The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 2 วิวัฒนาการการเมืองของไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Keeratikan Mayuwang, 2019-11-16 09:58:25

หน่วยที่ 2 วิวัฒนาการการเมืองการปกครองของไทย

หน่วยที่ 2 วิวัฒนาการการเมืองของไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2

ววิ ฒั นาการการเมืองการปกครองของไทย
จากอดตี สู่ปัจจุบนั

ห้องเห้องเรียนพลเมืองประชาธิปไตย
ครูกีระตกิ าญน์ มาอย่วู งั

การปกครองในสมยั สุโขทยั

อาณาจกั รสุโขทยั ได้ต้งั ตวั เป็ นอสิ ระในสมัยพ่อขุนศรีอนิ ทรา
ทติ ย์ และเมื่อพ่อขุนรามคาแหงมหาราชขนึ้ ครองราชย์ ทรงปกครอง
ดูแลราษฎรอย่างใกล้ชิดเสมือนพ่อปกครองลกู หรือแบบปิ ตุราช ทรงทานุ
บารุงและรักษาความสงบเรียบร้อย ตดั สินข้อพพิ าทและลงโทษผู้กระทา
ความผดิ รวมท้งั อบรมสั่งสอน ศีลธรรมอนั ดเี สมือนพ่อที่คอยอบรม
ดูแลลูก และขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวาง

รูปแบบการปกครอง

• แบ่งเขตการปกครองออกเป็ นราชธานีกบั หัวเมืองต่างๆ ใน
ลกั ษณะกระจายอานาจ ได้แก่ หัวเมืองช้ันใน หัวเมืองช้ันนอก
และเมืองประเทศราช
• เม่ือสิ้นรัชสมยั พ่อขุนรามคาแหงไปแล้ว กรุงสุโขทยั มกี าร
ปกครองแบบธรรมราชา และเทวราชา กษตั ริย์พระองค์ต่อๆ
มาทรงห่างเหินจากราษฎรและนาไปสู่การเสื่อมอานาจของ
อาณาจกั ร ในทสี่ ุดกอ็ ยู่ภายใต้การปกครองสมัยอยธุ ยา

การปกครองในสมยั อยธุ ยา

สมัยอาณาจกั รอยุธยาตอนต้นมีการปกครองแบบเดยี วกบั
สุโขทยั แต่หลงั จากทไ่ี ทยสามารถตนี ครธมของขอมได้แล้ว ได้
กวาดต้อนขุนนางและประชาชนชาวเขมรทเี่ คยอยู่ภายใต้การ
ปกครองแบบเทวราชาเข้ามาในอยุธยาจานวนมาก ขุนนางและ
ประชาชนเหล่านีไ้ ด้เอาแนวความคดิ การปกครองของเขมรที่
ได้รับอทิ ธิพลส่วนหน่ึงจากลทั ธิพราหมณ์มาใช้ในกรุงศรีอยุธยา
คือ แบบเทวราชา

• การปกครองแบบเทวราชาถือว่าพระมหากษตั ริย์เป็ นเสมือนเจ้า
ชีวติ เป็ นผู้มีอานาจเดด็ ขาดสามารถกาหนดชะตาชีวติ จะขดั ขืน
ไม่ได้ และถือว่าพระมหากษตั ริย์ทรงได้รับเทวโองการเป็ นอานาจ
ในการปกครองจากสวรรค์ ทรงเป็ นเสมือนเทพเจ้าองค์หนง่ึ หรือ
สมมุตเิ ทพ สถาบันกษตั ริย์ในสมยั อยธุ ยาจงึ ห่างเหินจาก
ประชาชนเป็ นอนั มาก ซ่ึงเรียกการปกครองแบบนีว้ ่า ระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ คือ พระมหากษตั ริย์มอี านาจเดด็ ขาด
สมบูรณ์แต่ผู้เดยี ว

การปกครองในสมยั ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ตอนต้น
• สมยั ธนบุรี เป็ นช่วงทม่ี รี ะยะส้ันๆ ยงั คงใช้การปกครอง
แบบเดยี วกบั อยธุ ยา พระมหากษตั ริย์ทรงเป็ นเสมือนเทพ
เจ้าหรือ สมมุตเิ ทพ ต่อเน่ืองมาจนถึงสมยั รัตนโกสินทร์
ตอนต้นต้งั แต่รัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้า
จุฬาโลก รัชกาลท่ี 1 จนถึงรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระน่ัง
เกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3

การปกครอง
ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

• รัชกาลท่ี 4 ชาตติ ะวนั ตกได้เข้ามาตดิ ต่อค้าขายกบั ไทย
เพมิ่ ขนึ้ และนารูปแบบวฒั นธรรมของตะวนั ตก ท้งั ในด้าน
การปกครอง กฎหมาย เทคโนโลยี เศรษฐกจิ แบบ
สมยั ใหม่มาเผยแพร่ในประเทศไทย

เหตุการณ์การเปลย่ี นแปลงทางการเมืองการปกครองของไทยในสมัย
รัชกาลท่ี 4

1. การวางรากฐานการปฏริ ูปทางวฒั นธรรม สมัยรัชกาลที่ 4 เป็ น
ยุคแห่งการล่าอาณานิคมของชาตติ ะวนั ตก ทาให้ประเทศเพ่ือน
บ้านของไทยต้องตกเป็ นอาณานิคมของประเทศองั กฤษกบั ฝรั่งเศส
ส่วนประเทศไทยเป็ นประเทศเดยี วท่มี ิได้ตกเป็ นอาณานิคมของ
ชาติใด เพื่อมิให้ประเทศมหาอานาจฝ่ ายใดฝ่ ายหน่งึ ถือเป็ นข้ออ้าง
ในการยดึ ครองประเทศไทย และเร่งพฒั นาประเทศให้มีความ
เจริญในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ท้งั ด้านภาษา วฒั นธรรม และ
สถานการณ์ต่างๆ อนั เป็ นพืน้ ฐานในการเจรจากบั ต่างประเทศดี
ขนึ้

2. แนวความคดิ ในการพฒั นาการปกครอง
- การศึกษาภาษาต่างประเทศ ทรงศึกษาภาษาต่างประเทศ

และส่งเสริมให้ข้าราชการได้ศึกษาหาความรู้ เพ่ือไม่ให้เสียเปรียบ
ชาวต่างประเทศ

- การบริหารราชการแผ่นดนิ ทรงจ้างผู้เช่ียวชาญ
ต่างประเทศมาช่วยราชการด้านต่างๆ เช่น ครูฝึ กทหาร ครูสอน
ภาษาองั กฤษ ผู้จดั การท่าเรือ ผู้อานวยการศุลกากร เพื่อพฒั นา
ประเทศให้มีความเจริญในด้านต่างๆ

การปกครอง
ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
• รัชกาลท่ี 5 ทรงดาเนินการปฏิรูปการปกครอง เพราะทรงเห็น
ว่าเป็ นหนทางหนึง่ ทจี่ ะรักษาเอกราชของบ้านเมืองไว้ได้ในช่วง
การขยายลทั ธิจกั รวรรดนิ ิยมของชาตติ ะวนั ตก การปรับปรุงการ
ปกครองให้ทนั สมัยทาให้ชาติตะวนั ตกเห็นว่าประเทศไทยเป็ น
ประเทศทเี่ จริญแล้ว สามารถปกครองและพฒั นาบ้านเมืองได้
เศรษฐกจิ ดี ประชาชนมคี วามเป็ นอยู่ดี พร้อมกบั เปลย่ี นแปลง
วธิ ีการปฏบิ ตั บิ างอย่าง เช่น ให้ข้าราชการสวมเสื้อเวลาเข้าเฝ้า

• ใน พ.ศ.2417 พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่
5 ทรงแต่งต้งั สภาทีป่ รึกษาราชการแผ่นดนิ (สมาชิกประกอบด้วย
ขุนนางช้ันผู้ใหญ่ทมี่ ีบรรดาศักด์ชิ ้ันเจ้าพระยาท้งั สิ้น) ทาหน้าที่
ถวายคาปรึกษาเรื่องเกย่ี วกบั พระราชกาหนด กฎหมายต่างๆ คล้าย
กบั รัฐสภาในปัจจุบนั

ต่อมาได้เปลยี่ นเป็ นรัฐมนตรีสภา ประกอบด้วยเสนาบดี
หรือผู้แทนกบั ผู้ทโ่ี ปรดเกล้าแต่งต้งั รวมกนั ไม่น้อยกว่า 12 คน
เพื่อให้เป็ นท่ปี รึกษาและคอยทัดทานอานาจพระมหากษตั ริย์ แต่
การปฏบิ ตั หิ น้าทไี่ ม่ทรงบรรลวุ ตั ถุประสงค์ทต่ี ้งั ไว้ เพราะสมาชิก
ส่ วนใหญ่ไม่ กล้าโต้แย้งพระราชดาริ

แนวคดิ ในการปฏิรูปการปกครองของ
พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

1. การรวมอานาจเข้าสู่ส่วนกลางมากขนึ้ เพอื่ มิใหช้ าติตะวนั ตก
อา้ งเอาดินแดนไปยดึ ครอง

2. การศาลและกฎหมายท่ีมมี าตรฐาน ทรงมีพระราชดาริที่จะ
ปรับปรุงการศาลยตุ ิธรรมและกฎหมายไทยใหเ้ ป็นสากลมาก
ข้ึน

3. การพฒั นาประเทศ เช่น การสร้างถนน ขดุ คูคลอง ประปา
ไฟฟ้า ไปรษณีย์ โทรเลข รถไฟ เป็นตน้

การจัดระเบยี บการปกครองในสมยั รัชกาลที่ 5

1.การปกครองส่วนกลาง คือ ทรงยกเลกิ ตาแหน่งอคั รเสนาบดี ท้งั 2
ตาแหน่ง ได้แก่ สมุหกลาโหม และสมุหนายก รวมท้งั จตุสดมภ์ โดย
แบ่งการบริหารราชการออกเป็ นกระทรวงตามแบบอารยประเทศ มี 12
กระทรวง
2.การปกครองส่วนภูมภิ าค เพ่ือจัดการปกครองเป็ นมณฑล เมือง อาเภอ
ตาบล และหมู่บ้าน
3.การปกครองส่วนท้องถนิ่ ทรงจัดให้มีการบริหารราชการส่วนท้องถ่นิ
ในรูปสุขาภบิ าล ซึ่งมีหน้าทคี่ ล้ายเทศบาล

การสร้างพืน้ ฐานระบอบประชาธิปไตย

1. การเลกิ ทาส เริ่มใน พ.ศ.2417 ทรงใช้วธิ ีการแบบค่อยเป็ น
ค่อยไป จนกระทงั่ สาเร็จใน พ.ศ.2451

2. การสนับสนุนการศึกษา ทรงจดั ต้งั โรงเรียนหลวงสาหรับ
ราษฎรแห่งแรก ได้แก่ โรงเรียนวดั มหรรณพาราม

3. การปฏริ ูปการปกครอง ทรงเปิ ดโอกาสให้ข้าราชการมีส่วน
รับผดิ ชอบในการบริหารมากขนึ้ ทรงสนับสนุนการปกครอง
ท้องถ่ิน



ความเป็ นมา

ภายหลงั การปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลท่ี 5 ได้มีกระแสความคิดที่จะให้
ประเทศไทยเปลยี่ นรูปแบบการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็ นระบอบ
การปกครองทม่ี รี ัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมายสูงสุดของประเทศ

สาเหตุ

ได้รับอทิ ธิพลทางด้านความคดิ แบบประชาธิปไตยจากตะวนั ตก
ได้รับอทิ ธิพลจากการเปลยี่ นแปลงการปกครองของประเทศต่างๆในเอเชีย
ขณะน้ัน เช่น ญี่ป่ ุน ตุรกี
เพ่ือต้องการให้ประเทศมีความเจริญก้าวหน้า เน่ืองจากระบอบการปกครองเดมิ
ล้าสมัย ต้องเปลย่ี นแปลงเพ่ือให้ทดั เทยี มกบั นานาอารยประเทศ

ประเทศกาลงั ประสบปัญหาทางด้านเศรษฐกจิ ทไี่ ด้รับผลกระทบมาจากสงครามโลกคร้ังท่ี 2

เหตุการณ์สาคญั

วันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ในสมัยรัชกาล ท่ี 7 คณะราษฎรได้ทาการยึดอานาจ
เปลยี่ นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็ นการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็ นประมุขของชาติ

• คณะราษฎรประกาศใชห้ ลกั 6 ประการ เพื่อการสร้างประเทศชาติให้เจริญกา้ วหน้า

หลกั เอกราช ทาประเทศใหม้ นั่ คง

หลกั ความสงบ รักษาความปลอดภยั ของประเทศ

หลกั เศรษฐกิจ บารุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎร

หลกั ความเสมอภาค ทุกคนมีสิทธิเสมอภาคเท่าเทียมกนั

หลกั เสรีภาพ มีความเป็ นอิสระตามกฎหมาย

หลกั การศึกษา ใหก้ ารศึกษาอยา่ งเตม็ ท่ีแก่ราษฎร

27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 รัชกาลที่ 7 ทรงลงพระ
ปรมาภิไธย พระราชบญั ญตั ิธรรมนูญการปกครอง
แผน่ ดินสยามชวั่ คราว พทุ ธศกั ราช 2475

10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 รัชกาลท่ี 7 ทรงพระราชทาน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รสยาม พทุ ธศกั ราช 2475 ซ่ึงเป็น
รัฐธรรมนูญฉบบั ถาวร ฉบบั แรกของไทย

ผลจากการเปลย่ี นแปลงการปกครอง

คณะราษฎรไดท้ าการยดึ อานาจการปกครองเป็นผลสาเร็จ
คณะราษฎรไดน้ าร่างรัฐธรรมนูญฉบบั แรกข้ึนทูลเกลา้ ฯ
เพอ่ื ทรงลงพระปรมาภิไธย
เปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยม์ าเป็ น
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข
สิ้นสุดพระราชอานาจของพระมหากษตั ริยใ์ นระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์



ความเป็ นมา

เกิดข้ึนภายหลงั จากรัฐบาล จอมพลถนอม กิตติขจร ไดท้ าการรัฐประหารยึดอานาจ
ของตนเอง (พ.ศ. 2514) โดยยกเลิกรัฐธรรมนูญ และหนั ไปใชอ้ านาจเผดจ็ การในการปกครอง
ประเทศ นามาซ่ึงความไม่พอใจและกระแสการต่อตา้ นรัฐบาล

สาเหตุ

เกิดกระแสตอ่ ตา้ นรัฐบาล จอมพล ถนอม กิตติขจร ท่ีทาการรัฐประหารยดึ อานาจ
ของตนเอง มีการยกเลิกรัฐธรรมนูญ และปกครองประเทศดว้ ยเผดจ็ การ

ไดม้ ีการรวมตวั ของกลุ่มนิสิต นกั ศึกษา อาจารยแ์ ละประชาชน จานวน 13 คน
เพอื่ ประกาศเรียกร้องรัฐธรรมนูญ

กลุม่ นิสิต นกั ศึกษา อาจารยแ์ ละประชาชน จานวน 13 ถูกจบั กมุ และถูกต้งั ขอ้ หาวา่
เป็นกบฏ ทาใหก้ ระแสความไม่พอใจรัฐบาลเพิ่มมากข้ึน

การชุมนุมขยายตวั ออกไปอยา่ งกวา้ งขวาง จนนาไปสู่การปราบปรามท่ีรุนแรง

เหตุการณ์สาคญั

6 ตุลาคม • กลุ่มเรียกร้องรัฐธรรมนูญเดินแจกใบปลิว เพือ่ เรียกร้องรัฐธรรมนูญ
2516 มีผถู้ ูกจบั กมุ 13 คน ในขอ้ หากบฏ ชกั ชวนใหม้ ีการชุมนุมทางการเมือง

12 ตุลาคม • ศูนยก์ ลางนิสิตนกั ศึกษาแห่งประเทศไทยออกประกาศเรียกร้อง
2516 ใหป้ ล่อยตวั ผถู้ ูกจบั กมุ ท้งั 13 คน

13 ตุลาคม • นิสิต นกั ศึกษาและประชาชน กวา่ 5 แสนคน เดินขบวนสู่อนุสาวรีย์
2516 ประชาธิปไตย

• เกิดการปะทะกนั ระหวา่ งทหารกบั นิสิต นกั ศึกษา และประชาชน
14 ตุลาคม มีการบาดเจบ็ และเสียชีวติ เป็ นจานวนมาก ทาใหจ้ อมพลถนอม กิตติขจร

2516 ลาออกจากตาแหน่งนายกรัฐมนตรี

ผลของเหตุการณ์

เจหาเตตกหาุกตตแาาุกหรแานณหร่งณน์ น1์่ง41านย4ตกาตุลยรุลาัฐกาคมรคมันฐมมตพพนร.ี.แศศตล..ระ22ีแเ55ดล11ินะ66เทสดสาิ้ินนิ้นงอสทสอุดาุดกงลลอนงงเออมเมกก่ือื่อปนจจรออะอมกเมพทปพลศรถละนเถทอนศมอมกิตกติติขตจิขรจลราอลอากอจอากก

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดม้ ีพระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ แต่งต้งั นายสญั ญา

พรธะรบรมาศทกัสดม์ิ เอดธจ็ ิกพาระบเดจีมา้ อหยาหวู่ ทิ วั ยไาดลม้ ยั ีพธรระมบศรามสรตารช์ ดโาอรงงกตารแโหปนร่งดนเากยลกา้รฯัฐมนตรี
แตง่ ต้งั นายสัญญา ธรรมศกั ด์ิ อธิการบดีมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
ดามรีกงาตราเสแหนอนร่ง่านงรายัฐกธรรรัฐมมนนูญตแรหี ่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2517
มีกทาารใเสหนป้ รอะรช่าางชรนัฐธเกริดรคมวนามูญตแ่ืนหต่งวั รทาาชงอกาาณรเมาจือกังรไทย พ.ศ. 2517
ทาใหป้ ระชาชนเกิดความตื่นตวั ทางการเมือง

มีการจดั ต้งั กลุ่มร่วมรณรงคเ์ รียกร้องสิทธิของตน กลุ่มผลประโยชน์ เป็นตน้

มีการจดั ต้งั กลุ่มร่วมรณรงคเ์ รียกร้องสิทธิของตน กลุ่มผลประโยชน์ เป็นตน้



ความเป็ นมา

เหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 เป็ นผลสืบเนื่องจากการต่ืนตวั ทางการเมือง
ของกลุ่มนักศึกษา ประชาชน ชาวไร่ชาวนา โดยสังคมไทยมีบรรยากาศของความเป็ น
ประชาธิปไตยสูง มีการแข่งขนั ทางการเมืองระหวา่ งพรรคการเมืองถึง 22 พรรค โดยแต่
ละพรรคจะไดร้ ับการสนบั สนุนจากกลุม่ ทุนที่เจริญกา้ วหนา้

สาเหตุ

จอมพลถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรีที่เดินทางออกนอกประเทศจากเหตุการณ์
14 ตุลาคม 2516 ไดเ้ ดินทางกลบั ประเทศไทย
กลุ่มนกั ศึกษาและประชาชนต่อตา้ นการกลบั มาของจอมพลถนอม กิตติขจร

กลุ่มนกั ศึกษาและประชาชนเรียกร้องประชาธิปไตยดว้ ยการชุมนุมประทว้ ง
เกิดการแบ่งแยกประชาชนออกเป็นฝ่ ายซา้ ย-ฝ่ายขวา โดยฝ่ ายนกั ศึกษาถกู โจมตีวา่ เป็น
ฝ่ ายซา้ ยฝักใฝ่ ลทั ธิคอมมิวนิสต์
นาไปสู่การสลายการชุมนุมในมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์และบริเวณ
ทอ้ งสนามหลวงในตอนเชา้ ของวนั ที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519

เหตุการณ์สาคญั

19 กนั ยายน 2519 29 กนั ยายน 2519
จอมพล ถนอม กิตติขจร ท่ี
ผนวชเป็ นสามเณรเดินทาง ศนู ยก์ ลางนิสิตนกั ศกึ ษาแห่ง 5 ตุลาคม 2519 6 ตุลาคม 2519
กลบั ประเทศไทย ประเทศไทยและกลุ่มพลงั นกั ศึกษาเริ่มเคล่ือนขบวนมา เจา้ หนา้ ท่ีตารวจทาการ
ต่างๆ ชุมนุมกนั ที่ทอ้ ง สู่มหาวทิ ยาลยั ปราบปรามประชาชนใน
สนามหลวง เพอ่ื ขบั ไล่ จอม ธรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ทา
พล ถนอม ออกนอกประเทศ ใหม้ ีผบู้ าดเจบ็ ลม้ ตายเป็น
จานวนมาก

ผลของเหตุการณ์

ทหารทารัฐประหาร ประกาศใชร้ ัฐธรรมนูญ รัฐบาลมีนโยบาย
ในนามของ แห่งราชอาณาจกั รไทย ต่อตา้ นคอมมิวนิสต์
อยา่ งเขม้ งวด ทาให้
“คณะปฏิรูปการ พทุ ธศกั ราช 2519 นิสิต นกั ศึกษาส่วน
ปกครองแผน่ ดิน” (ฉบบั ท่ี 11) หน่ึงตอ้ งหลบหนีเขา้
โดยมี พลเรือเอก สงดั ป่ าเพ่อื หลบหนีการ
ชะลออยู่ เป็นหวั หนา้
ปราบปราม
คณะ

คณะปฏิวตั ิชุด รัฐบาลออก รัฐบาลประกาศ สถานการณ์ทาง
เดิมทาการ กฎหมายนิรโทษ นโยบายหลกั การเมืองคล่ีคลาย
รัฐประหาร กรรมกลุม่ นิสิต การเมืองนา
ประกาศใช้ นกั ศึกษาที่หนี การทหาร สมาชิกพรรค
รัฐธรรมนูญแห่ง คอมมิวนิสตแ์ ห่ง
ราชอาณาจกั ร เขา้ ป่ า ประเทศไทยยตุ ิ
ไทย พทุ ธศกั ราช
การต่อสู้กบั
2521 รัฐบาล



ความเป็ นมา

ภายใตก้ ารบริหารประเทศของพลเอกชาติชาย ชุณหะวณั ไดถ้ ูกคณะนายทหาร
ซ่ึงเรียกตนเองวา่ “คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ” (รสช.) ทาการรัฐประหารยดึ
อานาจเม่ือวนั ท่ี 23 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2534 พร้อมท้งั ประกาศใช้ “ธรรมนูญการปกครอง
ราชอาณาจกั ร พทุ ธศกั ราช 2534”

สาเหตุ

การข้ึนดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ของ พล.อ. สุจินดา คราประยรู ท่ีไม่ไดม้ าจากการ
เลือกต้งั ทาใหเ้ กิดการชุมนุมประทว้ ง
การจดั ต้งั รัฐบาลมีการสืบทอดอานาจของคณะ รสช.

เหตุการณ์สาคญั

22 มนี าคม 2535

• มีการเลือกต้งั ทวั่ ไป
7 เมษายน 2535
• พล.อ.สุจินดา คราประยรู ข้ึนดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
20 เมษายน 2535
• ฝ่ ายคา้ นจดั อภิปรายคดั คา้ นที่มาของนายกรัฐมนตรีท่ีลานพระรูปทรงมา้

มีประชาชนเขา้ ร่วมจานวนมาก
4 พฤษภาคม 2535
• พล.ต. จาลอง ศรีเมือง อดขา้ วประทว้ ง เพือ่ เรียกร้องใหแ้ กร้ ัฐธรรมนูญ
17 พฤษภาคม 2535
• ประชาชนรวมตวั กนั ท่ีสนามหลวงเดินไปตามถนนราชดาเนิน

18-19 พฤษภาคม 2535
• รัฐบาลประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน และใชก้ าลงั ทหาร ตารวจปราบปราม

ผชู้ ุมนุม

20 พฤษภาคม 2535
• พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั โปรดเกลา้ ฯให้ พล.อ.สุจินดา และ พล.ต.จาลอง

เขา้ เฝ้าฯ

24 พฤษภาคม 2535
• พล.อ.สุจินดา ลาออกจากตาแหน่งนายกรัฐมนตรี

ผลของเหตุการณ์

พลเอก สุจินดา คราประยรู ลาออกจากตาแหน่งนายกรัฐมนตรี

เกิดความตื่นตวั ในหมู่ประชาชนเก่ียวกบั การปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย

ประชาชนตอ้ งการใหร้ ัฐสภาเป็นเวทีของการแสดงความคิดเห็นและเป็ น
ตวั แทนของประชาชนอยา่ งแทจ้ ริง
มีการผลกั ดนั ความคิดของคนในสงั คมใหม้ ีการปฏิรูปการเมืองการ
ปกครอง

ประชาชนมีส่วนร่วมในการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบบั พ.ศ.2540

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2540

มวี ตั ถุประสงค์หลกั คือ เพอ่ื ใชแ้ กไ้ ขปัญหาดา้ นการเมือง
การปกครองท่ีผา่ นมา ไดแ้ ก่

1. สิทธิหน้าที่และการมีส่วนร่วมของพลเมือง มีการเพ่มิ เร่ือง
สิทธิหนา้ ท่ีของประชาชนเป็นจานวนมาก เช่น สิทธิของผพู้ กิ าร
สิทธิเดก็ การมีส่วนร่วมทางการเมืองท้งั ระดบั ชาติและทอ้ งถ่ิน

2. การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ จดั ต้งั คณะกรรมการ
ป้องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ จดั ต้งั ผตู้ รวจการ
แผน่ ดิน และคณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดิน

3. สถาบันทางการเมือง รัฐธรรมนูญกาหนดใหม้ ี
คณะกรรมการการเลือกต้งั ดาเนินการจดั การเลือกต้งั และแยก
อานาจระหวา่ งฝ่ ายบริหารและฝ่ ายนิติบญั ญตั ิออกจากกนั เพื่อ
แกป้ ัญหาธุรกิจการเมือง

เม่ือกาหนดกรอบและจดั ทาร่างรัฐธรรมนูญเสร็จแลว้ กม็ ี
การเปิ ดรับความคิดเห็นของประชาชนและจดั ทาประชาพิจารณ์ข้ึน
ทว่ั ประเทศ ลงมติเห็นชอบ และประกาศใชเ้ ป็นรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทย เม่ือวนั ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ.2540 ซ่ึงเป็น
รัฐธรรมนูญที่มีความเป็นประชาธิปไตยมากที่สุดฉบบั หน่ึง



ความเป็ นมา

การปฏิรูปการเมืองการปกครองของไทยไดร้ ับการพิสูจน์ตาม
เจตนารมณ์แห่งรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 มาระยะหน่ึง จนกระทง่ั เกิด
ความขดั แยง้ ทางการเมืองข้ึนต้งั แต่ พ.ศ.2548 เป็นตน้ มามีการชุมนุม
ประทว้ งขบั ไล่รัฐบาล จนนาไปสู่เหตุการณ์ 19 กนั ยายนพ.ศ. 2549

สาเหตุ

พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน 1. รัฐบาลโดยนายกรัฐมนตรีไดก้ ่อใหเ้ กิดความขดั แยง้
และการแบ่งฝ่ าย ทาลายความสามคั คี
ผบู้ ญั ชาการทหารบก
2. รัฐบาลบริหารราชการส่อไปในทางทุจริต
ในขณะน้นั ใหเ้ หตุผล
ในการปฏิรูปการ
ปกครอง ดงั น้ี

3. รัฐบาลมีพฤติกรรมแทรกแซงการทางานและอานาจ
องคก์ รอิสระ

4. การดาเนินกิจกรรมทางการเมืองบางโอกาสของรัฐบาล
หม่ินเหม่ต่อการหม่ินพระบรมเดชานุภาพ

ผลของเหตุการณ์

ประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2540

ประกาศใชร้ ัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย
(ฉบบั ชว่ั คราว) พทุ ธศกั ราช 2549



สถานการณ์การเมืองไทยในปัจจุบัน

การเมืองของไทยยงั มีการทุจริตคอร์รัปชนั

มีการซ้ือสิทธิขายเสียงในช่วงของการเลือกต้งั
การมีส่วนร่วมทางการเมืองของ
ภาคประชาชนยงั มีนอ้ ย
เกิดความขดั แยง้ ทางการเมืองของกลุ่มต่างๆ
ขาดความต่อเนื่องในการพฒั นาประเทศ
เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง

แนวทางการเลือกรับข้อมูลข่าวสารเกยี่ วกบั การเมืองการปกครอง

ใชว้ จิ ารณญาณในการ เลือกรับขอ้ มูลขา่ วสาร รู้จกั วเิ คราะห์แยกแยะ
อ่านและการชมอยา่ งมี จากแหล่งขา่ วที่เช่ือถือ ขอ้ มูลขา่ วสารท่ี
เหตุผล ไม่เขา้ ขา้ งฝ่ าย ได้ ก่อใหเ้ กิดประโยชน์แก่
ใดฝ่ ายหน่ึง
ตนเองและผอู้ ื่นได้

ปัญหาการเมืองของไทย




Click to View FlipBook Version