The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by gogogamer2017, 2022-04-19 00:01:11

แผ่นพับ

แผ่นพับ

เย็นชืน่ ใจกบั “อาหารคลายร้อน” อาหารหวาน

อ.ชินริณี วรี ะวุฒิวงศ์ ผ้เู ชยี่ วชาญด้านการดแู ล 1. ถว่ั เขยี วตม้ นำ�้ ตาล (หวานน้อย)
สุขภาพแบบองคร์ วม วิทยาการของศูนย์เรียน 2. เต้าส่วน (หวานนอ้ ย)
รู้ สสส. แนะน�ำ เมนอู าหารคาว อาหารหวาน ที่ 3. หยกมณี
เหมาะสำ�หรับฤดูรอ้ น โดยคนทุกธาตสุ ามารถรับ 4. ลกู ตาลลอยแกว้
ประทานได้และยง่ิ ดีต่อคนธาตไุ ฟทม่ี กั จะมีปญั หา 5. สละลอยแกว้
ด้านสขุ ภาพคือ ร้อนในงา่ ย มแี ผลในชอ่ งปาก 6. แตงไทยน�ำ้ กะทิ (หวานนอ้ ย)
เครียด ผิวหนังแพ้งา่ ย โรคกระเพาะอาหาร เพราะ 7. ข้าวแช่ ลอยน้ำ�ดอกมะลิ ฯลฯ
ฉะนนั้ อาหารทงั้ คาวหวาน ควรเน้นท่ี รส “ขม เยน็
และจืด” รวมไปถงึ งดของทอดด้วย เพราะของ ผลไม้
ทอดนัน้ จะท�ำ ให้ธาตไุ ฟพุ่งและรา่ งกายเป็นไข้ เกดิ
การอกั เสบ 1. แตงโม
2. แกว้ มังกร
อาหารคาว 3. มะพรา้ ว
4. แคนตาลูป
1. แกงจดื มะระ กระดกู หมู 5. กล้วยน้ำ�วา้
2. แกงจดื ฟัก 6. สม้
3. แกงจดื หวั ไช้เท้า กระดูกหมู 7. ชมพู่ ฯลฯ
4. แกงจดื ต�ำ ลงึ
5. แกงส้มใส่ใบย่านาง ส�ำ นกั งานกองทนุ สนบั สนุนการสร้าง
6. ผัดผักบงุ้ เสริมสขุ ภาพ (สสส.) www.thaihealth.or.th
7. ผัดผกั กาดขาว สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
8. ผัดบวบใสไ่ ข่ สกลนคร
9. ผักพ้นื บา้ น จ้มิ น�ำ้ พรกิ ฯล

ประเทศไทยเข้าสู่ฤดูร้อนอย่างเป็น ผทู้ ม่ี คี วามเสีย่ งสูงกวา่ คนทัว่ ไป มี 6 ค�ำ แนะน�ำ ในการดแู ลสุขภาพตนเอง
ทางการแล้ว สภาพอากาศมีอุณหภูมิสงู กลุ่ม ไดแ้ ก่
ข้ึน ซ่งึ ประชาชนทวั่ ไปและกลุ่มเสี่ยง มี 1. สวมใส่เสื้อผ้าสอี อ่ น ระบายความร้อนได้ดี
โอกาสป่วยเป็นภาวะลมแดดหรือโรค 1. ผู้ท่ีทำ�งานหรอื ทำ�กิจกรรมกลางแดด เชน่ ออก 2. ควรอยู่ในที่มอี ากาศถ่ายเทสะดวก
ฮีทสโตรก (Heat stroke) ได้ ซ่งึ เป็น กำ�ลงั กาย 3. ลดหรือเลยี่ งทำ�กจิ กรรมที่ต้องออกแรงกลาง
ภาวะท่ีร่างกายไม่สามารถปรับตัวหรือ 2. เด็กเล็กและผู้สงู อายุ เน่อื งจากร่างกายไม่ แจง้ นาน ๆ
ควบคุมระดับความร้อนภายในร่างกาย สามารถระบายความร้อนได้ดเี ท่าคนหนุ่มสาว 4. สวมแวน่ กนั แดด กางรม่ สวมหมวกปีกกว้าง
จากสภาพอากาศทรี่ อ้ นจัด จึงควรเฝ้า 3. ผทู้ ม่ี ีโรคประจ�ำ ตวั เชน่ โรคความดนั โลหิตสูง 5. ควรดมื่ นำ�้ 2-3 ลิตรต่อวนั เพ่ือชดเชยการเสีย
ระวังและป้องกันโดยเฉพาะผู้ท่ีมีความ โรคหลอดเลอื ดสมอง นำ้�ในร่างกายจากเหงอื่ ออก
เสี่ยงสูงกว่าคนทัว่ ไป 4. ผู้ที่มนี �ำ้ หนกั ตวั มาก 6. หลกี เล่ยี งการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ทุกชนิด
5. ผู้ท่ีพักผอ่ นไม่เพียงพอ โดยรา่ งกายของคน 7. ผูท้ ่อี อกกำ�ลงั กาย ควรเลอื กในชว่ งเชา้ หรือช่วง
อาการสำ�คัญของโรคฮที สโตรก ไดแ้ ก่ อว้ นและผทู้ ีพ่ ักผอ่ นไม่เพยี งพอจะตอบสนองตอ่ เย็น เนอ่ื งจากเป็นชว่ งที่อากาศไมร่ ้อนมาก และ
ความร้อนท่ีได้รบั ช้ากว่าปกติ เปน็ เวลาทเี่ หมาะสม
ตวั รอ้ น อุณหภูมริ า่ งกายสงู ขนึ้ เรอ่ื ยๆ 6. ผู้ที่ด่ืมเคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์ โดยฤทธข์ิ อง
จนเกนิ 40 องศาเซลเซยี ส แอลกอฮอล์จะทำ�ให้เสน้ เลือดฝอยใตผ้ ิวหนงั ขยาย การปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ หากสงสยั
- เวียนหัว ปวดศรีษะ หนา้ มืด ตัวได้มากขนึ้ ท�ำ ใหร้ ่างกายสญู เสยี นำ�้ และเกลือแร่ ผู้มีอาการเจ็บปว่ ยจากภาวะอากาศ
- อาเจียน สงู กวา่ คนทไ่ี ม่ได้ดม่ื ซงึ่ แอลกอฮอล์จะถูกดูดซมึ รอ้ น
- เป็นตะคริว เข้ากระแสเลือดไดร้ วดเรว็ และออกฤทธิ์กระต้นุ
- ไม่มเี หงอื่ หวั ใจใหส้ ูบฉีดเลอื ดเรว็ และแรงขน้ึ ทำ�ให้ความดนั - ดมื่ น้ำ�เยน็
- หัวใจเตน้ เรว็ โลหิตสูงขึ้น หวั ใจท�ำ งานหนักเพ่ือสบู ฉีดเลอื ดไป - เช็ดตวั ดว้ ยนำ�้ เยน็
- ชักเกรง็ เลีย้ งรา่ งกาย อาจทำ�ใหช้ ็อกและเสยี ชวี ติ - ใหอ้ ย่ใู นทร่ี ะบายอากาศที่ดี
- ชอ็ กหมดสติ - ถ้ามีอาการรนุ แรงหรอื หมดสตคิ วรรีบนำ�สง่
โรงพยาบาลทนั ที

สอบถามข้อมลู เพมิ่ เตมิ ไดท้ ี่สายดว่ นกรม
ควบคมุ โรค โทร. 1422


Click to View FlipBook Version