The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทคัดย่อ วิจัยประสิทธิผลการจัดการความเครียด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

บทคัดย่อ วิจัยประสิทธิผลการจัดการความเครียด

บทคัดย่อ วิจัยประสิทธิผลการจัดการความเครียด

Keywords: ความเครียด,ศิลปะและคนตรีบำบัด,ผู้ป่วยยาเสพติด

การศึกษาประสิทธผิ ลการจดั การความเครยี ดดว้ ยกจิ กรรมศิลปะและดนตรีบาบดั
ในผู้ปว่ ยยาเสพตดิ โรงพยาบาลธัญญารกั ษแ์ ม่ฮอ่ งสอน

นางพวงทพิ ย์ สังเกตุใจและคณะ

โรงพยาบาลธัญญารักษแ์ ม่ฮอ่ งสอน กรมการแพทย์ กระทรวงธารณสขุ
2563

ชื่อเรื่อง ข
ผ้วู ิจัย
การศึกษาประสทิ ธผิ ลการจัดการความเครยี ดดว้ ยกจิ กรรมศิลปะและดนตรีบาบัดในผปู้ วุ ยยา
เสพติด โรงพยาบาลธญั ญารักษแ์ ม่ฮอ่ งสอน
นางพวงทิพย์ สงั เกตุใจและคณะ

บทคัดย่อ

การศกึ ษาวิจัยประสิทธผิ ลการจดั การความเครียดด้วยกิจกรรมศลิ ปะและดนตรบี าบัดในผู้ปุวย
ยาเสพติด การวิจัยเชิงทดลองคร้ังนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาประสิทธิผลของกิจกรรมกลุ่มในการลด
ความเครียดของผเู้ ข้ารบั การฟ้นื ฟสู มรรถภาพผตู้ ิดยาเสพตดิ ในรูปแบบชุมชนบาบดั บ้านแสงตะวัน โรงพยาบาล
ธัญญารักษ์แม่ฮ่องสอน กลุ่มตัวอย่าง คือผู้ปุวยยาเสพติดที่เข้ารับการบาบัดรักษาในระบบบังคับบาบัด ชุมชน
บาบดั บ้านแสงตะวนั จานวน 80 คน โดยแบ่งเปน็ กล่มุ ควบคุม จานวน 40 คน และกล่มุ ทดลองจานวน 40 คน
จากการคานวณตัวอย่าง โดยใช้โปรแกรมซอฟแวร์มาตรฐาน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบบประเมินและ
วิเคราะห์ความเครียดด้วยตนเองของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขแบบประเมินและวิเคราะห์
ความเครียดด้วยตนเอง กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ข้อคาถามจานวน 20 โดยมีคะแนนรวมอยู่
ระหว่าง 0-60 คะแนน นาเคร่ืองมือไปทดลองใช้ (Try out) กับผู้ติดยาบ้าท่ีไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง เพื่อหาค่าความ
เชื่อมั่นของเคร่ืองมือ (Reliability) จานวน 30 คน ซ่ึงได้ค่าความเช่ือมั่นเท่ากับ 0.87 และ ส่วนที่ 2 เป็น
กิจกรรมกลุ่มศิลปะและดนตรีที่ผู้วิจัยพัฒนาข้ึนซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ ยวชาญและ
ทดสอบความเช่ือมั่นในผู้ปุวยจานวน 30 คนก่อนการใช้จริง การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้กิจกรรมกลุ่มทดลอง
ระหว่างต้ังแต่วันที่ 20 มิถุนายน 2562 – 3 เมษายน 2563 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงเปรียบเทียบ
Independence t- test

ผลการศึกษาวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉล่ียของระดับความเครียดก่อนเข้าร่วม
กิจกรรมฯ เท่ากับ 20.35 และคะแนนเฉลี่ยของระดับความเครียด หลังเข้าร่วมกิจกรรมฯ เท่ากับ 9.95 เม่ือ
ทดสอบความแตกต่างทางทางสถิติ พบว่า คะแนนเฉล่ียระดับความเครียดก่อนเข้าร่วมกิจกรรมฯ มากกว่าหลัง
เขา้ ร่วมกจิ กรรมฯอยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติ

กลุ่มควบคุมมีคะแนนเฉลี่ยของระดับความเครียดก่อนเข้าร่วมกิจกรรมฯ เท่ากับ 20.33 และ
คะแนนเฉล่ียของระดับความเครียด หลังเข้าร่วมกิจกรรมฯ เท่ากับ 13.00 เมื่อทดสอบความแตกต่างทางทาง
สถิติ พบว่า คะแนนเฉล่ียระดับความเครียดก่อนเข้าร่วมกิจกรรมฯ มากกว่าหลังเข้าร่วมกิจกรรมฯอย่างมี
นัยสาคัญทางสถติ ิ


จากการวิจัยแสดงให้เห็นว่า ควรมีการส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มดังกล่าวมาใช้ในการบาบัดรักษา
ผู้ปุวยยาและสารเสพติดเพื่อเป็นกิจกรรมทางเลือกช่วยลดความตึงเครียดสภาวะอารมณ์ในผู้ปุวยช่วงที่เข้ารับ
การบาบดั รักษาในโรงพยาบาลธญั ญารักษ์แมฮ่ อ่ งสอน

กติ ติกรรมประกาศ

ผู้วิจัยขอขอบคุณนายแพทย์วีรวัต อุครานันท์ ผู้อานวยการโรงพยาบาลธัญญารักษ์
แม่ฮ่องสอน ท่ีอนุญาตให้ศึกษาและนาเสนอผลการวิจัยน้ี และเป็นที่ปรึกษา ขอบคุณนายแพทย์บุญสนอง
วงค์ตาน้อย นายแพทย์ชานาญการพิเศษ ท่ีปรึกษา นางสาวศันสนีย์ ตรีสาร นักสังคมสงเคราะห์ชานาญการ
ท่ีปรึกษา(สถาบันจิตเวชสมเด็จเจ้าพระยา) และขอขอบคุณผู้ปุวยหอฟื้นฟูสมรรถภาพโรงพยาบาลธัญญารักษ์
แมฮ่ ่องสอนทีใ่ ห้ความร่วมมอื ในการวิจยั คร้ังนี้

พวงทิพย์ สงั เกตุใจและคณะ
มิถุนายน 2563


Click to View FlipBook Version