The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

CRDC13 Poster Presentation
กลุ่ม PP ด้าน Post-Harvest

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mmeang, 2021-05-09 09:07:43

กลุ่ม PP ด้าน Post-Harvest

CRDC13 Poster Presentation
กลุ่ม PP ด้าน Post-Harvest

Keywords: crdc13,poster presentation

วศิ ณีย์ โพธิห์ ลา้ 1 เฉลมิ ชยั วงษ์อาร1ี ,2 วาริช ศรีละออง1,2 และ ทรงศลิ ป์ พจนช์ นะชยั 1,2
Pola, W.1, Wongs-Aree, C.1,2, Srilaong, V.1,2 and Photchanachai S.1,2

1 หลกั สตู รเทคโนโลยหี ลงั การเกบ็ เก่ยี ว คณะทรพั ยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10140

บทคัดย่อ 2 ศูนยน์ วตั กรรมเทคโนโลยีหลงั การเก็บเกี่ยว สานักคณะกรรมการการอดุ มศึกษา ราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

จากการศกึ ษาการดดั แปลงบรรยากาศในบรรจภุ ณั ฑต์ ่อคุณภาพเมลด็ ในพรกิ แหง้ ในระหว่างการเกบ็ รกั ษา มชี ุดการทดลองดงั น้ี (1) 100 %CO2 (2) 100 %N2 (3) Vacuum และ (4) อากาศปกติ (ชุด
ควบคมุ ) และแบง่ ตวั อยา่ งเป็น 2 ชุด โดยชุดแรกเกบ็ ในหอ้ งเยน็ (0 ± 2 องศาเซลเซยี ส) และชุดทส่ี องเกบ็ ในหอ้ งปกติ (28 ± 2 องศาเซลเซยี ส) นาน 3 และ 6 เดอื น พบวา่ เมลด็ มคี วามงอกลดลงตามอายุการเกบ็
รกั ษาทน่ี านขน้ึ อยา่ งไรกต็ าม การเกบ็ ท่ี 3 เดอื น ดว้ ยการบรรจุแบบ Vacuum ในสภาวะหอ้ งเยน็ มแี นวโน้มชว่ ยชะลอการสญู เสยี ความงอกของเมลด็ ไดส้ งู เท่ากบั ชดุ ควบคมุ (อากาศปกต)ิ แต่ไมแ่ ตกต่างกนั ทาง
สถติ กิ บั การบรรจใุ น 100 %CO2 และภายหลงั 6 เดอื น เมลด็ ทเ่ี กบ็ ในหอ้ งเยน็ และบรรจุแบบ Vacuum ยงั คงความงอกสงู ทส่ี ดุ แต่ไมแ่ ตกต่างกนั ทางสถติ กิ บั การบรรจุใน 100 %CO2 และ 100 %N2 ดงั นนั้ วธิ กี าร
เกบ็ รกั ษาดว้ ยการลดปรมิ าณออกซเิ จนในหอ้ งเยน็ อาจเป็นอกี หน่งึ วธิ ที ช่ี ว่ ยยดื อายขุ องเมลด็ ในพรกิ แหง้ ระหวา่ งการเกบ็ รกั ษาได้

บทนา การผลติ เมลด็ พนั ธุพ์ รกิ โดยทวั่ ไป ไดจ้ ากผลพรกิ สดทส่ี กุ แก่และนาเขา้ สู่ขบวนการผลติ ให้ อุปกรณ์และวธิ กี าร

ระหว่างเกบ็ รกั ษา ไดเ้ มลด็ พนั ธุต์ ่อไป แต่การนาเมลด็ ออกจากเน้ือผลซง่ึ เป็นสว่ นห่อหุม้ ออก จะมโี อกาสทเ่ี มลด็
จะเส่อื มสภาพเรว็ ขน้ึ โดยเฉพาะการเกบ็ รกั ษาในสภาวะท่ไี ม่เหมาะสมเป็นเวลานาน ดังนัน้
การเกบ็ รกั ษาเมลด็ ในลกั ษณะของพรกิ แหง้ อาจช่วยรกั ษาคุณภาพของเมลด็ ไดด้ กี ว่าและทา
ใหเ้ มลด็ มเี ปอรเ์ ซน็ ตค์ วามงอกไดย้ าวนานขน้ึ เพราะมสี ว่ นหอ่ หุม้ และป้องกนั ความเสยี หายได้
ดกี ว่าการเก็บรกั ษาในลกั ษณะของเมลด็ เช่น ป้องกนั ความช้นื อากาศ และ/หรอื การเขา้
ทาลายจุลนิ ทรยี ์ เป็นตน้ อยา่ งไรกต็ าม ยงั ไม่มงี านวจิ ยั การเกบ็ รกั ษาคุณภาพเมลด็ พนั ธุพ์ รกิ
ในผลพรกิ แหง้ อย่างจรงิ จงั มรี ายงานว่า การเกบ็ รกั ษาถวั่ ลสิ งในลกั ษณะเป็นฝัก (pod) ช่วย
ยดื อายใุ หเ้ มลด็ คงความงอกไดด้ แี ละนานกวา่ การเกบ็ รกั ษาดว้ ยเมลด็ (kernel) (Sujatha และ
คณะ, 2018) นอกจากน้ี สงิ่ สาคญั ท่ชี ่วยยดื อายุเมลด็ ได้ คอื สภาวะการเกบ็ รักษา สาหรบั
เทคนิคหน่ึงทไ่ี ดร้ บั ความนิยมในงานดา้ นเทคโนโลยหี ลงั การเกบ็ เกย่ี ว คอื การรักษาอุณหภูมิ
ให้เหมาะสม และการปรบั สภาพบรรยากาศภายในบรรจุภณั ฑ์ เช่น ปรบั ลดปรมิ าณ O2 ใน อบแห้ง ใน hot air oven
บรรจุภณั ฑเ์ พอ่ื ยดื อายกุ ารเกบ็ รกั ษาได้ 45 °C (~ 38 ± 1 h)
พริกหวั เรือ

วัตถุประสงค์ เพ่อื ศกึ ษาผลของการเกบ็ รกั ษาพรกิ แหง้ ‘หวั เรอื ’ ดว้ ยการปรบั สภาพอากาศภายในบรรจุภณั ฑ์ และการควบคุม
อณุ หภมู ติ ่อคุณภาพของเมลด็ ในระหวา่ งการเกบ็ รกั ษา

Treatments Germination Abnormal Ungerminated Dead
seed seed
Initial value (Day 0) (%) seedling 6.25 6.00
7.25 d 2.0
T1: 0 °C + 100% CO2 72.00 12.25 12.25 b 2.0
T2: 0 °C + 100% N2 8.50 cd 1.0
3 Months T3: 0 °C + Vacuum 63.25 ab 29.00 bc 9.50 bcd 2.0
T4: 0 °C + Seal 12.25 b 1.0
T5: 28 °C + 100% CO2 55.00 cd 31.75 ab 19.00 a 1.3 100% CO2 100% N2 Vacuum Sealed (control)
T6: 28 °C + 100% N2 12.00 bc 1.0
T7: 28 °C + Vacuum 68.00 a 23.25 cd 12.00 bc 1.0
T8: 28 °C + Seal <.0001 ns
F-test 68.00 a 21.50 d 13.44 20.08
C.V. (%)
51.75 de 35.25 a เกบ็ รกั ษาท่ี Cold & Ambient

47.75 e 32.00 ab นาน 3 และ 6 เดือน

60.00 bc 27.25 bcd

57.80 bcd 30.00 ab

<.0001 <.0001

5.19 8.64

Treatments Germination Abnormal Ungerminated Dead
seed seed
T1: 0 °C + 100% CO2 (%) seedling 4.00 c 1.5 d
T2: 0 °C + 100% N2 12.25 c 2.3 d
6 Months T3: 0 °C + Vacuum 58.25 ab 37.00 a 9.50 c 1.5 d แกะเมลด็ Standard germination (%G)
T4: 0 °C + Seal 11.50 c 2.0 d (ISTA, 2007)
ผลและวจิ ารณ์ T5: 28 °C + 100% CO2 54.75 ab 32.00 ab 57.50 a 6.25 b
T6: 28 °C + 100% N2 63.50 a 9.75 a ประเมินผลการทดลอง
T7: 28 °C + Vacuum 59.75 a 30.00 b 40.75 b 7.50 a
T8: 28 °C + Seal 55.75 a 3.00 c
F-test 49.75 b 37.75 a <.0001 <.0001
C.V. (%) 14.48 25.22
32.00 c 4.25 d

22.50 d 4.25 d

36.25 c 14.25 c Abnormal seedling
Un-germinated
31.00 cd 8.75 cd seed

<.0001 <.0001 Dead seed

9.40 12.50

ในช่วง 3 เดอื นแรก การบรรจุใน Vacuum (T3) ในสภาวะหอ้ งเยน็ มคี วามงอกสงู เท่ากบั การบรรจุในอากาศปกติ (T4) อาจ Normal seedling
เน่ืองมาจากเมลด็ ยงั คงมคี วามแขง็ แรง ทาใหส้ ามารถงอกได้ไมแ่ ตกต่างกนั ซง่ึ การเกบ็ รกั ษาพรกิ แหง้ ในหอ้ งเยน็ เมล็ดยงั คงมคี วามงอก
สงู กวา่ อยา่ งมนี ยั สาคญั เมอ่ื เทยี บกบั กลมุ่ ทเ่ี กบ็ ในหอ้ งปกติ เพราะทอ่ี ณุ ภมู เิ ยน็ ทาใหส้ ว่ นทม่ี ชี วี ติ ของพชื มอี ตั ราการหายใจและกจิ กรรมเม อ้างอิง
ตาบอลซิ มึ ต่างๆ ต่ากว่าทอ่ี ุณภูมปิ กติ จงึ ช่วยยดื อายุของเมลด็ ได้ เช่นเดยี วกบั การรายงานในเมลด็ พชื หลายชนิ ด เช่น พรกิ (Doijode,
1996), ถวั่ แขก (Khalequzzaman และคณะ, 2012), และ ฝ้าย (Meena และคณะ, 2017) เป็นตน้ เมอ่ื เกบ็ รกั ษานาน 6 เดอื น พบวา่ การ Doijode, S.D., 1996, Effect of Packaging and Fruit Storage on Seed Viability, Vigour and Longevity
บรรจุพรกิ แหง้ ในอาการปกติ (T4) เมลด็ มเี ปอรเ์ ซน็ ตก์ ารงอกลดลงแมจ้ ะเกบ็ ทห่ี อ้ งเยน็ กต็ าม แต่ Vacuum (T3) สามารถชะลอการลดลง in Chilli (Capsicum annuumL.), Vegetable Science, 23: 36-41.
ของเปอรเ์ ซน็ ตก์ ารงอกในเมลด็ พรกิ ได้ ซง่ึ ทม่ี แี นวโน้มใหผ้ ลดที ส่ี ดุ (Table 1) เชน่ เดยี วกบั การรายงานในถวั่ ลสิ ง (Sujatha และคณะ,
2018), ในถวั่ ชคิ พี (Chickpea) (Patel และคณะ, 2018), และในเมลด็ ฝ้าย (Cotton) (Meena และคณะ, 2017) เป็นตน้ ทงั้ น้ีอาจเป็น ISTA, 2007, International Rules for Seed Testing Edition, The International Seed Testing
แเพลระา1ะ0ก0า%รลดNป2 รทมิ ช่ี าว่ ณยชOะล2 อชกว่ ายรชสะญู ลอเสกยี าครวหาามยงใอจกแรลอะงกมจิ ากจรารกมเ(มTต3)าบซอง่ึ ลเปซิ ็นมึ กตา่ารงปๆรบัใหสน้ภ้อาพยลบงรไรดย้ าใกนาทศาเนพออ่ื งแเทดยีนวทก่ี Oบั ก2 าภราบยรใรนจบุใรนรจ1ุภ0ณ0ั %ฑ์CO2 Association (ISTA), Switzerland.

สรุป วธิ กี ารเกบ็ รกั ษาในหอ้ งเยน็ และการลดปรมิ าณออกซเิ จนในบรรจุภณั ฑ์ โดยเฉพาะการ Vacuum ช่วยชะลอการสญู เสยี ความ Khalequzzaman, K.M., Rashid, M.M., Hasan, M.A. and Reza, M.M.A., 2012, Effect of Storage
เงทอคกนขิคองทเ่คีมวลรด็ นใานมพารศกิ กึ แษหา้งเไพดม่ิ ้ดเทีตมิ่สี ุดเพร่อื อใหงล้ไงดมส้ าภคาอื วะ1ท0่เี 0ห%มาCะสOม2ทแ่สีลุดะ ใ1น0ก0%ารชN่ว2ยตยาดื มอลาายดุขบั องดเงัมนลัน้ด็ พวรธิ กิ กี ใานรรดะงั หกวล่ า่างวกอาารจเเกปบ็ ็ นรอกั กี ษหานได่ึง้ Containers and Storage Periods on the Seed Quality of French Bean (Phaseolus vulgaris),
นอกจากน้ี การศกึ ษาเพม่ิ เตมิ ควรเลอื กพรกิ ทเ่ี มลด็ มคี วามงอกเรม่ิ ตน้ สงู กวา่ ทศ่ี กึ ษาในงานน้ี Bangladesh Journal of Agricultural Research, 37(2): 195-205.

คาขอบคณุ ขอขอบพระคุณ โครงการปรญิ ญาเอกกาญจนาภเิ ษก (คปก.) ทเ่ี ป็นผใู้ หท้ ุนสนุบสนุนการทาวจิ ยั ครงั้ น้ี Meena, M.K., Chetti, M.B. and Nawalagatti, C.M., 2017, Influence of Vacuum Packaging and Storage

Conditions on the Seed Quality of Cotton (Gossypium spp.), International journal of pure and
applied bioscience, 5(1): 789-797.
Patel, J.V., Antala, D.K. and Dalsaniya, A.N., 2018, Influence of Different Packaging Materials on the
Seed Quality Parameters of Chickpea, International Journal of Current Microbiology and
Applied Sciences, 7(12): 2458-2467.
Sujatha, M., Uppar, D.S., Biradarpatil, N.K., Mummigatti, U.V. and Olekar, N.S., 2018, Studies on
Germination and Seedling Vigour of Summer Groundnut Seeds Stored Under Ambient Storage
Condition, International Journal of Current Microbiology and Applied Sciences, Special Issue-6:
1417-1421.

การประยุกต์ใชร้ งั สีเอกซใ์ นมะมว่ งเขยี วเสวยเพื่อการส่งออก
The Application of X-ray Irradiation on Khieo Sawoey mango for Export

สรุ ศกั ดิ์ สัจจบุตร เขมรุจิ เขม็ ทอง1 จารรุ ตั น์ เอ่ยี มศริ ิ1 ทศพล แทนนรนิ ทร์1 นงค์นุช แจ้งสวา่ ง1 วชิราภรณ์ ผิวล่อง1 วณชิ ล่มิ โอภาสมณี1 วรารตั น์ คาหวาน1 ศริ ลิ กั ษณ์ ชแู ก้ว1 และฐิติมา คงรตั น์อาภรณ์1
Sajjabut, S.1, Khemthong, K.1, Eamsiri J.1, Tannarin, T.1, Jangsawang, N.2, Pewlong, W.1, Limohpasmanee, W.1, Khamvarn, V.1, Chookaew, S.1 and Kongratarpon, T.1

สถาบนั เทคโนโลยนี ิวเคลยี รแ์ ห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) 9/9 ม. 7 ต.ทรายมูล อ.องครกั ษ์ จ.นครนายก 26120
1 Thailand Institute of Nuclear Technology (Public Organization) 9/9 Moo 7, Saimoon, Ongkharak, Nakhon Nayok 26120 Thailand.

Abstract บทคัดยอ่

Irradiation as quarantine treatment is efficiency and acceptable method for fruit exportation. The การฉายรังสีผลไม้เพื่อกาจัดแมลงศตั รูทางกักกันพืชเปน็ วิธกี ารท่ีประสิทธิภาพและไดร้ บั การยอมรับระหวา่ งประเทศ การ

objective of this study was to determine the effect of X-ray from electron accelerator on the quality of ทดลองน้ีเพื่อศึกษาผลกระทบของรังสเี อกซจ์ ากเคร่อื งเร่งอนุภาคอเิ ล็กตรอนตอ่ คณุ ภาพของมะม่วงเขยี วเสวย โดยนามะมว่ งที่บรรจุ

Khieo Sawoey mango. Fruits were packed in active bags and irradiated with X-ray at 50 kw for 30 min. ในถุงดดั แปลงสภาวะบรรยากาศมาฉายรังสีเอกซ์ทกี่ าลงั 50 kW นาน 30 นาที เม่อื ฉายรังสีแลว้ พบวา่ มะมว่ งไดร้ บั ปริมาณรังสี

After irradiation all samples were kept at 13-15 oC and 90-95 % relative humidity and were investigated ต่าสดุ ที่ 450 Gy และสงู สุด 600 Gy ภายหลังฉายรังสีนาตวั อยา่ งมาเก็บรกั ษาท่ีอุณหภมู ิ 13-15 oC ความช้นื สมั พัทธ์ 90-95 %

the physical and chemical qualities, sensory evaluation every week for 4 weeks. It was found that the ทาการทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพ เคมีและประสาทสมั ผสั ทุกสัปดาห์ ที่ระยะการเก็บ 1-4 สปั ดาห์ ผลการทดสอบพบวา่ มะม่วง

minimum and maximum absorbed dose were 450 and 600 Gy. All treatments were no significant ฉายรังสมี ีคณุ สมบัตทิ างกายภาพ เคมี และประสาทสัมผสั ไมแ่ ตกตา่ งกบั มะม่วงไมฉ่ ายรงั สแี ละอยูใ่ นระดบั ท่ยี อมรบั ได้ ถึงแมว้ า่ ท่ี

difference in the physical qualities, chemical qualities and sensory evaluation between irradiated and ระยะการเก็บ 4 สัปดาห์ สีเปลอื กมะม่วงท่ีได้รบั รังสใี นปรมิ าณสูงมรี อยเป้ือนดาบาง ๆ เกิดขนึ้
non-irradiated fruits. The quality of irradiated fruits was accepted, although fruits which treated with คาสาคัญ: การฉายรังสีเอกซ์ มะม่วงเขยี วเสวย

maximum dose showed slightly black stain of peel after storage for 4 weeks.

Keywords: X ray irradiation, Khieo Sawoey mango อุปกรณ์และวิธีการ

คานา มะมว่ งพนั ธเุ์ ขยี วเสวย

มะมว่ งพนั ธ์เุ ขยี วเสวยเปน็ ท่นี ยิ มบริโภคมากข้นึ แถบตลาดอาเซียน เชน่ ประเทศเวยี ดนาม ดว้ ยแนวโนม้ ผลผลิตมะมว่ งเขียวเสวยทีม่ มี ากข้นึ ทาความสะอาดผิวดว้ ยนา้ ผสม ฉายรังสีเอกซ์ทศี่ นู ย์ฉายรงั สีท่รี ะดบั ทาการทดสอบคุณภาพด้านตา่ ง ๆ ท่ี
และตอ่ เนอื่ งตลอดทัง้ ปี จงึ นับเปน็ โอกาสทีด่ ีในการขยายตลาดส่งออกมะม่วงดบิ ไปยงั ประเทศแถบอน่ื ๆ เช่น ออสเตรเลยี และอเมริกา เพื่อ คลอรนี 200 ppm พลังงาน 2 Mev จากเคร่ืองเรง่ อนุภาค ระยะการเก็บ 1-4 สปั ดาห์ ๆ ได้แก่
รองรบั ความตอ้ งการของผู้บรโิ ภคที่ช่ืนชอบผลไม้ไทย การสง่ ผลไมส้ ดเขา้ สตู่ ลาดอเมริกา ออกสเตรเลยี นวิ ซีแลนด์ จาเปน็ ต้องผา่ นการฉายรังสี และจมุ่ ในสารละลายโปรคลอราซ อเิ ลก็ ตรอนทีก่ าลงั 50 kw
เพื่อกาจัดแมลงศัตรูพืชกักกันพชื โดยกาหนดให้ใชป้ ริมาณรังสีตา่ สดุ ท่ี 400 Gy จากการศกึ ษาผลของการฉายรังสแี กมมา รงั สเี อกซ์ และลา 500 ppm - ลกั ษณะภายนอก
อเิ ล็กตรอนตอ่ คณุ ภาพของอาหาร และผลไม้ชนิดต่าง ๆ พบวา่ การฉายรงั สมี ีผลตอ่ คณุ ภาพและการเปลย่ี นแปลงภายในของผลิตผล โดยผลของ - การเปลยี่ นแปลงของสเี ปลอื กและเนือ้
รังสที ่มี ีตอ่ คณุ ภาพของผลผลติ ข้ึนอยกู่ ับชนดิ ของผลผลติ ปรมิ าณรังสีทไ่ี ดร้ บั และชนิดของรงั สี (Shellie และ Mangan, 1994) ผลการศึกษา บรรจุในถุงดดั แปลงสภาวะบรรยากาศ - วัดค่าความแขง็ ของเนือ้ มะม่วง
การฉายรงั สีแกมมาตอ่ คณุ ภาพของผลดิบมะม่วงพันธ์โุ ชคอนันต์ที่ปรมิ าณรงั สี 400 และ 700 Gy พบว่ามะม่วงฉายรงั สมี สี เี ปลือกเปล่ียนเปน็ สี และบรรจุลงกล่องกระดาษลูกฟกู - วัดคา่ pH
เหลืองเรว็ กวา่ ชดุ ควบคมุ ความแนน่ เนอ้ื ลดลงตามปรมิ าณรังสีท่เี พิ่มขนึ้ และมีอตั ราการหายใจ ปรมิ าณ Lipid peroxidation และเอนไซม์ LOX - วดั ปรมิ าณของแขง็ ท่ีละลายไดท้ ัง้ หมด
เพิ่มขนึ้ ในชว่ ง 7 วนั แรกหลงั จากน้ันลดลงจนถึงวันท่ี 14 (อภิรดี และคณะ, 2556) Broisler และคณะ (2009) รายงานว่ามะม่วงสายพนั ธ์ุ - วดั ปรมิ าณน้าตาล
Tommy, Kent, Honey Gold, Shelly และ Princess ท่ผี ่านการฉายรงั สที ี่ปรมิ าณรงั สี 400 800 และ 1,000 Gy พบวา่ เปลอื กของมะมว่ ง
ฉายรงั สมี รี อยช้าเป็นจดุ ๆ ทเี่ กดิ จากปฏิกริ ิยาออกซิเดชน่ั โดยพบมากขนึ้ ตามปรมิ าณรงั สีท่สี งู ขนึ้ ปัจจบุ นั สถาบนั เทคโนโลยนี วิ เคลียร์แห่งชาตมิ ี ภายหลังฉายรังสีนาตัวอยา่ งเกบ็ รักษาทอี่ ุณหภูมิ 13- ทดสอบคุณภาพด้านประสาทสัมผัส
เทคโนโลยดี ้านเคร่อื งเรง่ อนภุ าคฯ ให้รังสเี อกซ์ทม่ี ีคา่ พลงั งานต่ากว่า 5 Mev กาลัง 50 kw เพ่ือรองรบั บรกิ ารฉายรงั สผี ลไม้ในอนาคต ดังนนั้ การ 15 oC ความชืน้ สมั พัทธ์ 90-95 % ทดสอบโดยการชิม
วิจัยเพือ่ ศึกษาคณุ ภาพผลไม้ภายหลงั ฉายรงั สเี อกซจ์ งึ เปน็ ประโยชนใ์ นดา้ นการให้ข้อมลู เพ่ือสนบั สนนุ ผู้ประกอบการทใ่ี หค้ วามสนใจใช้บรกิ ารและ
ยังชว่ ยส่งเสรมิ การสง่ ออกผลไม้ไทยอีกทางหนงึ่ ด้วย

ผลการทดลอง

มะมว่ งทไ่ี ดร้ บั รังสีปริมาณต่า (450-500 Gy) และสงู (550-600 Gy) ไมป่ รากฏเลนติเซลสีดาเช่นเดียวกับมะม่วงไมฉ่ ายรงั สี ตลอดระยะการ Figure 1 External (A) and internal color (B) of Khieo Sawoey mango irradiated with X-ray were Figure 2 Hardness (A) and pH (B) of Khieo Sawoey mango irradiated with X-ray were
เก็บ 4 สัปดาห์ ส่วนสเี ปลือกมะมว่ งทไ่ี ด้รับรงั สีปริมาณต่าและสงู ที่เกบ็ ไวน้ าน 0 1 2 และ 3 สัปดาห์ ไมเ่ กดิ ลักษณะรอยเป้อื นดาเช่นเดยี วกับ stored at 13-15 oC for 4 weeks. stored at 13-15 oC for 4 weeks.
มะม่วงไม่ฉายรังสแี ต่มีลกั ษณะรอยเปื้อนดาบาง ๆ เมอื่ เก็บไวน้ าน 4 สปั ดาห์ มะม่วงฉายรงั สีมสี ีของเปลอื กไมแ่ ตกตา่ งกบั มะม่วงไมฉ่ ายรงั สี ที่
อายุการเก็บ 0-3 สปั ดาห์ ค่าความสวา่ ง (L) ของสีเปลือกมะมว่ งอยใู่ นช่วง 38.16 ถงึ 41.54 คา่ a อย่ใู นชว่ ง -10.76 ถงึ -9.16 ค่า b อยู่ Figure 3 Total soluble solid (A) and total sugar (B) of Khieo Sawoey mango irradiated with X-ray were Figure 4 Sensory evaluation (A-external and B-internal) of Khieo Sawoey mango irradiated
ในชว่ ง 10.21 ถึง 12.88 แตท่ อี่ ายุการเกบ็ 4 สปั ดาห์ ค่า a มะม่วงฉายรังสีสงู กวา่ มะมว่ งไมฉ่ ายรงั สีอย่างมีนัยสาคัญและค่า b มะมว่ งฉายรังสี stored at 13-15 oC for 4 weeks
ต่ากว่ามะมว่ งไม่ฉายรังสอี ยา่ งมีนยั สาคญั (Figure 1 A) เชน่ เดยี วกับสขี องเนอื้ มะมว่ งฉายรังสไี ม่แตกต่างกับมะมว่ งไมฉ่ ายรังสี ท่ีระยะเวลาการ with X-ray were stored at 13-15 oC for 4 weeks.
เกบ็ 1-2 สัปดาห์ คา่ ความสวา่ ง (L) ของสเี ปลอื กมะมว่ งอยใู่ นชว่ ง 76.51 ถงึ 84.82 ค่า a อยูใ่ นชว่ ง -6.40 ถึง -4.10 ค่า b อยใู่ นช่วง
15.23 ถึง 28.64 แตท่ ่ีระยะเวลาการเกบ็ 3 และ 4 สัปดาห์ เนื้อมะมว่ งไม่ฉายรังสเี ปลีย่ นเป็นสีเหลืองมากกวา่ มะม่วงฉายรงั สี (ค่า b มะม่วงฉาย สรปุ ผล
รงั สีมีค่านอ้ ยกว่าทีไ่ มผ่ า่ นการฉายรงั ส)ี (Figure 1 B) แสดงวา่ มะม่วงฉายรังสีมีการสกุ ช้ากวา่ มะม่วงไมฉ่ ายรงั สี
มะมว่ งเขยี วเสวยท่บี รรจใุ นถุงดัดแปลงสภาวะบรรยากาศและฉายรงั สีเอกซ์ทปี่ รมิ าณ 400-600 Gy ไมป่ รากฏเลนติเซลสี
คา่ ความแน่นเน้อื ของมะม่วงฉายรังสีและไม่ฉายรงั สีมแี นวโน้มลดลงตามระยะเวลาการเก็บ ทรี่ ะยะเวลาการเก็บ 2 สัปดาห์ มะมว่ งฉายรงั สีมี ดาตลอดระยะเวลาการเก็บ 4 สปั ดาห์ ส่วนสีเปลอื กมะม่วงฉายรังสกี ็ไม่เกิดการเปลย่ี นแปลงท่ีระยะเวลาการเก็บ 1-3 สัปดาห์
ค่าความแนน่ เนือ้ 4.96 และ 5.48 kg/cm3 ตา่ กวา่ มะมว่ งไม่ฉายรงั สีท่ีมคี ่าความแขง็ ของเน้ือ 6.77 kg/cm3 อย่างมีนยั สาคญั ที่ระยะเวลาการ แตม่ ลี ักษณะรอยเปอ้ื นดาบาง ๆ เมือ่ เกบ็ ไว้นาน 4 สปั ดาห์ ส่วนสีของเนื้อมะม่วงฉายรงั สีพบว่าไมแ่ ตกตา่ งกับมะม่วงไมฉ่ าย
เกบ็ 3 สัปดาห์ มะม่วงฉายรงั สมี ีค่าความแนน่ เน้ือ 5.69 และ 5.23 kg/cm3 สูงกว่ามะมว่ งไมฉ่ ายรงั สที มี่ คี า่ แความแนน่ เนือ้ 3.00 kg/cm3 อย่าง รงั สีทีร่ ะยะเวลาการเกบ็ 1- 2 สปั ดาห์ แต่ทีร่ ะยะเวลาการเก็บ 3 และ 4 สปั ดาห์ เนอ้ื มะม่วงไม่ฉายรังสีเปลยี่ นเปน็ สีเหลอื ง
มนี ยั สาคญั แต่ท่รี ะยะเวลาการเกบ็ 4 สัปดาห์ คา่ ความแนน่ เนอ้ื มะม่วงฉายรงั สีและไม่ฉายรังสีไม่แตกตา่ งกัน (Figure 2 A) แสดงวา่ มะมว่ งฉาย มากกวา่ มะม่วงฉายรังสี ค่าความแขง็ ของเน้ือมะม่วงฉายรังสีและไมฉ่ ายรงั สลี ดลงตามระยะเวลาการเก็บ ทร่ี ะยะเวลาการเกบ็
รังสมี กี ารเปลย่ี นแปลงเร็วกว่ามะม่วงไมฉ่ ายรังสใี นสปั ดาหท์ ่ี 4 แต่อตั ราการเปลย่ี นแปลงชา้ กว่ามะม่วงไมฉ่ ายรงั สใี นสองสปั ดาห์แรก 2 สัปดาห์ มะม่วงฉายรงั สมี ีคา่ ความแขง็ ของเนอ้ื ต่ากว่ามะม่วงไม่ฉายรงั สี ทร่ี ะยะเวลาการเก็บ 3 สัปดาห์ มะม่วงฉายรงั สีมคี า่
ความแข็งของเนื้อสงู กว่ามะม่วงไมฉ่ ายรังสี แต่ทร่ี ะยะเวลาการเกบ็ 4 สัปดาห์ คา่ ความแข็งของเนอ้ื มะม่วงฉายรงั สีและไม่
จาก Figure 2 B พบวา่ คา่ pH ของมะมว่ งฉายรงั สีและไมฉ่ ายรังสมี แี นวโน้มเพ่มิ ขน้ึ ตามระยะการเก็บ และมคี า่ ไม่แตกตา่ งกันโดยท่ีระยะการ ฉายรังสไี มแ่ ตกต่างกัน ค่า pH ปริมาณของแขง็ ทล่ี ะลายไดท้ ง้ั หมด และปรมิ าณนา้ ตาล มแี นวโน้มเพ่มิ ขึน้ ตามระยะการเก็บ
เก็บ 0 สัปดาห์ คา่ pH ของมะมว่ งอยใู่ นช่วง 3.32 ถึง 3.40 แตร่ ะยะการเกบ็ 4 สปั ดาห์ ค่า pH ของมะมว่ งอยู่ในชว่ ง 4.20 ถงึ 4.26 ปริมาณ โดยผลท่ีไดไ้ ม่แตกตา่ งกันระหวา่ งมะมว่ งฉายรังสแี ละไม่ฉายรังสี การทดสอบทางประสาทสัมผัสพบวา่ ทร่ี ะยะการเกบ็ 4
ของแขง็ ทล่ี ะลายไดท้ งั้ หมดมีแนวโน้มเพม่ิ ขน้ึ และไม่มคี วามแตกตา่ งกนั ระหวา่ งมะม่วงฉายรังสแี ละไม่ฉายรังสีโดยทร่ี ะยะการเกบ็ 0 สปั ดาห์ ค่า สัปดาห์ คะแนนเฉลย่ี สเี ปลอื กมะมว่ งที่ได้รบั รงั สีระดับสูงจะน้อยกว่ามะมว่ งที่ได้รับรังสีระดบั ตา่ และมะม่วงไมฉ่ ายรงั สีอย่างมี
ปริมาณของแข็งท่ีละลายไดท้ ้ังหมดของมะมว่ งเท่ากบั 10.0 oBrix แต่ระยะการเก็บ 4 สปั ดาห์ ค่า pH ค่าปริมาณของแขง็ ทลี่ ะลายไดท้ ้งั หมด นัยสาคัญ แตค่ ะแนนเฉลยี่ ยังอย่ใู นเกณฑ์ทีย่ อบรบั ได้ คะแนนเฉล่ียความเต่งของผลมะม่วงฉายรงั สีไม่แตกต่างจากมะม่วงไม่
ของมะมว่ งอย่ใู นชว่ ง 15.9 ถึง 16 oBrix ซึ่งปรมิ าณของแขง็ ทลี่ ะลายได้ทั้งหมดนสี้ มั พันธก์ บั ปริมาณน้าตาลท่เี พมิ่ ข้ึน (Figure 3 A) ฉายรงั สี ส่วนคะแนนเฉลี่ยลักษณะภายนอกรวมของมะมว่ งท่ีไดร้ บั รังสรี ะดับสงู จะนอ้ ยกว่ามะมว่ งที่ไดร้ ับรงั สีระดับต่าและไม่
ฉายรังสี ทีร่ ะยะการเก็บ 2- 4 สัปดาห์ คะแนนเฉล่ยี การทดสอบการชมิ สี กลน่ิ รสชาติ เนือ้ สัมผัสและคุณภาพโดยรวมของ
พบว่าในมะมว่ งเขยี วเสวยมนี า้ ตาล 3 ชนิด คือ Fructose, Glucose และ Sucrose โดยปรมิ าณ Sucrose มากทส่ี ุด และปริมาณนา้ ตาล มะมว่ งฉายรงั สีไม่แตกตา่ งจากมะมว่ งที่ไมฉ่ ายรงั สตี ลอดระยะการเกบ็ 4 สัปดาห์
ทง้ั สามชนิดมแี นวโน้มเพิม่ ขึ้นตามระยะเวลาการเก็บ ปริมาณนา้ ตาลแต่ละชนดิ ไม่แตกต่างกนั ระหวา่ งมะม่วงฉายรังสีและไม่ฉายรังสี (Figure 3
B) โดยทรี่ ะยะการเก็บ 1 สัปดาห์ ปรมิ าณ Fructose และ Glucose นอ้ ยกวา่ 10 g/100 g และ Sucrose อยูใ่ นช่วง 1.01 ถึง 1.32 g/100 g
แตร่ ะยะการเกบ็ 4 สัปดาห์ Fructose อย่ใู นชว่ ง 2.18 ถงึ 2.41 g/100g Glucose อยใู่ นช่วง 1.55 ถงึ 1.73 g/100g และ Sucrose อยู่
ในชว่ ง 7.28 ถงึ 7.91 g/100g

ผลการทดลองพบว่าที่อายุการเกบ็ 1-3 สัปดาห์ คะแนนสีเปลอื กมะมว่ งฉายรังสีไม่แตกต่างกับมะมว่ งไม่ฉายรงั สี คะแนนการทดสอบอยู่
ในช่วง 6.9 ถงึ 7.8 แต่ที่ระยะการเกบ็ 4 สปั ดาห์ คะแนนสีเปลอื กมะมว่ งที่ได้รบั รงั สรี ะดับสงู เทา่ กับ 6.1 นอ้ ยกว่ามะม่วงไม่ฉายรงั สที ่ีเทา่ กบั 7.1
อย่างมีนยั สาคัญ แต่คะแนนเฉลีย่ ยงั อยู่ในเกณฑ์ทย่ี อบรบั ได้ ท้งั นเ้ี นือ่ งจากมะม่วงทไ่ี ด้รับรังสีปรมิ าณสงู มสี กี ระด่างกระดา คะแนนเฉล่ยี ความเตง่
ของผลมะม่วงฉายรงั สไี มแ่ ตกต่างจากมะมว่ งไม่ฉายรังสีตลอดระยะเวลาการเกบ็ 4 สปั ดาห์ คะแนนอยใู่ นช่วง 6.7 ถึง 7.8 สว่ นคะแนนเฉลยี่
ลักษณะภายนอกรวมของมะมว่ งฉายรงั สีไมแ่ ตกตา่ งกับมะม่วงไมฉ่ ายรงั สี ทรี่ ะยะการเก็บ 0-2 สัปดาห์ คะแนนอยูใ่ นช่วง 7.0 ถงึ 7.8 แตท่ ่รี ะยะ
การเก็บ 3 และ 4 สัปดาห์ คะแนนของมะม่วงทไี่ ด้รบั รงั สรี ะดบั สงู เทา่ กบั 7 และ 6.3 ซ่งึ นอ้ ยกว่ามะม่วงไมฉ่ ายรงั สี ซงึ่ เท่ากับ 7.8 และ 7.2
อย่างมีนัยสาคญั คะแนนเฉลีย่ สี กล่นิ รสชาติ เนือ้ สมั ผัสและคณุ ภาพโดยรวมของมะมว่ งฉายไม่แตกตา่ งจากมะมว่ งท่ไี ม่ฉายรงั สตี ลอดระยะการ
เก็บ 4 สปั ดาห์ คะแนนสเี นื้ออยใู่ นช่วง 6.7 ถึง 7.7 คะแนนกล่นิ อย่ใู นชว่ ง 6.4 ถึง 7.3 คะแนนรสชาตอิ ยู่ในช่วง 5.9 ถงึ 7.7 คะแนนเนื้อสัมผสั
อยู่ในชว่ ง 6.1 ถงึ 7.8 และคะแนนคณุ ภาพโดยรวมอยู่ในชว่ ง 6.0- 7.7 (Figure 3)

เอกสารอ้างอิง

พุฒพิ งษ์ เพ็งฤกษ,์ พงษ์ศกั ดิ์ จิณฤทธ์ิ, มลนภิ า ศรีมาตรภริ มย์, ศริ กานต์ ศรีธัญรตั น์ และสุกัญญา อนิ ทรส์ วสั ด์ิ, 2562, ผลของการฉายรังสีแกมมาในปริมาณต่างๆต่อคุณภาพมะม่วงนา้ ดอกไม้สีทองเพอื่ การสง่ ออก, การประชมุ วิชาการพชื สวนแหง่ ชาติครัง้ ที่
18 ระหว่างวนั ท่ี 5-7 พ.ย. 2562, นนทบรุ ี, 7 น.

ผ่องเพญ็ จติ อารีย์รัตน์ และอภิรดี อทุ ยั รัตนกจิ , 2554, ผลของรังสแี กมมาท่ีปรมิ าณสูงต่อคุณภาพของผลมะมวงพันธนุ์ ้าดอกไมเ้ บอร์ 4, วารสารวิทยาศาสตร์การเกษตร, 42 (1) (พเิ ศษ): 251-254.
อภริ ดี อุทัยรัตนกิจ, ผ่องเพญ็ จิตอารยี ร์ ัตน์ และจารุวฒั น์ บญุ รอด, 2556, ผลของปรมิ าณรงั สีแกมมาต่อคุณภาพของผลดบิ มะมว่ งพันธุ์โชคอนันต์, เรอื่ งเตม็ การประชมุ ทางวิชาการของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 51: สาขาพืช, หนา้ 300-305.
Broisler, P.O., Sabato, S.F. and Cruz, P.R., 2009, Study of influence on harvesting point in Brazilian Tommy Atkins mangoes submitted to gamma radiation, Radiation Physics and Chemistry, 78(7):571-573.
Shellie, K.C and Mangan R., 1994, “Disinfestation: effect of non-chemical treatments on market quality of fruit”, Proceeding of an international conference, Chiang Mai, Thailand, 19-23 July 1994, p. 304-310.

ประสิทธิภาพของสารสกัดจากรังไหมตอ่ การลดการเกดิ สนี ้าตาลของ

มะมว่ งน้าดอกไมต้ ดั แต่งพรอ้ มบริโภค

ชลิดา ฉมิ วารี1,2 สุริยัณห์ สภุ าพวานิช3 เฉลมิ ชยั วงษ์อารี1,2 ชัยรตั น์ เตชวุฒิพร3 รชา เทพษร4 และ พนิดา บุญฤทธิ์ธงไชย1,2

1สาขาเทคโนโลยหี ลงั การเกบ็ เกีย่ ว คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี (บางขนุ เทยี น) เขตบางขนุ เทียน กรุงเทพมหานคร
2ศนู ย์นวัตกรรมเทคโนโลยหี ลังการเก็บเก่ียว สานกั งานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร

3ภาควชิ าครุศาสตร์เกษตร คณะครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรม สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง เขตลาดกระบงั กรุงเทพมหานคร 10520
4ภาควชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รงั สิต ปทุมธานี 12121

บทคดั ยอ่

งานวิจยั นศี้ กึ ษาประสิทธภิ าพของโปรตีนเซริซนิ ซึ่งสกัดได้จากรังไหมตอ่ การลดการเกิดสนี ้าตาลในมะม่วงนา้ ดอกไม้ตัดแต่งพรอ้ มบริโภค โดยนา้ ช้ินมะมว่ งสุก มาจมุ่ ลง

ในสารละลายเซริซินไฮโดรไลเสส และนอนไฮโดรไลเสส เปรียบเทียบ น้ากล่ัน นาน 1 นาที จากนั้นบรรจุลงในกล่องพลาสติกก่ึงคงรูปมีฝาปิด เก็บรักษาท่ีอุณหภูมิ

10±2 องศาเซลเซียส ความชน้ื สัมพัทธร์ ้อยละ 80-90 เป็นเวลา 4 วัน จากผลการทดลองพบวา่ สารเซริซินทั้งสองชนดิ สามารถยบั ย้ังการเกิดสีน้าตาลได้ดีท่ีสุด โดยมี

คา่ ความสว่างของสีเนื้อ (L*) สูง และคา่ คะแนนการเกิดสนี ้าตาลต่้ากวา่ มะม่วงชดุ ควบคุม แต่ไม่พบความแตกตา่ งทางสถิติระหวา่ งมะมว่ งท่จี ุม่ สารเซริซินท้ังสองชนิด

ช้ินมะม่วงชุดท่ีจุ่มสารเซริซินท้ังสองชนิดมีกิจกรรมเอนไซม์ PPO ต้่ากว่ามะม่วงชุดควบคุม และมีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกสูงกว่าชุดควบคุมในระหว่างการเก็บ

รักษา และมะม่วงที่จมุ่ สารเซรซิ ินท้ังสองชนิดมีอายุการเก็บรกั ษา 4 วนั ในขณะท่ีชุดควบคุมเกบ็ รกั ษาได้ 1 วัน

ค้าน้า Treatment Days after storage
024

ปัญหำมะม่วงสุกตดั แต่งพร้อมบริโภค เ ซ ริ ซิ น เ ป็ น โ ป ร ตี น ที่ ส กั ด จ า ก รั ง ไ ห ม ใ น Control
อุตสาหกรรมอาหารมีการน้าเซริซินมาใช้ในการ
Browning ผลติ ฟิล์มและสารเคลือบผวิ ทีบ่ ริโภคได้ เนื่องดว้ ย control
คุณสมบัติท่ีสามารถจับตัวเป็นพอลิเมอร์ ผสมกับ
Microorganism สารโมเลกุลใหญ่ได้ดี มีลักษณะเป็นกัมและ 2% non- control
ป้องกันการสูญเสียน้าได้ (Sothornvit et al.,
มะม่วงตัดแต่งพร้อมบริโภค เป็ นผลิตคัณฑ์ที่เส่ือมสคำพได้ง่ำย 2010) อีกท้ังเซริซินยังมีคุณสมบัติเป็นสารต้าน hydrolysated
เนื่องจำกกำรสูญเสียน้ำ กำรเกิดสีน้ำตำล และกำรปนเปื้ อนของ อนุมูลอิสระ ลดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นในไขมัน
เชื้อจุลนิ ทรีย์ (Baldwin et al., 1998) และยับย้ังการเกิดสีน้าตาลในอาหาร (Wu et 2% hydrolcysoantetdrol
al., 2008)
วิธีการด้าเนินงานวจิ ยั sericin

1. เซรซิ นิ

มะม่วงพนั ธ์ุนำ้ ดอกไม้สีทอง Peeling Cutting Dipping

(Mangifera indica Linn)

Non-Hydrolysated Hydrolysated 400 ppm ethephon Ripen for 2 d (25 ºC) Firmness 10-12 N

Packaging Drying

วจิ ารณผ์ ลการทดลอง

เซริซินสามารถยับยั้งกิจกรรมเอนไซม์ PPO โดยทาปฏิกิริยากับ o-quinones
ทาหน้าที่เป็นคเี ลติงเจนต์ (Kahn, 1985; Goetghebeur และ Kermasha,
1996) เน่ืองจากเซรซิ ินประกอบด้วยกรดอะมิโนท่ีมีหมูไฮดรอกซิลสูง ซ่ึงเปน็ ท่ี
ทราบกันดีว่ากรดอะมิโนท่ีมีหมู่ไฮดรอกซิลมีสมบัติเป็นคีเลติงเจนต์ท่ีดี
โดยเฉพาะทองเเดง และเหล็ก ซึ่งในการเกิดปฏิกิริยาการเกิดสีน้าตาลด้วย
กิจกรรมของเอนไซม์ PPO ทองแดงเป็นธาตุท่ีจาเป็นในกลไกของปฏิกิริยา
ดงั นน้ั การทเ่ี ซรซิ ินมสี มบตั ดิ งั กลา่ วสง่ ผลชว่ ยในการลดการเกดิ สนี า้ ตาลเน่ืองจาก
ปฏิกิริยาของเอนไซม์ PPO ได้

สรปุ ผลการทดลอง

สารละลายเซริซนิ ทง้ั แบบ non-hydrolysate และ hydrolysate sericin มี
ประสิทธิภาพในการยับยัง้ กจิ กรรมเอนไซม์ PPO และลดการเกิดสนี า้ ตาลใน
มะม่วงน้าดอกไม้ตัดแต่งพรอ้ มบรโิ ภคได้ เมือ่ เกบ็ รักษาที่อุณหภูมิ 10 องศา
เซลเซียส เป็นเวลา 4 วนั

ค่าการเกิดสีน้าตาล คา่ สี L* กิจกรรมเอนไซม์ PPO และปรมิ าณสารประกอบฟนี อลิกของมะมว่ งน้าดอกไม้สีทองตัดแต่งพรอ้ มบริโภคท่ผี ่านการจุ่มสารละลายโปรตนี non-hydrolysated sericin และ hydrolysated
sericin และไม่ได้จุ่มสารละลายโปรตนี เซริซิน (ชุดควบคุม) ระหว่างการเกบ็ รกั ษาทีอ่ ณุ หภูมิ 10 องศาเซลเซยี ส เป็นเวลา 4 วัน

ผลของสารแคลเซียมโบรอนก่อนการเกบ็ เกยี่ วรว่ มกบั กรดซาลิไซลิคหลงั การเก็บเกยี่ วต่อการลดอาการไส้สนี ้าตาลใน
สับปะรดพันธ์ปุ ัตตาเวีย

Effect of preharvest treatment by calcium boron incorporated with postharvest treatment by
salicylic acid on alleviating internal Browning of pineapple cv. ‘Pattavia’

ไชยภร เก็บเงิน1,2 ปรยี านชุ แสงประยุร1,2 อภริ ดี อมุ ยั รัตนกิจ1เฉลมิ ชัย วงษ์อารยี ์1,2 ผ่องเพ็ญ จิตอารรี ตั น1์ สุกัญญา เอ่ยี มลออ4 รตั นา รุง่ ศิรสิ กลุ 3 และ พนิดา บุญฤทธธิ์ งไชย1,2
Kebngoen, C.1,2,, Uthairatanakij, A.3, Wongs-Aree, C.1,2, Jitareerat, P.4, Aiamla-or, S.4 Rungsirisakun, R.3 and Sangprayoon, P.1,2Boonyaritthongchai, P.1,2

บทคดั ยอ่

จากการศึกษาการให้สารแคลเซียมคลอไรด์ 1.5 กรัม/ต้น โบรอนร้อยละ 0.4 ก่อนการเก็บเก่ียวร่วมกับการใช้กรด
ซาลิไซลิก 5 มิลลิโมลาร์ หลังการเก็บเกี่ยวต่อการลดอาการไส้สีน้าตาลในสับปะรดพันธุ์ปัตตาเวียโดยเปรียบเทียบกับ
สับปะรดที่ไม่ได้ให้สารเคมี (ชุดควบคุม) เม่ือเก็บรักษาท่ีอุณหภูมิต่้าท่ีอุณหภูมิ 13±1 องศาเซลเซียส วิเคราะห์การ
เปล่ียนแปลงคุณภาพของสับปะรดหลังจากย้ายจากอุณหภูมิต่้ามาท่ี 25 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 2 วัน พบว่าสับปะรดชุด
ควบคุมเกิดอาการไส้สีน้าตาลในวันท่ี 5+2 ของการเก็บรักษา สับปะรดท่ีได้รับสารเคมีพบอาการไส้สีน้าตาลในวันท่ี 10+2
ของการเก็บรกั ษา โดยมีค่าความสว่าง (L*) สูง และชะลอการเปล่ียนแปลงค่า HUE ANGLE เม่ือเปรียบเทียบกับชดุ ควบคมุ
ซ่ึงสอดคล้องกับค่าดชั นกี ารเกิดสีนา้ ตาล คะแนนการเกดิ สีนา้ ตาล กิจกรรมเอนไซมโ์ พลฟี นี อลออกซิเดส โดยสับปะรดที่ผ่าน
การให้สารมีค่าดัชนีการเกิดสีน้าตาล คะแนนการเกิดสีน้าตาล กิจกรรมเอนไซม์โพลีฟีนอลออกซิเดส ต้่ากว่าสับปะรดชุด
ควบคมุ อย่างมคี วามแตกต่างทางสถติ ิ

อปุ กรณแ์ ละวิธกี าร

ฉดี พ่นแคลเซียม 1.5 กรมั ตอ่ ต้น ร่วมกับโบรอนรอ้ ยละ 0.4 เกบ็ ผลสบั ปะรด ขนส่งไปยงั โรงตดั แต่งและบรรจุ

จุ่มสาร SA และบรรจุลงกลอ่ ง ตัดแต่งสับปะรดและล้างท้าความสะอาด

นา้ มาเกบ็ รกั ษาทีอ่ ณุ หภมู ิ

13 องศาเซลเซยี ส สุ่มตัวอย่างมาวิเคราะหแ์ ละบนั ทกึ ผล
ผลการทดลอง
1.อาการไส้สนี ้าตาลของสบั ปะรด

Figure 1 Visual appearance of half-cut pineapple cv. Pattavia treated with preharvest treatment by 1.5 g/plant of calcium chloride and 0.4%

boron incorporated with postharvest treatment by 5 mM salicylic acid for 1 hr. after cold storage at 13±1 °C for 0 5 and 15 d followed by

storage at 25±1 °C for 2 d compared with non-treated pineapple (control)

3.ดัชนีการเกดิ สีน้าตาล กจิ กรรมเอนไซม์ PPO 2.ค่าการเกดิ อาการไส้สนี ้าตาล

ปรมิ าณสารประกอบฟนี อล และคา่ ความสวา่ ง (L*) 8

สรุปผลการทดลอง 150 0.7 Polyphenol oxidase (PPO) activity B Browning score CaB+SA
(Units/100g FW) Control
การใหส้ ารแคลเซยี มคลอไรด์ 1.5 กรัม/ต้น โบรอน A
ร้อยละ 0.4 ก่อนการเก็บเก่ียวร่วมกับการใช้กรดซาลิ 6 **
ไซลิก 5 มลิ ลโิ มลาร์ สามารถชะลออาการไส้สีนา้ ตาล
ค่าดัชนีการเกิดสีน้าตาล การเปล่ียนแปลงค่าสี 4
กิจกรรมเอนไซม์ PPO ปริมาณสารประกอบฟีนอล
ไดด้ ีกว่าชุดทดลองควบคมุ ในสับปะรดพันธ์ุปตั ตาเวีย Browning index 100 0.6 2 **
(OD420/100gFW)
50 ** 0.5 0

0 0.4 0 5+2 10+2 15+2
0 0
Storage time (Day)
800 90
5+2 10+2 15+2 80 5+2 10+2 15+2
700 70
Total phenolic content C 60 ** D CaB+SA Figure 2 BI score of pineapple cv. Pattavia treated with
(mgGA/gFW) 600 * 50 Control preharvest treatment by 1.5 g/plant of calcium chloride and
* 40 0.4% boron incorporated with postharvest treatment by 5
500 * Lightness (L*) mM salicylic acid for 1 hr. after cold storage at 13±1 °C for 0
0 5 and 15 d followed by storage at 25±1 °C for 2 d
400 5+2 10+2 15+2 5+2 10+2 15+2 compared with non-treated pineapple (control).
0

Storage time (Day) Storage time (Day)

Figure 3 Internal browning (A), PPO enzyme (B), total phenolics (C) and L* values (D) of pineapple cv. Pattavia

treated with preharvest treatment by 1.5 g/plant of calcium chloride and 0.4% boron incorporated with
postharvest treatment by 5 mM salicylic acid for 1 hr. after cold storage at 13±1 °C for 0 5 and 15 d
followed by storage at 25±1 °C for 2 d compared with non-treated pineapple (control).

ผลของสารสกดั จากใบชาในการยบั ยงั้ เชอื้ ราสาเหตโุ รคขวั้ หวเี น่าของกลว้ ยหอม

Effect of tea extract on the inhibition of banana crown rot pathogens
Zaryab Raza 1 กลั ยา ศรพี งษ1์ อภริ ดี อทุ ยั รตั นกจิ , ณัฏฐา เลาหกลุ จติ ต1์ ,2 พนิดา บุญฤทธธิ์ งไชย1, 2 และ ผอ่ งเพญ็ จติ อารยี ร์ ตั น1์ , 2,
Raza, Z.1, Sripong, K.1, Uthairatanakij, U.1, 2, Laohakuljit, N.1, Boonyaritthongchai, P.1, 2 and Jitareerat, P.1, 2,
คณะทรพั ยากรชวี ภาพและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี 49 ซ.เทยี นทะเล 25 ถ. บางขนุ เทยี น-ชายทะเล แขวงทา่ ขา้ ม กทม.10150
ศูนยน์ วตั กรรมเทคโนโลยหี ลงั การเกบ็ เกยี่ ว กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร ์วจิ ยั และนวตั กรรม กรุงเทพมหานคร 10400

E-mail: [email protected] ( +66 627153904)

Abstract Objectives Introduction

A common postharvest disease of Cavendish banana. is 1.Effect of tea polyphenol Bananas belonging to the family Musaceae, popular globally not
crown rot caused by three major fungal pathogens on mycelium growth of only for their nutritional value but also for their economic
including Colletotrichum musae, Fusarium sp. and crown rot importance. These are grown in over 130 countries across the
Lasiodiplodia theobromae. The objective of this study world in an area of 10.1 million ha producing 121.85 million tones
was to investigate the effect of black tea (BT) extract at 2.Effect of tea (FAO, 2009; Sidhu & Zafar, 2018). In Thailand, bananas have
0 (control), 1, 5, 10, 20, 50 mg/ml on mycelium growth polyphenol on spore been increasingly important not only for domestic consumption
and spore germination of these pathogens. The result germination of crown but also for overseas exports. Crown rot is considered to be the
showed that BT extract could inhibit the mycelium main postharvest disease of export banana (Lassois and de
growth of those fungi. The inhibitory degree increased rot Bellaire, 2014). Predominantly fungal agents of crown rot disease
as the increase of BT concentration. The maximum are C. musae, L. theobromae, and Fusarium spp. (Kamel et al.,
inhibition was 50 mg/ml which their inhibitory 2016). Fungicides are often applied but it has an adverse effect on
percentages on mycelium were 51.18%, 41.42% and the environment and human health. Plant extract can be an
26.44% in Fusarium sp., C. musae, and L. theobromea alternative method to control fungal pathogens.
respectively. Addition, BT extract at 50 mg/ml inhibited
the spore germination of Fusarium sp. and C. musae by
26.4 and 8.32-fold of the control. This result implies that
BT extract may be a new approach as the alternative
treatment for controlling crown rot disease in banana

MATERIAL AND METHOD

Results

Fusarium sp (A) Lasiodiplodia theobromae (B) Colletotrichum musae (C) Fusarium sp (A) 100 Colletotrichum musae (B)

100 80
60
80 40

60

40
Mycelial inhibition (%)
Mycelial inhibition (%)

Mycelial inhibition (%)

Spore germination (%)

Spore germination (%)
100 100 100
80 80 80

60 60 60

40 40 40

20 20 20 20 20

0 0 0 0 0
12345678 123 12345678 1 1

Incubation days Incubation days Incubation days Incubation day Incubation day

Control 1mg/ml 5mg/ml Control 1mg/ml 5mg/ml Control 1mg/ml 5mg/ml Control 1mg/ml 5mg/ml Control 1mg/ml 5mg/ml
10mg/ml 20mg/ml 50mg/ml 10mg/ml 20mg/ml 50mg/ml 10mg/ml 20mg/ml 50mg/ml 50mg/ml
10mg/ml 20mg/ml 50mg/ml 10mg/ml 20mg/ml

Figure # Effect of black tea (BT) extract at 0(control),1,5,10,20and 50 mg/ml different concentrations on mycelium growth of Figure # Effect of black tea (BT) extract at different concentrations on spore germination of Fusarium sp.
Fusarium sp. (A), L. theobromae (B), and C. musae (C) during incubated at 26±2°C for 3 or 8 days. Bars present the standard (A) and C. musae (B) during incubated at 26±2°C for 1 day. The control represents the spore did not
errors of the means between treatments. treat with BT extract. Bars represent standard errors of the means between treatment.

Discussion Conclusion

The researcher concluded that phenolic and catechins in tea are the key Concerning environmental protection, finding ‘friendly antifungal agents’ from plants
compounds to against the fungi. TP treatment changed the membrane
permeability of fungi which can be indirectly detected by measuring the is an appropriate approach to achieve plant protection without polluting the environment.

electrolyte leakage. This would disrupt fungal growth or even cell death. Our findings suggest that BT extract is high against crown rot fungi of bananas, as it is a

Previous studies also showed that tea polyphenol (TP) (5-10 mg/ml) could possible alternative to chemical treaeffectivetment. BT extract at 50 mg/ml significantly
inhibit the mycelial growth and spore germination of B. maydis, C. musae,
and F. oxysporum (Wang et al., 2008) and Phytophthora cryptogea, inhibited the mycelium growth of Fusarium sp., C. musae and L. theobromae and the

Pestalotiopsis apiculatus, Colletotrichum Horii, Sclerotinia sclerotiorum, C. spore germination of C. musae and Fusarium sp. when compared with the control. For

fructicola, Rhizoctorzia solani, L. theobromae, and F. oxysporum (Zou et al., further investigation, the application of BT extract in vivo test should be studied.

2017).

Acknowledgements References

The authors thank to the KMUTT FAO. 2009. Food and Agriculture Statistical Databases (FAOSTAT). In: http://faostat.fao.org
International Scholarship Program (KISP) for the Kamel, M. A. M., Cortesi, P., &amp; Saracchi, M. 2016. Postharvest Biology and Technology, 120, 112–120.
Lassois, L., &amp; de Bellaire, L. de L. 2014. Crown Rot Disease of Bananas. In Postharvest Decay: Control
first author and the United Graduated School of Strategies. Elsevier.

Agricultural Science (UGSAS), Gifu University for Liu, H. M., Guo, J. H., Liu, P., Cheng, Y. J., Wang, B. Q., Long, C. A., &amp; Deng, B. X. 2010. Journal of Applied

supporting research equipment Microbiology, 108(3), 1066–1072.
Sidhu, J. S., &amp; Zafar, T. A. 2018. Food Quality and Safety, 2(4), 183–188.

Efficacy of Nano Zinc Oxide Combined with Sugar on Reducing
Microbial Load in Vase Solution and Improving the Quality of

Vanda orchid ‘Sansai Blue’ after Harvest

Wiranya Pangpanom, Jutamas Promboon, Pongphen Jitareerat and Mantana Buanong

Division of Postharvest Technology, School of Bioresources and Technology, King Mongkut's University of Technology Thonburi (Bangkhuntien),
49 Tientalay 25, Thakam, Bangkhuntien, Bangkok 10150, Thailand

ABSTRACT RESULTS AND DISCUSSION

Efficacy of nano Zinc oxide (ZnO) on microbial load in vase solution of Vanda Figure 1 ปรมิ าณเชือ้ จลุ ินทรยี ใ์ นนา้ ยาปักแจกนั ดอกกลว้ ยไมส้ กลุ แวนดา้ พนั ธสุ์ นั ทรายบลู บนอาหารเลีย้ งเชือ้ ดว้ ยวธิ ี Total plate count ในนา้ กล่นั ท่ีนง่ึ
‘Sansai Blue’ orchid was investigated in total plate count agar contained with ฆ่าเชือ้ จลุ ินทรยี แ์ ลว้ (SDW, ชดุ ควบคมุ ), สารละลายไฮโดรคลอรกิ ความเขม้ ขน้ 0.05% + เอทานอล ความเขม้ ขน้ 95% (HCL+EtOH), นาโนซิงคอ์ อก
0.01 and 0.05% nano-ZnO, compared to sterile water, and 0.5% HCl + 95% ไซด์ (Nano-ZnO) ความเขม้ ขน้ 0.01% และ 0.05% ท่บี ม่ ทงิ้ ไวใ้ นตบู้ ม่ เชือ้ ท่อี ณุ หภมู ิ 37 oC นาน 24 ช่วั โมง
EtoH (HCl + EtOH) as the solvent of nano-ZnO. The result showed that 0.05%
nano-ZnO completely inhibited the microbial growth. The effect of nano-ZnO nano-ZnO ความเขม้ ขน้ 0.05% สามารถยบั ยงั้ การเจรญิ ของเชือ้ จลุ นิ ทรยี ไ์ ดด้ ที ่ีสดุ โดยไมพ่ บเชือ้ จุลนิ ทรยี บ์ นอาหารเลีย้ ง
on the quality of harvested orchid was investigated by holding flowers in เชือ้ อาจจะเน่ืองมาจากกลไกการยบั ยงั้ เชือ้ แบคทีเรยี อาจจะเกิดจากขนาดของอนภุ าค ZnO ท่ีเล็กจนสามารถเขา้ สผู่ นงั
distilled water (control), 2% sucrose, and 0.05% nano-ZnO + 2% sucrose at เซลลแ์ ลว้ เกิดการดดู ซมึ ZnO ท่ีเป็นพิษ สง่ ผลใหไ้ มโตคอนเดรยี ออ่ นแอรวมทงั้ เกิดการร่วั ไหลและความเครยี ดภายในเซลล์
21+2 ºC. Treatment of nano-ZnO + sucrose significantly delayed respiration ยบั ยงั้ การเตบิ โตของเซลล์ และเกิดการตายของเซลลใ์ นท่ีสดุ (Raghupathi et al., 2011)
rate and maintained anthocyanin content in petals better than sucrose alone
(p<0.01), no microbial load was not detectable within 8 days, and the vase life
was the longest (9.6 days). While microbial load was found in control and
sucrose treatment, which their vase life was 9.3 and 7.3 days respectively.

Keywords: Vanda, Nano Zinc Oxide, sucrose, quality, vase life

INTRODUCTION

การอดุ ตนั ของท่อลาเลียงนา้ ท่ีมีสาเหตมุ าจากฟองอากาศหรอื การเจรญิ เติบโตของเชือ้ จลุ ินทีรย์ในท่อลาเลียงนนั้ Figure 2. การเปล่ียนแปลงนา้ หลกั สด (A), การดดู นา้ (B), อตั ราการหายใจ (C), ปรมิ าณนา้ ตาลทงั้ หมดใน
เป็นปัญหาสาคญั หลงั การเก็บเก่ียว โดยสง่ ผลไปลดการดดู นา้ และขดั ขวางการลาเลยี งนา้ จนทาใหเ้ กิดสภาวะขาด กลีบดอก (D), ปรมิ าณแอนโทไซยานิน (E), ปรมิ าณเชือ้ จลุ ริ ทรยี ใ์ นนา้ ปักแจกนั (F) และอายกุ ารปักแจกนั
นา้ ของดอกไม้ (Van Meeteren et al., 2001) และทาใหด้ อกไมเ้ ห่ียวในท่ีสดุ (Henriette and Clerkx, 2001) ซง่ึ ของดอกกลว้ ยไมส้ กุลแวนดา้ พนั ธุส์ นั ทรายบลู ท่ีปักแช่ในนา้ กล่นั ท่ีน่ึงฆ่าเชือ้ จุลินทรียแ์ ลว้ (SDW, ชุด
การสญู เสียความเต่งของเซลลใ์ นกลีบดอกเกิดขึน้ เม่ือการดดู นา้ และการคายนา้ ไม่สมดลุ กัน ดังนนั้ การเติมสาร ควบคมุ ), สารละลายนา้ ตาลซโู ครส (Su) ความเขม้ ขน้ 2% และสารละลายนาโนซิงคอ์ อกไซดค์ วามเขม้ ข้น
สง่ เสรมิ คณุ ภาพในนา้ ปักแจกนั จงึ สามารถยืดอายกุ ารใชง้ านของดอกไมไ้ ด้ โดยสารสง่ เสรมิ คณุ ภาพมีองคป์ ระกอบ 0.05% + นา้ ตาลซูโครส ความเขม้ ขน้ 2% (Nano-ZnO + Su) แลว้ วางไวท้ ่ีหอ้ งควบคมุ อณุ หภมู ิ 21 ± 2 ˚C
สาคญั 2 อย่าง คอื สารฆ่าเชือ้ จลุ ินทรยี ์ และนา้ ตาลซ่งึ เป็นแหลง่ พลงั งานใหแ้ ก่ดอกไม้ ซูโครสเป็นนา้ ตาลท่ีนิยมใช้ ความชืน้ สมั พทั ธ์ 60-70% ใหแ้ สงจากหลอดฟลอู อเรสเซนต์ 12 ช่วั โมงตอ่ วนั ตลอดระยะเวลาการทดลอง
ในการปรบั ปรุงคณุ ภาพของดอกไมห้ ลงั เก็บเก่ียว และยงั เป็นสารตงั้ ตน้ ของการหายใจ และกระตนุ้ ให้ดอกบานได้ ตวั อกั ษรและเคร่ืองหมายดอกจันทท์ ่ีกากับบนกราฟ แสดงถึงความแตกต่างกันทางสถิติ โดยเปรียบเทียบ
(Pun and Ichimura, 2003) นาโนซิงคอ์ อกไซดเ์ ป็นสารประกอบท่ีพบเห็นไดใ้ นธรรมชาติ มีคณุ สมบตั ิในการ ค่าเฉล่ียดว้ ยวิธี Duncans’s Multiple Range Test (DMRT), * = แตกตา่ งกนั ทางสถิตทิ ่ีระดบั ความเช่ือม่นั
ปอ้ งกนั และยบั ยงั้ แบคทีเรยี ตามธรรมชาติไม่มีความเป็นพิษต่อรา่ งกายมนษุ ย์ จากรายงานการศกึ ษาเปรียบเทียบ 95% และ ** = แตกตา่ งกนั ทางสถิตทิ ่รี ะดบั ความเช่ือม่นั 99%
ประสิทธิภาพการยงั ยงั้ การเจริญของเชือ้ แบคทีเรยี และเชือ้ ราระหว่างอนภุ าคซิงคอ์ อกไซดแ์ ละอนุภาคนาโนซิงคอ์
อกไซด์ พบวา่ อนภุ าคนาโนซิงคอ์ อกไซดม์ ีประสิทธิภาพในการการยบั ยงั้ การเจรญิ ของเชือ้ ไดส้ งู กว่าการใชอ้ นภุ าค nano-ZnO ความเขม้ ขน้ 0.05% สามารถยบั ยงั้ เชือ้ จลุ นิ ทรยี ใ์ นนา้ ปักแจกนั ดอกกลว้ ยไมส้ กลุ แวนดา้ พนั ธุ์ ‘สนั
ซิงคอ์ อกไซด์ (Priyanka and Arun, 2013) อนภุ าคนาโนซิงคอ์ อกไซดจ์ ึงเป็นสารเคมีท่ีน่าสนใจท่ีจะนามาทดลอง ทรายบลู ’ ไดบ้ นอาหารเลยี้ งเชือ้ ไดส้ มบรู ณ์ และเม่ือนามาใชเ้ ป็นนา้ ยาปักแจกนั โดย พบว่า nano-ZnO 0.05%
เพ่ือยบั ยงั้ การเจรญิ เติบโตของเชือ้ จลุ ินทรียใ์ นนา้ ปักแจกนั ดอกไม้ งานวิจยั นี้ จงึ ม่งุ ศกึ ษาประสิทธิภาพของนาโนซิ + นา้ ตาลซโู ครส 2% สามารถลดการเจรญิ เติบโตของเชือ้ จลุ ินทรยี ใ์ นนา้ ปักแจกนั และรกั ษาคณุ ภาพของดอก
งคอ์ อกไซดร์ ่วมกับสารละลายซูโครสในการลดปริมาณเชือ้ จุลินทรียใ์ นนา้ ยาปักแจกันและปรบั ปรุ งคณุ ภาพดอก กลว้ ยไมไ้ ดด้ ที ่ีสดุ เม่ือเปรยี บเทียบกบั การใชน้ า้ กล่นั และนา้ ตาลซโู ครสเพียงอยา่ งเดียว
กลว้ ยไมส้ กลุ แวนดา้ พนั ธสุ์ นั ทรายบลู หลงั การเก็บเก่ียว

MATERIAL AND METHOD

การทดสอบประสิทธิภาพของนาโนซิงคอ์ อกไซดต์ ่อการยบั ยงั้ เชือ้ จุลินทรยี ใ์ นหลอดทดลองโดยแยกเชือ้ จลุ ินทรยี ์
จากนา้ ยาปักแจกันและนาเชือ้ จุลินทรียท์ ่ีไดม้ าปรบั ปริมาตรในนา้ กล่นั น่ึงฆ่าเชือ้ ให้ไดป้ ริมาณเชือ้ แขวนลอย
ประมาณ 108 CFU mL-1 โดยมีคา่ Optical Density (OD) เทา่ กบั 0.1 ทาการเตรยี มอาหารเลีย้ งเชือ้ PCA ผสม
กบั นาโนซงิ คค์ วามเขม้ ขน้ 0, 0.01 และ 0.05% เทสารแขวนลอยเชือ้ จลุ นิ ทรยี ท์ ่ีไดจ้ ากนา้ ยาปักแจกนั ดอกกลว้ ยไม้
สกลุ แวนดา้ ท่ีเตรยี มไวล้ งบนอาหารเลีย้ งเชือ้ แลว้ นาไปบ่มในตบู้ ่มเชือ้ ท่ีอณุ หภมู ิ 37 oC เป็นเวลานาน 24 ช่วั โมง
แลว้ จงึ นบั ปรมิ าณเชือ้ จลุ นิ ทรยี ท์ ่ีเจรญิ เตบิ โตบนอาหารเลยี้ งเชือ้
ทาการเก็บเก่ียวช่อดอกกลว้ ยไมส้ กุลแวนดา้ พนั ธุส์ นั ทรายบูลในระยะทางการคา้ โดยคดั เลือกช่อดอกท่ีมีขนาด
ใกลเ้ คยี งกนั ใหม้ ีดอกบาน 5-8 ดอก และดอกตมู 2-4 ดอก จากฟารม์ กลว้ ยไมส้ าเนาออรค์ ดิ จงั หวดั กาญจนบรุ ี นา
ช่อดอกกลว้ ยไมส้ กลุ แวนดา้ ปักแช่ในนา้ กล่นั (ชดุ ควบคมุ ), ปักแช่ในสารละลายซูโครสความเขม้ ขน้ 2% และปักแช่
ในสารละลายนาโนซิงคค์ วามเขม้ ขน้ 0.05% + ซูโครสความเขม้ ขน้ 2% ตลอดระยะเวลาการทดลองใน
หอ้ งควบคมุ อณุ หภมู ิ 21+2 oC ความชืน้ สมั พทั ธ์ 60-70% ภายใตแ้ สงฟลอู อเรสเซน้ ตน์ าน 12 ชม/วนั ทาการ
บนั ทกึ ผลจนกระท่งั ดอกกลว้ ยไมห้ มดสภาพการยอมรบั วางแผนการทดลองแบบ completely in randomized
design (CRD) ใชช้ ่อดอกกลว้ ยไมส้ กลุ แวนดา้ พนั ธสุ์ นั ทรายบลู 6-8 ช่อดอกตอ่ วิธีการทดลอง โดยให้ 1 ช่อดอก
เท่ากบั 1 ซา้ วเิ คราะหค์ า่ ทางสถิติ (analysis of variance, ANOVA) และเปรยี บเทียบคา่ เฉล่ยี โดยวิธี Duncan’s
multiple range test (DMRT)

REFERENCES

Henriette, M.C., and Clerkx, A.C.M., 2001. Anatomy of cut rose xylem observed by scanning electron microscope. Acta Hort. 547, 329-339.
Priyanka, S., and Arun N. 2013. Antimicrobial and antifungal potential of zinc oxide nanoparticles in comparison to conventional zinc oxide particles. J Chem Pharm Res. 5, 457-463.
Pun, U.K., and Ichimura, K. 2003. Role of sugars in senescence and biosynthesis of ethylene in cut flowers. JARQ. 4, 219-224.
Van Meeteren, U., Van Iberen, W., Nijsse, J., and Keijzer, K. 2001. Processes and xylem antimicrobial properties involved in dehydration dynamics of cut flowers. Acta Hort. 543, 207-211.

SUMMARY

นาโนซิงคอ์ อกไซดค์ วามเขม้ ขน้ 0.05% สามารถยบั ยงั้ เชือ้ จลุ ินทรยี ใ์ นนา้ ปักแจกนั ดอกกลว้ ยไมส้ กลุ แวนดา้ พนั ธุ์ ‘สนั ทรายบลู ’ ไดโ้ ดยทดสอบบนอาหารเลีย้ งเชือ้ และเม่ือนามาใชเ้ ป็นนา้ ยาปักแจกนั โดย พบวา่ นาโนซิงคอ์ อกไซดค์ วามเขม้ ขน้ 0.05% + นา้ ตาล
ซูโครสความเขม้ ขน้ 2% สามารถลดการเจรญิ เตบิ โตของเชือ้ จลุ นิ ทรยี ใ์ นนา้ ปักแจกนั และรกั ษาคณุ ภาพของดอกกลว้ ยไมไ้ ดด้ ีท่ีสดุ เม่ือเปรยี บเทียบกบั การใชน้ า้ กล่นั และนา้ ตาลซโู ครสเพียงอยา่ งเดียว

การศึกษาความเป็ นไปได้ของสารเคลอื บไคโตซานผสมเอเอม็ พแี ละแอนโทไซยานิน
ในการตรวจสอบการเกดิ สภาวะท่ไี ม่ใช้ออกซิเจนในแบบจาลองภาชนะบรรจุผลิตผลสด

Feasibility Study of Coating Solution of Chitosan Mixed with AMP and Anthocyanin for
Investigation of Anaerobic Conditions in Fresh Produce Container Model

จุฑาทพิ ย์ โพธ์ิอุบล1 กฤษญา เนตรประไพ1 และ พริมา พริ ิยางกูร2

1 สาขาวชิ าจุลชีววทิ ยา ภาควชิ าวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม 73140
2 สาขาวิชาชีวเคมี ภาควชิ าวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม 73140

Abstract Results and Discussion

ศกึ ษาคณุ สมบตั ิของไคโตซานผสมสารดดู ซบั ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (อะมิโนเมทิลโพรพานอล; เอเอ็มพี) และแอน ลักษณะทางกายภาพของสารเคลือบไคโตซานผสมเอเอม็ พแี ละแอนโทไซยานินบนกระดาษกรอง
โทไซยานินในแบบจาลองภาชนะบรรจผุ ลิตผลสด โดยเคลือบสารละลายผสมไคโตซานร้อยละ 0.5 เอเอ็มพีร้อยละ 10 และ • กระดาษกรองในชดุ ควบคมุ มีสีขาวครีม ในขณะท่ีกระดาษกรองชดุ ท่ีผา่ นการเคลือบมีสฟี ้ าออ่ นที่เพมิ่ ขนึ ้ ตามความเข้มข้นของแอน
แอนโทไซยานินร้อยละ 0, 0.5, 1.0, 1.5 และ 2 บนกระดาษกรอง นาไปอบที่อณุ หภมู ิ 60 องศาเซลเซียส นาน 1 ชวั่ โมง เก็บ
ในโถดดู ความชืน้ นาน 24 ชว่ั โมง ทดสอบการดดู ซบั ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และการเปลี่ยนสีของกระดาษกรองท่ีบรรจุใน โทไซยานิน (Figure 1 upper) สอดคล้องกบั คา่ สี L* a* และคา่ b* ท่ีลดลง โดยกระดาษกรองมีความสว่างลดลง มีสีเขียวและมีสี
กล่องพลาสติกสญุ ญากาศในสภาวะท่ีมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ร้อยละ 5 เก็บรักษาที่อณุ หภมู ิ 37 องศาเซลเซียส ผลพบว่า นา้ เงินที่เพ่ิมมากขนึ ้ ตามลาดบั (Table 1)
กระดาษกรองมีสีฟ้ าอ่อนท่ีเพ่ิมขึน้ ตามความเข้มข้นของแอนโทไซยานิน โดยมีความหนาอย่ใู นช่วง 174-203 ไมโครเมตร • กระดาษกรองที่ผ่านการเคลือบมีลกั ษณะโครงสร้างเป็ นเส้นใยยาวหนาและใสเช่นเดยี วกบั กระดาษกรองในชดุ ควบคมุ (Figure 1
กระดาษกรองท่ีเคลือบด้วยไคโตซานผสมเอเอ็มพแี ละแอนโทไซยานินร้อยละ 1.0 ดดู ซบั ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ดที ่ีสดุ และ lower) โดยมีความหนาอยใู่ นช่วง 149-151 ไมโครเมตร (Table 1)
มีการเปล่ียนสีจากสีฟ้ าอ่อนเป็ นสีฟ้ าอมเขียว ซงึ่ สามารถนาไปใช้เป็ นดชั นีเพื่อตรวจสอบการเกิดสภาวะที่ไมใ่ ช้ออกซิเจนของ • กระดาษกรองท่ีเคลือบมีความหนาเพิ่มขึน้ อาจเน่ืองมาจากไคโตซานเป็ นโพลิเมอร์ธรรมชาติท่ีมีคณุ สมบตั ิในการดดู ซบั และยึด
ผลิตผลสดได้ เกาะได้ดี และแอนโทไซยานินสามารถละลายนา้ ได้ ดงั นนั้ เม่ือผสมรวมกนั แล้วเคลอื บลงบนกระดาษกรองจงึ มีผลทาให้ยดึ เกาะกบั
โครงสร้างของกระดาษกรองได้ดี จงึ ทาให้กระดาษกรองมีคา่ ความหนาเพม่ิ ขนึ ้ ตามความเข้มข้นของแอนโทไซยานินท่ีสงู ขนึ ้
Introduction
Figure 1 0% 0.5 % 1.0 % 1.5 % 2.0 %
• ไคโตซาน เป็ นอะมิโนโพลีแซคคาไรด์ท่ีไม่เป็ นพิษ สามารถย่อยสลายได้ทางชีวภาพ จึงมีการนามาประยกุ ต์ใช้ในด้าน Anthocyanin Anthocyanin Anthocyanin Anthocyanin Anthocyanin
การเกษตร อาหารและยา รวมถึงอาหารเสริม (Duan และคณะ, 2019) ไคโตซานมีคุณสมบัติในการขึน้ รูปเป็ นฟิ ล์ม Appearance (upper) and
สามารถยับยัง้ การเจริญของจุลินทรีย์ จึงนิยมใช้ในการเคลือบผิวผักและผลไม้สด ซ่ึงช่วยยืดอายุการ เก็บรักษาได้ characteristic of filter paper coated
(Romanazzi และคณะ, 2017) with chitosan mixed with AMP and 0,
0.5, 1.0, 1.5 และ 2.0 anthocyanin
• เอเอม็ พี (2-amino 2-methyl 1-propanol) เป็ นสารในกลมุ่ alkanolamine (Xiao และคณะ, 2000) มีคณุ สมบตั ใิ นการ under 100x magnifying power
ช่วยจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Sartori และ Savage, 1983) จึงสามารถประยุกต์ใช้ในการดูดซบั ก๊าซ microscope (lower).
คาร์บอนไดออกไซด์ในบรรจภุ ณั ฑ์ผกั และผลไม้สดได้
Table 1
• แอนโทไซยานิน เป็ นรงควตั ถใุ ห้สีที่พบได้ในธรรมชาติ สามารถเปลี่ยนสีได้ตามคา่ ความเป็ นกรด-ด่าง และสารระเหยที่ Thickness and color values of filter paper coated with chitosan mixed with AMP and 0, 0.5, 1.0, 1.5 and 2.0 anthocyanin before and
เกิดขึน้ ในระหว่างท่ีอาหารเส่ือมสภาพ จึงมีการประยุกต์ใช้ เป็ นดัชนีในการตรวจวัดการเน่าเสียของอาห าร after dried at 60oC for 1 hour.
(Abolghasemia และคณะ, 2016; Saliu และคณะ, 2018; Vo และคณะ, 2019)
Treatments Thickness (µm) L* Color values Hue
Before drying After drying a* b* Chroma

Objectives 0% Anthocyanin (control) 149 192b 30.31a 2.10c 5.14a 5.57a 67.95a
0.5% Anthocyanin 150
• เพ่อื ศกึ ษาลกั ษณะทางกายภาพของสารเคลอื บไคโตซานผสมเอเอม็ พแี ละแอนโทไซยานินบนกระดาษกรอง 1.0% Anthocyanin 150 174c 25.48b 3.04a 4.71ab 4.73b 57.49b
• เพือ่ ศกึ ษาการเปลี่ยนแปลงของสารเคลือบไคโตซานผสมเอเอ็มพีและแอนโทไซยานินในแบบจาลองภาชนะบรรจผุ ลิตผลสด 149
1.5% Anthocyanin 151 188b 24.74b 2.60ab 3.71bc 4.53b 54.99b
2.0% Anthocyanin
194b 23.54bc 2.64ab 2.47c 3.62c 46.19c

203a 22.55c 2.49b 1.67d 3.00d 33.58d

Materials and Methods

1 2 3 หยดลงบนกระดาษกรอง การเปล่ียนแปลงของสารเคลือบไคโตซานผสมเอเอม็ พีและแอนโทไซยานินในแบบจาลองภาชนะบรรจุผลติ ผลสด
Whatman No.2 • กระดาษกรองทกุ ชดุ การทดลองสามารถดดู ซบั ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ โดยลดลงหลือร้อยละ 0 ภายในเวลา 22-26 ชวั่ โมงของ
ละลาย 0.5 % Chitosan ใน 1% acetic acid ผสม anthocyanin (0.5,1.0,1.5 และ 2.0%)
+ 10% AMP + 5% glycerol นาไปอบที่ 60oC นาน 1 h. การเก็บรักษา (Figure 2A) ในขณะท่ีมีก๊าซออกซเิ จนเข้มข้นร้อยละ 19.8 และคงที่ตลอดการเก็บรักษา (ไมแ่ สดงข้อมลู )
(จฑุ าทิพย์ และคณะ, 2562) • กระดาษกรองท่ีเคลือบด้วยไคโตซานผสมเอเอ็มพีและแอนโทไซยานินร้อยละ 1.0 มีการเปล่ียนสีจากสีฟ้ าอ่อนเป็ นสีฟ้ าอมเขียวท่ี

ชดั เจนกวา่ แอนโทไซยานินร้อยละ 0.5 (Figure 2B) จึงสามารถนาไปใช้ในการตรวจสอบก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรจภุ ณั ฑ์
ผลิตผลสดได้ และยงั สามารถช่วยดดู ซบั ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ท่ีอาจก่อให้เกิดสภาวะที่ไม่ใช้ออกซิเจนของผลิตผลสดภายใน
บรรจภุ ณั ฑ์ได้อีกด้วย

5 วดั ความหนา วดั คา่ สี L*, a* , b*, c* และ h* 4
(IP65, Mitutoyo, (Colorimeter; 3 nh, NR200)
บรรจลุ งกลอ่ งขนาด 2,000 ml. AB
Japan) วดั O2 และ CO2 เติม 5% CO2 (Air balance)
(Gas analyzer; Figure 2
DP-28 MAP NANOSEN)
ลกั ษณะภายใต้กล้องจลุ ทรรศน์ 0.5 % 0.5 % Changes of CO2 concentration in fresh
(CX31RBSFA,Olympus Anthocyanin Anthocyanin produce container model filled with filter paper
Corporation, Japan) coated with chitosan mixed with AMP and
anthocyanin stored at 37oC for 30 hours under
References 1.0 % 1.0 % 5% CO2 (air balance) (A) and appearance of
Anthocyanin Anthocyanin 0.5 and 1.0% anthocyanin filter paper after 22
จฑุ าทิพย์ โพธิ์อบุ ล พิมพ์วิภา ศรีธิ และพริมา พิริยางกรู , 2562, การใช้ไคโตซานร่วมกบั สารดดู ซบั ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในการตรวจคณุ ภาพ hours of storage (B).
ของมะเขือเทศราชินีตดั แตง่ ที่ปนเปื อ้ นเชือ้ Escherichia coli, วารสารวทิ ยาศาสตร์เกษตร, 50(2):121-124. Initial time 22 hours

Abolghasemia, M.M., Sobhia, M. and Piryaei, M. 2016. Preparation of a novel green optical pH sensor based on immobilization of Conclusions
red grape extract on bioorganic agarose membrane. Sensors Actuators B: Chemical. 224:391-395.
กระดาษกรองที่เคลือบด้วยไคโตซานผสมเอเอ็มพีและแอนโทไซยานินความเข้มข้นร้ อยละ 1.0 สามารถนาไปใช้ตรวจสอบ
Duan, C., Meng, X., Meng, J., Khan, M.I.H., Dai, L., Khan, A., An, X., Zhang, J., Huq, T. and Ni, Y., 2019, Chitosan as a ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขนึ ้ ในแบบจาลองภาชนะบรรจผุ ลิตผลสด ในการตรวจสอบการเกิดสภาวะท่ีไม่ใช้ออกซเิ จนของผลิตผลสดได้
preservative for fruits and vegetables: A review on chemistry and antimicrobial properties. Journal of Bioresources and
Bioproducts, 4(1):11-21. Acknowledgements

Romanazzi, G., Feliziani, E., Baños, S.B., 2017. Shelf life extension of fresh fruit and vegetables by chitosan treatment. Critical งานวิจัยนีไ้ ด้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากโครงการวิจัยมุ่งเป้ า วิทยาเขตกาแพงแสน ประจาปี งบประมาณ 2562 และได้รับการ
Reviews in Food Science and Nutrition, 57(3):579–601. สนบั สนนุ ทุนวิจยั บางส่วนจากโครงการจดั ตงั้ ภาควิชาจลุ ชีววิทยา คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ประจาปี
งบประมาณ 2563 ขอขอบคณุ หน่วยวิจยั คณุ ภาพและความปลอดภยั ของอาหาร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
Saliu, F. and Pergola, R.D., 2018. Carbon dioxide colorimetric indicators for food packaging application: Applicability of
anthocyanin and poly-lysine mixtures. Sensors and Actuators B: Chemical, 258:1117-1124.

Sartori, G. and Savage, D.W., 1983. Sterically hindered amines for carbon dioxide removal from gases. Industrial and Engineering
Chemistry Fundamentals, 22(2): 239-249.

Vo, T.V., Dang, T.H. and Chen, B.H. 2019. Synthesis of intelligent pH indicative films from chitosan/poly(vinyl alcohol)/anthocyanin
extracted from red cabbage. Polymers. 11:1088-1099.

Xiao, J., Li, C.W. and Li, M.H., 2000, Kinetics of absorption of carbon dioxide into aqueous solutions of 2-amino-2-methyl-1-
propanol + monoethanolamine. Chemical Engineering Science, 55:161-175.

ผลของวิธีกำรให้ควำมร้อนต่อกำรลดปริมำณจลุ ินทรีย์ในใบตำลึง

Effect of Heating Method on the Reduction of Microorganisms in Ivy Gourd Leaves

จุฑำทพิ ย์ โพธ์ิอุบล1 กนกวรรณ พุ่มนิล2 และ พริมำ พริ ิยำงกูร2

1สำขำวิชำจุลชีววทิ ยำ ภำควชิ ำวทิ ยำศำสตร์ คณะศิลปศำสตร์และวทิ ยำศำสตร์ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ วทิ ยำเขตกำแพงแสน นครปฐม 73140
2สำขำวชิ ำชีวเคมี ภำควชิ ำวทิ ยำศำสตร์ คณะศิลปศำสตร์และวิทยำศำสตร์ มหำวทิ ยำลัยเกษตรศำสตร์ วิทยำเขตกำแพงแสน นครปฐม 73140

Abstract Results and Discussion

งานวจิ ยั นี ้ศกึ ษาผลของวิธีการให้ความร้อน 3 วิธี ท่ีระยะเวลาตา่ ง ๆ กนั ตอ่ การลดปริมาณจลุ ินทรีย์ในใบตาลงึ โดย กำรเปล่ียนแปลงของจำนวนจุลินทรีย์ในใบตำลงึ ท่ผี ่ำนกำรให้ควำมร้อนด้วยวิธีกำรต่ำง ๆ
นาใบตาลงึ มาล้างทาความสะอาดด้วยนา้ ประปาและผึ่งให้สะเด็ดนา้ จากนนั้ นามาให้ความร้อนด้วยวิธีการลวกในนา้ ร้อนที่
อณุ หภมู ิ 100 องศาเซลเซียส การนึ่งด้วยไอนา้ ร้อนท่ีอณุ หภมู ิ 100 องศาเซลเซียส และการใช้ไมโครเวฟที่กาลงั ไฟฟ้ า 425 • ใบตำลึงในชุดควบคุมซ่ึงไม่ได้ผ่านการให้ความร้อน (0 นาที) มีจานวนแบคทีเรียทงั้ หมด โคลิฟอร์ม ยีสต์และรา เท่ากบั 7.09
วตั ต์ เป็ นเวลา 1 2 3 และ 4 นาที เปรียบเทียบกบั ใบตาลงึ ที่ไม่ผ่านการให้ความร้อน (ชดุ ควบคมุ ) ตรวจวดั ปริมาณแบคทีเรีย 6.07 และ 5.91 Log CFU/g ตามลาดบั เมื่อผ่านการให้ความร้อนพบว่าจานวนจลุ นิ ทรีย์มีแนวโน้มลดลงตามระยะเวลาในการให้
ทงั้ หมด โคลิฟอร์ม ยีสต์และราในใบตาลงึ ท่ีผ่านการให้ความร้อนด้วยวิธีการตา่ ง ๆ ผลการทดลองพบว่าการให้ความร้อนใน ความร้อนท่ีนานขนึ ้ (Figure 1)
ทกุ วิธีการทดลองสามารถช่วยลดปริมาณแบคทีเรียทงั้ หมด โคลิฟอร์ม ยีสต์และราในใบตาลงึ ได้ โดยปริมาณจุลินทรีย์ลดลง
มากขนึ ้ เม่ือระยะเวลาในการให้ความร้อนนานขึน้ การให้ความร้อนโดยการน่ึงด้วยไอนา้ ร้อนที่อณุ หภมู ิ 100 องศาเซลเซียส • กำรลวกใบตำลึงในนำ้ ร้อนนำน 1 2 3 และ 4 นำที ทาให้จานวนแบคทีเรียทงั้ หมดลดลงจาก 7.09 Log CFU/g เหลือ 7.05
นาน 4 นาที ชว่ ยลดปริมาณยีสต์และราในใบตาลงึ ได้ดีท่ีสดุ 6.92 6.85 และ 6.70 Log CFU/g ตามลาดบั โคลิฟอร์มลดลงจาก 6.07 Log CFU/g เหลือ 6.07 5.84 5.74 และ 5.60 Log
CFU/g ตามลาดบั ยีสต์และราลดลงจาก 5.91 Log CFU/g เหลือ 5.63 5.63 5.63 และ 5.50 Log CFU/g ตามลาดบั โดย
Introduction ระยะเวลาท่ีใช้ในการลวกไม่มีผลทาให้จานวนจลุ นิ ทรีย์ลดลงแตกตา่ งกนั ทางสถิติ

• ใบตำลงึ สำมำรถนำมำประกอบอำหำรได้หลำยชนิด เช่น ใบตำลึงต้มหรือลวกสำหรับจมิ้ กับนำ้ พริก แกงจืดหมู • กำรน่ึงใบตำลึงด้วยไอนำ้ ร้อนนำน 1 2 3 และ 4 นำที ทาให้จานวนแบคทีเรียทงั้ หมดลดลงจาก 7.09 Log CFU/g เหลือ 7.32
สับใบตำลงึ ผัดใบตำลึงนำ้ มนั หอย และใบตำลงึ ชุบแป้ งทอด 7.20 6.99 และ 6.98 Log CFU/g ตามลาดบั โคลิฟอร์มลดลงจาก 6.07 Log CFU/g เหลือ 6.37 6.07 5.89 และ 6.05 Log
CFU/g ตามลาดบั ยสี ต์และราลดลงจาก 5.91 Log CFU/g เหลือ 5.59 5.71 5.20 และ 4.81 Log CFU/g ตามลาดบั การนึง่ นาน
• วิธีกำรให้ควำมร้อนจำกกำรประกอบอำหำรสำมำรถลดหรือกำจดั จลุ ินทรีย์ในใบตำลงึ ได้แตกต่ำงกัน 4 นาที ชว่ ยลดจานวนยสี ต์และราได้ดที ี่สดุ (ประมาณ 1 Log CFU/g)
• Xiao และคณะ (2017) พบว่ำวิธีกำรลวกด้วยนำ้ ร้อนและกำรใช้ไมโครเวฟสำมำรถยับยัง้ กำรทำงำนของเอนไซม์
• กำรใช้ไมโครเวฟนำน 1 2 3 และ 4 นำที ทาให้จานวนแบคทีเรียทงั้ หมดลดลงจาก 7.09 Log CFU/g เหลือ 7.09 7.02 6.84
polyphenoloxidase (PPO) peroxidase (POD) และช่วยกำจัดสำรเคมีตกค้ำงในผักและผลไม้ได้ และ 6.62 Log CFU/g ตามลาดบั โคลิฟอร์มลดลงจาก 6.07 Log CFU/g เหลือ 5.19 5.63 5.83 และ 5.83 Log CFU/g
• De La Vega-Miranda และคณะ (2012) พบว่ำวิธีกำรลวกด้วยนำ้ ร้อนและกำรใช้ไมโครเวฟช่วยลดจำนวน ตามลาดบั ยีสต์และราลดลงจาก 5.91 Log CFU/g เหลือ 5.90 5.86 5.76 และ 5.71 Log CFU/g ตามลาดบั การใช้ไมโครเวฟ
นาน 1 นาที ช่วยลดจานวนโคลิฟอร์มได้ดีท่ีสดุ (ประมาณ 1 Log CFU/g) แตกตา่ งจากใบตาลงึ ในชดุ ควบคมุ อย่างมีนยั สาคญั
Salmonella typhimurium ใน jalapeno peppers และในใบผักชี และช่วยลดจำนวนยีสต์และรำในแครรอท ทางสถิติ แตไ่ ม่แตกตา่ งจากการใช้ไมโครเวฟนาน 2-4 นาที
(Jabbar และคณะ, 2014)
• กำรให้ควำมร้อนด้วยวิธีกำรต่ำง ๆ สามารถลดจานวนจลุ ินทรีย์ในผกั และผลไม้ได้แตกต่างกนั ไปตามวิธีการ ระยะเวลา และ
Objective ชนิดของผกั และผลไม้ มีรายงานว่าการลวกกะหล่าปลีโดยใช้ไอนา้ (steam blanching) นาน 2 นาที ช่วยลดการปนเปื อ้ นของ
Salmonella จาก 6.4 Log CFU/g เหลือ 3.6 Log CFU/g (Phungamngoen และคณะ, 2013) ในขณะที่การลวก jalapeno
• ศึกษำผลของวิธีกำรและระยะเวลำในกำรให้ควำมร้อนโดยกำรลวกในนำ้ ร้อน กำรน่ึงด้วยไอนำ้ ร้อน และกำรใช้ peppers และใบผกั ชี โดยใช้ไมโครเวฟ (microwave blanching) ชว่ ยลดจานวน Salmonella typhimurium ได้ประมาณ 4-5 log
ไมโครเวฟต่อกำรลดปริมำณจลุ ินทรีย์ในใบตำลงึ CFU/g (De La Vega-Miranda และคณะ, 2012)

10 0 min 10 0 min 10 0 min
8 1 min 1 min 8 1 min
6 2 min 6 2 min
4 2 min 3 min 4 3 min
2 3 min 4 min 2 4 min
0 4 min 0

Blanching Steaming Microwave Blanching Steaming Microwave

Heat treatment Heat treatment
Total bacteria (Log CFU/g) 8 a bababab
Coliforms (Log CFU/g)6
Yeasts and molds
(Log CFU/g)4

2

Materials and Methods 0

Blanching Steaming Microwave

Heat treatment

1 2 ล้ำงด้วยนำ้ ประปำไหลผ่ำน 2 นำที 3 ให้ควำมร้อน Figure 1 Total bacteria, coliforms, yeasts and molds of Ivy Gourd Leaves after treated with blanching, steaming and microwave for 0, 1, 2, 3 and 4 min.
(ล้ำง 2 รอบ)
เลือกใบตำลึง นำน 0 (Control) 1, 2, 3 และ 4 นำที
ท่มี ีตำแหน่งระยะ และผ่งึ ให้สะเดด็ นำ้ (พริมา และคณะ, 2561)

จำกปลำยยอด

ไม่เกนิ 35 cm. กำรเปล่ียนแปลงอุณหภมู ิของใบตำลึงท่ผี ่ำนกำรให้ควำมร้อนด้วยวธิ ีกำรต่ำง ๆ

(พริมา และคณะ, 2557) • ใบตาลงึ ที่ผ่านการลวก การนึ่ง และการใช้ไมโครเวฟนาน 1-4 นาที มีอณุ หภมู ิลดลงอย่างรวดเร็วจาก 100 องศาเซลเซียส เหลือ
ประมาณ 60-90 องศาเซลเซียส ภายใน 1 นาทีหลงั จากที่เสร็จสิน้ กระบวนการให้ความร้อน และอณุ หภมู ิของใบตาลึงจะลดลง
ลวกในนำ้ ร้อน จนถึงอณุ หภมู ิห้อง (25+2 องศาเซลเซยี ส) ภายในเวลา 28-35 นาทีหลงั จากเสร็จสนิ ้ กระบวนการให้ความร้อน (Figure 2)

(100oC) • วิธีการนงึ่ มีการลดลงของอณุ หภมู ใิ นใบตาลงึ เร็วท่ีสดุ รองลงมาคอื วธิ ีการใช้ไมโครเวฟ และวิธีการลวก ตามลาดบั และระยะเวลา
ในการลดลงของอณุ หภมู ใิ นใบตาลงึ จะสนั้ ลงเมื่อระยะเวลาในการให้ความร้อนด้วยวิธีการตา่ ง ๆ สนั้ ลง
4 ตรวจนับจำนวนจลุ นิ ทรีย์ (Log CFU/g) น่ึงด้วยไอนำ้ ร้อน
(จฑุ าทพิ ย์ และคณะ, 2556) (100oC) • การนึ่งเป็ นการให้ความร้อนโดยใช้ไอนา้ ร้อน จึงทาให้การถ่ายเทของความร้อนและการแทรกซมึ ของไอนา้ กบั ใบตาลงึ และสภาพ
บรรยากาศรอบ ๆ ใบตาลงึ เกิดขนึ ้ ได้เร็วกวา่ การให้ความร้อนโดยการใช้ไมโครเวฟ ซงึ่ เป็ นความร้อนท่ีเกิดจากการสนั่ สะเทือนของๆ
โคลฟิ อร์ม แบคทเี รียทงั้ หมด ใช้ไมโครเวฟ เหลวภายในเซลล์ ในขณะที่การลวกใบตาลงึ ในนา้ ร้อนเป็นการใช้นา้ เป็นตวั กลางในการถ่ายเทความร้อน
(Eosin Methylene Blue Agar ; EMB) (Plate Count Agar; (425 watt,
PCA) Sharp รุ่น R-3A88) • เมื่อเปรียบเทียบกบั การลดจานวนจลุ ินทรีย์พบวา่ การนึง่ โดยการใช้ไอนา้ ร้อนนาน 4 นาที ช่วยลดจานวนยีสต์และราในใบตาลงึ ได้
ดีท่ีสดุ (Figure 1C) อาจเน่ืองจากไอนา้ สามารถแทรกซมึ เข้าสใู่ บตาลงึ และเซลล์ของยีสต์และราได้ดีเซลล์ของแบคทีเรียและโคลิ
ยสี ต์และรำ ฟอร์ม เชน่ เดยี วกบั การลดลงของความร้อนท่ีเกิดขนึ ้ ได้เร็วกวา่ วธิ ีการให้ความร้อนแบบอ่ืน ๆ
(Potato Dextrose Agar;
PDA) 100 Blanching 1 min 100 Steaming 1 min 100 Microwave 1 min
80 2 min 80 2 min 80 2 min
60Temperature (ºC) 3 min 60 3 min 60 3 min
40 Temperature (ºC)4 min40 4 min 40 4 min
20 Temperature (ºC)20 20
References 0 0 0
5 10 15 20 25 30 35 5 10 15 20 25 30 35 5 10 15 20 25 30 35
จุฑาทิพย์ โพธิ์อุบล บุญจิรา เกียวสมั พนั ธ์ และพริมา พิริยางกูร, 2556, ผลของการใช้สารเคลือบกรดฟูมาริกต่อการลดปริมาณเชือ้ จุลินทรีย์ 0 Time after heat treatment (min) 0 Time after heat treatment (min) 0 Time after heat treatment (min)
ในบร็อคโคลีตดั แตง่ พร้อมบริโภค, วารสารวทิ ยาศาสตร์เกษตร, 44(3): 314-317.
Figure 2. Temperature changes of Ivy Gourd Leaves after treated with blanching, steaming and microwave for 0, 1, 2, 3 and 4 min.
พริมา พิริยางกรู กนกวรรณ พ่มุ นิล และจฑุ าทิพย์ โพธิ์อบุ ล, 2557, ผลของวิธีการปรุงต่อปริมาณแคโรทีนอยด์ คลอโรฟิ ลล์และคณุ ภาพทางด้าน
ประสาทสมั ผสั ของใบตาลงึ , วารสารวทิ ยาศาสตร์เกษตร, 45(2): 653-656. Conclusions

พริมา พิริยางกรู กนกวรรณ พ่มุ นิล และจฑุ าทิพย์ โพธิ์อบุ ล, 2561, ผลของวิธีการปรุงตอ่ ปริมาณฟี นอลิก วิตามินซี และฤทธ์ิต้านอนมุ ลู อิสระใน การให้ความร้อนด้วยวิธีการลวก การน่ึง และการใช้ไมโครเวฟสามารถช่วยลดจานวนแบคทีเรียทงั้ หมด โคลิฟอร์ม ยีสต์และราในใบ
ใบตาลงึ , วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 49(2): 553-556. ตาลงึ ได้ โดยการนงึ่ ใบตาลงึ ด้วยไอนา้ ร้อนท่ีอณุ หภมู ิ 100 องศาเซลเซยี ส นาน 4 นาที สามารถช่วยลดปริมาณยสี ต์และราในใบตาลงึ ได้ดีที่สดุ

De La Vega-Miranda, B., Santiesteban-Lopez, N.A., Lopez-Malo, A. and Sosa-Morales M.E., 2012. Inactivation of Salmonella Acknowledgements
typhimurium in fresh vegetables using water-assisted microwave heating, Food Control, 26: 19-22.
ขอขอบคณุ หลกั สตู รวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน และ
Jabbar, S., Abid, M., Hu, B., Wu, T., Hashim, M.M. and Lei, S., 2014, Quality of carrot juice as influenced by blanching and ขอขอบคณุ หนว่ ยวิจยั คณุ ภาพและความปลอดภยั ของอาหาร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
sonication treatments. LWT–Food Science and Technology, 55: 16-21.

Phungamngoen, C., Chiewchan, C. and Devahastin, S., 2013, Effects of various pretreatments and drying methods on Salmonella
resistance and physical properties of cabbage, Journal of Food Engineering, 115: 237-244.

Xiao, H.W., Pan, Z., Deng, L.Z., El-Mashad, H.M., Yang, X.H., Mujumdar, A.S., Gao, Z.J. and Zhang, Q., 2017, Recent
developments and trends in thermal blanching – A comprehensive review, Information Processing in Agriculture, 4(2):
101-127.

คุณสมบัติทางกายภาพ และชีวเคมีของฟิล์มไคโตซานผสมกรดแกลลกิ
สา้ หรับบรรจภุ ณั ฑผ์ ลิตผลสด

Physical and Biochemical Properties of Chitosan Film Combined with Gallic Acid
for Fresh Produce Packaging

พริมา พริ ยิ างกูร ชลติ า แสงทอง และ จฑุ าทิพย์ โพธิ์อุบล

ภาควิชาวิทยาศาสตร์ คณะศิลปะศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ อ.กา้ แพงแสน จ.นครปฐม

บทคดั ย่อ ผลการทดลอง

งานวิจยั น้ีมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื พฒั นาฟลิ ์มท่ีบรโิ ภคได้สาหรบั การเคลือบผลิตผลสด โดยผสมไคโต 0.4 a A) a
ซานความเข้มขน้ รอ้ ยละ 1 ร่วมกบั กลีเซอรอลความเขม้ ข้นร้อยละ 1 และกรดแกลลิกความเข้มข้นร้อย
ละ 0, 0.5, 1 และ 1.5 ตามลาดบั โดยอบทอี่ ุณหภมู ิ 50 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 72 ชวั่ โมง จากน้ัน 0.3 b ab a 0% Gallic acid
ศึกษาคณุ สมบัติทางกายภาพและชีวเคมีของแผน่ ฟลิ ์มไคโตซานผสมกรดแกลลิก จากการศึกษาพบวา่ bb b 0.5% Gallic acid
แผน่ ฟิล์มที่เตรยี มได้มคี ่าความหนา ค่าการซึมผา่ นของไอน้า คา่ การละลายน้า ปริมาณสารฟีนอล และ 1% Gallic acid
ปรมิ าณสารตา้ นอนุมูลอสิ ระ เพิ่มขึน้ ตามความเขม้ ข้นของกรดแกลลกิ ทเี่ พมิ่ ขนึ้ ในขณะทแ่ี ผ่นฟลิ ์มมีคา่ 0.2 1.5% Gallic acid
ความโปร่งใส และค่าความช้ืนลดลงเมอื่ ความเข้มขน้ ของกรดแกลลกิ เพ่มิ สงู ขึ้น โดยฟิล์มมคี ่าความ
ต้านทานแรงดงึ อยใู่ นชว่ ง 5.823-8.057 เมกะปาสคาล และมีค่าความยืดหยนุ่ อยใู่ นช่วงรอ้ ยละ 0.192- 0.1
0.436 ซง่ึ ฟิลม์ ทผี่ ลิตได้สามารถนามาประยุกต์ใช้สาหรบั บรรจภุ ณั ฑข์ องผลติ ผลสด
คา้ สา้ คญั : ฟิลม์ ไคโตซาน กรดแกลลิก คุณสมบัตทิ างกายภาพ สารตา้ นอนมุ ลู อสิ ระ 0 Thickness (mm) Water vapor permeability (10-5 g/m2s Pa)

วธิ กี ารทดลอง 4 B) a

1. การเตรยี มฟลมไคโตซาน-กรดแกลลิก 3a a a 0% Gallic acid
0.5% Gallic acid
2 ab ab b 1% Gallic acid
b 1.5% Gallic acid

1

0 Transparency (%)

Water solubility (%)

+ 1% Glycerol Moisture content (%) 25 a b C) c
20
ดูดสารละลายฟิ ลม์ 20 ml ใส่ลงใน 15 c
จานอาหารเล้ียงเช้ือ 10
+ Gallic acid (0, 0.5%, 1% และ 1.5%) อบที่ 50ºC นาน 72 h. 5
ผสมใหเ้ ขา้ กนั ท่ี 50ºC นาน 20 min 0
เกบ็ ในโถดูดความช้ืนนาน 24 ชวั่ โมง
ละลาย 1% chitosan 0 0.5 1 1.5
ใน 1% acetic acid ท่ี 50ºC นาน 30 min Concentration of gallic acid (%)

2. การศกึ ษาคณุ สมบตั ทิ างกายภาพ และชีวเคมีของฟลิ ์มไคโตซานผสมกรดแกลลกิ Figure 1 Physical properties of the chitosan (1%) films combined with glycerol (1%) and
2.1 ทดสอบลกั ษณะทางกายภาพ gallic acid (0, 0.5, 1 and 1.5%); (A) thickness and water vapor permeability, (B)
2.1.1 ความหนาของฟลิ ์ม (Digital micrometer) water solubility and transparency and (C) moisture content.
2.1.2 การซึมผ่านของไอนา้ (WVP)
2.1.3 การละลายนา้ Table 1 Tensile strength (TS), elongation at break (EB), total phenolic (TPC) and antioxidant
2.1.4 ความโปร่งแสง content of the chitosan (1%) films combined with glycerol (1%) and gallic acid (0, 0.5, 1
2.1.5 ความชืน้ and 1.5%)
2.1.6 ค่าความตา้ นทานแรงดงึ และคา่ ความยดื หยุน่ ของฟลิ ์ม
2.2 ทดสอบทางชวี เคมี Gallic acid Chitosan (1%) films with glycerol (1%)
2.2.1 วเิ คราะหป์ รมิ าณสารฟีนอลโดยวิธี Folin-Ciocalteu (Singleton et al, 1999) (%) TS (MPa)
2.2.2 วิเคราะหป์ ริมาณสารตา้ นอนมุ ูลโดยวิธี ferric reducing antioxidant power (FRAP) EB (%) TPC (mg GAE/ml) Antioxidant (mg Vitamin C/ml)
(Benzie และ Strain, 1996)
0 ND ND 0.001±0.001d 0.005±0.001c
0.018±0.003c 1.921±0.292b
0.5 8.057±0.420a 0.192±0.019c

ผลการทดลอง 1 7.819±0.419a 0.436±0.009a 0.152±0.003b 2.220±0.155b

จากการทดลองพบวา่ เม่อื ระดบั ความเขม้ ข้นของกรดแกลลิกเพิ่มขึน ส่งผลให้ความหนา การซึมผ่าน 1.5 5.823±1.031b 0.304±0.035b 0.186±0.010a 4.912±0.189a
ของไอน้า และการละลายน้าของแผ่นฟิล์มไคโตซานร้อยละ 1 มีค่ามากขึน (p<0.05) โดยจะมีความหนา
0.224-0.390 มลิ ลิเมตร ค่าการซึมผ่านไอน้า 0.099-0.286 กรัมต่อตารางเมตร. วินาที. ปาสคาล และมีค่า Values are expressed as mean ± SD (n=3). Different upper-case letters in the same column
การละลายน้า 0.780-2.308 (Figure 1A, 1B) อาจเนื่องจากปริมาณกรดแกลลิกท่ีเพิ่มขึนท้าให้โมเลกุล indicate significantly different (P< 0.05). ND: Not determined.
ระหว่างไคโตซานกบั กรดแกลลกิ จบั กันเปน็ ผลึก ขัดขวางการวางตัวขนานกัน การจัดเรียงตัวของโมเลกุลไม่
เป็นระเบียบและมีช่องว่างระหว่างโมเลกุลมากขึน ท้าให้โมเลกุลน้าเคลื่อนท่ีผ่านโครงสร้างของฟิล์มได้ง่าย สรุปผลการทดลอง
ส่งผลใหค้ วามหนาและความสามารถในการซึมผ่านไอน้าของฟิล์มเพ่ิมขึน โครงสร้างของกรดแกลลิกซ่ึงหมู่
-COOH- และ -OH- ซึ่งเป็นโมเลกุลที่ชอบน้า ท้าให้ฟิล์มมีการละลายน้าเพิ่มขึนเมื่อปริมาณกรดแกลลิก เมื่อเพิ่มปริมาณกรดแกลลิก ความหนา การซึมผ่านของไอน้า การละลายน้า ปริมาณฟีนอลิกและสารต้าน
เพิ่มขึน (Sun และคณะ, 2014) ความโปร่งใสและความชืนของแผ่นฟิล์มมีค่าลดลง โดยมีค่าร้อยละ อนุมูลอิสระจะเพิ่มขึน ในขณะที่ความโปร่งใสและความชืนลดลง สมบัติการทนแรงดึงและความยืดหยุ่นจะเพิ่มขึน
15.397-24.157 และ 1.147-2.527 ตามล้าดับ เมื่อเพิ่มปริมาณกรดแกลลิก (Figure 1B, 1C) เน่ืองจาก เมื่อเม่ือผสมกรดแกลลิกปริมาณเพียงเล็กน้อย แต่หากปริมาณกรดแกลลิกมากเกินไปจะท้าให้ค่าการทนแรงดึงและ
ฟิล์มมีความหนามากขึน ท้าให้ความสามารถในการส่องผ่านของแสงลดลงความโปร่งใสลดลง ผลการ ความยืดหยุ่นลดลง ทงั นฟี ลิ ม์ ไคโตซานผสมกรดแกลลกิ ทพ่ี ฒั นาขนึ มสี มบัติทางกายภาพและชวี เคมีท่ีนา่ สนใจต่อการ
ทดสอบสมบัติการทนแรงดึง (tensile strength: TS) และความยืดหยุ่น (elongation at break: EB) น้าไปประยุกต์ใชเ้ ป็นบรรจุภัณฑส์ ้าหรบั ผลสดตอ่ ไป
ของแผ่นฟิล์มไคโตซานมีค่าความต้านทานแรงดึงสูงสุด เท่ากับ 8.057 เมกะปาสคาล และมีค่าความ
ยืดหยุ่นสูงสุดของแผ่นฟิล์มร้อยละ 0.436 (p<0.05) (Table 1) และสอดคล้องกับผลของ Sun และคณะ เอกสารอา้ งองิ
(2014) ที่พบว่าเมื่อผสมกรดแกลลิกปริมาณน้อยในฟิล์มไคโตซานสมบัติการทนแรงดึงจะเพ่ิมขึน แต่ถ้า
ปริมาณกรดแกลลิกมากจะลดสมบัติการทนแรงดึงอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ เนื่องจากการเกิดพันธะ Benzie, IF. F. and JJ Strain.1996. Ferric reducing ability of plasma (FRAP) as a measure of antioxidant power:
ไฮโดรเจนระหว่างหมู่ -NH3+ ของสายไคโตซานและหมู่ -OH- ของกรดแกลลิก (Sun และคณะ, 2014) The FRAP assay. Anal Biochem 239: 70-76.
โดยมีผลช่วยให้การเกิดการเช่ือมขวางดีขึน ส่งผลให้การเคล่ือนที่ของโมเลกุลและพืนท่ีว่างในเมทริกซ์ของ
ฟลิ ์มลดลง (Rezaee และคณะ, 2018) Siggleton,V.L. and J.A. Rossi. 1965. Colorimetry of Total Phenolics with Phosphomolybdic-Phosphotungstic
Acid Reagents.Journal Enology and Viticulture 16: 154-158.
กติ ติกรรมประกาศ
Rezaee, M., Askari, G., Emam Djomeh, Z., Salami, M., 2018, Effect of organic additives on physiochemical
งานวิจัยนีไ้ ด้รบั ทนุ สนับสนุนจากหลกั สูตรวิทยาศาสตรช์ วี ภาพ สาขาวิชาชวี เคมี กองทนุ พฒั นานสิ ติ properties and antioxidant release from chitosan-gelatin composite films to fatty food simulant,
คณะศิลปศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน International Journal of Biological Macromolecules, 114(15): 844-850.

Sun, X., Wang, Z., Kadouh, H., Zhou, K., 2014, The antimicrobial, mechanical, physical and structural
properties of chitosan-gallic acid films, LWT - Food Science and Technology, 57(1): 83-89.

การตรวจสอบการปนเป้ือนของจลุ ินทรยี ใ์ นกระบวนการผลติ ผลิตภัณฑท์ ุเรยี นฟรีซดราย
Investigation of microbial contamination of freeze-dried durian process

ชาลนิ ี พนิ ผงึ้ 1 เบญจวรรณ ธรรมธนารักษ์1 และ สาวติ รี วทญั ญไู พศาล1*

1ภาควิชาเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมเกษตร อาหาร และสง่ิ แวดลอ้ ม คณะวทิ ยาศาสตรป์ ระยกุ ต์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 1518 ถนนประชาราษฎร์ 1 บางซ่ือ กรงุ เทพ 10800
1Department of Bioindustrial, Food and Environmental Technology, Faculty of Applied Science, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, 1518 Pracharaj I Road, Bangsue, Bangkok 10800

บทคัดยอ่ ผลและวิจารณผ์ ลการทดลอง

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือวิเคราะห์แหล่งปนเป้ือนเช้ือจุลินทรีย์ในกระบวนการผลิต ทุเรียน สงิ่ แวดล้อม วตั ถดุ บิ เครื่องจักร
ฟรีซดราย โดยตรวจสอบปริมาณเช้ือจุลินทรีย์ในอากาศภายในกระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์ทุเรียน
ฟรีซดรายก่อน และหลังการฆ่าเช้ือ พบว่าก่อนการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ภายในห้องปอกเปลือกทุเรียนพบ หอ้ งปอกเปลอื ก หลังปอกไม่มี เครื่องเป่าลมเย็น
ปริมาณเช้ือจุลินทรีย์ทั้งหมดและยีสต์ราเฉลี่ยเท่ากับ 183 และ 204 CFU/plate ผลิตภัณฑ์ทุเรียน หอ้ งพกั สงิ่ ปกปดิ
ฟรีซดรายมปี ริมาณเชื้อจุลินทรีย์ทั้งหมด และยีสต์ราเฉลี่ยเท่ากับ 4.2 และ 4.4 log CFU/g ภายหลังการ ผลทเุ รียนสด การปนเปอ้ื นของ
ฉีดสเปรย์ฆ่าเชื้อในอากาศ และการฉีดแอลกอฮอล์ 70% บนมือพนักงานที่ล้างแล้ว และพื้นผิวของโต๊ะ หอ้ งเป่าลมเยน็ จลุ ินทรยี ์ในการผลิต
และบริเวณภาชนะที่สัมผัสกับผลิตภัณฑ์ พบว่าเช้ือจุลินทรีย์ในห้องปอกเปลือกมีปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ ห้องตัดแตง่
ท้ังหมดและยีสต์ราเฉลี่ยลดลง เหลือ 69 และ 3 CFU/plate สาหรับผลิตภัณฑ์ทุเรียนฟรีชดรายพบ ห้องบรรจุ
เชือ้ จุลินทรยี ์ทงั้ หมดเพียง 3.7 log CFU/g และไมพ่ บเช้อื ยีสต์รา ดงั นั้นอากาศทีส่ ะอาดในห้องปอกเปลอื ก
และการฆ่าเช้ือมือพนักงานร่วมกับพ้ืนผิวสัมผัสต่างๆด้วยแอลกอฮอล์ 70% จึงจาเป็นสาหรับการผลิต ปอกเปลอื กทเุ รียน แต่งกายไม่ ทุเรยี นฟรซี ดราย
ผลิตภณั ฑท์ เุ รยี นฟรีซดรายทมี่ ีความปลอดภัยจากเช้ือจุลนิ ทรีย์
คาสาคญั : ทุเรียนฟรีซดราย การฆา่ เชอื้ เชอ้ื จลุ ินทรยี แ์ พรใ่ นอากาศ สงิ่ สัมผสั อาหาร เหมาะสม

และถุงมอื จานวนคน มกี ารเดนิ เขา้ ออก
ห้องปอกตลอดเวลา
ขั้นตอนปฏบิ ัตงิ าน พนกั งาน และเปิดประตูทง้ิ ไว้

ภาพที่ 2 แผนผงั ก้างปลาการประเมินโอกาสของการปนเป้ือนจลุ ินทรียใ์ นทเุ รยี นจากกระบวนการผลิตจากการ สังเกตการปฏิบตั งิ านของพนักงาน

ผลวิเคราะห์สาเหตุการปนเป้ือนเชื้อจุลินทรีย์ในผลิตภัณฑ์ทุเรียนฟรีชดราย ประกอบด้วยห้องท่ีปนเป้ือน
สูงสุดคือห้องปอกเปลือกทุเรียนเนื่องจาก พนักงานไม่มีการปิดประตูและเดินเข้าออกบริเวณห้องปอกเปลือก
ตลอดเวลาทาใหเ้ กิดการปนเป้ือนเพม่ิ มากข้ึน หลังการปอกไม่มกี ารปิดหรือคลุมตัววัตถุดิบทาใหเ้ กิดการปนเป้ือน
จากอากาศสู่เน้อื ทเุ รยี น ภาชนะที่สัมผัสโดนทเุ รียนไมม่ ีการทาความสะอาดอย่างสมา่ เสมอ

ตารางที่ 1 แสดงการนับจานวนจุลินทรีย์จากสภาพแวดลอ้ มในกระบวนการผลติ ที่เกบ็ จากกระบวนผลิตทุเรียนอบแหง้ แบบแช่แขง็

ห้องในกระบวนการผลติ แบคทเี รีย CFU/plate ยสี ต์-รา CFU/plate
กอ่ น หลัง ก่อน หลงั

บทนา หอ้ งปอกเปลือก 183 69 204 3

ทุเรียน (Durio zibethinus Murr.) เป็นผลไม้ที่มีการส่งออกมูลค่าเฉล่ียประมาณ 65 ล้านบาท ในปี หอ้ งพกั 34 11 105 1
2563 (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2564) การส่งออกของทุเรียนมีจานวนเพิ่มสูงขึ้นทาให้การขนส่ง
ทุเรียนสดพบปัญหาการเน่าเสียระหว่างการขนส่งเกิดการแปรรูปเพ่ือสะดวกต่อการรับประทานและการ หอ้ งตัดแต่ง 5 0 10 0
ขนส่ง ทุเรียนฟรีซดรายเป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปท่ีได้รับความนิยมเพิ่มสูงข้ึน เนื่องจากเป็นการอบแห้งโดยใช้ ห้องบรรจุ 1 0 10 0
ความเย็น ตัวผลิตภัณฑ์จะยังคงกลิ่นและรสชาติได้ดีกว่าการใช้ความร้อนในการแปรรูป (Bourdoux และ
คณะ, 2016) การฟรีซดรายไม่สามารถลดการปนเปอื้ นเชอื้ จุลินทรีย์ได้มีรายงาน พบกลุ่มผลิตภัณฑ์จุลินทรยี ์ ผลการวิเคราะห์ปริมาณเช้ือจุลินทรยี ์ในสภาพอากาศบริเวณท่ีทางานและผลิตทเุ รยี นฟรีชดราย คาดว่าเป็น
ก่อโรคในอินทผลัมอบแห้งในตลาดเปรูเกียประเทศอิตาลี โดยเชื้อส่วนใหญ่ที่พบในผลไม้อบแห้งคือ การปนเปื้อนจากวัตถุดิบและอากาศในบริเวณห้องปอกเปลือก เนื่องจากบริเวณห้องปอกเปลือกอยู่ติดกับประตู
Aspergillus, Penicillium และ Cladosporium (Mara และคณะ, 2020) ) ปญั หาทีพ่ บจากสินค้าทเุ รยี น ทางเข้าห้องรับวัตถุดิบ (ภาพที่ 1) ก่อนทาการฆ่าเชื้อพบว่าบริเวณห้องปอกเปลือกมีปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมด
ฟรีซดรายส่งออกคือเช้ือจุลินทรีย์เกินตามมาตรฐานโดยอ้างอิงจากประกาศกระทรวงสาธารณสุข ผักและ เฉล่ียเท่ากับ 183 CFU/plate ปริมาณยีสต์ราเฉลี่ยเท่ากับ 204 CFU/plate หลังจากผ่านการฆ่าเชื้อพบว่า
ผลไม้ท่ีดอง แช่อิ่ม เช่ือม กวน หรือทาให้แห้ง จะต้องมีมาตรฐานดังนี้ จานวนจุลินทรีย์ น้อยกว่า 105 ปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมดลดลงเหลือเฉลี่ยเท่ากับ 69 CFU/plate ปริมาณยีสต์ราลดลงเฉล่ียเท่ากับ
CFU/g จานวนยีสต์และรา น้อยกว่า 103 CFU/g ตามมาตรฐานที่กาหนด จากการตรวจสอบมีทุเรยี นฟรซี ด 3 CFU/plate ตามลาดับ
รายบางล็อตที่มีปริมาณเชื้อจุลินทรีย์เกินมาตรฐานซ่ึงอาจเกิดการปนเปื้อนจากวัตถุดิบ กระบวนการผลิต
การเก็บรักษา และการขนส่ง ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์แหล่งท่ีมาของการปนเปื้อน ผลการวิเคราะห์การลดปริมาณเช้ือจุลินทรยี ์ ยีสต์ราในเนื้อทุเรียน ในห้องแต่ละส่วน ไดแ้ ก่ ห้องปอกเปลือก
เช้อื จลุ ินทรยี ใ์ นกระบวนการผลิตและเพอ่ื ศึกษาแนวทางการลดการปนเป้อื นของจลุ ินทรยี ์ในผลติ ภณั ฑ์ ห้องเป่าลมเย็น และหอ้ งบรรจุ พบว่า มีปรมิ าณเช้ือจลุ ินทรีย์ทัง้ หมดเร่มิ ตน้ เฉล่ียเทา่ กับ 1.2x104, 5.4x105 และ
1.4x104 CFU/g ตามลาดับ ปริมาณยีสต์ราท้ังหมดเรม่ิ ต้นเฉล่ียเท่ากับ 1.2x103, 3.1x103 และ 2.1x104 CFU/g
วธิ ีการทดลอง ตามลาดับ หลังฆ่าเชื้อดว้ ยแอลกอฮอล์ตามภาชนะทีส่ ัมผัสโดนเนื้อทเุ รียนและมอื ของพนักงานในกระบวนกรผลิต
มปี ริมาณเชื้อท่ีลดลง พบว่า มปี ริมาณเชื้อจุลินทรีย์ทงั้ หมดเริ่มต้นเฉลี่ยเท่ากับ 1.3x104, 6.7x104 และ 5.7x103
CFU/g ตามลาดับ ปริมาณยีสต์ราทั้งหมดเร่ิมต้นเฉล่ียเท่ากับ 3.1x103, 3x102 CFU/g และไม่พบเช้ือ ตามลาดับ
ตามมาตรฐานสินค้าเกษตร โดยมีข้อกาหนดปริมาณเช้ือจุลินทรีย์ท้ังหมดต้องไม่เกิน 105 CFU/g และยีสต์รา
ทงั้ หมดตอ้ งไม่เกิน103 CFU/g (ประกาศกระทรวงสาธารณสุข, 2563) พบว่ามกี ารลด

• การวิเคราะห์สาเหตุการปนเป้ือนเช้ือจุลินทรีย์ในผลิตภัณฑ์ทุเรียนฟรีชดราย โดยใช้แผนผังก้างปลา สรปุ ผลการทดลอง
(วันรตั น,์ 2553)
กระบวนการผลติ ทุเรยี นฟรีซดรายพบวา่ บริเวณห้องปอกเปลือกเปน็ บริเวณท่ีพบเชื้อจุลินทรีย์
• การตรวจสอบปริมาณเช้ือจุลินทรีย์ในบรรยากาศและผลการใช้สเปรย์ปรับอากาศของบริเวณท่ีทางาน ท้ังหมด และยีสต์รามากที่สุดหลังจากฆ่าเช้ือด้วยสเปรย์ปรับอากาศสามารถลดปริมาณเช้ือใน
จานวน 4 ห้องได้แก่ห้องปอกเปลือก ห้องพัก ห้องตัดแต่งและห้องบรรจุ โดยการเปิดจานอาหารเล้ียงเช้ือ อากาศได้ แนวทางในการลดการปนเป้อื นสามารถทาไดโ้ ดยการฉีดแอลกอฮอล์ 70% บริเวณโต๊ะ
และมือพนักงาน พบว่าการฆ่าเชื้อเบื้องต้นสามารถลดปริมาณจุลินทรีย์ท้ังหมดและปริมาณ
PCA สาหรับเช้ือแบคทีเรีย และ DRBC สาหรับเช้ือยีสต์รา (สาวิตรี และคณะ, 2558) การทดสอบผลของ ยีสตร์ าได้

สเปรย์ปรบั อากาศในการฆา่ เช้ือ

Freeze ห้องพกั ทเุ รียน ห้อง Blast กติ ตกิ รรมประกาศ
dryer หลงั ทาการปอก ควบคมุ อุณหภมู ิ
งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการวิจัย และพัฒนา
ห้องตดั แตง่ หอ้ งปอกเปลือกทเุ รยี น สาหรับภาคอตุ สาหกรรม ประจาปี 2561 สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
และนายวิชญะ พฤกษากจิ ผ้ปู ระสานงาน บรษิ ัทจนั ทบุรี ฟรตุ๊ โปรดกั ส์ จากัด
้หองประ ุชม ้หองบรร ุจ อ่าง
ลา้ งมือ เอกสารอ้างองิ

Freezers -19°C หอ้ งพกั สนิ คา้ • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข.กาหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน หลักเกณฑ์เงอื่ นไข และวิธีการในการตรวจวเิ คราะห์ ของอาหารด้านจุลินทรยี ท์ ่ีทาใหเ้ กดิ โรค ฉบบั ท่ี 416. กระทรวงสาธารณสขุ ; 2563. p. 8–9.
• มกษ. 9046-2560. มาตรฐานสนิ ค้าเกษตร.การปฏิบัตทิ ี่ดีสาหรับการผลติ ทเุ รียนแชเ่ ยอื กแข็ง
หอ้ งพักทเุ รยี นก่อนนาเข้าปอกเปลอื ก • สาวิตรี วทัญญูไพศาล, รสมันต์ จงเจริญ, วรรณรัก นพเจรญิ กลุ และ พีรพงษ์ พรวงศท์ อง. ปฏิบัตกิ ารจุลชีววิทยาสาหรับนกั เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร: สหมติ รพัฒนาการพมิ พ์; 2558.
• สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2564). การกาหนดเขตเศรษฐกิจสาหรบั สนิ คา้ เกษตร. กรงุ เทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
ทางเขา้ ทางเข้าวตั ถุดิบ • วนั รัตน์ จนั ทกิจ. (2553). 17 เครือ่ งมอื นกั คดิ . กรุงเทพฯ: สถาบันเพ่ิมผลผลิตแหง่ ชาต.ิ
• Bourdoux S, Li D, Rajkovic A, Devlieghere F, Uyttendaele M. (2016). Performance of drying technologies to ensure microbial safety of dried fruits and vegetables. Comprehensive
ภาพท่ี 1 แผนผงั ทางผา่ นของวัตถุดิบเขา้ สู่กระบวนการผลติ ในสว่ นตา่ งๆ
Reviews in Food Science and Food Safety, 15(6), 1056–1066.
• การตรวจสอบปริมาณเชื้อจุลินทรีย์และผลการใช้แอลกอฮอล์ 70% ในพื้นผิวของโต๊ะทางานจานวน • Mara Q, Marina S, Michael S, Andrea O, Lorenzo C, Giovanni B. (2020). Aspergillus, Penicillium and Cladosporium species associated with dried date fruits collected in the Perugia
3 ห้อง ได้แก่ ห้องปอกเปลือก ห้องเป่าลมเย็น และห้องบรรจุ (สาวิตรี และคณะ, 2558) การทดสอบผล
(Umbria, Central Italy) market. International Journal of Food Microbiology Volume 322.
ของใช้แอลกอฮอล์ 70% ในการฆา่ เช้อื บริเวณโตะ๊ และมอื พนกั งาน

ผลของสารเคลือบผวิ คารบ์ อกซลิ เมทิลเซลลูโลสจากใบขา้ วโพดตอ่ คณุ ภาพของพริกสดระหว่างการเก็บรักษา
Effects of Coating using Carboxymethyl Cellulose from Corn Leaves on Qualities of
Fresh Pepper during Storage

นิตยา ภูงาม*1 อรอุมา นิลดา1 วชริ าภรณ์ เสาแก้ว1 ณฎั วลณิ คล เศรษฐปราโมทย1์ อาทิตยา ดวงสพุ รรณ1 และวรี เวทย์ อุทโธ3

1 สาขาอตุ สาหกรรมเกษตร คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร์ ถนน สรุ นิ ทร์-ปราสาท อ.เมือง จ. สุรนิ ทร์

2 พืชศาสตร์ ส่ิงทอและการออกแบบ คณะเกษตรศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสรุ ินทร์ ถนน สุรนิ ทร์-ปราสาท อ.เมอื ง จ. สุรนิ ทร์
3 สาขาเทคโนโลยีการอาหาร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อุบลราชธานี ถนนสถลมาร์ค อ.วารินชาราบ จ.อบุ ลราชธานี

Abstract

Effects of the Carboxymethyl Cellulose (CMC) from corn leaves on the postharvest qualities of pepper were monitored. Results showed that CMC 2% (w/v) could prolong higher qualities of fresh
pepper than other concentrations. Although CMC and chitosan resulted in unchanged of disease occurrence and remained visual appearances, as fresh pepper on Day 0, small skin wilt appeared. On day
15 of storage, weight losses of peppers coated with CMC or chitosan (17.0% and 16.00%, respectively) were lower than control (41.0%), but their firmness were greater than the control. Moreover, coated
pepper with CMC resulted in higher total soluble solids content (TSS), and titratable acidity (TA%).
Keywords: Carboxymethyl Cellulose, Corn Leaves, Fresh Pepper, Qualities

บทคดั ยอ่

การศึกษาประสิทธิภาพของสารเคลือบผิวคาร์บอกซิล เมทิลเซลลูโลสจากใบข้าวโพดต่อการชะลอการเปล่ียนแปลงคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของพริกสด พบว่า สารเคลือบผิว คาร์บอกซิล เมทิลเซลลูโลส (CMC) จากใบข้าวโพด ความ
เข้มข้น 2% (w/v) สามารถรักษาคณุ ภาพของพริกสดไดด้ ีกว่าความเขม้ ข้นอ่ืน นอกจากนีพ้ รกิ สดทผี่ า่ นการเคลือบผวิ ดว้ ยสารละลาย CMC และไคโตซาน ไมม่ ีลักษณะการเกิดโรครวมท้ังมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะปรากฏภายนอกท่ีแตกต่างจาก
พริกสดในวนั ที่ 0 แตพ่ บรอยเหย่ี วย่นบ้างบริเวณผิวหนา้ ของพรกิ ในวันท่ี 15 ของการเกบ็ รกั ษา การสูญเสียนา้ หนักเฉลี่ยของพริกหวานทเี่ คลอื บด้วย CMC หรือ ไคโตซาน (17.0% และ16.0% ตามลาดับ) และต่ากว่าพริกสดชุดควบคุม (41.0%)
แตม่ ีความแน่นเน้อื สงู กวา่ ชดุ ควบคมุ นอกจากน้ียังพบวา่ พรกิ สดท่ีเคลือบดว้ ย CMC มคี า่ ปรมิ าณของแข็งทลี่ ะลายน้าได้ (TSS) และปรมิ าณกรดทีไ่ ตเตรทได้ (TA) เพิม่ ขนึ้ เล็กน้อย
คาสาคัญ: คาร์บอกซลิ เมทิล เซลลูโลส ใบขา้ วโพด พรกิ สด คุณภาพ

คานา AB
Figure 1 Carboxymethyl Cellulose from Corn Leaves (A) and CMC coating (B)
ในปัจจบุ นั การพฒั นาสารเคลือบผวิ ผกั และผลไมม้ กี ารปรับปรุงให้มีคุณสมบัติและคุณภาพที่ดีข้ึนอย่างต่อเนื่อง โดยได้มีการ
นาเอาวตั ถุดบิ พชื ไร่หรอื วสั ดเุ หลอื ท้ิงทางการเกษตร เช่น ผักตบชวา และ ฟางขา้ ว เปน็ ต้น มาผลติ ใช้เป็นสารเคลือบผิวที่สามารถ ผลการทดลอง
บริโภคได้ เช่น คาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส (Carboxymethyl cellulose: CMC) (กฤษณเวช และวิทวัส, 2554) การใช้งานสาร
เคลือบผิวเพื่อชะลอการคายน้า อัตราการหายใจ และการเปล่ียนแปลงคุณภาพทางสรีรวิทยา เช่น การเปลี่ยนแปลงสี ลักษณะ จากการเคลือบผิวพริกสดด้วยสารเคลือบผิว CMC จานวน 3 ความเข้มข้น ได้แก่ 1 2 และ 3% (w/v) พบว่า สารเคลือบผิว CMC
เนื้อสัมผัส และลักษณะการเหี่ยวย่น ของผักและผลไม้ (จุฑามาศ, 2559) แต่ในปัจจุบันคาร์บอกซี เมทิวเซลลูโลสส่วนใหญ่น้ันมี ความเข้มข้น 2% (w/v) มีประสิทธิภาพในการคงคุณภาพของพริกดีกว่าความเข้มข้นอื่น ๆ ท้ังน้ีสารเคลือบผิว CMC และไคโตซาน ไม่
ราคาแพง เพราะนาเข้าจากต่างประเทศ (ณัฏฐ์ธวดี และคณะ, 2555) ซึ่งสาร CMC จากใบข้าวโพดที่ผ่านการพัฒนาเป็นสาร ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะปรากฏภายนอกท่ีแตกต่างจากวันท่ี 0 แต่ภายหลังการเก็บรักษา 15 วัน บริเวณผิวหน้าของพริกสดมี
เคลือบผิวผักและผลไม้ มคี ุณสมบัติช่วยยืดอายุการเก็บรักษาภายหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ได้ (จุฑามาศ, 2559) จากข้อมูล รอยเห่ยี วย่นเลก็ น้อย เมอ่ื ศกึ ษาการสูญเสียน้าหนักของพริกสดการเคลือบผิว CMC-2% ไคโตซาน-5% และชุดควบคุม (Control) พบว่า
ทีน่ าเสนอมาข้างตน้ คณะผู้วิจยั จึงมแี นวคิดในการพัฒนาสารเคลือบผิวผักและผลไม้โดยใช้คาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสท่ีสกัดได้จาก การเคลอื บผิวพริกสดดว้ ย CMC-2% และไคโตซาน มกี ารสูญเสียนา้ หนักสดประมาณ 5.0-12.30% ซงึ่ น้อยกวา่ การสญู เสียน้าหนักของชุด
ใบขา้ วโพด (ขา้ วโพดข้าวเหนยี ว พันธุ์สาล)ี และทดสอบผลของสารเคลอื บผวิ ต่อคณุ ภาพภายหลังการเกบ็ เกย่ี วของผลิตผล โดยใช้ ควบคมุ (40.00%) (Figure 2A) ความแน่นเนอ้ื ของพรกิ สดมีแนวโน้มลดลงตลอดการเก็บรักษา แต่พริกสดท่ีเคลือบผิวด้วยไคโตซาน และ
พริกขห้ี นูสวนสดสีแดง เนื่องจากผลผลิตมีแนวโน้มการสูญเสียน้าหนัก และการเปล่ียนแปลงเน้ือสัมผัสได้ง่าย การนาใบข้าวโพด CMC-2% มีการเปลี่ยนแปลงต่ากว่า (9.00-6.10 N) พริกที่ไม่ได้เคลือบผิว (9.00-4.10 N) ซ่ึงจากผลการทดลองของพริกสดท่ีผ่านการ
มาใช้ประโยชน์ครง้ั นีเ้ ป็นการเพิม่ มูลคา่ ทางการตลาดให้กับใบข้าวโพดได้ชว่ ยให้เกษตรกรกลมุ่ ปลูกข้าวโพดมีรายไดเ้ พ่มิ มากข้นึ เคลือบผวิ มีความแตกตา่ งอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถติ ิ (P≤0.05) กบั ชดุ ควบคุม (Figure 2B)

วธิ กี ารทดลอง จากการศึกษาปริมาณของแข็งท่ีละลายน้าได้ (TSS) ของพริกสดท่ีเคลือบผิว CMC-2% และไคโตซาน มีค่าเพิ่มข้ึนเล็กน้อย (5.00-
6.10%) จากค่าวเิ คราะหว์ ันท่ี 0 แต่ค่า TSS ของชุดควบคุมมีค่าเพิ่มสูงข้ึน (5.00-8.00%) (Figure 3A) สอดคล้องกับผลของปริมาณกรด
การสกดั คารบ์ อกซิลเมทิลเซลลูโลสจากใบขา้ วโพด ท้ังหมด (TA) ของพริกสดท่ีเคลือบผิว CMC-2% และไคโตซาน-5% มีค่า TA เพ่ิมขึ้นเล็กน้อย (0.005-0.016%) ในขณะที่ค่า TA ของชุด
ควบคุมมีค่าเพิ่มสูงข้ึนอย่างต่อเน่ือง (0.005-0.030%) โดยค่า TA และTSS ของพริกสดที่ผ่านการเคลือบผิว มีความแตกต่างอย่างมี
เตรียมสารเคลือบผิวจากการสกัดคารบ์ อกซิลเมทลิ เซลลโู ลสจาก นยั สาคัญทางสถติ ิ (P≤0.05) กับชุดควบคมุ (Figure 3B)
ใบข้าวโพด 1 2 และ3% และ ไคโตซาน (5%)

ทาการเคลอื บผิวหน้าพริกสดและเกบ็ รกั ษา ณ อณุ หภูมิ 10°C เปน็ เวลา
15 วนั

การทดสอบคุณภาพหลังการเกบ็ เก่ียว ได้แก่ การสญู เสยี น้าหนกั AB
ความแนน่ เนื้อ ปริมาณของแขง็ ทีล่ ะลายนา้ ได้ (TSS)
และปรมิ าณกรดทีไ่ ทเทรตได้ (TA) Figure 2 Effects of CMC coating and chitosan coating on weight loss (A) and firmness (B) of fresh pepper during storage at 10ºC for
15 days (error bar represent ± standard error and n=8). Ctrl (control) represents non-coated pepper at 10°C for 15 days.

วจิ ารณผ์ ลการทดลอง AB

จากการศึกษาการเคลือบผิวหน้าพริกสดด้วยสารเคลือบผิวที่พัฒนาจากสารสกัด คาร์บอกซิลเมทิลเซลลูโลสจากใบข้าวโพด Figure 3 Effects of CMC coating and chitosan coating on the TSS (%) (A) and TA (B) of fresh pepper (average ±
ชว่ ยชะลอการเปลีย่ นลักษณะปรากฏ เช่น สี เนื้อสมั ผสั และรอยเหี่ยวย่น ได้ รวมทั้งชะลอการเปลี่ยนแปลงน้าหนักของพริกสดได้ standard error; n=8). Ctrl (control) represents non-coated bell pepper at 10°C for 15 days.
ดีกวา่ พริกสดทไ่ี ม่ผา่ นการเคลอื บผวิ เน่ืองจากสารเคลอื บผิวมสี มบตั ใิ นการทดแทนไขท่ีเกิดจากธรรมชาติท่ีได้สูญเสียไปในระหว่าง
กระบวนการเก็บ และการล้างทาความสะอาด โดยสารเคลือบผิวจะทาหน้าที่ในการเคลือบทับบริเวณปากใบของพริก สรุปผล
ซ่ึงสารเคลือบผิวจะมีลักษณะเป็นฟิล์มที่หุ้มผลพริกสดไว้จึงส่งผลให้พริกเกิดการคายน้าออกทางปากใบได้น้อย อีกทั้งสารเคลือบ
ผิวมีสมบัติในการป้องกันการซึมผ่านของไอน้าได้ซึ่งใกล้เคียงกับสารเคลือบผิวเชิงพาณิชย์ (ไคโตซาน) ทาให้การเปล่ียนลักษณะ สารเคลือบผิวจากสารสกัดคาร์บอกซิลเมทิลเซลลูโลสจากใบข้าวโพด มีประสิทธิภาพในการชะลอการเปล่ียนแปลงภายหลังการเก็บ
ทางกายภาพ และการเปล่ียนแปลงน้าหนักของพริกสดลดลง (Pandey et al.,2010; Vieira et al., 2016) สอดคล้องกับงานของ เกี่ยวของพริกสด ได้แก่ ชะลอการสูญเสียน้าหนัก ความแน่นเน้ือ ค่า TSS และTA ได้ ซึ่งมีประสิทธิภาพใกล้เคียงกับสารเคลือบผิวไคโต
ปิยะนุช และคณะ, (2563) สารเคลือบผิวน้ามันมะพร้าวและว่านหางจระเข้ช่วยชะลอการเปล่ียนแปลง สี เนื้อสัมผัส และการ ซาน (สารเคลอื บผวิ เชิงพาณิชย์) ในการชะลอการเปล่ียนแปลงคุณภาพภายหลังการเก็บเกย่ี วของพริกสด
สูญเสียน้าหนักของฝร่ังกิมจูได้ นอกจากนี้สารเคลือบผิวช่วยชะการเปลี่ยนแปลงค่า TSS และ TA ของพริกสดได้ เน่ืองจาก
สารเคลือบผิวจะช่วยชะลอกระบวนการสุกของผลไม้ ดังนั้นเมื่อกระบวนสุกของพริกสดเกิดขึ้นได้ช้าจึงส่งผลให้ปริมาณของ
ค่า TSS และ TA เพม่ิ ขึน้ ในปริมาณท่นี ้อยตามไปดว้ ย (ศักยะ และคณะ, 2555)

เอกสารอา้ งองิ

กฤษณเวช ทรงธนศักดิ์ และวิทวัส จริ ัฐพงศ์, 2554, การศกึ ษาปรมิ าณเซลลูโลส เฮมเิ ซลลโู ลส และลิกนินจากของเหลือทง้ิ จากพชื เพ่อื ใชใ้ นการผลติ แผน่ ฟลิ ม์ พลาสติกชีวภาพ, รายงานการประชุมวชิ าการนานาชาติวศิ วกรรมเคมีและเคมปี ระยุกตแ์ หง่ ประเทศไทย คร้ังที่ 21, สาขาเทคโนโลยีสง่ิ แวดล้อม ภาควิชาเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ประยุกตม์ หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ, กรงุ เทพฯ, 10 หน้า.
จุฑามาศ กลิ่นโซดา, 2559, สารเคลอื บผวิ อาหารกับการประยุกตใ์ ช้ในผกั และผลไม้, วารสารวชิ าการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 46: 33–36.
ศกั ยะ สมบตั ิไพรวัน, เทวรัตน์ ตรีอานรรค และกระวี ตรีอานรรค, 2555, ปัจจยั ที่มคี วามสัมพันธ์กบั ระยะการสุกของมะมว่ งนา้ ดอกไม้หลังการเกบ็ เกย่ี ว, วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหง่ ประเทศไทย, 18: 52-58.
โศรดา กนกพานนท์, สีรงุ้ ปรีชานนท์ และอภิตา บญุ ศิริ, 2555, การพฒั นาสารเคลอื บผวิ ผลไม้จากสารละลายเชลแลก็ เพ่ือยืดอายุการเกบ็ รักษาและรักษาคุณภาพผลไมเ้ มอื งรอ้ นไทย. สานักงานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั (สกว.), กรุงเทพฯ, 62 หน้า.
ณฏั ฐ์ธวดี จนิ าพันธ์ เจิมขวญั สังขส์ ุวรรณ สทุ ธิรา สุทธสภุ า และสฐพศั คาไทย, 2555, คุณสมบตั ิของฟิล์มคาร์บอกซีเมทิลเซลลโู ลสจากเย่อื ฟางข้าว, วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 43: 617 – 620.
นติ ยา ภูงาม, 2560, การใช้ประโยชน์จากไขท่ีสกัดจากใบกะหลา่ ปลีคัดท้งิ สาหรบั การเคลอื บผิวหนา้ ผกั และผลไม้, วิทยานพิ นธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎบี ัณฑติ มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี, 200 หน้า.
Pandey, S.K., Joushwa, J.E. and Bisen, A., 2010, Influence of gamma irradiation, growth retardants and coatings on the shelf life of winter guava fruits (Psidium guajava L.), Journal Food Science Technology, 47: 124- 127.

ผลของสารสกดั จากเปลอื กมงั คุดต่อการยบั ยง้ั เชอ้ื ราโรงเกบ็ ในเมลด็ พนั ธ์ุทานตะวนั

Effect of mangosteen peel extracts on inhibition of storage fungi in sunflower seeds

บทคดั ยอ่ นภิ าดา ราญมชี ัย1 และ ทรงศลิ ป์ พจนช์ นะชัย1

1สาขาเทคโนโลยหี ลงั การเก็บเกย่ี ว คณะทรพั ยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี (บางขนุ เทยี น) 49 ซอยเทียนทะเล 25 ถนนบางขนุ เทียน-ชายทะเล แขวงท่าขา้ ม เขตบางขุนเทยี น กรงุ เทพฯ 10150

การศึกษาผลของสารสกดั จากเปลือกมงั คุดตอ่ การยบั ย้ังเชอื้ ราโรงเกบ็ ในเมลด็ พันธทุ์ านตะวนั โดยสกดั เปลือกมงั คดุ ด้วยเอทานอล 95% และเอททลิ อะซเิ ตรต 99.5% จากนั้นคลุก

เมลด็ พันธ์ุทานตะวนั (ความชื้น 5.38%) ด้วยสารสกัดความเขม้ ขน้ 2% เปรยี บเทียบกบั คารเ์ บนดาซิม 0.15% เอทานอล 40% และเมลด็ ไม่คลกุ สาร (ชุดควบคุม) นาเมล็ดมาเกบ็

รักษาในถุงโพลเี อทลิ ีนท่อี ณุ หภมู หิ อ้ ง (30±2 °C, 75±5% RH) จากผลการทดลองพบว่า หลังการคลกุ สารทุกชนิดความชืน้ ของเมล็ดพันธเ์ุ พิ่มขน้ึ ประมาณ 2% และเปลย่ี นแปลง

เลก็ น้อยหลังจากเก็บรักษานาน 1 เดอื น การคลุกสารทกุ ชนดิ ชะลอการเข้าทาลายและลดการปนเปือ้ นเช้อื ราในเมล็ดพันธไุ์ ด้และไม่มีผลตอ่ เปอร์เซน็ ตค์ วามงอก ดชั นีการงอก และ

ความงอกภายหลงั การเร่งอายุ ซ่งึ มีคา่ สงู กว่าอยา่ งมีนยั สาคญั กบั เมล็ดพนั ธุ์ชดุ ควบคุม ดงั นน้ั สารสกัดจากเปลือกมงั คดุ มีศกั ยภาพท่จี ะนามาใช้ในการชะลอการเขา้ ทาลายของเชอ้ื ราได้

และไม่มผี ลต่อคุณภาพของเมล็ดพันธ์ทุ านตะวัน อปุ กรณแ์ ละวิธีการ

บทนา Antifungal compounds Crude extract

ปญั หาของเมล็ดพันธทุ์ านตะวนั - α-mangostin Grounded
ระหว่างการเก็บรกั ษา - Xanthone mangosteen peel
- Tannin
T5 T4
Ibrahim และคณะ, (2014)

Evaporation Sunflower seed
mixed with solution
สกดั ดว้ ย
ปนเปอื้ น 1. Ethanol 95% T3
2. Ethyl acetate 99.5%
T2
Soaking for 7 days
(3 times) 40%
and filter Ethanol

Aspergillus niger - Moisture content T1: Non-mixed (Control)
- Germination
Deterioration of seed Carbendazim - Germination index T1 T2: 40% Ethanol
- Accelerated aging ; AA-test
วัตถุประสงค์ เพอ่ื ศึกษาผลของสารสกดั จากเปลอื กมงั คุดต่อ - Total fungal contamination T3: 0.15% Carbendazim
การยบั ยงั้ เชอื้ ราโรงเก็บในเมลด็ พันธุ์ทานตะวนั
T4: 2% mangosteen peel
ผลและวจิ ารณ์ extract from 95% Ethanol

T5: 2% mangosteen peel
extract from 99.5% Ethyl
acetate

จากการทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดเปลือกมังคดุ ความเข้มข้น 2% ที่สกัดด้วยเอทานอล 95% และเอททิลอะซเิ ตรต 99.5% เปรียบเทียบกับคารเ์ บนดาซมิ 0.15% เอทานอล 40% และเมล็ดไม่

คลุกสาร พบว่า เมล็ดพันธ์ุทานตะวันมีความชื้น 5.38% หลังคลุก มีความช้ืนเพิ่มขึ้นประมาณ 2% ในทุกทรีตเมนท์ (ตารางที่ 1) เน่ืองจากสารที่ใช้คลุกเมล็ดมีน้าเป็นส่วนผสม หลังจากน้ัน ความช้ืน

เปล่ยี นแปลงเล็กนอ้ ย เพราะเมล็ดเกบ็ รักษาในถงุ โพลเี อทธลิ นี และพบว่า สารจากทุกทรีตเมนท์ ลดการปนเปือ้ นเช้ือรา A. niger (รูปที่ 1) ในเมล็ดได้ Pedraza-Chaverri และคณะ (2008) รายงานวา่

สารสกดั จากเปลอื กมังคดุ มสี าร Xanthones ซง่ึ มฤี ทธิ์ในการยบั ยั้งเชื้อราไดห้ ลายชนิด เช่น Rhizupus sp., A. niger, A. flavus, Penicillium sp. และ Fusarium roseum เป็นต้น นอกจากน้ี สาร

สกดั จากเปลอื กมังคดุ ไมม่ ผี ลตอ่ ความงอก และความแขง็ แรง (ดชั นีการงอก และเปอร์เซน็ ต์ความงอกภายหลงั การเร่งอายุ) (ตารางท่ี 1) ซ่งึ มีค่าสงู กว่าอยา่ งมีนัยสาคญั กับเมล็ดพนั ธุ์ท่ไี มค่ ลกุ สาร

ตารางท่ี 1 ความชื้น ความงอก ดัชนกี ารงอก และความงอกภายหลังการเร่งอายขุ องเมลด็ พันธุ์ทานตะวัน

Moisture Germination Germination AA-test 0 month 1 month

Treatments content (%) (%) index (GI) (%)
Storage time (months)

01 0 101 0 1

T1: Non-mixed (Control) 5.38c 5.23c 80.25b 79.50b 9.01b 9.19b 87.50ab 80.75b

T2: 40% Ethanol 7.19ab 6.77b 95.25a 95.25a 12.54a 13.75a 92.25a 88.00ab

T3: 0.15% Carbendazim 7.67a 7.51a 96.50a 94.75a 14.01a 15.39a 92.50a 90.50a

T4: 2% mangosteen peel extract 7.03b 6.81b 95.25a 88.75a 13.34a 14.83a 85.00b 87.00ab

from 95% Ethanol

T5: 2% mangosteen peel extract 7.19ab 6.56b 96.75a 93.75a 13.75a 14.56a 85.75ab 83.00ab

from 99.5% Ethyl acetate รูปท่ี 1 ปริมาณการปนเปอื้ นเชอื้ ราทงั้ หมดของเมลด็ พันธุท์ านตะวนั ทีไ่ ม่ไดค้ ลกุ สาร (ชดุ ควบคุม) (T1), คลกุ ดว้ ย
40% เอทานอล (T2), 0.15% คารเ์ บนดาซิม (T3), 2% สารสกดั จากเปลอื กมังคุดที่สกัดด้วย 95% เอทานอล (T4)
F-test ** ** ** ** ** ** * ** และสกัดดว้ ย 99.5% เอททลิ อะซเิ ตรต (T5) ทง้ั กอ่ นและหลงั เก็บรักษา (A และ B) เป็นเวลา 1 เดอื น
6.12 8.09 1.72 1.66 7.08 7.60
HSD0.05 0.51 0.56 3.02 4.10 6.28 5.61 3.66 4.05
C.V. (%) 3.36 3.87

สรุป การคลุกเมล็ดพันธ์ุทานตะวันด้วยสารสกัดจากเปลือกมังคุดที่สกัดด้วยเอทานอล 95% และเอททลิ อะซิเตรต 99.5% ความเขม้ ข้น 2% อัตรา 40 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัม

ลดการปนเป้ือนของเช้อื รา A. niger ได้ และไมม่ ผี ลต่อความงอกและความแข็งแรงของเมล็ด ซึ่งนา่ จะมศี ักยภาพในการนาไปใช้กบั เมล็ดพันธุ์พชื ชนิดอืน่ ได้

เอกสารอ้างอิง คาขอบคณุ

Ibrahim, M.Y., Mariod, A.A., Mohan, S., Hashim, N.M., Abdulla, M.A., Abdelwahab, S.I., Arbab, I.A. and Ali, L.Z. 2014. α-Mangostin from Garcinia mangostana เปน็ งานวิจยั ทไี่ ด้รบั ทนุ สนบั สนุนนักวิจยั หลังปริญญาโท ภายใตโ้ ครงการ
Linn: an updated review of its pharmacological properties. Arabian Journal of Chemistry. 1-39. การบ่มเพาะนกั วิจยั ศักยภาพสูงเพอื่ ยกระดับอุตสาหกรรมฐานชวี ภาพ
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี
Pedraza-Chaverri J, Cárdenas-Rodríguez N, Orozco-Ibarra M, Pérez-Rojas JM. Review : Medicinal properties of mangosteen (Garcinia mangostana ). Food
and Chemical Toxicology. 2008; 46: 3227–3239.

ผลของจบิ เบอเรลลกิ แอซดิ ตอ่ การงอกของเมล็ดมะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์

Effect of Gibberellic Acid on Seed Germination of Holland Papaya (Carica papaya L.)

เยาวรัตน์ วงศ์ศรีสกุลแก้ว กนกพร แตงสขุ ชลธิชา ขนายงาม และนิยม บวั บาน
สาขาการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี ปทมุ ธานี 12130

ABSTRACT

Study on effect of gibberellic acid on seed germination and vegetative growth of seedling of holland papaya. The experiment was designed in a completely randomized design composed of
5 treatments: GA3 solution at 10, 20, 40 and 80 mg/L compared with the soaked seeds in reverse osmosis (RO) water (control). The results showed that the soaked seeds in 80 mg/L GA3
solution performed the highest germination (49%) and showed a significantly difference from the other treatments. The vegetative growth of seedling of holland papaya that soaked seeds in
80 mg/L GA3 solution had the highest of length of root, fresh weight of root, number of leaves, fresh weight of plant, dry weight of plant, dry weight of root, height of plant and mean
germination time (MGT) had 6.68 cm, 0.14 grams, 6.63 leaves, 0.55 grams, 0.062 grams, 0.027 grams, 6.81 cm and 6.15 days respectively.

บทนา Table 2 Vegetative growth of seedling of ‘Holland’ papaya by the different soaking treatments.

มะละกอเป็นไม้ผลเขตร้อนที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ โดยในปี 2553-2554 ประเทศไทยมีปริมาณ Vegetative growth of seedling of ‘Holland’ papaya
ผลผลิตมะละกอเป็นอันดับ 8 ของโลก มะละกอพันธ์ุฮอลแลนด์กาลังเป็นที่นิยมในการบริโภคผลสุก มีการส่ง
จาหน่ายทังในประเทศและต่างประเทศเช่น สิงคโปร์ จีน และฮ่องกง มูลค่าการส่งออก 20-50 ล้านบาทต่อปี Treatments length of number fresh weight fresh weight dry weight dry weight height of
(สิริกุล, 2557) มะละกอนิยมขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดเน่ืองจากทาได้สะดวกรวดเร็วได้ต้นกล้าที่แข็งแรงมี root (cm) of leaves of root of plant of root of plant plant
รากแก้วสมบูรณ์ (ศกั ดิ์สิทธิ์, 2539) โดยในปี 2561 มีการส่งออกเมล็ดพันธ์ุมะละกอปริมาณ 374.50 กิโลกรัม RO water
มูลค่าประมาณ 88 ล้านบาท (Agricultural Regulatory Office, 2018) ดังนันคณุ ภาพของเมลด็ พันธ์ุจึงเป็น GA3 10 mg/L (leaves) (grams) (grams) (grams) (grams) (cm)
ปจั จัยที่สาคัญในการผลิตมะละกอแต่มักพบปัญหาเมลด็ งอกช้า ไม่สม่าเสมอ และมีความงอกต่า (Chacko และ GA3 20 mg/L
Singh, 1966) ทาใหก้ ารกาหนดแผนการปลกู ทาได้ยาก สาเหตุอาจเกิดจากหลายปจั จัยทังปจั จัยภายในเมล็ด GA3 40 mg/L 4.03 c 6.05 ab 0.07 0.44 0.01 0.04 b 5.87 b
และสภาพแวดล้อมท่ีมีผลต่อการงอกของเมล็ดซ่ึงเป็นปัญหาสาหรับผู้ผลิตและจาหน่ายเมล็ดพันธุ์ วิธีหน่ึงท่ีจะ GA3 80 mg/L
ทาให้เมล็ดพันธ์ุงอกได้เร็วและสม่าเสมอมากย่ิงขึนคือการแช่เมล็ดในสารละลายจิบเบอเรลลิกแอซิด ดังนัน F-test 4.65 bc 5.74 b 0.06 0.44 0.02 0.05 ab 5.79 b
งานวิจัยนีจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของจิบเบอเรลลิกแอซิดท่ีความเข้มข้นต่างๆ ต่อการงอกของเมล็ด CV.(%)
มะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์เพื่อทาให้เมล็ดงอกได้เร็วและสม่าเสมอมากยิ่งขึนเพ่ือเป็นประโยชน์ในการผลิตต้นกล้า 5.33 b 6.04 ab 0.06 0.43 0.01 0.05 ab 5.88 b
มะละกอต่อไป
6.49 a 6.64 a 0.07 0.55 0.02 0.06 a 6.08 b
อุปกรณ์และวิธีการ
6.69 a 6.44 a 0.05 0.50 0.02 0.06 a 6.82 a
วางแผนการทดลองแบบสมุ่ สมบรู ณ์ (CRD) มี 5 ทรที เมนตจ์ านวน 4 ซาๆ ละ 50 เมล็ดไดแ้ ก่
1) แช่เมลด็ มะละกอพันธุฮ์ อลแลนดใ์ นนาเปลา่ 12 ชัว่ โมง (control) ** ns ns ns ns ns **

2) แช่เมลด็ มะละกอพนั ธฮุ์ อลแลนด์ในจิบเบอเรลลกิ แอซิดความเข้มขน้ 10 mg/L 3.59 6.98 12.20 27.30 21.58 27.30 3.53

3) แช่เมลด็ มะละกอพันธุฮ์ อลแลนด์ในจิบเบอเรลลกิ แอซดิ ความเขม้ ขน้ 20 mg/L 1 Means within the same column follow by different letters showed significantly different between treatments by DMRT at P≤0.01
4) แช่เมล็ดมะละกอพนั ธุ์ฮอลแลนด์ในจิบเบอเรลลิกแอซิดความเขม้ ข้น 40 mg/L
5) แช่เมลด็ มะละกอพนั ธุฮ์ อลแลนดใ์ นจิบเบอเรลลิกแอซิดความเข้มข้น 80 mg/L การเจริญเตบิ โตของตน้ กล้ามะละกอพบว่าต้นกล้าท่ีแช่เมล็ดด้วยจบิ เบอเรลลิกแอซิดความเข้มข้น 80 mg/L
แช่เมลด็ เป็นเวลา 12 ชวั่ โมง หลังจากนันนาเมล็ดมะละกอไปทดสอบความงอกในสภาพโรงเรอื นโดยใช้พีทมอส มีความยาวราก นาหนักสดราก จานวนใบ นาหนักสดต้น นาหนักแห้งต้น นาหนักแห้งราก และความสูงต้นสูง
เป็นวัสดุเพาะ บันทึกข้อมูลได้แก่ความงอก (%) เวลาเฉล่ียในการงอก (วัน) และการเจริญเติบโตของต้นกล้า ทาการ ที่สุด คือ 6.68 เซนติเมตร, 0.14 กรัม, 6.63 ใบ, 0.55 กรัม, 0.062 กรัม, 0.027 กรัม และ 6.81 เซนติเมตร
วิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of variance: ANOVA ) และเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งระหว่างสิ่งทดลองดว้ ย ตามลาดับ และพบว่าความยาวรากและความสูงของต้นมีความแตกตา่ งกันทางสถิตอิ ยา่ งมนี ยั สาคัญย่ิง
Duncan’s Multiple Range Test (DMRT)
GA3 80 mg/L GA3 40 mg/L GA3 20 mg/L GA3 10 mg/L RO water
ผลการทดลองและวิจารณ์
Figure 1 Seedling of holland papaya at 28 days after planting.
การใชจ้ บิ เบอเรลลิกแอซิดความเข้มขน้ 80 mg/L แช่เมล็ดทาให้อัตราการงอกของเมล็ดมะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์
มคี ่าเฉลย่ี สงู ที่สดุ คอื 49% แตเ่ มื่อนาข้อมลู มาวเิ คราะห์ทางสถิติพบว่าไม่มีความแตกตา่ งกันทางสถิติ ส่วนเวลาท่ีใช้ใน สรุปผลการทดลอง
การงอกของมะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์มีค่าเฉล่ียเร็วที่สุด คือ 6.13 วัน โดยการใช้จิบเบอเรลลิกแอซิดความเข้มข้น 80
mg/L และพบวา่ มีความแตกตา่ งกันทางสถิตอิ ยา่ งมีนัยสาคัญยง่ิ 1. การแช่เมลด็ มะละกอพนั ธฮ์ุ อลแลนดใ์ นสารละลายจิบเบอเรลลกิ แอซดิ ทาใหเ้ มล็ดมีอัตราการงอกไม่

Table 1 Seed germination and mean germination time of ‘Holland’ papaya by the different soaking แตกต่างทางสถติ แิ ตม่ ีผลทาใหเ้ มลด็ มเี วลาเฉลยี่ ในการงอกเรว็ กว่าเมล็ดทแ่ี ช่ในนา RO ประมาณ 7 วัน
treatments.
2. การแช่เมลด็ มะละกอพันธ์ุฮอลแลนด์ในสารละลายจิบเบอเรลลิกแอซดิ ทาให้การเจริญเตบิ โตของต้น
กล้ามะละกอในด้านความยาวรากและความสูงต้นมีความแตกต่างทางสถิติ ส่วนนาหนักสดราก จานวน
ใบ นาหนกั สดต้น นาหนักแห้งต้น และนาหนักแห้งรากไม่แตกตา่ งทางสถิติ

Seed germination of ‘Holland’ papaya เอกสารอา้ งอิง

Treatments Germination (%) Mean germination time ศักดสิ์ ทิ ธ์ิ ศรวี ชิ ัย. 2539. มะละกอ. โครงการหนังสอื เกษตรชุมชน, กรุงเทพฯ.
(days) สริ ิกุล วะส.ี 2557. มะละกอพชื ความหวงั ใหม่ของเกษตรกร. สานักงานกองทุนสนับสนุนการวจิ ยั , กรุงเทพฯ.
RO water 37.0 b Agricultural Regulatory Office. 2018. Quantity and value of controlled seed exports for commercial purposes. (Online).
GA3 10 mg/L 46.0 ab 13.10 a A Available: http://www.doa.go.th/ard/wpcontent/uploads/2019/03/PS1PL-Ex61.pdf (July 5, 2019). (in Thai)
GA3 20 mg/L Chacko, E.K. and Singh, R.N., 1966, The Effect of Gibberellic Acid on the Germination of Papaya Seeds and Subsequent
GA3 40 mg/L 10.26 b S Seedling Growth, Journal of Tropical Agriculture, 43(4): 341-346.
GA3 80 mg/L
F-test 44.5 ab 9.68 c
CV.(%)
44.0 ab 8.21 d
49.0 a 6.13 e

ns **
13.89 0.75

1 Means within the same column follow by different letters showed significantly different
between treatments by DMRT at P≤0.01


Click to View FlipBook Version