หน่วยที่ 9
การบริการก่อนการขายและหลังการขาย
ก
ค าน า
1
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา หลักการขาย การค้นคว้าและเขียน
รายงานโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ศึกษาความรู้ในเรื่อง การบริการก่อนการ
ขายและหลังการขาย และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์กับการเรียน
ผู้จัดท าหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักศึกษาที่
ก าลังหาข้อมูลอยู่หากมีข้อแนะน าหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดท าขอน้อม
รับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
1
ข
สารบัญ
เรื่อง หน้า
การบริการก่อนการขายและหลังการขาย 1-2
วิธีการให้บริการหลังการขาย 3-5
สาเหตุการเกิดข้อบกพร่องในการบริการหลังการขาย 6
วิธีการแก้ปัญหาจากการให้บริการหลังการขาย 7
ประโยชน์จากการให้บริการหลังการขาย 8
การจัดการกับค าว่าร้องเรียน 9
อ้างอิง ค
1
การบริการก่อนการขายและหลังการขาย
• ลักษณะการให้บริการ
ในการขายสินค้าบางประเภท ผู้ซื้อไม่เพียงแต่ต้องการตัวสินค้า
เท่านั้น แต่ยังได้ของแถมเพิ่มจากพนักงานขายเพื่อให้ได้ประโยชน์มาก
ยิ่งขึ้น และสิ่งที่จะท าให้ผู้ซื้อได้รับความพอใจสูงสุดในการซื้อมักจะมา
จากบริการต่างๆ ที่พนักงานขายเสนอให้โดยเฉพาะสินค้าที่จ าเป็นต้อง
ให้ความสะดวกสบายอย่างเต็มที่กับลูกค้า
1.การบริการก่อนการขาย
ส่วนใหญ่เป้นบริการมุ่งเน้นการให้ค าปรึกษาให้ค าแนะน าการแก้ไข
ปัญหาโดยการจัดโชว์สินค้า หรือโดยใช้ตัวบุคคล การให้ค าแนะน า
ปรึกษา ชี้แนะแนวทางแก้ปัญหาล฿กค้าก่อนตัดสินใจซื้อ เช่น การซื้อ
เครื่องปรับอากาศลูกค้าจะมาหาข้อมูลของเครื่องปรับอากาศชนิดต่างๆ
ยี่ห้อต่างๆเพื่อน าไปเปรียบเทียบ เป็นต้น
2.การให้บริการขณะเสนอขายสินค้า ได้แก่
2.1 การให้ค าแนะน าปรึกษาชี้แนะประโยชน์สินค้าได้เห็นชัดเจน
2.2 บริการแก้ไขข้อปัญหาต่างๆให้ เช่น การแก้ไขขนาดของกางเกง
หรือเสื้อ เป็นต้น
2.3 การจัดสถานที่ให้ความสะดวกในการซื้อ
2.4 การให้ความสะดวกวิธีการช าระเงิน
2
3.การให้บริการภายหลังการขาย ได้แก่
3.1 บริการจัดส่งสินค้า อาจจะส่งถึงรถของลูกค้าหรือน าส่งถึงบ้าน
ส านักงานหรือดรงงานของลูกค้า แล้วแต่ลักษณะสินค้าและปริมาณใน
การซื้อ
3.2 การบรรจุหีบห่อสินค้า เพื่อความสะดวกในการน าสินค้าไปในที่
ต่างๆหรือเพื่อดอกาสพิเศษต่างๆ
3.3 การติดตั้งสินค้า โดยฉพาะสินค้าที่ต้องใช้ช่างเทคนิคที่มาเกี่ยวข้อง
3.4 การบริการซ่อมแซม บ ารุงรักษา
3.5 การให้การอบรมการใช้
3.6 การให้ความช่วยเหลือต่างๆ
3
• วิธีการให้บริการหลังการขาย
วิธีการให้บริการหลังการขาย มีดังนี้
1.บริการจัดส่งสินค้า ( Delivery Service )
ส าหรับการจ าหน่ายสินค้าชิ้นใหญ่ มีน ้าหนัก เคลื่อนย้ายยาก เช่น
เครื่องจักร อุปกรณ์ต่างๆที่ขายให้แก่โรงงานผู้ผลิตต่างๆ ควรได้จัดส่งให้
ถึงโรงงานผู้ผลิตต่างๆควรได้จัดส่งให้ถึงโรงงานหรือส านักงานของ
ลูกค้า
ส าหรับตลาดผู้บริโภค สินค้าประเภทเครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้าน
เช่น เครื่องปรับอากาศ เครื่องเสียง คอมพิวเตอร์ หรือเฟอร์นิเจอร์ เตียง
นอน ชุดรับแขก เป็นต้น ควรบริการจัดส่งให้ลูกค้า
2.การบริการติดตั้ง ( Installation )
การจ าหน่ายสินค้าประเภทอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องจักร
มักจะต้องการการประกอบ การติดตั้งให้เข้าที่และถูกต้อง จึงจะท างาน
ให้มีประสิทธิภาพได้
3.การฝึกอบรมสอนวิธีการใช้ ( Training )
สินค้าประเภทเครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ หากซื้อมาแล้วใช้ไม่เป็นย่อม
ไม่เกิดประโยชน์และท าให้ลูกค้าเกิดความไม่พอใจ บางครั้งการใช้สินค้า
ไม่เป็น ยังน าไปสู่การท าให้เกิดการเสียหายและเกิดความรู้สึกที่ไม่ดีแก่
ลูกค้าได้
4
4.การตรวจบ ารุงรักษาซ่อมแซม ( Checking and Repairs )
สินค้าบางประเภท เมื่อน าไปใช้งานแล้วจะต้องมีการตรวจเช็คโดย
สม ่าเสมอ และมีการบ ารุงรักษาเป็นระยะเวลาที่แน่นอน เพื่อยืดอายุการ
ใช้งานให้นาน เช่น รถยนต์ เครื่องจักร เครื่องปรับอากาสในบ้าน ลูกค้า
อาจละเลยหรือไม่มีความรู้ที่จะตรวจสอบ หรือบ ารุงรักษาได้เองการ
ให้บริการภายหลังการขายในการตรวจเช็ค บ ารุงรักษา ลูกค้าอาจไม่มี
ความรู้ในการตรวจซ่อม ดังนั้น จึงถือเป็นกิจกรรมที่ควรจะมีการ
ให้บริการภายหลังการขายโดยสม ่าเสมอ
5.การให้ความช่วยเหลือในการขายแก่ร้านค้า
กิจการที่จ าหน่ายสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลางต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ร้านค้าปลีก การให้บริการภายหลังการขายสามรถจัดท าได้มาก เช่น การ
ให้ความช่วยเหลือในการส่งเสริมการตลาดด้วยการจัดท าโฆษณาเพื่อให้
ผู้บริโภครู้จักสินค้าเป็นอย่างดี
6.การให้ความสะดวกในการช าระเงิน (Payment Condition)-
ลูกค้าอาจมีปัญหาด้านการช าระเงิน ไม่มีเงินสดในมือเพียงพอ ไม่
สะดวกในการน าเงินสดจ านวนมากมาช าระ ไม่สะดวกที่จะน าเงินมา
ช าระเอง ปัญหาด้านการช าระเงินนั้นหากพนักงานขายเสนอขายบาง
รูปแบบให้เกิดความสะดวกเพียงพอ อาจชะลอการซื้อไปก่อน หรืออาจ
ไม่ซื้อหรือท าให้เกิดหนี้สูญเพิ่มมากขึ้น
5
7.การให้บริการเปลี่ยนสินค้า
สินค้าบางชนิดผู้ซื้ออาจตัดสินใจไม่ถูก เช่น เสื้อผ้าอาจเป็นการซื้อไป
ฝากบุคคลอื่น ดังนั้นเพื่อให้ลูกค้ามั่นใจว่าจะได้สินค้าที่ถูกต้องและไม่
เลื่อนการซื้อออกไป กิจการอาจยอมให้ลูกค้ากลับมาเปลี่ยนเมื่อใช้ไม่ได้
เพื่อเร่งรัดให้ลูกค้าตัดสินใจซิ้อ
8.การรับคืนสินค้า
ส่วนใหญ่ใช้กับร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ที่ขายสินค้าคุณภาพดี ราคาสูง
จะมีการรับคืนสินค้าเป็นครั้งคราว จากลูกค้าที่คุ้นเคยเป็นอย่างดี เช่น
การรับคืนสินค้ามักจะมีปัญหาในการปฏิบัติอยู่มาก ลูกค้าน าสินค้าคืนใน
ลักษณะที่เสียหายหรือมีต าหนิ โดยอ้างว่าเกิดจากผู้ขาย ท าให้เกิดข้อ
โต้แย้งและอาจเป็นสาเหตุให้เสียลูกค้าไป ถึงไม่มีข้อโต้แย้ง กิจการมักจะ
มีค่าใช้จ่ายสูงและมีข้อยุ่งยากในทางปฏิบัติในกรณีรับคืนสินค้าเพราะ
ต้องกลับมาแก้ไขสินค้าใหม่ก่อนน าออกขายใหม่อีกครั้ง หากไม่จ าเป็น
หรือไว้วางใจกันก็ไม่ควรมีบริการรับคืนสินค้า เพราะมีผลเสียมากกว่า
ผลดี
6
• สาเหตุการเกิดข้อบกพร่องในการบริการหลังการขาย
จากกิจกรรมต่างๆ ที่พนักงานขายจัดขึ้นเป็นบริการหลังการขายหลาย
ร ูปแบบ เพื่อให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจมาดที่สุด แต่ขั้นตอนการ
ให้บริการลักษณะต่างๆ นั้นอาจจะเกิดข้อบกพร่อง เกิดความไม่เรียบร้อย
หรือเหตุขัดข้องอื่นๆ ซึ่งผลที่ตามมาก็คือลูกค้าจะไม่พอใจ ต าหนิและต่อ
ว่า จนกิจการอาจสูญเสียลูกค้ารายนั้นตลอดไป ดังนั้นสาเหตุส าคัญที่จะ
ท าให้เกิดข้อบกพร่องกับบริการหลังการขายจึงมีดังนี้
1.การส่งสินค้าที่มีคุณภาพไม่ดี หรือผิดแบบที่ลูกค้าสั่งซื้อไปให้
2.ลูกค้าใช้สินค้าไม่ถูกวิธี หรือน าไปใช้งานอย่างผิดๆ
3.กิจการและพนักงานขายไม่ยอมปฏิบัติตามเงื่อนไขและสัญญาที่
เสนอไว้
4.การต่อว่าต าหนิติเตียนในสาระเล็กๆ น้อยๆ
7
• วิธีการแก้ปัญหาจากการให้บริการหลังการขาย
เมื่อเกิดปัญหาจากค าต่อว่าหรือต าหนิของลูกค้า หน้าที่ของพนักงานขาย
หรือกิจการควรหาแนวทางแก้ไข ดังนี้
1. ต้อนรับค าต่อว่าและแสดงความเสียใจ
2. รับฟังค าต่อว่าอย่างตั้งใจและแสดงความเห็นใจลูกค้า
3. พิจารณาข้อเท็จจริง
4. ลงมือปฏิบัติแก้ไขปัญหาของลูกค้าโดยเร็วและด้วยความพอใจ
5. ให้ค ารับรองแก่ลูกค้าว่าจะไม่เกิดเรื่องในลักษณะนี้อีก
8
• ประโยชน์จากการให้บริการหลังการขาย
เมื่อกิจการเห็นถึงคุณค่าของกิจกรรมหลังการขาย ในเรื่องการ
ให้บริการหลังการขายที่มีการจ าเป็นให้สอดคล้องกับสินค้าประเภท
ต่างๆ นอกจากจะท าให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจเต็มที่แล้ว บริการหลัง
การขายที่มีประสิทธิภาพ และให้ประโยชน์แก่กิจการและพนักงานขาย
ดังนี้
1. ลูกค้าพึงพอใจในคุณภาพของสินค้ามากยิ่งขึ้น เพราะได้รับ
ค าแนะน าและการอบรมถึงวิธีการใช้งานของสินค้าได้อย่าง
ถูกต้อง
2. ลูกค้าให้ค าชมเชยกับกิจการและพนักงานขาย เพราะได้รับการ
บริการอย่างเต็มที่ก่อนการซื้อสินค้าและหลังจากที่ได้สินค้าไป
เรียบร้อยแล้ว
3. สามารถหาลูกค้ารายใหม่ๆ ได้มากขึ้นอย่างรวดเร็ว
4. ช่วยสร้างภาพลักษณ์และชื่อเสี่ยงที่ดีให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น
5. สามารถน าวิธีการให้บริการหลังการขายมาสร้างเป็นจุดขาย เพื่อ
กระตุ้นให้ลูกค้าเกิดการตัดสินใจซื้อจนท าให้มียอดขายที่มากกว่า
คู่แข่งขัน
9
• การจัดการกับค าว่าร้องเรียน
การต่อว่าของลูกค้าเป็นการโต้แย้งอย่างหนึ่ง หากเกิดขึ้นภายหลังจากที่
ลูกค้าตัดสินใจซื้อและได้ใช้สินค้าโดยไม่ได้รับความพึงพอใจ จึงมีการ
ต่อว่า ต าหนิ และต้องการให้แก้ไขได้ การจัดการกับค าต่อว่าของลูกค้า
ถือเป็นการบริการภายหลังการขายที่พึงกระท า ค าบ่นว่าหรือต าหนิของ
ลูกค้าหากไม่ได้รับการตอบสนองจากกิจการ จะโดยการละเลยหรือเฉย
เมยหรือตอบสนองไม่ถูกต้อง ไม่ได้แก้ไขปัญหาที่ท าใหเกิดการต่อว่า
กิจการอาจจะสูญเสียลูกค้ารายนั้นตลอดไป สาเหตุที่จะท าให้เกิดการต่อ
ว่าของลูกค้า อาจเกิดจากเหตุผลข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
1. สินค้าคุณภาพไม่ดี
2. สินค้าถูกน าไปใช้ไม่ถูกต้องหรือน าไปใช้งานผิด
3. กิจการไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขหรือข้อเสนอในการขาย
4. ลูกค้าคาดหวังสูงเกินไป
ค
อ้างอิง
หนังสือเรียนหมวดวิชาทักษะวิชาชีพ หลักการขาย
สมาชิก
นาวสาว ธิดารัตน์ แม่นหมาย เลขที่ 17 ปวส.1/5
นาวสาว นิษฐา ปลื้มจิตต์ เลขที่ 23 ปวส.1/5
นางสาว รุ่งธิยา ค าเลิศ เลขที่ 31 ปวส.1/5
น าเสอ
อาจารย์ วงเดือน พูลสวัสดิ์