The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มรายงานการสรุปแผนประจำปีงบประมาณ 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tom_shankan, 2021-09-16 23:59:48

เล่มรายงานการสรุปแผนประจำปีงบประมาณ 2562

เล่มรายงานการสรุปแผนประจำปีงบประมาณ 2562

1

รายงานสรุปผลการปฏบิ ตั ิราชการ
ตามแผนปฏิบตั ริ าชการ

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

วิทยาลัยการอาชพี สว่างแดนดนิ
จงั หวัดสกลนคร

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
กระทรวงศึกษาธกิ าร



คานา

รายงานประจาปีงบประมาณ 2562 เล่มนี้ เป็นรายงานเชิงสรุปผลการปฏิบัติงานของวิทยาลัยการ
อาชีพสว่างแดนดิน ในรอบปีงบประมาณ 2562 (1 ต.ค. 61 – 30 ก.ย. 62) เพ่ือแสดงผลการปฏิบัติงานใน
หน้าท่ีของฝ่ายและงานต่างๆ ท่ีครอบคลุมภารกิจของสถานศึกษา ในอันจะสร้างประโยชน์ด้านการ
ประชาสัมพนั ธ์และเป็นข้อมูลทางวชิ าการทสี่ ามารถอ้างอิง ท้ังยงั เป็นขอ้ มลู พ้ืนฐานท่จี ะนาไปส่กู ารปรับเปลีย่ น
และพัฒนาสถานศกึ ษาให้บรรลเุ ป้าหมาย ปรชั ญา และนโยบายของสถานศึกษาในทสี่ ดุ

ขอขอบคณุ คณะผจู้ ัดทา และผู้มีส่วนช่วยเหลือ สนับสนุนในการจัดทารายงาน ประจาปี เล่มนี้ หากมี
ขอ้ ผดิ พลาดหรอื ข้อบกพรอ่ ง คณะผูจ้ ัดทาหวงั วา่ คงได้รบั ข้อเสนอแนะเพ่ือปรับปรุง ใหถ้ ูกต้องสมบรู ณย์ งิ่ ข้นึ

งานวางแผนและงบประมาณ
ฝา่ ยแผนงานและความรว่ มมือ
วิทยาลยั การอาชีพสว่างแดนดิน



สารบัญ

เรอื่ ง/รายการ ก
หน้า ข

คานา 1
2
สารบญั 3

ส่วนท่ี 1 บทนา
- วสิ ัยทศั น์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์และมาตรการ สอศ.
- แผนภูมกิ ารแบ่งสว่ นราชการ สอศ.
- นโยบาย ยุทธศาสตร์ ท่ีเกย่ี วข้อง

ส่วนที่ 2 ขอ้ มลู พ้นื ฐานของสถานศกึ ษา 13
- ปรัชญา/วิสยั ทศั น/์ พนั ธกิจ/วตั ถปุ ระสงค์/เปา้ หมาย/อนื่ ๆ

- ประวัติความเปน็ มา และข้อมูลดา้ นอาคารสถานท่ี 15

- จุดเน้นในการพฒั นาสถานศกึ ษา และความโดดเด่น 18

- แผนภูมิโครงสรา้ งการบริหารของสถานศึกษา 22

- ขอ้ มูลบุคลากร 23

- ข้อมูลนกั เรยี น นักศึกษา 30

สว่ นท่ี 3 สรปุ ผลการดาเนินงาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 31
- สรปุ รายละเอยี ดผลการใช้เงิน งบประมาณ พ.ศ. 2562

- รายงานผลการปฏบิ ัติงานจาแนกตามยุทธศาสตร์สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

ตามแผนงานโครงการในแผนปฏบิ ัติราชการประจาปงี บประมาณ 2562 40

ภาคผนวก 86



1

ส่วนท่ี 1

วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ ยทุ ธศาสตร์ ของสานกั งานงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

วิสยั ทศั น์
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ เป็นผู้นำในกำรจัดกำรศึกษำสำยอำชีพ เพ่ือเป็นพลัง

ขับเคลอื่ นเศรษฐกิจและสังคม เพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั ของประเทศ และภมู ภิ ำค
ภารกจิ

จัดและส่งเสริมกำรอำชีวศึกษำและกำรฝึกอบรมวิชำชีพ โดยคำนึงถึงคุณภำพและควำมเป็นเลิศ
ทำงวชิ ำชีพ
พันธกจิ

1. จัดและสง่ เสรมิ และพฒั นำกำรอำชวี ศกึ ษำและกำรอบรมวชิ ำชีพให้มีคณุ ภำพและได้มำตรฐำน
2. ยกระดับคุณภำพและมำตรฐำนกำลังคนสำยอำชีพสสู่ ำกล
3. ขยำยโอกำสทำงกำรศึกษำสำยอำชพี ให้ท่วั ถงึ ตอ่ เนือ่ ง เสมอภำค และเป็นธรรม
4. เปน็ แกนกลำงในกำรจัดอำชีวศึกษำและอบรมวิชำชีพ ระดบั ฝมี อื เทคนิค และเทคโนโลยีของประเทศ
5. สร้ำงเครือขำ่ ยควำมร่วมมือให้ทุกภำคส่วนมีสว่ นร่วมในกำรพัฒนำกำรจัดกำรอำชวี ศกึ ษำ และกำร
ฝึกอบรมวชิ ำชีพ
6. วิจัย สร้ำงนวัตกรรม จัดกำรองคค์ วำมรู้เพ่ือกำรพฒั นำอำชีพ และคุณภำพชีวิตของประชำชน
7. ส่งเสรมิ /พฒั นำ ครแู ละบุคลำกรอำชวี ศกึ ษำเพ่ือควำมเป็นเลิศ มัน่ คง และก้ำวหน้ำในวิชำชีพ
ยทุ ธศาสตร์
1. ยกระดบั คุณภำพผู้เรยี นเข้ำสู่มำตรฐำนสำกล
2 .เพิม่ ปรมิ ำณผู้เรยี นสำยอำชีพให้เพียงพอต่อควำมตอ้ งกำรของประเทศ
3. ส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมจำกทุกภำคสว่ นในกำรจัดอำชวี ศกึ ษำ
4. เพมิ่ ประสิทธภิ ำพบรหิ ำรจดั กำรให้มีมำตรฐำนและคุณภำพโดยใช้หลกั ธรรมำภบิ ำล
มาตรการ
1. สง่ เสรมิ ศกั ยภำพสถำนศกึ ษำ
2. กำรจดั กำรศกึ ษำระบบทวภิ ำคี
3. ปฏริ ปู กำรเรียนกำรสอน
4. ปฏิรปู สอ่ื และหลักสตู ร
5. ระเบยี บวนิ ยั ควำมภำคภมู ิใจในชำติ
6. ทนุ และเงนิ สนบั สนุนกำรศึกษำ
7. กำรสร้ำงและกระจำยโอกำส
8. สร้ำงควำมรว่ มมือกบั ภำคเอกชนในทกุ ระดับ
9. สรำ้ งเครอื ขำ่ ยควำมร่วมมอื ในระดบั ภมู ิภำคอำเซียนและต่ำงประเทศ
10. พฒั นำระบบบรหิ ำรจดั กำร
11. สง่ เสริมสถำบนั ชำติ ศำสนำ และพระมำหำกษตั ริย์

แผนภมู ิการแบง่ สว่ นราชการสาน

เลขำธิกำรคณะกรรมก

ทป่ี รกึ ษำด้ำนนโยบำยและแผน
ทีป่ รกึ ษำด้ำนมำตรฐำนอำชีวศึกษำช่ำงอุตสำหกรรม
ที่ปรึกษำดำ้ นมำตรฐำนอำชีวศกึ ษำธรุ กิจและบรกิ ำร
ท่ปี รกึ ษำด้ำนมำตรฐำนอำชีวศึกษำเกษตรกรรมและประมง

กลมุ่ พฒั นาระบบบรหิ าร

สำนักอำนวยกำร สำนกั พฒั นำสมรรณะครูและบคุ ลำกร
อำชีวศึกษำ

สำนักตดิ ตำมและประเมินกำรอำชีวศึกษำ สำนกั ควำมรว่

ศูนยอ์ ำชีวศึกษำทวภิ ำคี ศูนย์พฒั นำ ส่งเสรมิ ประสำน กิจกำร
นกั ศึกษำและกิจกำรพิเศษ

หน่วยศกึ ษำนเิ ทศกน์ ์ ศูนย์ประสำนงำ


2

นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

กำรอำชวี ศึกษำ

รองเลขำธกิ ำรคระกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ
รองเลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรกำรอำชวี ศกึ ษำ
รองเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ

หน่วยตรวจสอบภายใน

สำนกั นโยบำยและแผนกำร สำนักมำตรฐำนกำรอำชีวศึกษำ
อำชวี ศกึ ษำ และวิชำชีพ

วมมือ สำนักวิจยั และพัฒนำกำรอำชีวศึกษำ

ศนู ย์เทคโนโลยีสำรสนเทศและ ศนู ย์พัฒนำกำรศึกษำเขตพัฒนำพิเศษ
กำลงั อำชวี ศกึ ษำ เฉพำะกจิ จงั หวดั ชำยแดนภำคใต้

ำนอำชีวศึกษำระหว่ำง ศูนยป์ ระสำนงำนสถำบนั อำชีวศึกษำ
ประเทศ

3

นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ทเ่ี ก่ียวข้อง

นโยบายรฐั บาล 11 ดา้ น คือ
1. กำรปกป้องและเชิดชูสถำบนั พระมหำกษตั ริย์
2. กำรรกั ษำควำมมนั่ คงของรัฐและกำรตำ่ งประเทศ
3. กำรลดควำมเหล่ือมลำของสงั คม และกำรสรำ้ งโอกำสกำรเข้ำถึงบรกิ ำรของรัฐ
4. กำรศกึ ษำและเรียนรู้ กำรทะนบุ ำรงุ ศำสนำ ศลิ ปะและวฒั นธรรม
5. กำรยกระดบั คุณภำพบรกิ ำรด้ำนสำธำรณสุขและสขุ ภำพของประชำชน
6. กำรเพิม่ ศกั ยภำพทำงเศรษฐกจิ ของประเทศ
7. กำรสง่ เสริมบทบำทและกำรใช้โอกำสในประชำคมอำเซยี น
8. กำรพัฒนำและส่งเสริมกำรใชป้ ระโยชนจ์ ำกวทิ ยำศำสตร์ เทคโนโลยี กำรวจิ ัย และพฒั นำ และ

นวตั กรรม
9. กำรรกั ษำควำมม่นั คงของฐำนทรพั ยำกร และกำรสรำ้ งสมดลุ ระหวำ่ งกำรอนรุ กั ษ์ กับกำรใช้

ประโยชน์อยำ่ งย่ังยนื
10. กำรสง่ เสรมิ กำรบรหิ ำรรำชกำรแผ่นดนิ ท่ีมธี รรมำภิบำล และกำรป้องกันปรำบปรำมกำรทจุ รติ

และประพฤติมิชอบในภำครัฐ
11. กำรปรับปรุงกฎหมำยและกระบวนกำรยุตธิ รรม

นโยบายรัฐบาลดา้ นการศกึ ษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
1 จดั ใหม้ กี ำรปฏริ ูปกำรศึกษำและกำรเรียนรู้ โดยใหค้ วำมสำคัญทังกำรศกึ ษำในระบบ และกำรศึกษำ

ทำงเลือกไปพรอ้ มกนั เพือ่ สร้ำงคณุ ภำพของคนไทยใหส้ ำมำรถเรยี นรู้ พัฒนำตนไดเ้ ตม็ ตำมศักยภำพ ประกอบ
อำชีพและดำรงชวี ติ ไดโ้ ดยมีควำมใฝร่ ู้และทกั ษะที่เหมำะสม เปน็ คนดีมคี ณุ ธรรม สรำ้ งเสรมิ คุณภำพกำรเรียนรู้
โดยเนน้ กำรเรยี นรเู้ พอ่ื สรำ้ งสัมมำชพี ในพนื ที่ลดควำมเหลอื่ มลำ และพฒั นำกำลังคนให้เปน็ ทตี่ อ้ งกำรเหมำะสม
กบั พนื ที่ ทงั ในด้ำนกำรเกษตร อตุ สำหกรรม และธุรกิจบรกิ ำร

2 ในระยะเฉพำะหน้ำ จะปรับเปล่ียนกำรจัดสรรงบประมำณสนับสนุนกำรศึกษำให้สอดคล้อง
กับควำมจำเปน็ ของผเู้ รียนและลักษณะพืนท่ีของสถำนศึกษำ และปรับปรงุ และบูรณำกำรระบบกำรกูย้ ืมเงิน
เพ่ือกำรศกึ ษำให้มปี ระสทิ ธิภำพ เพ่ือเพ่ิมโอกำสแก่ผู้ยำกจนหรือด้อยโอกำส จัดระบบกำรสนบั สนุนใหเ้ ยำวชน
และประชำชนท่ัวไปมีสิทธิเลือกรับบริกำรกำรศึกษำทังในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน โดยจะพิจำรณำ
จดั ให้มคี ูปองกำรศึกษำเป็นแนวทำงหนึ่ง

3 ใหอ้ งค์กรภำคประชำสงั คม ภำคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชำชนทว่ั ไป มีโอกำส
ร่วมจัดกำรกำรศึกษำที่มีคุณภำพและทั่วถึง และร่วมในกำรปฏิรูปกำรศึกษำและกำรเรียนรู้ กระจำยอำนำจ
กำรบริหำรจัดกำรศึกษำสู่สถำนศึกษำ เขตพืนท่ีกำรศึกษำ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตำมศักยภำพ
และควำมพร้อม โดยใหส้ ถำนศึกษำสำมำรถเป็นนติ บิ ุคคลและบริหำรจดั กำรไดอ้ ยำ่ งอสิ ระและคลอ่ งตวั ขึน

4

4 พัฒนำคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมกำรเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้สำมำรถมีควำมรู้และทักษะใหม่
ท่ีสำมำรถประกอบอำชีพได้หลำกหลำยตำมแนวโน้มกำรจ้ำงงำนในอนำคต ปรับกระบวนกำรเรียนรู้
และหลักสูตรให้เชื่อมโยงกับภูมิสังคม โดยบูรณำกำรควำมรู้และคุณธรรมเข้ำด้วยกันเพื่อให้เอือต่อกำรพัฒนำ
ผเู้ รียนทังในด้ำนควำมรู้ ทักษะ กำรใฝ่เรียนรู้ กำรแก้ปัญหำ กำรรบั ฟังควำมเห็นผูอ้ ่ืน กำรมคี ณุ ธรรม จริยธรรม
และควำมเป็นพลเมอื งดี โดยเน้นควำมรว่ มมอื ระหว่ำงผู้ทีเ่ กย่ี วข้องทงั ในและนอกโรงเรียน

5 ส่งเสริมอำชีวศึกษำและกำรศึกษำระดับวิทยำลัยชุมชน เพ่ือสร้ำงแรงงำนที่มีทักษะ โดยเฉพำะ
ในท้องถนิ่ ท่มี ีควำมต้องกำรแรงงำน และพัฒนำคณุ ภำพมำตรฐำนกำรศกึ ษำใหเ้ ชื่อมโยงกับมำตรฐำนวิชำชพี

6 พฒั นำระบบกำรผลิตและพฒั นำครูที่มคี ณุ ภำพและมจี ติ วญิ ญำณของควำมเปน็ ครู เน้นครผู สู้ อนให้มี
วฒุ ิตรงตำมวิชำท่ีสอน นำเทคโนโลยีสำรสนเทศและเครื่องมือที่เหมำะสมมำใช้ในกำรเรียนกำรสอน เพื่อเป็น
เคร่ืองมือช่วยครูหรือเพ่ือกำรเรยี นรู้ด้วยตนเอง เช่น กำรเรยี นทำงไกล กำรเรียนโดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เป็น
ตน้ รวมทังปรับระบบกำรประเมินสมรรถนะท่ีสะท้อนประสิทธิภำพกำรจัดกำรเรียนกำรสอนและกำรพัฒนำ
คุณภำพผู้เรียนเป็นสำคญั

7 ทะนุบำรุงและอุปถัมภ์พระพุทธศำสนำและศำสนำอ่ืนๆ สนับสนุนให้องค์กรทำงศำสนำมีบทบำท
สำคัญในกำรปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนพัฒนำคุณภำพชีวิต สร้ำงสันติสุขและควำมปรองดอง
สมำนฉนั ท์ในสังคมไทยอยำ่ งย่ังยืน และมสี ว่ นรว่ มในกำรพฒั นำสงั คมตำมควำมพร้อม

8 อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และเผยแพร่มรดกทำงวัฒนธรรม ภำษำไทยและภำษำถน่ิ ภมู ิปญั ญำท้องถนิ่ รวมทัง
ควำมหลำกหลำยของศิลปวัฒนธรรมไทย เพื่อกำรเรียนรู้ สร้ำงควำมภำคภูมิใจในประวัติศำสตร์
และควำมเป็นไทย นำไปสู่กำรสร้ำงควำมสัมพันธ์อันดีในระดับประชำชน ระดับชำติ ระดับภูมิภำค
และระดบั นำนำชำติ ตลอดจนเพ่มิ มูลค่ำทำงเศรษฐกิจให้แกป่ ระเทศ

9 สนับสนุนกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ วัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบ้ำนและวัฒนธรรมสำกล
และกำรสร้ำงสรรค์งำนศิลปะและวัฒนธรรมท่ีเป็นสำกล เพ่ือเตรียมเข้ำสู่เสำหลักวัฒนธรรมของประชำคม
อำเซียนและเพอ่ื กำรเปน็ ส่วนหนึ่งของประชำคมโลก

10 ปลูกฝังค่ำนิยมและจิตสำนึกที่ดี รวมทังสนับสนุนกำรผลิตสื่อคุณภำพ เพ่ือเปิดพืนท่ีสำธำรณะ
ใหเ้ ยำวชนและประชำชนได้มีโอกำสแสดงออกอยำ่ งสรำ้ งสรรค์
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 ( พ.ศ. 2560-2564 )

แผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 12 ประกอบด้วย (1) ยึดหลักปรัชญำ “เศรษฐกิจพอเพียง”(2) ยึด “คนไทย
เป็นศูนย์กลำงกำรพัฒนำ” (3) ยึด “วิสัยทัศน์ภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ 20 ปี” มำเป็นกรอบของวิสัยทัศน์
ประเทศไทยในแผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 12 (4) “เป้ำหมำยอนำคตประเทศไทยปี 2579” เป็นกรอบกำรกำหนด
เป้ำหมำยที่จะบรรลุใน 5 ปีแรกและเป้ำหมำยในระดับย่อยลงมำ ควบคู่กับกรอบเป้ำหมำยท่ียั่งยืน
และ (5) ยดึ หลักกำรนำไปสู่กำรปฏิบัตใิ ห้เกิดผลสมั ฤทธอิ์ ยำ่ งจริงจงั ใน 5 ปี

5

วตั ถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายการพัฒนาในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ประกอบดว้ ย
1. เพื่อวำงรำกฐำนให้คนไทยเป็นคนมีสุขภำวะที่ดี ตลอดจนเป็นคนเก่งท่ีมีทักษะควำมรู้
ควำมสำมำรถและพัฒนำตนเองได้อย่ำงต่อเนอื่ งตลอดชีวิต
2. เพ่ือให้คนไทยมีควำมมั่นคงทำงเศรษฐกิจและสังคม ผู้ด้อยโอกำสได้รับกำรพัฒนำศักยภำพ
รวมทงั ชุมชนมีควำมเขม้ แข็งพงึ่ พำตนเองได้
3. เพื่อใหเ้ ศรษฐกจิ เขม้ แข็ง แข่งขันไดม้ ีเสถียรภำพ และมีควำมยั่งยืน
4. เพอ่ื รักษำและฟ้นื ฟูทรพั ยำกร
5. เพอ่ื ใหก้ ำรบริหำรรำชกำรแผ่นดนิ มีประสิทธภิ ำพ โปรง่ ใส และมกี ำรทำงำนเชงิ บูรณำกำร
6. เพอื่ ให้มีกำรกระจำยควำมเจรญิ ไปสภู่ ูมภิ ำค และ
7. เพื่อผลกั ดันให้ประเทศไทยมคี วำมเชอื่ มโยงกับประเทศต่ำง ๆ ได้อย่ำงสมบรู ณแ์ ละมีประสิทธภิ ำพ

เปา้ หมายรวม ประกอบด้วย
1. คนไทยมีคุณลกั ษณะเปน็ คนไทยท่สี มบรู ณ์
2. ควำมเล่อื มลำทำงดำ้ นรำยไดแ้ ละควำมยำกจน
3. ระบบเศรษฐกจิ มคี วำมเขม้ แขง็ และแช่งขันได้
4. ทุนทำงธรรมชำติและคุณภำพสง่ิ แวดล้อมสำมำรถสนับสนนุ กำรเตบิ โตที่เป็นมติ รสงิ่ แวดลอ้ ม
5. มคี วำมมัน่ คงในเอกรำชและอธิปไตยและเพมิ่ ควำมเชอ่ื มัน่ ของนำนำชำตติ อ่ ประเทศไทย และ
6. มีระบบบรหิ ำรกำรจัดกำรภำครฐั ทีม่ ีประสทิ ธิภำพ โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ กระจำยอำนำจ และมสี ว่ น
ร่วมจำกประชำชน

ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศ มี 10 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย
1. ยุทธศำสตรก์ ำรเสรมิ สร้ำงและพัฒนำศกั ยภำพทนุ มนษุ ย์
2. ยทุ ธศำสตร์กำรสร้ำงควำมเปน็ ธรรมและลดควำมเหลือ่ มลำในสังคม
3. ยุทธศำสตรก์ ำรสรำ้ งควำมเข้มแข็งทำงเศรษฐกจิ และแข่งขนั ไดอ้ ยำ่ งยงั่ ยนื
4. ยุทธศำสตรก์ ำรเติบโตทเี่ ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดล้อมเพ่ือกำรพัฒนำที่ยงั่ ยืน
5. ยุทธศำสตรก์ ำรสรำ้ งควำมม่นั คงแห่งชำติเพ่ือกำรพัฒนำประเทศสู่ควำมมน่ั คงและยงั่ ยนื
6. ยุทธศำสตร์กำรบริหำรจัดกำรในภำครัฐ กำรป้องกันกำรทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมำภิบำล
ในสงั คมไทย
7. ยทุ ธศำสตร์กำรพฒั นำโครงสร้ำงพืนฐำนและระบบโลจิสตกิ ส์
8. ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำวทิ ยำศำสตร์ เทคโนโลยี วจิ ัย และนวตั กรรม 9. ยุท ธ ศ ำ ส ต ร์ก ำ ร พั ฒ น ำ
ภำคเมอื ง และพนื ทเ่ี ศรษฐกจิ
10. ยทุ ธศำสตรค์ วำมร่วมมอื ระหว่ำงประเทศเพื่อกำรพฒั นำ

6

ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579)

1. ยุทธศาสตรด์ ้านความมัน่ คง
ควำมมั่นคงเป็นเร่ืองท่สี ง่ ผลกระทบต่อกำรพฒั นำในทกุ มิติ โดยเฉพำะกำรเจรญิ เติบโตและควำมมน่ั คง

ทำงเศรษฐกิจ ควำมเชื่อมั่นของนำนำชำติในด้ำนกำรค้ำกำรลงทุนและกำรท่องเที่ยว และควำมสงบสุข
ของสังคมโดยรวม ดังนัน เพื่อให้บรรลเุ ป้ำหมำยในกำรสร้ำงเสถียรภำพภำยในประเทศ ลด/ป้องกนั ภัยคุกคำม
จำกภำยนอก และสร้ำงควำมเช่ือมั่นในกลุ่มประเทศอำเซียนและประชำคมโลก จึงมีกรอบแนวทำง
ท่ตี อ้ งให้ควำมสำคญั ดงั นี

(1.1.) เสริมสร้ำงควำมม่ันคงของสถำบันหลักของชำติ และกำรปกครองระบอบประชำธิปไตย
อันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ สร้ำงจติ สำนึกของคนในชำตใิ ห้มีควำมจงรักภักดี และธำรงรักษำสถำบัน
ชำติ ศำสนำ พระมหำกษัตรยิ ์

(1.2) ปฏิรูปกลไกกำรบรหิ ำรประเทศ/พฒั นำควำมม่ันคงทำงกำรเมือง ขจดั คอรร์ ปั ชั่น สร้ำงควำมเป็น
ธรรม ลดควำมเหลื่อมลำในทกุ มิติกระจำยอำนำจ และสร้ำงควำมเชอ่ื มนั่ ในกระบวนกำร

(1.3) ป้องกันและแก้ไขกำรก่อควำมไม่สงบในจังหวัดชำยแดนภำคใต้ เน้นกำรเสริมสร้ำงกระบวนกำร
สันติสุขและแนวทำงสันติวิธี ขจัดควำมขัดแย้ง ลดควำมรุนแรง และพัฒนำให้ตรงกับควำมต้องกำร
ของประชำชนตำมแนวทำง “เข้ำใจ เขำ้ ถงึ พัฒนำ”

(1.4) บริหำรจัดกำรควำมมั่นคงชำยแดนและชำยฝ่ังทะเล โดยพัฒนำควำมร่วมมือเป็นหุ้นส่วน
ยุทธศำสตร์ควำมม่ันคงและกำรพัฒนำกำรก่อกำรร้ำย โดยร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้ำนและอำเซียนพัฒนำ
พืนท่ีชำยแดนและชำยฝ่ังทะเล พืนทีศ่ ักยภำพตรวจคนเข้ำเมือง เสริมสร้ำงควำมสมั พันธ์ดำ้ นวฒั นธรรมเรง่ รัด
จดั ทำหลักเขตแดน แกไ้ ขปัญหำพืนท่ีทับซอ้ น และปัญหำกำรลักลอบเขำ้ เมืองทงั ระบบ

(1.5) พัฒนำระบบ กลไก มำตรกำรและควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศทุกระดับ รักษำดุลยภำพ
ของควำมสัมพันธ์กับประเทศมหำอำนำจ เพอื่ รักษำผลประโยชน์ของชำติ สำมำรถปูองกันและแก้ไขปัญหำภัย
คุกคำมข้ำมชำติ ภยั กอ่ กำรร้ำย และเสรมิ สร้ำงควำมมนั่ คงทำงเทคโนโลยสี ำรสนเทศและไซเบอร์

(1.6) พัฒนำเสริมสร้ำงศักยภำพกำรผนึกกำลังปูองกันประเทศและกองทัพ พัฒนำโครงสร้ำงกำลัง
และยทุ โธปกรณ์ท่ีเหมำะสม พฒั นำระบบงำนขำ่ วกรองให้มีประสิทธิภำพ พร้อมสร้ำงควำมร่วมมือกับประเทศ
เพ่อื นบ้ำนและมิตรประเทศ รวมทังมีสว่ นรว่ มในกำรรกั ษำสันตภิ ำพในกรอบสหประชำชำติ

(1.7) พฒั นำระบบกำรเตรยี มพร้อมแหง่ ชำติ รกั ษำควำมม่ันคงของฐำนทรัพยำกรธรรมชำตสิ ่งิ แวดล้อม
และกำรปกป้องรักษำผลประโยชน์แห่งชำตทิ ำงทะเล รวมทงั เสริมสร้ำงควำมม่ันคงทำงอำหำรพลงั งำน และนำ
โดยมกี ำรบริหำรจดั กำรในแนวทำงทีม่ กี ำรจัดลำดบั ควำมสำคญั และเสริมหนุนตอ่ กนั

7

(1.8) ปรับกระบวนกำรทำงำนของกลไกท่ีเกี่ยวข้องจำกแนวดิ่งสู่แนวระนำบมำกขึน กำหนดกำร
บริหำรจัดกำรที่ครบวงจรและยั่งยืน /พัฒนำปรับปรุงกฎหมำยให้เอือต่อกำรดำเนินงำน และให้ควำมสำคัญ
กบั กำรติดตำมประเมินผลอยำ่ งเป็นระบบและต่อเน่ือง

2. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั

เพ่ือให้ประเทศไทยหลุดพ้นจำกประเทศรำยได้ปำนกลำง จำเป็นต้องเพ่ิมอัตรำกำรขยำยตัว
ของผลติ ภัณฑม์ วลรวมภำยในประเทศ (GDP) อยทู่ ี่ร้อยละ 5.0- 6.0 ต่อปี ในอกี 15 ปี และรำยได้ต่อหัวเพ่มิ ขึน
เป็น 12,400 ดอลลำร์ สรอ. ต่อปี ต้องมุ่งเน้นกำรยกระดับผลิตภำพและกำรใช้นวัตกรรมในกำรเพิ่ม
ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันและกำรพัฒนำอย่ำงย่ังยืนทังในสำขำอุตสำหกรรม เกษตรและบริกำร
กำรสร้ำงควำมม่ันคงด้ำนอำหำร รวมทังกำรพัฒนำฐำนเศรษฐกิจแห่งอนำคต ดังนัน ประเทศต้องมีแนวทำง
ในกำรดำเนินงำนทีส่ ำคญั ดังนี

(2.1) สมรรถนะทำงเศรษฐกิจ กำรเพิ่มศักยภำพทำงเศรษฐกิจในระยะยำวยังคงต้องก้ำวผ่ำน
ควำมเสี่ยงในระยะสันท่ตี ้องเผชิญ อำทิ เศรษฐกิจโลกยังฟ้ืนตัวล่ำช้ำ กำรเปล่ียนแปลงทำงกำรเงินในตลำดโลก
และกำรเปล่ียนแปลงของรำคำพลังงำน เป็นต้น ดังนัน จึงต้องสร้ำงควำมแข็งแกร่งของปจั จัยพืนฐำนทุกด้ำน
และกำรบริหำรเศรษฐกิจมหำภำคท่ีเหมำะสม เพื่อสร้ำงควำมเข้มแข็งจำกฐำนเศรษฐกิจภำยในประเทศ
และพฒั นำขดี ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันกบั ต่ำงประเทศ

3. ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพคน

กำรเปลี่ยนแปลงโครงสร้ำงประชำกรสู่สังคมสูงวัยภำยใต้สภำวะแวดล้อมประเทศท่ีเปล่ียนแปลง
อย่ำงต่อเนื่องและรวดเรว็ ส่งผลให้ต้องพฒั นำคนและสงั คมไทยให้เปน็ รำกฐำนท่แี ข็งแกร่งของประเทศ สำมำรถ
ปรับตัวในสภำวะกำรเปล่ียนแปลง บริหำรควำมเสี่ยง และใช้ศักยภำพโอกำสได้เต็มตำมกำลังควำมสำมำรถ
ท่พี ร้อมรบั กบั กำรพัฒนำท่ีจะเปลี่ยนแปลงไปในอนำคต โดยคนไทยท่ีพึงปรำรถนำในอนำคตจะต้องมีศักยภำพ
เพียงพอในกำรมีส่วนร่วมพัฒนำประเทศ มีควำมพร้อมทำงกำย ใจ สติปัญญำ มีทักษะกำรคิดวิเครำะห์
อย่ำงมีเหตุผล สำมำรถเรียนรู้ได้ต่อเน่ืองตลอดชีวิต มีภูมิคุ้มกันต่อกำรเปลี่ยนแปลง มีจิตสำนึกวัฒนธรรม
ท่ีดีงำม รู้คุณค่ำควำมเป็นไทย มีครอบครัวที่มั่นคง เข็มแข็ง อบอุ่น สมำชิกทุกคนในครอบครัวรู้จักหน้ำท่ี
มีควำมรับผิดชอบ เป็นครอบครัวที่ม่ังค่ังด้วยควำมอยู่ดีมีสุข มีควำมเอืออำทรในครอบครัว และเป็นรำกฐำน
ทีม่ ่ันคงของชุมชนสังคม โดยมีแนวทำงที่สำคัญ ดงั นี

(3.1) กำรพัฒนำศักยภำพคนตลอดชว่ งชีวิตให้สนับสนุนกำรเจริญเติบโตของประเทศ โดยเร่ิมพัฒนำ
ตงั แต่ในครรภ์และต่อเนื่องไปตลอดช่วงชีวิต ช่วงกำรตังครรภ์/ แรกเกิด /ปฐมวัย ส่งเสริมอนำมัยแม่และเด็ก
ตังแต่แรกเกิดให้มีพัฒนำกำรท่ีสมวัยในทุกด้ำน วัยเรียน มีทักษะควำมสำมำรถกำรเรียนรู้ท่ีสอดรับกับทักษะ
ในศตวรรษที่ ๒๑ วัยรุ่น/นักศึกษำ ให้มีทักษะกำรเรียนรู้ ทักษะอำชีพท่ีสอดคล้องตำมควำมต้องกำร
ของประเทศ และมีทักษะชีวิต สำมำรถอยู่ร่วมและทำงำนกับผ้อู ื่นได้ภำยใต้บริบทสังคมท่เี ป็นพหวุ ัฒนธรรมวัย

8

แรงงำน ให้มีกำรพัฒนำยกระดับสมรรถนะฝีมือแรงงำนอย่ำงต่อเนื่อง มีกำรทำงำนตำมหลักกำรทำงำน
ทมี่ ีคุณค่ำเพ่ือสร้ำงผลิตภำพเพ่ิมให้กับประเทศ วัยผู้สูงอำยุ ให้อยู่ได้อย่ำงมศี ักด์ิศรีมคี วำมสุข มีรำยไดพ้ อเพียง
ในกำรดำรงชีวิต มีงำนท่ีเหมำะสมตำมศักยภำพและประสบกำรณ์ มีหลักประกันทำงสุขภำพ
และมีสภำพแวดล้อมที่เอือต่อกำรใช้ชีวิต รวมทังให้ควำมสำคัญกับกำรสร้ำงเสริม ฟื้นฟูสุขภำพเพ่ือป้องกัน
หรือชะลอควำมทุพพลภำพและโรคเรือรังต่ำงๆ เพอื่ ให้ผ้สู ูงอำยุสำมำรถเป็นพลงั ที่มีคุณคำ่ ของสงั คม

(3.2) กำรยกระดับคุณภำพกำรศึกษำและกำรเรียนรู้ให้มีคณุ ภำพ โดยกำรปฏิรูปโครงสร้ำงและระบบ
บริหำรจัดกำรกำรศึกษำในทุกระดับ จัดโครงสร้ำงจัดกำรกำรศึกษำใหม่เพื่อสร้ำงควำมรับผิดชอบต่อผลลัพธ์
และให้เอือต่อกำรเข้ำถึงกำรศึกษำอย่ำงเท่ำเทียมและทั่วถึง กำรยกระดับสถำบันกำรศึกษำในสำขำ
ที่มีควำมเชี่ยวชำญสู่ควำมเป็นเลิศ ปฏิรูประบบกำรคลังด้ำนกำรศึกษำเพื่อเพิ่มคุณภำพและประสิทธิภำพ
กำรจัดกำรศึกษำโดยกำรจัดสรรงบประมำณตรงสู่ผู้เรียน ส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมจำกภำคเอกชนในกำร
จัดกำรศึกษำ 19 คณะอนุกรรมกำรจัดทำยุทธศำสตร์และกรอบกำรปฏิรูป 17 กันยำยน 255ปรับระบบกำร
ผลิตและพัฒนำครูผู้สอน พัฒนำระบบกำรประเมินและกำรรับรองคุณภำพที่เน้นผลลัพธ์ท่ีตัวผู้เรียน รวมทัง
ให้มกี ำรปฏิรปู ระบบกำรเรยี นรูโ้ ดยม่งุ จัดกำรเรียนร้เู พื่อสร้ำงสมรรถนะกำลังคนทังระบบตงั แต่ระดับปฐมศกึ ษำ
จนถงึ กำรเรียนรู้ตลอดชีวิต กำรวจิ ยั และกำรใชเ้ ทคโนโลยแี ละส่อื เพ่ือกำรเรียนรู้

(3.3) กำรสร้ำงเสริมให้คนมีสุขภำวะที่ดีโดยมุ่งเน้นกำรปูองกันและควบคุมปัจจัยท่ีคุกคำมสุขภำพ
กำรพัฒนำส่ิงแวดล้อมและสภำพแวดล้อมท่ีเอือต่อสุขภำพ กำรส่งเสริมรูปแบบกำรดำเนินชีวิตที่ สนับสนุน
กำรมีสุขภำพกำยและจิตท่ีดีกำรสร้ำงและเผยแพร่ควำมรู้ด้ำนสุขภำพเพ่ือนำไปสู่กำรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภำพ กำรพัฒนำรูปแบบกำรกีฬำเพ่ือสุขภำพท่ีเหมำะสมกับแต่ละช่วงวัย ตลอดจนส่งเสริม
กำรให้ควำมสำคัญกับมิติสุขภำพในทุกนโยบำยสำธำรณะ เพื่อสร้ำงควำมเข้ำใจและตระหนักถึงผลกระทบ
ของนโยบำยสำธำรณะทมี่ ตี ่อสุขภำพของประชำชน

(3.4) กำรสร้ำงควำมอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทยให้เอือต่อกำรพัฒนำคน โดยเสริมสร้ำงศักยภำพ
และบทบำทหน้ำที่ของสถำบันครอบครัวในกำรบ่มเพำะ วำงรำกฐำนกำรพัฒนำจิตใจให้เข้มแข็ง มีคุณธรรม
จริยธรรม ควำมซอื่ สัตย์ สุจรติ มีจติ สำนึกสำธำรณะ เพอ่ื เป็นภมู ิคุ้มกันต่อกำรเปลี่ยนแปลงทำงเศรษฐกิจ สังคม
และวัฒนธรรม ควบคู่ไปกับกำรสร้ำงค่ำนิยมหลักของไทยให้สมำชิกในครอบครัว กำรสร้ำงควำมอบอุ่น
และควำมมั่นคงใหค้ รอบครวั และกำรสร้ำงควำมสมดลุ ระหว่ำงกำรทำงำน กำรใชช้ วี ิตสว่ นตวั และครอบครัว

4 ยุทธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกนั ทางสงั คม

กำรพัฒนำที่ผ่ำนมำ ประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหำควำมเหลื่อมลำทำงสังคมในหลำยมิติรำยได้
มีควำมแตกต่ำงกันมำกในระหว่ำงกลุ่ม โอกำสในกำรเข้ำถึงกิจกรรมทำงเศรษฐกิจ ทรัพยำกร กระบวนกำร
ยุติธรรม และบริกำรสำธำรณะที่มีควำมแตกต่ำงกันและขำดควำมเป็นธรรม โดยเฉพำะในระหว่ำงภูมิภำค
และระหว่ำงพืนที่ต่ำงๆ มำโดยตลอด และเป็นสำเหตุสำคัญส่วนหนึ่งท่ีทำให้เกิดควำมแตกแยกในสังคม

9

ประเทศไทยจึงจำเป็นต้องเร่งกระจำยโอกำสกำรพัฒนำและสร้ำงควำมมั่นคงให้ทั่วถึง ปรับเปลี่ยนจำกสังคม
ที่มีควำมเหล่ือมลำไปสู่สังคมที่เสมอภำคและเป็นธรรม เป็นสังคมท่ีคนอยู่ร่วมกันได้อย่ำงมีควำมสุข
อันเป็นพืนฐำนสำคัญทจ่ี ะนำไปสกู่ ำรพฒั นำที่มนั่ คงและยง่ั ยนื โดยมีแนวทำงที่สำคัญ ดงั นี

(4.1) กำรสร้ำงควำมมั่นคงและกำรลดควำมเหล่ือมลำทำงด้ำนเศรษฐกิจและสังคม โดยสร้ำงควำม
มั่นคงทำงด้ำนรำยไดแ้ ละกำรออม กระจำยทรัพยำกรให้ทว่ั ถึงเป็นธรรมทังในด้ำนบริกำรสำธำรณะขันพืนฐำน
ฐำนทรัพยำกรต่ำงๆ โดยเฉพำะในกลุ่มผู้มีรำยได้น้อยและกลุ่มด้อยโอกำส ควำมเป็นธรรมในกำรเข้ำถึง
กระบวนกำรยุติธรรม เช่น อำทิกำรเข้ำถึงปัจจัยกำรผลติ กำรปฏิรูปท่ีดินและกำรถอื ครองท่ีดิน และกำรได้รับ
บริกำรด้ำนกำรศึกษำและสำธำรณสุขที่มีคุณภำพอย่ำงทั่วถึง กำรสร้ำงหลักประกันทำงรำยได้ให้กับแรงงำน
นอกระบบท่ีมีรำยได้นอ้ ย กำรจัดรปู แบบสวัสดกิ ำรพืนฐำนทจ่ี ำเป็นและเหมำะสมตำมกลมุ่ เป้ำหมำยทีค่ ำนึงถึง
ฐำนะทำงเศรษฐกิจและสงั คมที่แตกตำ่ งกันโดยมีแนวทำงรว่ มรับภำระค่ำใชจ้ ำ่ ยอยำ่ งเหมำะสม

(4.2) กำรพัฒนำระบบบริกำรและระบบบริหำรจัดกำรสุขภำพ โดยบูรณำกำรระบบหลักประกัน
สุขภำพภำครัฐ 3 กองทุน เพ่ือให้เกิดควำมเป็นเอกภำพในกำรบริหำรจัดกำร มีกำรใช้ทรัพยำกร
อย่ำงมีประสิทธิภำพ และลดควำมเหล่ือมลำในระบบหลักประกันสุขภำพภำครัฐ พัฒนำกำรบริหำรจัดกำร
ระบบสุขภำพด้วยกำรมีและใช้ระบบข้อมูลสำรสนเทศเพ่ือกำรบริหำรทรัพยำกรด้ำนสำธำรณสุข กำรส่งเสริม
กำรอภิบำลระบบสุขภำพในลักษณะเครือข่ำยท่ีมีกำรใช้ทรัพยำกรร่วมกัน กำรสนั บสนุนควำมร่วมมือกัน
ระหว่ำงภำครัฐและภำคเอกชนในกำรพัฒนำระบบบริกำรท่ีมีกำรลงทุนและใช้ทรัพยำกรร่วมกัน กำรพัฒนำ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมทำงกำรแพทย์เพื่อรองรับกำรเป็นสังคมผู้สูงอำยุ กำรพัฒนำระบบเฝ้ำระวังป้องกัน
และควบคมุ โรคอบุ ัติใหมอ่ บุ ัตซิ ำ และกำรจัดกำรภำวะฉุกเฉนิ ทำงสำธำรณสขุ

(4.3) กำรสร้ำงสภำพแวดล้อมและนวัตกรรมท่ีเอือต่อกำรดำรงชีวิตในสังคมสูงวัยโดยเตรียมกำรด้ำน
โครงสร้ำงพืนฐำนและสิ่งแวดล้อมที่เอือต่อผู้สูงอำยุและผู้ด้อยโอกำส อำทิ ระบบผังเมืองและที่อยู่อำศัย
กำรพัฒนำระบบคมนำคมขนส่ง กำรจัดกำรพืนท่ีสำธำรณะท่ีมีควำมปลอดภัยและเข้ำถึงได้ง่ำยสำหรับ
ประชำชนทกุ กลมุ่ กำรใหบ้ รกิ ำรทำงสงั คม ตลอดจนกำรพัฒนำนวัตกรรมในกำรใชช้ ีวิตประจำวันสำหรบั ผูส้ งู วยั

(4.4) กำรสร้ำงควำมเข้มแข็งของสถำบันทำงสังคม ทุนทำงวัฒนธรรม และควำมเข้มแข็ง ของชุมชน
โดยกำรฟ้ืนฟูบทบำทสถำบันศำสนำในกำรส่งเสริมศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรมตำมหลักคำ สอนทำงศำสนำ
กำรธำรงรักษำวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีท่ีดีงำม เพ่ือเป็นฐำนรำกที่เข้มแข็งในสังคมทำมกลำง
วัฒนธรรมท่ีหลำกหลำย กำรบริหำรจัดกำรทุนทำงวัฒนธรรมทกี่ ่อให้เกิดคุณคำ่ สำมำรถนำมำสร้ำงมูลค่ำเพ่ิม
ทำงเศรษฐกิจ ตลอดจนกำรเสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งของชุมชน บนพืนฐำนท่ีกำรจัดกำรทุนในชุมชนให้เกิด
ประโยชน์ต่อกำรพัฒนำ ทังทุนทำงทรัพยำกร ทุนทำงวัฒนธรรม และทุนทำงปัญญำ เพ่ือให้ชุมชนสำมำรถ
จัดกำรตนเองได้อยำ่ งยงั่ ยนื

10

(4.5) กำรพฒั นำสื่อสำรมวลชนให้เป็นกลไกสนับสนุนกำรพัฒนำ สง่ เสริมจรรยำบรรณของสื่อมวลชน
ให้ยดึ มนั่ ปฏิบัติตำมหลักวชิ ำชพี ทดี่ ีและรบั ผิดชอบต่อสังคม มีกำรปรับปรงุ ระบบตรวจสอบส่ือและให้ประชำชน
มสี ่วนรว่ มในกำรตรวจสอบ และพฒั นำภำคประชำชนให้มีควำมรเู้ ทำ่ ทันส่ือโดยเฉพำะสอ่ื ออนไลน์

5. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มิตรต่อส่ิงแวดล้อม
กำรพัฒนำเศรษฐกิจที่มุ่งกำรเจริญเติบโตเพ่ือสร้ำงรำยได้ให้กับประเทศ ทำให้มีกำรบุกรุกทำลำย

และใช้ประโยชน์จำกทรัพยำกรธรรมชำติเกินศักยภำพของระบบนิเวศ รวมทังก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อม ทังมลพิษทำงนำ ทำงอำกำศ ขยะและของเสียอันตรำย ขณะท่ีขีดควำมสำมำรถและเคร่ืองมือ
ในกำรบริหำรจัดกำรทังในรูปของกำรบังคับควบคุม และกำรให้สิ่งจูงใจ ยังไม่สำมำรถที่จะทำให้เกิดกำรใช้
ทรัพยำกรอย่ำงคุ้มค่ำและลดปริมำณของเสียลง ส่งผลให้ปัญหำควำมเส่ือมโทรมของทรัพยำกรธรรม ชำติ
และส่ิงแวดล้อมทวีควำมรุนแรง ในขณะที่ประเทศไทยยังต้องเผชิญกับควำมท้ำทำยท่ีสำคัญย่ิงในมิติ
ของกำรพัฒนำจำกกำรเปล่ียนแปลงสภำพภมู ิอำกำศและภัยพบิ ตั ธิ รรมชำตทิ ่ีรุนแรงขึน ทังอุทกภยั และภัยแล้ง
สรำ้ งควำมเสียหำยทงั ตอ่ เศรษฐกิจ สงั คม และสิง่ แวดลอ้ ม ประกอบกับพนั ธกรณีและข้อตกลงระหวำ่ งประเทศ
ที่มีควำมซับซ้อนและเข้มข้นมำกขึนจำกมำตรกำรด้ำนสังคมและส่ิงแวดล้อมส่งผลกระทบต่อกำรแข่งขัน
ทำงกำรค้ำและกำรลงทุน สภำวะดงั กลำ่ วน ำไปสู่กำรแย่งชิงทรพั ยำกร ควำมขัดแย้งระหว่ำงรัฐและประชำชน
และระหว่ำงประชำชนท่ีรุนแรงมำกขึน ดังนัน ประเทศจึงต้องเร่งอนุรักษ์ฟ้ืนฟูและสร้ำงควำมมั่นคงของฐำน
ทรัพยำกรธรรมชำติ และบริหำรจัดกำรนำให้มีประสิทธิภำพ รวมทังยกระดับควำมสำมำรถในกำรป้องกัน
ผลกระทบและปรับตัวต่อกำรเปล่ียนแปลงสภำพภูมิอำกำศและภยั พิบตั ิธรรมชำติ ปรับตวั ไปส่รู ปู แบบของกำร
ผลิตและกำรบริโภคท่ีปล่อยคำร์บอนต่ำและเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมมำกขึน โดยพัฒนำกำรผลิตให้มี
ประสิทธิภำพ ลดกำรใช้พลังงำน และลดกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก ทังนีเพื่อวำงรำกฐำนและสนับสนุนให้
ประเทศมีกำรเติบโตทำงเศรษฐกิจและสังคมอย่ำงยั่งยืน โดยตังเป้ำหมำยที่จะเพิ่มพืนท่ีเป้ำไม้ให้ได้
รอ้ ยละ ๔๐ของพืนท่ี (๑๒๘ ล้ำนไร่) และลดกำรปลอ่ ยก๊ำซเรือนกระจกในภำคเศรษฐกิจ

6 ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ

เพ่ือให้หน่วยงำนภำครัฐมีขนำดที่เหมำะสมกับบทบำทภำรกิจ มีขีดสมรรถนะสูง ปรำศจำกกำรทุจริต
และประพฤติมชิ อบ มีกฎหมำยที่เอือต่อกำรบริหำรจัดกำร สำมำรถตอบสนองควำมต้องกำรของประชำชนได้
อย่ำงสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภำพ เกิดประสิทธิผล มีควำมคุ้มค่ำ โปร่งใส และเกิดควำมเป็นธรรมในกำร
ให้บริกำรสำธำรณะ และสอดคลอ้ งกบั ทศิ ทำงและบริบทกำรเปลีย่ นแปลงของโลก จำเป็นต้องมีกรอบแนวทำง
ในกำรดำเนนิ งำนท่สี ำคญั ดงั นี

11

(6.1) กำรปรับปรุงกำรบริหำรจัดกำรรำยได้และรำยจ่ำยของภำครัฐ ด้ำนรำยได้จำเป็นต้องปฎิรูป
ระบบภำษีทังระบบ เพ่ือเพิ่มรำยได้ของภำครัฐและเป็นเคร่ืองมือในกำรเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน
และลดควำมเหล่ือมลำ โดยกำรปรับปรุงโครงสร้ำงภำษี อัตรำภำษี ระบบกำรจัดเก็บ รวมถึงกำรพิจำรณำ
เพ่ิมภำษีประเภทใหม่หรือแหล่งรำยได้อ่ืนท่ีมิใช่ภำษีให้สอดคล้องกับกิจกรรมทำงเศรษฐกิจที่เปล่ียนแปลงไป
ทำง ด้ำนรำยจ่ำย จะต้อง มีกำรปฏิ รูประบบกำรใช้จ่ ำยง บประมำณใ ห้เกิดประสิ ทธิภำ พและประสิทธิผ ล
โดยกำรปรับปรุงพระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๐๒ และจัดให้มีกฎหมำยที่เป็นกรอบในกำร
บริหำรกำรเงินกำรคลังภำครัฐ มีกำรจัดทำงบประมำณระยะปำนกลำงและระยะยำว เพ่ือเป็นกรอบในกำร
วำงแผนงบประมำณของส่วนรำชกำร รัฐวิสำหกิจและหนว่ ยงำนของรัฐ และสนับสนุนกำรขับเคล่ือนนโยบำย
ตำมยุทธศำสตร์ชำตแิ ละแผนพฒั นำเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติทงั นี ควรมงุ่ เนน้ กำรจัดทำงบประมำณโดยยึด
พืนท่ีและประเด็นกำรพัฒนำท่ีสำคัญเป็นตัวตัง และให้ประชำชนเข้ำมำมีส่วนร่วมในกระบวนกำรจัดทำ
งบประมำณไดม้ ำกขนึ เพ่ือให้ประชำชนมีควำมเปน็ เจ้ำของและติดตำมตรวจสอบกำรใชจ้ ่ำยงบประมำณ

(6.2) กำรปรับปรุงบทบำท ภำรกิจ และโครงสร้ำงของหน่วยงำนภำครัฐ ให้มีขนำดที่เหมำะสม
เกิดควำมคุ้มค่ำและรองรับกับสภำพแวดล้อมในกำ รปฏิบัติงำนที่มีควำมหลำกหลำยซับซ้อนมำกขึน
โดยทบทวนบทบำทภำรกจิ ของหนว่ ยงำนภำครัฐให้มีควำมเหมำะสม ยบุ เลิกงำนทไ่ี มม่ ีควำมจำเป็นถ่ำยโอนงำน
ให้ภำคส่วนอ่ืน ได้แก่ ภำคเอกชน ท้องถ่ิน ภำคประชำสังคม ชุมชนและประชำชนรับไปดำเนินงำนแทน
จัดโครงสร้ำงหน่วยงำนภำครัฐให้เหมำะสมกับบทบำทภำรกิจท่ีรับผิดชอบ พัฒนำและปรับระบบวิ ธีกำร 23
คณะอนุกรรมกำรจัดทำยุทธศำสตร์และกรอบกำรปฏิรูป 17 กันยำยน 2558 ปฏิบัติรำชกำรให้ทันสมัย
ลดควำมซำซ้อน ลดขันตอนกำรปฏิบัติรำชกำร น ำเทคโนโลยีและแนวทำงปฏิบัติท่ีเป็นเลิศมำใช้
เพอ่ื ลดงบประมำณรำยจำ่ ยดำ้ นบคุ ลำกร

ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร
1.นโยบายของรัฐบาลดา้ นการศึกษา

1.1 จดั ให้มกี ำรปฏิรูปกำรศกึ ษำและกำรเรียนรู้
1.2 ปรบั เปลยี่ นกำรจัดสรรงบประมำณสนบั สนนุ กำรศึกษำ
1.3 ให้ภำคสว่ นตำ่ ง รว่ มจดั กำรศกึ ษำและเนน้ กำรกระจ่ำยอำนำจ
1.4 พัฒนำคนทุกชว่ งวยั ให้มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และควำมเป็นพลเมอื งดี
1.5 สง่ เสริมอำชวี ศกึ ษำและกำรศึกษำระดับวิทยำลยั ชุมชน
1.6 พฒั นำระบบกำรผลิตและพฒั นำครู
1.7 ทะนบุ ำรงุ และอุปถมั ภพ์ ระพุทธศำสนำและศำสนำอืน่
1.8 อนรุ กั ษ์ ฟ้ืนฟู และเผยแพรม่ รดกทำงวฒั นำ
1.9 สนบั สนนุ กำรเรียนภำษำตำ่ งประเทศ
1.10 ปลูกฝงั คำ่ นิยมและจติ สำนักทีด่ ี

12

2. นโยบายกระทรางศึกษาธิการ (รมว.ศธ.พลเอกดาวพ์ งษ์ รัตนสุวรรณ)
2.1 กำรสร้ำงคำ่ นยิ มอำชวี ศกึ ษำ
2.2 กำรจดั กำรเรยี นกำรสอนทวิภำครี ่วมกบั สถำนประกอบกำร
2.3 กำรแกไ้ ขปัญหำทะเลำะวิวำทของนักศึกษำ
2.4 กำรสง่ เสริมอำชวี ศึกษำให้มีควำมเปน็ เลิศเฉพำะดำ้ น
2.5 กำรจดั กำรศกึ ษำอำชีวศกึ ษำสู่มำตรฐำนสำกล(รวมอำชีวะอำเซียน

3.แนวทางการปฏริ ปู การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
3.1 หลักสูตรละกระบวนกำรเรียนกำรสอนกำรวัดผลประเมินผล
3.2 ผลิต พฒั นำครู คณำจำรย์ และบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ
3.3กำรทดสอบ กำรประเมนิ กำรประกนั คณุ ภำพและกำรพัฒนำมำตรฐำนกำรศกึ ษำ
3.4 ขยำยโอกำสทำงกำรศึกษำ กำรเข้ำถงึ บริกำรทำงกำรศกึ ษำและกำรเรียนรู้อย่ำงต่อเน่ืองตลอดชีวติ
3.5 ส่งเสริมและพัฒนำระบบเทคโนโลยีดิจิทลั เพอื่ กำรศึกษำ
3.6 พัฒนำระบบบริหำรจดั กำรและสง่ เสรมิ ให้ทุกภำคสวนมสี ่วนร่วมในกำรจัดกำรศกึ ษำ

4. นโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร (เร่งด่วน)
4.1 ภำยใน 1 ปี : ใหเ้ ด็กทกุ คนได้เขำ้ ถงึ กำรศกึ ษำและคุณภำพอยำ่ งเท่ำเทียมกัน
4.2 ภำยใน 5 ปี : สง่ เสริมใหค้ รูใชศ้ ักยภำพในกำรสอนอย่ำงเต็มที่
4.3 ภำยใน 1 ปี : จะทำครใู หค้ รบตำมเกณฑ์ ภำยใน 2 ปี : จะทำครูให้มีครูประจำชันครบทกุ หอ้ ง

ภำยใน 5-10 ปี : จะทำให้ครตู รงสำขำ
4.4 ภำยใน 2 ปี : จะทำให้เด็กเรียนท่องจำ ในสิ่งทีค่ วรจำ และนำส่งิ ที่จำไปฝกึ คดิ วิเครำะห์ แก้ปญั หำ

และนำไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวันไดค้ รบทุกโรงเรียน
4.5 ภำยใน 5 ปี : จะทำให้มีกำรเรียนกำรสอน STEM ศึกษำ (Science Technology Engineering

and Mathematics) ครบทุกโรงเรียน
4.6 ภำยใน 3 ปี : ยกระดับภำษำอังกฤษให้นักเรียนสำมำรถใช้ภำษำอังกฤษเพ่ือกำรส่ือสำร

ในชวี ติ ประจำวนั ได้



13

สว่ นท่ี 2
ปรชั ญา วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ กลยทุ ธ์ ของวิทยาลัยการอาชีพสวา่ งแดนดนิ

ปรัชญา “รหู้ นา้ ที่ มคี ณุ ธรรม นาพัฒนาอาชีพ”

วิสยั ทัศน์ “วิทยาลัยการอาชีพสว่างแดนดิน ผลิตและพัฒนากาลงั คนอย่างมีคุณธรรม นอ้ มนาหลักปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพียง”

เอกลักษณ์ นายฮ้อยทมิฬ

อัตลักษณ์ มวี นิ ยั ใฝ่เรยี นใฝร่ ู้ อยู่อย่างพอเพียง

พันธกิจ 1. ผลติ และพฒั นากาลงั คนอยา่ งมคี ณุ ภาพ คณุ ธรรม จริยธรรมได้ตามมาตรฐานการศึกษา
2. การพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ือง
3. สร้างโอกาสทางการศึกษาสายอาชีพอยา่ งท่วั ถึง และเสมอภาค
4. จัดการศกึ ษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
5. สร้างเครือขา่ ยความรว่ มมอื ทกุ ภาคสว่ นมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษา
6. จัดทาวิจยั นวัตกรรม สิ่งประดษิ ฐแ์ ละผลิตผลการค้า

กลยทุ ธ์
1. ผลิตและพัฒนากาลังคนอาชวี ศึกษาให้มสี มรรถนะในสาขาท่ตี รงตามความตอ้ งการ

ของประเทศ
2. ส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ มท่ีดใี นวิชาชีพ และบุคลกิ ภาพที่เหมาะสม
3. ยกระดบั คุณภาพการจดั การเรียนการสอน
4. ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาจัดกระบวนการเรียนสอนโดยใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศ
5. พฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาให้มีคณุ ภาพตามคุณวฒุ ิวชิ าชีพ
6. สง่ เสริมครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาให้มคี วามเชยี่ วชาญและความกา้ วหน้าในอาชีพ
7. เพม่ิ โอกาส ความเสมอภาคและความเทา่ เทยี มในดา้ นอาชวี ศึกษาที่มีคุณภาพ
8. พัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านการอาชีวศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้องและเป็น

ปจั จุบัน
9. สนับสนุนแนะแนวการศกึ ษาแบบมอื อาชีพ
10. ส่งเสริมและสนับสนนุ การจดั การเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
11. พฒั นาคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
12. พฒั นาผเู้ รียนอาชีวศึกษาให้สามารถดารงตนอย่างมคี วามสุขตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง
13. สง่ เสรมิ การพัฒนาหลักสตู รอาชีวศกึ ษาท่ีตรงกับความตอ้ งการพัฒนาประเทศ

14

14. สง่ เสรมิ การพฒั นาความร่วมมือในการเพม่ิ ศักยภาพกาลงั คนด้านอาชวี ศึกษาใหม้ ีคุณลักษณะ
ทพี่ ึงประสงค์สอดคล้องกับความตอ้ งการในการพฒั นาประเทศ

15. ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีศักยภาพในการพัฒนาการจัดการ
อาชวี ศึกษา

16. สง่ เสรมิ การวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวตั กรรมและผลผลติ ทางการค้า
17. สนับสนุนการวิจัยพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตเป็นมิตร
กับสิง่ แวดล้อม
18. สง่ เสรมิ ผลิตผลทางการค้าของสถานศึกษาใหม้ ีคุณภาพ

ส่วนท่ี 1 ข้อมูลปัจจบุ นั ของสถานศึกษา 15
ประวัติ ความเป็นมา ของวทิ ยาลยั ฯ
ข้อมูลสถานศึกษา พระพุทธรปู ปางลีลา หมายถึง ความเป็น ศิริมงคล
ของสถานศึกษาและเป็นสัญลักษณ์ของความ
สญั ลกั ษณป์ ระจาสถานศึกษา เจริญก้าวหน้า

พระพทุ ธรปู

ตราสัญลักษณ์

เป็นตรารูปเสมาธรรมจักร สีเหลือง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์
ของการจัดต้ังกระทรวงศึกษาธิการ ครบรอบ 100 ปี
วางบนพื้นสีแดงเลือดหมู วางพื้นสีแดงเลือดหมู
ล้อมรอบด้วยวงกลมลายเส้น 2 วง ระหว่างวงกลมทั้ง
สองแสดงชื่อสถานศึกษาและต้นสังกดั

ตน้ ไมป้ ระจาสถานศึกษา

ต้นโพธิ์ เป็นไม้ต้นขนาดใหญ่ผลัดใบ แต่จะผลิใบใหม่
แทนในเวลาค่อนข้างเร็ว ใบอ่อนสีเขียวอ่อน แต่พอแก่
จัดก่อนร่วงจะออกสเี หลอื งทอง ผิวใบเกลยี้ งและเปน็ มัน
ทางด้านบน เปน็ สัญลกั ษณ์แห่งการตรัสรู้

สีประจาสถานศึกษา

แดงเลือดหมู หมายถึง ความเสยี สละและความกลา้
หาญ คือ ความกลา้ ที่จะคิดกล้าสู้ต่ออปุ สรรคตา่ ง ๆ
สีเหลือง หมายถึง สีแห่งการไม่หยุดนิ่ง การก้าวไป
ข้างหน้า เป็นสีแห่งการช่วยเหลือเก้ือกูลซึ่งกันและกัน
และหมายถึงคุณธรรมความถูกต้อง

16

1. ประวตั กิ ารจัดตั้ง ที่ตั้ง เนอื้ ท่ี
วิทยาลัยการอาชีพสว่างแดนดิน จัดต้ังข้ึนเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2535 เน้ือที่ 50-0-48.75 ไร่

(ตามเอกสาร สน.215 หนังสืออนุญาตให้ใช้ที่ดินราชพัสดุ ท่ี กค. 0407/199 ลงวันท่ี 4 มีนาคม 2535 )
มีขนาดกว้าง 216 เมตร ยาว 373 เมตร ตั้งอยู่เลขที่ 784 หมู่ 11 ถนนอุดมธรรมภักดี ตาบลสว่างแดนดิน
อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร รหัส 47110 มอี าณาเขตตดิ ตอ่ ดังน้ี

ทศิ เหนอื ตดิ กับ สานักงานขนสง่ อ.สวา่ งแดนดิน และสานักงานที่ดิน อ.สว่างแดนดิน
ทิศตะวันออก ติดกับ พืน้ ทว่ี างของสว่ นราชการ
ทิศใต้ ติดกับ สานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาเขต2
ทิศตะวันตก ติดกับ สถานตี ารวจ อ.สวา่ งแดนดนิ
วิทยาลัยการอาชีพสว่างแดนดิน ได้รับประกาศจัดต้ัง ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันท่ี
28 สิงหาคม 2545 โดย ฯพณฯ นายก่อ สวัสด์ิพาณิชย์ รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันท่ี
10 สิงหาคม 2535 ประกาศรับสมัครผู้สนใจที่มีวุฒิไม่ต่ากว่าช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 เข้าศึกษาต่อด้านอาชีพ
สาขาวิชาช่างก่ออิฐฉาบปูน และ สาขาวิชาเดินสายไฟภายในอาคาร โดยจัดการเรียนการสอนท่ีสานักงาน
ช่ัวคราว เลขท่ี 674 ถนนนิตโย อาเภอสว่างแดนดิน และขอความร่วมมือจากบุคลากรวิทยาลัยเทคนิค
สกลนคร มนี ักศึกษาจบการศกึ ษา จานวน 12 คน
จากนั้นได้มีววิ ัฒนาการมาโดยลาดับ ดงั น้ี
พ.ศ.2537เปิดทาการสอนระดับ ปวช. ตามหลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) พทุ ธศักราช
2533 ดังนี้

- แผนกวชิ าชา่ งไฟฟ้ากาลัง
- แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์
- แผนกวชิ าชา่ งเช่อื มโลหะ
- แผนกวิชาการบญั ชี
- แผนกวชิ าเลขานกุ าร

พ.ศ.2538 เปิดทาการสอน ตามหลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2533 เพิ่มเตมิ ดังนี้
- แผนกวชิ าคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ

พ.ศ.2539 เปิดทาการสอน ตามหลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พทุ ธศักราช 2533 เพม่ิ เติม ดังน้ี
- แผนกวชิ าชา่ งยนต์

พ.ศ.2540 เปิดทาการสอน ตามหลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2533 เพมิ่ เตมิ ดังน้ี
- แผนกวิชาชา่ งก่อสรา้ ง

เปิดทาการสอน ตามหลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชัน้ สงู (ปวส.) พุทธศักราช 2540 เพ่ิมเตมิ ดังนี้
- แผนกวชิ าบัญชี

17

พ.ศ.2542 เปิดทาการสอน ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2540
เพิ่มเตมิ ดงั น้ี

- แผนกวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ
พ.ศ.2543 เปิดทาการสอน หลักสูตรทวิภาคี ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
พทุ ธศกั ราช 2533 เพิ่มเตมิ ดังนี้
- แผนกวชิ าชา่ งเชื่อมโลหะ

พ.ศ.2544 เปิดทาการสอน ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2540
เพิ่มเติม ดังนี้

- แผนกวชิ าช่างยนต์
พ.ศ.2546เปิดทาการสอน ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2540
เพม่ิ เติม ดงั นี้
- แผนกวิชาช่างไฟฟา้

พ.ศ.2547เปิดทาการสอน ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2540
เพ่ิมเติม ดงั นี้

- แผนกวิชาชา่ งก่อสร้าง
- แผนกวิชาช่างเช่ือม
พ.ศ.2553 เปิดทาการสอน ตามหลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) พุทธศกั ราช 2545
(ปรบั ปรุง 2546) เพ่มิ เติม ดงั น้ี
-แผนกวิชาเครอ่ื งมือกลและซอ่ มบารงุ
พ.ศ.2562 เปดิ ทาการสอน ตามหลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) พุทธศักราช 2562
(ปรับปรงุ 2557) เพิ่มเตมิ ดงั นี้
-แผนกวิชาคหกรรมศาสตร์

สาขาวิชาทเ่ี ปดิ สอนต้ังแต่ พ.ศ. 2548 ถึง ปจั จบุ ัน

- หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.)

ประเภทวชิ า สาขาวิชา สาขางาน
สาขางานยานยนต์
สาขาวิชาช่างยนต์ สาขางานผลิตภณั ฑ์
สาขางานไฟฟา้ กาลงั
สาขาวชิ าช่างเชอื่ มโลหะ สาขางานอเิ ลก็ ทรอนิกส์
สาขางานโยธา
ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวิชาไฟฟา้ กาลงั สาขางานเคร่อื งมอื กล
สาขาวิชาชา่ งอิเล็กทรอนิกส์ สาขางานการบญั ชี
สาขางานคหกรรมเพื่อการโรงแรม
สาขาวิชาโยธา สาขางานเทคโนโลยีสารสนเทศ

สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน

ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวชิ าพณิชยการ

ประเภทคหกรรมศาสตร์ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์

ประเภทวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศและ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสือ่ สาร

18

-หลักสูตรระดับประกาศนียบตั รวิชาชพี ชั้นสูง (ปวส.)

ประเภทวชิ า สาขาวิชา สาขางาน
ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต์
ประเภทวิชาบรหิ ารธุรกจิ สาขาวิชาเทคนิคโลหะ
สาขาวิชาไฟฟา้ กาลัง สาขางานเทคนคิ การเชอื่ มอตุ สาหกรรม
สาขาวชิ าอเิ ล็กทรอนิกส์
สาขาวชิ าการก่อสร้าง สาขางานติดตงั้ ไฟฟา้
สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน สาขางานระบบเสียงและภาพ
สาขาวิชาการบญั ชี สาขางานโยธา
สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ สาขาวิชาเทคนิคการผลติ
สาขางานการบัญชี
สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

2. จุดเนน้ ในการพฒั นาสถานศึกษา และความโดดเด่น

2.1.จุดเน้นในการพัฒนาสถานศึกษา

1. ปฏิรูปดา้ นผเู้ รียนและผู้สาเรจ็ การศกึ ษาอาชีวศึกษา
2. ปฏิรปู ด้านหลักสูตรและการจดการเรยี นการสอน
3. ปฏิรปู ด้านการบรหิ ารจดั การเรียนการสอน
4. ปฏริ ูปดา้ นการบรกิ ารวิชาชีพ
5. สนับสนนุ การพฒั นาและสร้างนวัตกรรมสิง่ ประดษิ ฐ์งานสร้างสรรค์ การประกอบอาชพี อสิ ระและงานวิจัย
6. สนับสนนุ ส่งเสรมิ การปลกู ฝงั จติ สานกั และเสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทยและพลเมอื งโลกที่ดี
7. ปฏิรูปการจดั การฝึกอบรมตามหลกั สตู รระยะส้นั
8. สง่ เสรมิ และพัฒนาการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

2.2 นโยบายวิทยาลยั
1. เปดิ สอนหลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี ชั้นสูง (ปวส.)
หลักสูตรระยะสน้ั และหลกั สูตรพิเศษ (โครงการฝึกอบรมอาชีพ 108 อาชพี )
2. จัดการศกึ ษาระบบปกติ ระบบทวภิ าคี และระบบทวศิ กึ ษา เสรมิ สรา้ งคณุ วุฒิ ใหก้ บั ทุกกลมุ่ เป้าหมาย
3. ส่งเสริมและสนับสนุนชุมชนท้องถิ่นและสถานประกอบการใช้ทรัพยากรร่วมกัน จัดระบบประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา เพ่ือพัฒนาสู่ระบบการประเมินคุณภาพภายนอก (สมศ.) จัดระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศเพอื่ สง่ เสรมิ การเรียนการสอน และสร้างเครอื ข่ายระหวา่ งหน่วยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
4. ส่งเสริมและสนับสนุนผเู้ รียนผู้สอน การประดิษฐ์คดิ ค้นทาโครงการ โครงงานและวิจัย เพ่ือพัฒนา
และปรบั ปรุงการจดั การศึกษาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ
5. ส่งเสริมและสนับสนุนการจดั กิจกรรมตา่ ง ๆ ท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา
6. ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการพัฒนาบุคลากรในทกุ ด้าน
7. สง่ เสรมิ และสนับสนุนการประชาสัมพันธ์สถานศกึ ษาสชู่ มุ ชนทอ้ งถ่ิน

19

4. ขอ้ มูลด้านอาคารสถานที่

ช่อื สถานศกึ ษา วิทยาลัยการอาชีพสวา่ งแดนดนิ

ชอ่ื ภาษาองั กฤษ SWANGDANDIN INDUSTRY AND COMMUNITY EDUCATION COLLEGE.

ที่ตงั้ สถานศกึ ษา เลขที่ 784 หมู่ 11 ถนน อุดมธรรมภักดี

ตาบล สว่างแดนดนิ อาเภอ สว่างแดนดนิ จงั หวัด สกลนคร 47110

โทรศพั ท์ โทร. 042-721991

โทรสาร โทร. 042-721992

เวบ็ ไซต์ http://www.swicec.ac.th

อีเมล์

เนอ้ื ท่ีของสถานศึกษา 50 ไร่ - งาน 48.75 ตารางวา

มีอาคาร รวมทั้งส้นิ 31 หลัง ได้แก่

1. อาคารเรยี นและปฏบิ ัติการ 4 ชัน้ (อาคาร 2) จานวน 1 หลัง

2. อาคารสานักงานและหอประชมุ 2 ช้ัน จานวน 1 หลัง

3. อาคารเรยี นชวั่ คราว (อาคาร 8) จานวน 1 หลงั

4. บ้านพักผู้อานวยการ จานวน 1 หลงั

5. บา้ นพักภารโรง จานวน 3 หลงั

6. บา้ นพักครเู รอื นแถว จานวน 6 หลงั

7. อาคารโรงฝึกงาน 1 ชัน้ (อาคาร 3 4) จานวน 2 หลัง

8. หอเกียรติยศ จานวน 1 หลงั

9. อาคารโรงฝกึ งาน 4 ช้ัน (อาคาร 5) จานวน 1 หลัง

10. อาคารเรยี นและปฏิบตั กิ าร 4 ชน้ั (อาคาร 7) จานวน 1 หลัง

11. อาคารผลผลิต จานวน 1 หลัง

12. อาคารโรงฝกึ งานแบบจั่วคู่ (อาคาร 6 12) จานวน 2 หลัง

13. อาคารเรียนและปฏิบัตกิ าร 4 ช้ัน (อาคาร 11) จานวน 1 หลัง

14. อาคารโรงอาหารอเนกประสงค์ จานวน 1 หลงั

15. โดมอเนกประสงค์ จานวน 1 หลงั

16. อาคารอานวยการ จานวน 1 หลงั

17. อาคารศูนยว์ ิทยบรกิ าร จานวน 1 หลัง

18. อาคารลูกเสือวิสามญั จานวน 1 หลัง

19. อาคารลกู เสือวิสามัญ จานวน 1 หลัง

20. บา้ นพักครู จานวน 4 หลัง

แผนผงั วทิ ยาลยั 20

N

12 14

8 30 10 11 27 27 15
13 16 18
26
17
ถนน ุอดมธรรม ัภกดี 77

34 22 1 1 2200 21 26
27
66 5

8 19 2828 22 23 24 25 8 26

19 8 27

9

หมายเลข 1 หอประชุม
หมายเลข 2 อาคาร 2 คอมพิวเตอร์
หมายเลข 3 พระพุทธรูป
หมายเลข 4 พระวษิ ณุกรรม
หมายเลข 5 รา้ นขายนา้
หมายเลข 6 ลานอเนกประสงค์ (หน้าเสาธง)

21

หมายเลข 7 ปอ้ มยาม
หมายเลข 8 โรงจอดรถ
หมายเลข 9 อาคารผลผลติ (อาคารส่งเสรมิ คาแคร)์
หมายเลข 10 สนามฟุตบอล
หมายเลข 11 โดมอเนกประสงค์
หมายเลข 12 อาคาร 4 ชา่ งเชือ่ มโลหะ
หมายเลข 13 อาคาร 3 ชา่ งก่อสร้าง
หมายเลข 14 อาคาร 5 ช่างไฟฟา้ ฯ ช่างอิเลก็ ทรอนกิ ส์
หมายเลข 15 อาคาร 6 ชา่ งยนต์
หมายเลข 16 อาคารโรงอาหาร
หมายเลข 17 อาคาร 7 การบญั ชี
หมายเลข 18 อาคาร 12 ช่างกลโรงงาน
หมายเลข 19 อาคาร 11 สามัญสัมพนั ธ์
หมายเลข 20 อาคารอานวยการ
หมายเลข 21 อาคารศูนยว์ ิทยบริการ
หมายเลข 22 หอ้ งพยาบาล
หมายเลข 23 ห้องกจิ กรรม
หมายเลข 24 ห้องอาคารสถานที่
หมายเลข 25 บา้ นพกั ผูอ้ านวยการ
หมายเลข 26 บา้ นพกั ครู
หมายเลข 27 ห้องน้า
หมายเลข 28 อาคารลูกเสือวิสามัญ

5.แผนภมู ิบริหารสถานศกึ ษา ว
สานักงานคณะกรรม

คณะกรรมการบรหิ ารสถานศกึ ษา ผอู้ าน
นางวร

ฝา่ ยบรหิ ารทรพั ยากร ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ ฝ่ายพฒั นากิจ
นายวุฒินันท์ จันทรท์ อง นายอนริ ุทน์ เหมะธลุ ิน นายส

งานบรหิ ารงานทวั่ ไป งานวางแผนและงบประมาณ งา
นางสกุ ญั ญา ดนยั สวัสด์ิ นายลัทธวฒั น์ แสงภา งานแ

งานบุคลากร งานศูนยข์ อ้ มลู สารสนเทศ
นายวิรชัย วรรณะ นนาายยลกทั ิตธพิ วรัฒนพ์ าวแังสรงาภชา

งานการเงนิ งานความรว่ มมอื
นางชาลิสา พระราช นายเจษฎา คาภาพันธ์
งานวจิ ัยพัฒนานวตั กรรมและสง่ิ ประดิษฐ์
งานการบัญชี
นางดวงสมร ฝ่นุ เงิน นายชนะ ทองคา

งานพัสดุ งานประกันคณุ ภาพ และมาตรฐานการศึกษา งา
วา่ ที่ ร.ต.ประจวบ แสงวงค์ นายปรชี า มะโนมัย งานโค

งานทะเบียน งานสง่ เสริมผลิตผลการคา้ และประกอบธุรกิจ
นางสาวนงคเ์ ยาว์ ราชหงษ์ นางสาวนลินี ศรจี นั ทร์

งานประชาสมั พนั ธ์
นายจุฑาพันธ์ วงศป์ รดี ี

งานอาคารสถานที่
นายทองเล่อื น เหล่าสะพาน

22

วทิ ยาลัยการอาชีพสว่างแดนดนิ
มการการอาชีวศึกษา

นวยการวิทยาลยั คณะกรรมการวิทยาลยั
รรณภา พ่วงกลุ

จการนกั เรียนนกั ศึกษา ฝ่ายวชิ าการ
ยสมบัติ รตั นะ นายทนิ กร พรหมอินทร์

านกิจกรรมนกั เรยี นนกั ศึกษา แผนกวชิ าสามญั สมั พนั ธ์ แผนกวิชาอเิ ลก็ ทรอนิกส์
นายสุจนิ ต์ เสนากุล นางมณีกานต์ โคตรโสภา นายสาโรช กล่ามอญ

งานครทู ่ีปรึกษา แผนกวชิ าโลหะการ แผนกวิชากอ่ สรา้ ง
นางสาวจฬุ ารัฐ โมเ้ ปาะ นายปราโมทย์ อุทัยวัฒน์ นายวิชาญ ดนัยสวสั ด์ิ

งานปกครอง แผนกวชิ าเครื่องกล แผนกวิชาการบญั ชี
นายปัญญา อินธิจกั ร์ ว่าท่ี ร.ท.นเรศ สุรยิ ะชยั นางประไพศรี วงศป์ รีดี

แนะแนวอาชพี และการจดั หางาน แผนกวชิ าไฟฟา้ กาลัง แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
นางสุวมิ ล อักษรกลาง นายธีระพล แกว้ กลุ บุตร นายประดษิ ฐ์ สมจันทร์

านสวัสดกิ ารนักเรียน นกั ศึกษา งานพัฒนาหลกั สูตรการเรยี นการสอน แผนกวิชาเครอ่ื งมือกลและซอ่ มบารงุ
นางสาวโสภา สุวรรณไตรย์ นายคมุ ดวง พรมอินทร์ นายสุรตั น์ โคตรปัญญา

ครงการพิเศษและการบรกิ ารชุมชน งานวัดผลและประเมนิ ผล แผนกวิชาคหกรรมศาสตร์
นายณรงค์ เจรญิ ชยั นางสาวนภิ าภรณ์ สทุ ธโิ คตร นางสาวนภิ าภรณ์ สุทธิโคตร

งานวทิ ยบรกิ ารและห้องสมดุ งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
นางสาวจุฬารฐั โมเ้ ปาะ นายวจิ ิตร พลเศษ

งานสอ่ื การเรียนการสอน
นายจักรชยั เทศประสิทธ์ิ





































ลาดับ ชอ่ื โครงการ วิทยาลยั การอาช
รายงานผลการปฏิบัตงิ านจาแนกตามยุทธศา
ฝา่ ยบรหิ ารทรพั ยากร
งานบคุ ลากร ตามแผนงานโครงการในแผนปฏบิ ตั ริ
1. โครงการวันคล้ายเฉลิมพระชนมพรรษา
ผลการดา
เปา้ หมาย

เชงิ ปริมาณ เช
1. ผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา เขา้ 1
ร่วมโครงการ 135 คน โค
2. นักเรยี น นักศกึ ษา จานวน 1,000 คน
เชงิ คุณภาพ 2
1. ผ้บู ริหาร ครู บคุ ลากรทางการศึกษาและ
นักเรียนนกั ศกึ ษาได้เพมิ่ พูน คุณธรรม เช
จรยิ ธรรมตามโครงการสถานศึกษาคณุ ธรรม 1



2. โครงการจัดซอ้ื เกา้ อสี านักงาน เชงิ ปรมิ าณ เช
1. ผ้บู ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา เข้า 1
รว่ มโครงการ 135 คน โค
2. นกั เรยี น นักศกึ ษา จานวน 1,000 คน 2
เชงิ คุณภาพ เช
1. ผบู้ ริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษามี 1
ความสมั พนั ธท์ ่ดี ีตอ่ กัน อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย ด


Click to View FlipBook Version