The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tungsawangthimaporn3, 2020-02-20 01:24:08

158-13-247-1-10-20180227

158-13-247-1-10-20180227

วารสาร “ศกึ ษาศาสตร์ มมร” คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
ปที  ่ี 5 ฉบับท ี่ 2 ˜ กรกฎาคม - ธันวาคม 2560

ภาษาถิ่นปักษใ์ ต้

เฉลมิ จนั ปฐมพงศ์

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั
อเี มล: [email protected]

บทคัดย่อ
ภาษาถน่ิ หลัก ๆ ในไทยนั้น มอี ยู่ 4 สาขาใหญ่ๆ ด้วยกนั แตกตา่ งกันตรงที่วา่ จะเป็นถิ่นใหน
ไม่วา่ จะเปน็ เหนอื ใต้ ตก ออก ภาษาตระกลู เหลา่ นั้น จะแตกต่างกันที่การออกเสียงและส�ำเนียงการ
ออกเสยี ง แตก่ ็ยังใช้ภาษาไทยคยุ กนั เหมือนเดมิ หวั ขอ้ บทความท่วี ่า ภาษาถิน่ ใต้น้นั ใช้คยุ กันในเฉพาะ
ภาคใตข้ องไทย โดยปกตแิ ล้ว ภาษาถ่นิ ใต้ สำ� เนียงสว่ นใหญ่ จะเป็นเสียงเดียว สน้ั ๆ และ เร็วๆ
เป็นสว่ นมาก ผ้คู นชาวใตม้ กั จะพูดกันเร็วๆ ก็เขา้ ใจกัน และกจ็ ะเป็นความล�ำบากและเขา้ ใจยากของคน
ถ่ินอนื่ ๆ แตก่ ย็ งั ใช้ภาษาไทยเป็นภาษากลางในการสือ่ สารกันและกันในภาคอนื่ ๆ
อยา่ งไรกต็ าม ภาษาถน่ิ ใต้ท่ีกลา่ วมา จะเหน็ วา่ มีความคล้ายภาคกลาง ตา่ งกนั ในเรอ่ื งสำ� เนยี ง
และเสียงวรรณยกุ ต์ ตวั อย่างเชน่ ภาคกลางใช้ ฮ ในภาษาถนิ่ ใตท้ ุกค�ำเสยี ง ง เชน่ เดียวกนั จะเป็น
เสียง ง ที่ชาวใต้ออกไมค่ ่อยได้ดีมากนกั
คำ� สำ� คญั : ภาษาถิ่นใต้ และวรรณยกุ ต์

66

MBU Education Journal : Faculty of Education Mahamakut Buddhist University
Vol. 5 No. 2 ˜ Junly - December 2017

Southern dialect of Thailand

Chalerm Chunpathompong

Faculty of Educaiton, Mahamakut Buddhist University
E-mail: [email protected]

ABSTRACT
The major of dialect in Thailand have 4 depend on direction of city such as north,
south, west, east. They are look different pronunciation and sound but still Thai language.
The title: Southern dialect was use in south of Thailand. Normally Southern dialect is
single sound, short and quickly. The people of southern speak very fast and difficult to
understand of another city but we like to speak Central language for conversation each
another.
Therefore, the southern dialect was look similar to central Thai accept sound and
tone for example: Central was /h/ but in southern dialect was in /ng/. the most of south
people cannot speak sound of /ng/ very well
Keywords: Southern dialect, Tone

67

วารสาร “ศกึ ษาศาสตร์ มมร” คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั
ปีท ี่ 5 ฉบบั ท่ ี 2 ˜ กรกฎาคม - ธนั วาคม 2560

ภาษาถิ่น (Dialect) เป็นค�ำที่ใช้พูดส่ือสารกันในท้องถิ่นต่าง  ๆ ซึ่งมีความแตกต่างกับภาษา
ราชการ ท้ังค�ำพูดและส�ำเนียง ปกติภาษาถ่ินจะไม่มีอักษรของตนเอง (ยกเว้นบางภาษาซึ่งเคยเจริญ
รงุ่ เรอื ง มอี กั ษรและภาษาใชเ้ ปน็ ของตนเอง แมป้ จั จบุ นั จะไมม่ เี ปน็ ทางราชการ แตก่ ย็ งั ถอื วา่ เปน็ ตน้ แบบ
ของภาษาไทย มภี าษาจำ� นวนไมน่ อ้ ยปนอยใู่ นภาษาไทย คอื มอญ, เขมร) จึงเป็นการยากทใ่ี ช้อกั ษรของ
ภาษาราชการใชแ้ ทนเสียงของภาษาถน่ิ ให้ได้ทกุ ค�ำ เชน่ ภาษาอีสานค�ำว่า “หญงิ ” ส�ำเนียงอีสานออก
เสยี งขน้ึ นาสกิ ชดั เจน แตภ่ าษาราชการเปน็ เสยี งจตั วา ฯลฯ มเี พยี งสว่ นหนงึ่ เทา่ นน้ั ทจ่ี ะใชเ้ ขยี นแทนไดต้ รง

ภาษาถนิ่ ใต้ (Southern dialect) มคี ำ� พูดส่วนใหญ่ตรงกบั ภาษากลาง ภาษาถ่ินปักษใ์ ตแ้ ทๆ้
มพี ยางค์เดียว ฉะน้นั ถา้ ภาษากลางเปน็ ค�ำหลายพยางค์ ก็จะถูกตดั พยางคอ์ อก เป็นคำ� ทมี่ ีพยางคเ์ ดียว
หรือมพี ยางค์นอ้ ยลง เช่น กระทอ้ น กเ็ ป็น “ท้อน” ตดั “กระ” ออก แตอ่ อกเสียงวา่ “ถ่อน” (เสยี ง
เอก) ค�ำวา่ “นครศรธี รรมราช” ออกเสยี งว่า “คอน” หรือ “เมอื งคอน” หรือ “พทั ลงุ ” ออกเสียง
ว่า “ลุง” หรือ “เมอื งลงุ ” หรอื สมยุ ออกเสียง “หมุย” ฯลฯ

สว่ นส�ำเนียง สว่ นใหญต่ ่างกนั อย่างส้ินเชิง มีเพียงค�ำหรือพยางคท์ เ่ี ป็นเสียงสามญั เทา่ น้นั ทอ่ี อก
เสยี งเหมอื นกนั ส่วนเสียงอน่ื   ๆ จะสับสนกันหมด บางค�ำมเี สียงวรรณยุกต์ระหว่างเสียงโทกบั เสยี งตรี
บางค�ำมีเสียงตรี แต่หางเสียงเป็นเสยี งจตั วา จึงไมอ่ าจเขยี นแทนเสยี งค�ำถิ่นใตเ้ หล่านไี้ ด้ เช่น

เหน็  (จตั วา) ส�ำเนยี งถิน่ ใต้จะออกเสียงว่า เซน้  (ตร)ี เปล่ยี นเสียง ห เปน็ เสียง ฮ เสยี ง ห

ในภาษากลางจะกลายเปน็ เสยี ง ฮ ในภาษาถน่ิ ใตท้ กุ คำ� เสยี ง ง เชน่ เดยี วกนั จะเปน็ เสยี ง ฮ เชน่
ภาษากลาง (ราชการ) ภาษาถนิ่ ใต้
งาม (สามัญ) “ฮาม” (สามญั )
เงิน (สามัญ) “เฮิน” (สามญั )
งาน (สามัญ) “ฮาน” (สามัญ)
ภาษากลาง (ราชการ) เอก ภาษาถน่ิ ใต้ออกเสยี งสามัญ กม็ ีบา้ ง เช่น
ปาก (เอก) ปาก (สามญั )
บาป (เอก) บาป (สามญั )
อยู่ (เอก) อยู (สามัญ) (พทั ลุงใช้ โจยฺ )
ภาษากลาง (ราชการ) ออกเสยี งเอก จะเป็นเสียงตรี ในภาษาปักษ์ใต้ เช่น
หมู่ (เอก) โม้ ออกเสยี งเหมือนมี ห นำ� โหม๊
ขา่ ว (เอก) ค้าว (ตร)ี ออกเสยี ง ค แทน ข
ส่ี (เอก) ซี้ (ตรี) เปลี่ยน ส เปน็ ซ
พัทลุง, ตรงั ออกเสียง เซ้

68

MBU Education Journal : Faculty of Education Mahamakut Buddhist University
Vol. 5 No. 2 ˜ Junly - December 2017

คำ� เสยี งโทภาคกลาง เป็นเสียงจัตวาในภาษาถ่นิ ใต้ เช่น
เทยี่ ว เถ๋ียว ใช้ ถ แทน ท
  เทยี่ ง เถียง
  รปู หรู๋บ
  พอ่ ผอ

ค�ำเสียงโทในภาคกลาง เปน็ เสี่ยงตรีในภาษาถ่ินใต้ เช่น
ให้ ฮา้ ย
ได้ ดา๊ ย
ผู้ พู้
ขา้ ว คา้ ว หางเสยี งจตั วา ต่างกับ ขา่ ว...คา้ ว (ตรี) แท ้  ๆ

ค�ำเสยี งตรใี นภาษากลาง เป็นเสยี งเอกในภาษาถ่ินใต้ เช่น
ใช ้ ฉา่ ย เปลีย่ น ช เปน็ ฉ
ไว้ หว่าย
รู้ หรู่ พทั ลุงวา่ โหร่
มา้ หม่า

เสยี งจัตวาในภาษากลาง เปน็ เสียง ตรใี นภาษาถน่ิ ใต้ เช่น
เห็น เฮ้น
ขม ค้ม เปลี่ยน ข เปน็ ค
หวาน วา้ น

ยงั มเี สยี งทเ่ี ปลยี่ นไปตามทอ้ งถนิ่ ตา่ ง  ๆ อกี มากมาย ซงึ่ ไมม่ หี ลกั ตายตวั ตอ้ งอาศยั ประสบการณ์
ตรงจงึ ออกเสยี งได้ถกู ตอ้ ง

นอกจากส�ำเนียงจะแตกตา่ งกนั แล้ว ส�ำนวนพูดก็แตกตา่ งกนั อีก เชน่

ภาษากลาง ภาษาถนิ่ ใต้
ฝรั่ง ชมพู่
ลางสาด ลังซา้ ด
ขนนุ หนุ้น
มะละกอ ลอกอ
มะเขือพวง หลกู๋ เคอื้ เถ็ด
พริกขีห้ นู ดปี ลคี ี้หนอ็ ก
ฟกั ทอง หน่ามตา๊ ว
ถว่ั ลิสง ถว้ั ต้ายดิน
ผกั ช ี พักชี

69

วารสาร “ศกึ ษาศาสตร์ มมร” คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
ปที  ่ี 5 ฉบับท่ี 2 ˜ กรกฎาคม - ธันวาคม 2560

ขมิน้ คม้ี ิ้น
ตะไคร้ (เอก, ตร)ี ไคร (สามญั )
ย่ีหรา่ (โท, เอก) ใบรา (สามญั , สามัญ)
กะทิ (เอก, ตรี) หน่ามเถ (เอก, จัตวา)
ชะมด (สตั ว)์ หมดุ ซั้ง (เอก, ตรี)
เงาะ (คร)ี เง๊าะ (จตั วา)
กลว้ ยไม้ (โท,ตร)ี กลว๊ ยหมา่ ย (ครี,เอก)
เครือ่ งแต่งกาย เซ้ือ (ตร)ี
เส้อื (โท) พา้ ถุ้ง
ผา้ ถุง สายเอว
เข็มขัด พ้าซะโรง้ บางทเี รียกวา่ พา้ หนุง
ผา้ โสรง่ (ผ้ชู าย) เหน็บเพลา
กางเกง มอ้ (ตร)ี
เครอ่ื งครัว ทว้ ย (ตร)ี
หมอ้ (โท) ฉน่ั
ถว้ ย (โท) หวัก
ป่ินโต ถ๋ะ
จวกั ด๊อง
กะทะ ครอ็ ก
กะดง้ ถา้ ด
ครก ซา้ ก
ถาด แลก็ คูด้
สาก หมีด๊
กระต่าย ตรอง
มีด ดานเชยี้ ง
กระชอน หมา่ ยฟนื
เขียง เตาแก้ด
ไม้ฟนื ฉอ่ น (เอก)
เตาแกส๊ ซอ้ ม (ตร)ี
ช้อน (ตร)ี คา้ ว (ตรี)
สอ้ ม (โท)
อาหาร
ข้าว (โท)

70

MBU Education Journal : Faculty of Education Mahamakut Buddhist University
Vol. 5 No. 2 ˜ Junly - December 2017

แกงเผด็ (เอก) แกงแพ็ด (ตร)ี
แกงสม้ (โท) แกงซ็อม (ตร)ี
ขา้ วเหนียว (โท, จัตวา) ค้าวเนย้ี ว (ตรี, ตร)ี
ข้าวเม่า ค้าวหมา๊ ว (ม้าว ก็เรียก)
น�ำ้ พรกิ หนา่ มผริก
ของหวาน ลา
ขนมลา พอง
ขนมนางเลก็ น้มดซี ำ�
ขนมดีซำ� แหฺม (จตั วา)
เครอื ญาติ ผอ (จัตวา)
แม่ (โท) ผี๋ (จัตวา)
พ่อ (โท) พ้ี (ตร)ี
พี่ (โท) หน่า (เอก)
ผี (จตั วา) หน่อง (เอก)
นา้ (ตรี) อาว์ (สามญั )
น้อง (ตร)ี หยา (จตั วา)
อาว์ (สามญั ) หลกู๋ (จัตวา)พทั ลุงใช้โหลก๋ ก็มี)
ย่า (โท) หลกู๋ บาว (สามัญ)
ลูก (โท) หลกู๋ ซ้าว (ตรี)
ลูกชาย (สามัญ) ฮัว้ (ตร)ี เปล่ยี น ห เปน็ ฮ
ลกู สาว (จัตวา) ฮู้ (ตร)ี
หมวดร่างกาย ตา (สามัญ)
หวั (จัตวา) มูก้ (ตร)ี
หู (จตั วา) ขิ่ว (เอก) เปลี่ยน ค เปน็ ข
ตา (สามัญ) คน้ (ตรี)
จมูก (เอก, จัตวา) น้า (ตรี)
คิ้ว (คั) บา (สามญั )
ขน (จัตวา) ไล้ (ตรี)
หนา้ (โท) แค้น (ตรี)
บา่ (เอก) ข้อซอ้ ก (ตรี, ตรี)
ไหล่ (เอก)
แขน (จัตวา)
ขอ้ ศอก (โท, เอก)

71

วารสาร “ศึกษาศาสตร์ มมร” คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
ปีท ่ี 5 ฉบับที่ 2 ˜ กรกฎาคม - ธนั วาคม 2560

นิ้ว(ตรี) หนิ่ว (เอก)
น้ิวช้ี (ตร,ี ตรี) หน่ิวฉี่ (เอก, เอก)
ทอ้ ง (ตรี) ถอ่ ง (เอก)
สะดือ ดือ
เท้า (ตร)ี ถา่ ว (เอก)
ฝ่าเทา้ (เอก, ตรี) ขว้าตนี (ตร,ี สามญั )
ล�ำไส้ (สามญั , โท) ซา้ ย (ตร)ี
ทวารหนัก วาน
อจุ จาระ ค้ี (ตรี)
ปสั สาวะ เหยยี ว (จัตวา)
หนวด (เอก) นว้ ด (ตร)ี
กรยิ า, อาการต่าง  ๆ
น่งั (โท) หนงั๋ (จัตวา)
หนัง (หนังละคร) จตั วา น้ัง (ตร)ี ในคำ� วา่ แลนั้ง
นอน (สามญั ) นอน (สามญั )
ยนื (สามญั ) ยืน (สามญั )
ไป (สามัญ) ไป (สามญั )
กนิ (สามญั ) กนิ (สามญั )
พูด (โท) พดู๋ (จตั วา) หรอื “แหลง”
วิง่ (โท) หวงิ (จัตวา)
หนวกหู นักฮู้ (ตร,ี ตร)ี
กดั (เอก) ค็อบ (ตร)ี ออกเสียงคลา้ ยเสยี ง ข ดว้ ย
ตวาด (เอก,เอก) ว้าด (ตร)ี
ซือ้ (ตรี) เส่อ (เอก) หรอื ซื่อ
ขาย (จตั วา) ค้าย (ตรี)
สีตา่ ง  ๆ
ขาว (จตั วา) ค้าว (ตร)ี
แดง (สามัญ) แดง (สามญั )
เขยี ว (จตั วา) เค้ียว (ตรี)
ด�ำ (สามญั ) ดำ� (สามญั )
มว่ ง (โท) หมวง (จัตวา)

72

MBU Education Journal : Faculty of Education Mahamakut Buddhist University
Vol. 5 No. 2 ˜ Junly - December 2017

แสด (เอก) แซด้ (ตรี)
สม้ (โท) ซอ็ ม (เสียงเอาะ – ตรี)
น�้ำตาล (ตร ี – สามัญ) หนา่ มตาน (เอก – สามัญ)
น้�ำเงิน (ตรี – สามญั ) หน่ามเฮนิ (เอก, สามญั )

ยานพาหนะ หรอ็ ดถ๊ีบ หรอื หรอ็ ดทีบ้
รถจักรยาน (ตรี, เอก, สามัญ) เรือยนต์
เรอื ยนต์ เครื่องบิน หรือ เรือบิน
เครอื่ งบิน เกวียน
เกวียน หร็อดยนต์
รถยนต์

เวลาของวัน วันหน่ี (สามญั , เอก)
วนั น้ี (สามัญ, ตรี) ตอโพร๋ก (สามัญ, จตั วา)
พรุ่งน้ี (โท, ตร)ี ฮ้วั ฉา่ ว (ตร,ี จัตวา)
ตอนเช้า (สามัญ, ตรี) ว้นั (ตร)ี
ตะวัน (เอก, สามัญ) วั้นเทยี ง
ตอนเที่ยง วั้นฉา่ ย
ตอนบ่าย วนั้ เยน็
ตอนเย็น บายน้ึง
บ่ายโมง บายซอ้ ง
บ่ายสองโมง บายซา้ ม
บา่ ยสามโมง ตซี ี้ หรือตเี ส
ส่โี มงเยน็ ตฮี ็อก
หกโมงเย็น ตีแจ็ด
หนงึ่ ทมุ่ ตีแป้ด
สองทมุ่ ตกี า้ ว
สามทุม่ ตีน้ึง (กลางคนื )
1 นาฬิกา ตีซา้ ม
3 นาฬกิ า ต้าฮา้
5 นาฬกิ า ตฮี อ็ ก
6 ใมงเชา้ ตีสบื แอด็
5 ใมงเชา้ วนั้ เทย่ี ง
เท่ียงวนั

ฯลฯ

73

วารสาร “ศกึ ษาศาสตร์ มมร” คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
ปีท่ ี 5 ฉบับที่ 2 ˜ กรกฎาคม - ธันวาคม 2560

ข้อความทีก่ ล่าวมา จะเหน็ ว่าภาษาถิน่ ปักษ์ใตค้ ลา้ ยภาคกลางเกอื บทง้ั หมด ต่างกนั ในเร่ือง
สำ� เนียงหรอื เสยี งวรรณยุกต์ แตก่ ม็ ีคำ� ที่เปน็ ภาษาถิ่นปกั ษใ์ ต้แตกต่างจากภาษากลางซงึ่ มีไมม่ ากนกั เชน่

เม่อื เลกิ รบั ประทานอาหารก็วา่ “ถาว” สิง่ ทมี่ ีรปู ร่างนา่ เกลียดก็เรียกว่า “โหมระ” ขนาด
เลก็ กว็ า่ ”เอียด” ตวั นอ้ ยก็วา่ “ตัวหน่ยุ ” เล็กมาก ก็วา่ ถาวฮดี๊ (ถาว – เทา่ ) หรือ “ถาวแต็ด” (ขนาด
เลก็ ) แตด็ หมายถงึ จ�ำนวนน้อยกไ็ ด้ ในทางตรงกันข้าม จำ� นวนมาก คือ ลุย (เยอะ) โขตาย น่าจะ
เลือนมาจากอกั โขภนิ ี ค�ำวา่ จังฮู้ กม็ ีความหมายวา่ มาก เช่น หรอยจังฮู้ (อร่อยมาก) ดกี ว่า ภาษาถ่นิ
ใตว้ า่ ดวี า้ เลีย้ งควาย วา่ แลควาย แล แปลวา่ ดู ทีเ่ รียกว่า “ดแู ล” ค�ำวา่ เล้ยี ง เช่น เลีย้ งหมู
ภาษาถิ่นใตเ้ รียกวา่ เหลีย้ งมู้ เรียกว่า “รกั ษา” ก็มี คอื “รักซ้าม”ู้

ทา่ นอา่ นบทความนี้ อาจมคี วามแปลกใจบา้ ง เพราะการเขยี นภาษาถน่ิ ใตค้ รงั้ นี้ ผเู้ ขยี นพยายาม
เขียนใชส้ ำ� เนียงคนปกั ษใ์ ต้ทแ่ี ท้จรงิ พยายามเขียนตามสำ� เนยี งของคนปกั ษ์ใตม้ ากกว่าส�ำเนยี งกลาง เชน่
คำ� วา่ คดหอ (ตรี, จตั วา) สำ� เนยี งใตต้ ้องเขยี นวา่ “ข็อตฮ้อ” (เอก, ตรี)

ฮ๊กแฮก็ (ตรี, ตรี) ภาษาถ่ินใต้ตอ้ งเขียนว่า “ห็อกแห็ก (เอก, เอก) เปน็ ตน้
ฉะนน้ั ทา่ นทเี่ ปน็ ชาวใตโ้ ปรดพจิ ารณาแนวคดิ นอ้ี กี ครง้ั นะครบั ครง้ั นม้ี เี วลาจำ� กดั มากอาจมคี วาม
ผิดพลาดบา้ ง ผเู้ ขยี นขอประทานอภัยมา ณ โอกาสน้ี หากผดิ พลาดประการใดยินดีรับฟังข้อเสนอแนะ
จากทา่ นด้วยความยนิ ดยี ิ่ง
บรรณานกุ รม
ชนกพร อังศุวิริยะ. (2558). การวเิ คราะห์โครงสร้างค�ำเรียกชอื่ อาหารภาษาไทย ท้องถ่ินภาคใต้ ของกล่มุ
ชาตพิ ันธ์ุ ในอ�ำเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา. วารสารศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลา นครนิ ทร์
วิทยาเขต หาดใหญ่ (Journal of Liberal Arts Prince of Songkla University Hat Yai)
ตามใจ อวิรทุ ธโิ ยธนิ . (2556). การศึกษาลักษณะทางกลสัทศาสตร์ ขอ พยัญชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ ใน
ภาษาไทยมาตรฐานส�ำเนยี งใต้ โดยเปรยี บเทยี บกับภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาไทยถนิ่ ใต้.
มปท.
วฒุ ิจนั ทร์ สมปราชญ.์ (2559). การใช้ภาษาไทยถิน่ ใต้ ของนกั เรยี นในภาคใต.้ Journal of MCU Social
Science Review

74


Click to View FlipBook Version