิชาชพี )


Click to View FlipBook Version