สมัยรัตนโกสินทร์
ตอนปลาย
การเมืองการ
ปกครอง
1. สมัยรัชกาลที่ 7 ทรงตั้งที่ปรึกษาราชการแผ่นดินขึ้น 5 สภา
1) อภิรัฐมนตรีสภา
2) องคมนตรีสภา
3) เสนาบดีสภา
4) สภาป้องกันพระราช
อาณาจักร
5) สภาการคลัง มีหน้าตรวจตรา
งบประมาณแผ่นดิน และรักษา
ผลประโยชน์การเงินของประเทศ
1) การปกครองส่วนกลาง การเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย
2) การปกครองส่วนภูมิภาค สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
1) คนรุ่นใหม่ที่ได้รับการศึกษาจากประเทศตะวันตก ได้รับอิทธิพลของลัทธิเสรีนิยม
การปกครอง และแบบแผนประชาธิปไตยของตะวันตก จึงต้องการนำมาปรับปรุงประเทศชาติ
2) เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ รัฐบาลไม่สามารถแก้ไขได้
3) ประเทศญี่ปุ่นและจีนได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว ทำให้ประชาชนต้องการ
เห็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยภายในบ้านเมืองเร็วขึ้น
4) เกิดความขัดแย้งระหว่างพระราชวงศ์กับกลุ่มที่จะทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองซึ่งไม่
พอใจที่พระราชวงศ์ชั้นสูงมีอำนาจและดำรงตำแหน่งเหนือกว่าทั้งในราชการฝ่ายทหารและ
พลเรือน ทำให้กลุ่มผู้จะทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองไม่มีโอกาสมีส่วนร่วมในการ
แก้ไขปรับปรุงบ้านเมือง
5) พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่อาจทรงใช้อำนาจสิทธิ์ขาดในการปกครอง
ทำให้ผู้ที่จะเปลี่ยนแปลงการปกครองรู้สึกว่าพระองค์ตกอยู่ใต้อำนาจอิทธิพลขอพระ
ราชวงศ์ชั้นสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพระบรมวงศานุวงศ์ได้ยับยั้งพระราชดำริที่จะ
พระราชทานรัฐธรรมนูญ ก็ทำให้เกิดความไม่พอใจพระบรมวงศานุวงศ์และการปกครอง
ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เพิ่มขึ้น
คณะราษฎรผู้เปลี่ยนแปลงการปกครอง “คณะราษฎร” เป็นชื่อที่คณะผู้ก่อการปฏิวัติเรียกตนเอง ประกอบด้วย
1) ฝ่ายทหาร
2) ฝ่ายพลเรือน
นโยบายของคณะราษฎร ได้แก่ หลัก 6 ประการ ซึ่งประกอบด้วย
1) จะต้องรักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย เช่น เอกราชในทางการเมือง ในทางการศาล ในทางเศรษฐกิจ ฯลฯ ของ
ประเทศไว้ให้มั่นคง
2) จะต้องรักษาความปลอดภัยในประเทศให้การประทุษร้ายต่อกันลดน้อยลงให้มากและสร้างความสามัคคี
3) จะต้องบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรให้ทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะหางานให้ราษฎรทุกคนทำ จะวาง
โครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดยาก
4) จะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน หมายถึง สิทธิเสมอกันทางกฎหมาย จึงได้มีการยกเลิกบรรดาศักดิ์แต่นั้นมา
5) จะต้องให้ราษฎรได้มีเสรีภาพ มีความเป็นอิสระ เมื่อเสรีภาพนี้ไม่ขัดต่อหลัก 4 ประการดังกล่าวข้างต้น
6) จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร เพราะการปกครองระบอบประชาธิปไตยจะดำเนินไปอย่างราบรื่นก็ต่อเมื่อ
ราษฎรได้รับการศึกษาในระดับดี
การพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัฐธรรมนูญ ทรงได้พระราชบัญญัติธรรมนูญการ
ปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราวในวัน
ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ.2475 ซึ่งเป็น
รัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทย
รัฐสภา
รัฐสภาประกอบด้วยวุฒิสภาและสภา
ผู้แทนราษฎร
ระบบกฎหมายและการศาล
กฎหมาย สมัยรัชกาลที่ 7 ได้มีการร่างกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ประกาศใช้
พ.ศ.2478 การปฏิรูปกฎหมายได้ดำเนินการมาเรื่อยๆ จนกระทั่งเป็นที่ยอมรับของต่าง
ชาติ ใน พ.ศ.2481 ไทยสามารถยกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขตได้อย่างเด็ดขาดและ
ได้เอกสิทธิ์ทางการศาลอย่างสมบูรณ์ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
อานันทมหิดล
การศาล ใน พ.ศ.2478 สมัยรัชกาลที่ 7 ได้มีการประกาศใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม
แบ่งศาลออกเป็น 3 ชั้น คือ
1. ศาลชั้นต้น มีศาลแพ่ง ศาลอาญา ศาลจังหวัด ศาลแขวง ศาลคดีและเยาวชน
2. ศาลอุทธรณ์ พิจารณาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งมาจากศาลชั้นต้น
3. ศาลฎีกา พิจารณาคดีที่ฎีกาคำพิพากษาหรือคำสั่งมาจากศาลอุทธรณ์ ในชั้นนี้คำพิพากษา
หรือคำสั่งถือเป็นที่สุด
เศรษฐกิจ เน้นให้ราษฎรใช้แรงงานเพื่อให้เกิด
ประโยชน์แก่บ้านเมือง มีการดึงปัจจัย
การผลิต 3 ประการ ที่ดิน ทุน และ
แรงงาน มาใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่
การศึกษา วรรณกรรม การศึกษา ในต้นรัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระ
ศิลปกรรม ขนบธรรมเนียม ปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเห็นความสำคัญของการ
ศึกษาของประชาชน โปรดเกล้าฯ ให้ยกเลิกการ
ประเพณีไทย เก็บเงินศึกษาพลี โดยให้กระทรวงพระคลังมหา
สมบัติจ่ายแทน เนื่องจากระยะนั้นเศรษฐกิจตกต่ำ
ขนบธรรมเนียมประเพณี ประชาชนจำนวนมากไม่อาจเสียเงินศึกษาพลีได้
การยกเลิกพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา เมื่อ พ.ศ.2475 ศิลปกรรม ศิลปกรรมสมัยรัชกาลที่
ตราพระราชบัญญัติกำหนดเครื่องแบบการแต่งกายข้าราชการให้ 7 ถึงรัชกาลปัจจุบัน นอกจากจะมี
เป็นไปตามแบบสากล เมื่อ พ.ศ.2478 เปลี่ยนชื่อประเทศจาก ลักษณะเป็นแบบศิลปะไทยแล้ว ยัง
สยามมาเป็นไทย ตั้งแต่วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 และให้ ได้ผสมผสานกับศิลปะตะวันตกอีก
ใช้คำว่า “ไทย” แก่ประชาชนและสัญชาติด้วย เปลี่ยนวันขึ้นปี ด้วย ซึ่งจะเห็นได้อย่างเด่นชัดใน
ใหม่จากวันที่ 1 เมษายน มาเป็นวันที่ 1 มกราคม ตั้งแต่ งานด้านสถาปัตยกรรม
พ.ศ.2484 เพื่อให้เป็นไปตามแบบสากลและในปีเดียวกัน
การต่างประเทศ 2. ความสัมพันธ์ของประเทศไทยกับนานประเทศ
1.ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศไทยมีความสัมพันธ์
1. ประเทศไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2 กับประเทศใกล้เคียงอย่างแน่นแฟ้นโดยเฉพาะประเทศที่มีการ
สาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ปกครองระบอบประชาธิปไตย และมีระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม
ดังนี้ 2. ความสัมพันธกับกลุ่มประเทศตะวันตก ประเทศไทยมีความ
1) สนธิสัญญาแวร์ซายส์ สัมพันธ์กับกลุ่มประเทศตะวันตกหลายด้าน เช่น โครงการร่วมมือ
2) ปัญหาเศรษฐกิจ หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ทางด้านวิชาการ เพื่อการพัฒนาประเทศ และเพื่อเผยแพร่
3) ความไม่ร่วมมือกันของประเทศมหาอำนาจ วัฒนธรรม
4) ความแตกต่างของลัทธิการปกครอง 3 ความสัมพันธ์กับกลุ่มประเทศสังคมนิยม ประเทศไทยมีความ
5) ความล้มเหลวของสันนิบาตชาติ สัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับประเทศสังคมนิยมไม่มากนักที่มาติดต่อ
ค้าขายกันในระยะหลังเท่านั้น แต่ปัจจุบันประเทศไทยสนใจที่จะ
ให้มีความร่วมมือในด้านวิทยาการต่างๆ กับประเทศสังคมนิยมมาก
ขึ้น เช่น ได้มีข้อตกลงร่วมกับประเทศโรมาเนีย
thank you