The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 7 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและองค์กรตามรัฐธรรมนูญ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Keeratikan Mayuwang, 2019-11-24 21:15:31

หน่วยที่ 7 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และองค์กรตามรัฐธรรมนูญ

หน่วยที่ 7 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและองค์กรตามรัฐธรรมนูญ

หนว่ ยท่ี 6 รัฐธรรมนญู แหง่
ราชอาณาจกั รไทยและองคก์ ร

ตามรฐั ธรรมนญู

ห้องเรยี นพลเมอื งประชาธปิ ไตย
ครกู ีระตกิ าญน์ มาอยวู่ งั

ทีม่ าของข้อมลู https://www.facebook.com/bookthailocalmeet/photos/a.194435310746916/662713700585739/?type=3&theater
http://www.kruwandee.com/news-id34620.html

https://www.youtube.com/watch
?v=eKpOP-i0mUg

แนะนาใหไ้ ปชมคลปิ นีน้ ะคะเด็ก ๆ





บทเฉพาะกาล

ประเทศไทยมกี ารปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รง
เปน็ ประมุข

อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย

พระมหากษัตรยิ ์ผูท้ รงเปน็ ประมขุ ทรงใชอ้ านาจ
อธปิ ไตยทาง

รฐั สภา คณะรฐั มนตรี ศาล



ศักดิ์ศรคี วามเปน็ มนุษย์ สิทธิ เสรภี าพ
และความเสมอภาคของบุคคลย่อมไดร้ บั ความคุ้มครอง
ปวงชนชาวไทยยอ่ มได้รับความคุม้ ครองตามรัฐธรรมนญู นี้เสมอกนั

รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย มาตรา 4



หลักประกนั สิทธแิ ละเสรีภาพของปวงชนชาวไทย

 บคุ คลมีสิทธแิ ละเสรภี าพในชีวิต รา่ งกาย การนบั ถือศาสนา ความเป็นอยู่ส่วนตัว เกียรติยศ ช่ือเสียง ครอบครัว เคหสถาน การแสดงความคิดเห็นโด ยวิธีการต่าง ๆ การ
ติดตอ่ สื่อสารถึงกนั เสรีภาพในทางวชิ าการ การเดนิ ทางและการเลือกถ่ินที่อยู่ การประกอบอาชีพ การมีสิทธิในทรัพย์สินและการสืบมรดก การเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสาร
สาธารณะท่ีอยใู่ นความครอบครองของหน่วยงานของรัฐ การร้องทุกข์ การฟ้องหน่วยงานของรัฐ การรวมตัวกันในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ชุมชน สมาคม สหกรณ์ สหภาพ
สหพันธ์ ฯลฯ การอนุรกั ษ์ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม การอนุรกั ษ์และใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาติ การชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ และการ
จัดตัง้ พรรคการเมือง

 บุคคลผยู้ ากไรม้ ีสิทธิได้รบั บรกิ ารสาธารณสขุ จากรัฐโดยไมเ่ สียคา่ ใช้จา่ ยผูเ้ ป็นมารดายอ่ มมสี ทิ ธไิ ดร้ ับความช่วยเหลือจากรฐั ทงั้ ก่อนและหลังการคลอดบุตร ผู้มีอายุเกิน 60
ปี และไม่มรี ายได้เพยี งพอแกก่ ารดารงชพี และบคุ คลผู้ยากไรม้ สี ทิ ธไิ ดร้ ับความช่วยเหลอื จากรฐั

หลักประกันสิทธแิ ละเสรีภาพของปวงชนชาวไทย (ต่อ)

บุคคลซ่ึงประกอบวิชาชีพสื่อมวลชนย่อมมีเสรีภาพในการเสนอข่าวสาร หรือแสดงความคิดเห็น
ตามจรยิ ธรรมแหง่ การประกอบวชิ าชพี

ท้ังบุคคลและชุมชนมีสิทธิอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรม รวมทั้งอนุรักษ์
และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ มีสิทธิจัดระบบสวัสดิการชุมชน มีสิทธิเสนอความเห็น
ให้หน่วยงานของรัฐกระทาการหรือไม่กระทาการเพื่อประโยชน์ต่อประชาชนหรือชุมชนรวมทั้งมีสิทธิฟ้อง
หนว่ ยงานของรัฐ

บุคคลซึ่งเป็นผู้บริโภคมีสิทธิรวมกันจัดตั้งองค์กรของผู้บริโภคเพ่ือคุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิของผู้บริโภค
และองคก์ รเหลา่ นีส้ ามารถรวมกนั จัดตงั้ เปน็ องคก์ รใหญ่เพือ่ ใหเ้ กดิ พลังในการค้มุ ครองผ้บู รโิ ภคได้



ไม่กระทบกระเทอื นหรอื เปน็ อนั ตรายตอ่ ความม่ันคงของประเทศ
ไมก่ ระทบกระเทือนหรือเปน็ อนั ตรายต่อความสงบเรียบรอ้ ย
ของสงั คมและประชาชน
ไมล่ ะเมิดสิทธิหรอื เสรภี าพของบคุ คลอนื่



กฎหมายท่ตี ราข้นึ นั้นตอ้ ง เป็นไปตามเงอ่ื นไขที่รัฐธรรมนูญ ไมข่ ัดตอ่ หลักนิติธรรม
กาหนดไว้ ไมเ่ พม่ิ ภาระหรอื จากัดสิทธหิ รอื เสรีภาพ

ถ้าไมไ่ ด้กาหนดเงอื่ นไขไว้ ของบุคคลเกินสมควรแกเ่ หตุ
กฎหมายนน้ั ต้อง ไม่กระทบตอ่ ศักด์ศิ รคี วามเปน็ มนุษยข์ องบุคคล

ระบุเหตผุ ลความจาเปน็ ในการจากดั สิทธิไวด้ ้วย
มผี ลใชบ้ ังคับเปน็ การทว่ั ไป



1. 6.
2. 7.
3. 8.
4. 9.
5. 10.

1. พิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตย บูรณภาพแห่งอาณาเขตและเขตที่ประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย
ความมั่นคงแห่งชาติ และความสงบเรยี บร้อยของประชาชน

2. ดูแลใหม้ กี ารปฏิบัติตามและบังคับใชก้ ฎหมายอยา่ งเครง่ ครดั
3. จัดให้เด็กเล็ก (2 ขวบ จนถึงเข้าอนุบาล) ได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาชั้นอนุบาลเพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ

วนิ ัย อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญาใหส้ มวัย โดยไม่ต้องเสียคา่ ใชจ้ า่ ย การจดั ใหเ้ ด็กทุกคนเริ่มต้นในวัยที่จะพัฒนาได้เช่นน้ีจะ
ทาใหเ้ ด็กทกุ คนไม่วา่ จะยากดีมีจนอยใู่ นชนบทหรือในเมอื งจะมีโอกาสในการศกึ ษาได้อยา่ งเท่าทยี มกนั
4. จดั ให้เด็กได้รบั การศึกษาระดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาภาคบังคบั (อนบุ าล 1 ถงึ ม. 3 รวม 12 ป)ี
โดยไมเ่ กบ็ ค่าใช้จ่าย
5. การศกึ ษาโดยไมเ่ กบ็ คา่ ใช้จา่ ยนอกเหนอื จากที่กลา่ วขา้ งตน้ รฐั จะไม่เกบ็ คา่ ใช้จา่ ยทุกระดบั เพยี งใดกไ็ ด้
ไม่มีอะไรในรฐั ธรรมนญู หา้ มไว้

6. เม่ือจบการศึกษาภาคบังคับแล้ว รัฐต้องดาเนินการให้ประชาชนทุกคนได้รับการศึกษาตามความต้องการของแต่ละคนซึ่ง
มีความชอบหรอื ความถนดั แตกต่างกันไป ถ้ารฐั มีกาลังเงิน รัฐจะจดั โดยไม่เกบ็ คา่ ใช้จา่ ยกไ็ ด้ ถา้ รฐั ไม่สามารถจัดให้ทุกคนได้
โดยได้กาหนดใหร้ ฐั มีกองทนุ ชว่ ยสนบั สนนุ ค่าใช้จ่ายสาหรับผขู้ าดแคลน เพอ่ื ลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษาระหว่างผู้มีกับ
ผไู้ มม่ ีทนุ ทรพั ยด์ ว้ ยวิธนี ี้ทุกคนทป่ี ระสงคจ์ ะศึกษามโี อกาสเทา่ เทียมกัน

7. การศึกษาทุกระดับนั้น ต้องสอนผู้เรียนเป็นคนดี มีวินัยและภูมิใจในชาติ เพื่อให้ประชาชนชาวไทยมีความรับผิดชอบต่อ
ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ และมีความสามารถในการปรับตัวให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลงและความท้าทาย
ใหม่ ๆ ในอนาคตด้วย

8. รฐั ต้องดาเนนิ การให้ประชาชนไดร้ ับบริการสาธารณสขุ ท่ีมีประสทิ ธิภาพอย่างท่ัวถึง เสริมสร้างให้ประชาชนมีความรู้พ้ืนฐาน
เก่ียวกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค และส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาภูมิปัญญาด้านแพทย์แผนไทยให้เกิด
ประโยชนส์ ูงสดุ รวมทง้ั ตอ้ งพฒั นาการบริการสาธารณสุขให้มีคุณภาพและมีมาตรฐานสูงขนึ้ อย่างตอ่ เน่อื ง

9. รัฐต้องจัดหรือดาเนินการให้มีสาธารณูปโภคข้ันพ้ืนฐานท่ีจาเป็นต่อการดารงชีวิตของประชาชนอย่างท่ัวถึงตามหลักการพัฒนา
อย่างยั่งยืน และตอ้ งดูแลมิใหม้ กี ารเรยี กเกบ็ ค่าบรกิ ารจนเปน็ ภาระแก่ประชาชนเกินสมควร

10. รฐั ตอ้ งคุ้มครองและบารงุ รักษาทรพั ยากร ธรรมชาตสิ ิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพ โดยร่วมกับประชาชน ชุมชน
และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น เพือ่ ให้การดาเนินการดังกล่าวเกิดประโยชนอ์ ยา่ งย่ังยืน และต้องระมัดระวังให้เกิดผลกระทบต่อ
ประชาชน ชุมชน สงิ่ แวดลอ้ ม และความหลากหลายทางชีวภาพนอ้ ยทสี่ ดุ

11. รัฐต้องอนุกรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและจารีตประเพณีอันดีงามของท้องถ่ินและ
ของชาติ และต้องจัดให้มีพื้นที่สาธารณะสาหรับกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้อง รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชน ชุมมชน
และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ ไดใ้ ช้สิทธแิ ละมีส่วนร่วมในการดาเนินการดว้ ย

12. ถา้ การดาเนินการใด ๆ ของรฐั หรอื ท่ีรัฐจะอนญุ าตให้ผใู้ ดดาเนนิ การ อาจมีผลกระทบตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติคุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย
คณุ ภาพชีวติ หรอื สว่ นได้เสยี สาคัญอื่นใดของประชาชนหรือชุมชนหรือส่ิงแวดล้อมอย่างรุนแรง รัฐต้องดาเนินการให้มีการศึกษาและประเมินผล
กระทบต่อคณุ ภาพส่งิ แวดล้อมและสุขภาพของประชาชนหรือชุมชน (EHIA) และจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย รวมท้ังชุมชน
และประชาชนท่ีเกี่ยวข้องก่อน และต้องนามาประกอบการพิจารณาดาเนินการ หรืออนุญาตด้วย ถ้ามีผลกระทบเกิดขึ้น รัฐต้องเยียวยาความ
เดือดร้อนหรือความเสยี หายให้แกป่ ระชาชนหรือชุมชนทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบอย่างเปน็ ธรรม และโดยไม่ชักชา้

13. รัฐต้องเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะในความครอบครองของราชการท่ีมิใช่ข้อมูลเก่ียวกับความม่ันคงของรัฐ หรือเป็นความลับของทาง
ราชการตามทก่ี ฎหมายบญั ญัติ และต้องทาให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารท่ีว่านั้นได้โดยสะดวกเพื่อให้การปฏิบัติราชการมีควา ม
โปรง่ ใส ประชาชนตรวจสอบไดโ้ ดยตรง อนั จะเปน็ ประโยชนใ์ นการปอ้ งกนั และระงับยับยั้งการทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ

14. รัฐต้องรักษาไว้ซึ่งคลื่นความถ่ีและสิทธิในการเข้าใช้วงโคจรของดาวเทียมอันเป็นสมบัติของชาติ เพื่อใช้ให้เกิด ประโยชน์แก่ประเทศชาติและ
ประชาชน โดยการจัดให้มีการใช้ประโยชน์จากคลื่นความถ่ี ไม่ว่าจะใช้เพ่ือส่งวิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์ และโทรคมนาคม หรือเพ่ือ
ประโยชน์อนื่ ใด ต้องเปน็ ไปเพ่ือประโยชน์สูงสุดของประชาชน ความมั่นคงของรัฐ และประโยชน์สาธารณะ รวมตลอดทั้งการให้ประชาชนมีส่วน
ได้ใช้ประโยชน์ในการใชค้ ล่นื ความถี่นนั้ ด้วย

15. รัฐต้องจัดให้มีมาตรการหรือกลไกที่มีประสิทธิภาพในการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคและต้องส่งเสริมสนับสนุนให้มีการรวมตัวกันเพ่ือ
คุม้ ครองผู้บรโิ ภคเพราะประชาชนทกุ คนเป็นผบู้ รโิ ภค

16. ต้องรกั ษาวินยั การเงนิ การคลงั ตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลงั ของรัฐอย่างเคร่งครดั เพ่อื ใหฐ้ านะทางการเงินการคลังของรัฐมี
เสถยี รภาพและม่นั คงอย่างย่ังยืน ไมใ่ ชจ้ ่ายเงินงบประมาณสะเปะสะปะอยา่ งที่ผ่าน ๆ มา ไมส่ ร้างภาระรุงรังหนักหนาสาหสั แก่ลกู หลาน
ในอนาคต และมรี ะบบภาษที ี่เปน็ ธรรม

17. รัฐต้องใช้มาตรการและกลไกเพ่ือขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการทุกรูปแบบ และจัดให้มีมาตรการและกลไกท่ีมี
ประสิทธิภาพเพอื่ ป้องกันและขจดั การทุจริตและประพฤติมชิ อบดงั กล่าวอย่างเข้มงวด รวมท้ังกลไก ในการส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัว
กันเพอ่ื มีสว่ นรว่ มในการรณรงคใ์ หค้ วามรู้ ต่อตา้ น หรือชเี้ บาะแส โดยไดร้ บั การคมุ้ ครองจากรัฐตามท่กี ฎหมายบัญญัติ

แนวนโยบายแห่งรัฐ แผนยุทธศาสตร์ชาติ

เปน็ เปา้ หมายการพฒั นาประเทศอย่างยั่งยืน
ตามหลกั ธรรมาภิบาล

เปน็ ไปตามท่ีกฎหมายบัญญตั ิ และประชาชน
ทุกภาคสว่ นต้องมีสว่ นร่วมแสดงความคิดเห็น

วสิ ยั ทศั น์ของชาติ แผนยทุ ธศาสตร์
(vision) (Strategy Plan)

แนวนโยบายแห่งรัฐ

 ส่งเสริมสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศโดยถือหลักความเสมอภาคในการปฏิบัติต่อกัน และไม่แทรกแซงกิจการภายในของกันและ กัน
ให้ความร่วมมือกับองคก์ ารระหวา่ งประเทศ และค้มุ ครองผลประโยชนข์ องชาติและของคนไทยในต่างประเทศ

 จัดระบบการบริหารงานในกระบวนการยุติธรรมทุกด้านให้มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ และให้ประชาชนเข้าถึง
กระบวนการยตุ ธิ รรมได้โดยสะดวก รวดเรว็ และไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ ่ายสูงเกินสมควร

 มีมาตรการคุ้มครองเจ้าหน้าท่ีของรัฐในกระบวนการยุติธรรม ให้สามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้โดยเคร่งครัดปราศจากการแทรกแซง
หรือครอบงาใด ๆ

 ให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายที่จาเป็นและเหมาะสมแก่ผู้ยากไร้หรือผู้ด้อยโอกาสในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม และเยียวยาผู้
ได้รับความเสยี หายในคดอี าญาตามท่ีกฎหมายบญั ญัติ

แนวนโยบายแห่งรฐั (ต่อ)

 อปุ ถัมภ์และคุ้มครองพระพทุ ธศาสนาและศาสนาอื่น โดยในการอุปถัมภแ์ ละคมุ้ ครองพระพทุ ธศาสนาอันเปน็ ศาสนาท่ีประชาชนชาว
ไทยส่วนใหญ่นับถือมาช้านานน้ัน รัฐพึงส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาและการเผยแผ่หลักธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวา
เพ่ือให้เกิดการพัฒนาจิตใจและปัญญา และต้องมีมาตรการและกลไกในการป้องกันมิให้มีการบ่อนทาลายพระพุทธศาสนาในทุก
กรณี และพึงสง่ เสรมิ ใหพ้ ทุ ธศาสนกิ ชนมีส่วนร่วมในการดาเนินมาตรการ หรือกลไกป้องกันมิให้มีการบ่อนทาลายพระพุทธศาสนา
ดงั กล่าวดว้ ย

 จดั ให้มีและสง่ เสริมการวจิ ยั และพฒั นาศลิ ปวิทยาการใหเ้ กดิ ความรู้ การพฒั นาการ และนวัตกรรม เพ่ือความเข้มแขง็ ของสังคมและ
เสริมสรา้ งความสามารถของคนในชาติ

 ส่งเสริมและใหค้ วามคุม้ ครองชาวไทยกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ให้มีสิทธิดารงชีวิตในสังคมตามวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตดั้งเดิม
ตามความสมัครใจได้อย่างสงบสุขและไม่ถูกรบกวน แต่ต้องไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือ
เปน็ อันตรายต่อความมั่นคงของรัฐ หรือสุขภาพอนามัย

แนวนโยบายแหง่ รัฐ (ต่อ)

 ช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวอันเป็นองค์ประกอบพ้ืนฐานที่สาคัญของสังคม จัดให้มีที่อยู่อาศัยท่ีเหมาะสม ส่งเสริมและ
พัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพท่ีแข็งแรงและมีจิตใจเข้มแข็ง ส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาให้ไปสู่ความเป็นเลิศ
และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน รวมทง้ั พฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ให้เป็นพลเมอื งท่ดี ี มีคณุ ภาพและความสามารถสูงข้นึ

 ให้ความช่วยเหลือเด็ก เยาวชน สตรี ผ้สู ูงอายุ คนพิการ และผู้ยากไร้ ให้สามารถดารงชีวิตได้อย่างมคี ุณภาพคุ้มครองป้องกันมิให้บุคคล
ดงั กล่าวถูกใชค้ วามรนุ แรงหรือปฏบิ ัติอย่างไมเ่ ปน็ ธรรม และการให้บาบัด ฟืน้ ฟู และเยียวยาผถู้ ูกกระทาการดงั กล่าว

 จัดสรรงบประมาณอยา่ งเปน็ ธรรมโดยคานึงถงึ ความจาเป็นและความตอ้ งการทแ่ี ตกต่างกนั ของเพศ วยั และสภาพของบุคคล

 วางแผนการใช้ที่ดินของประเทศให้เหมาะสมกับสภาพของพื้นท่ีและศักยภาพของที่ดินตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืนและจัดให้มี
การวางผังเมืองทุกระดบั และบังคบั การใหเ้ ป็นไปตามผงั เมืองอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ รวมตลอดทง้ั พัฒนาเมืองใหม้ ีความเจริญโดยสอดคลอ้ ง
กับความตอ้ งการของประชาชนในพื้นท่ี

แนวนโยบายแห่งรัฐ (ตอ่ )

 มีมาตรการกระจายการถือครองทด่ี ินเพอื่ ใหป้ ระชาชนสามารถมีทด่ี ินทากนิ ได้อย่างทว่ั ถึงและเป็นธรรม
 จัดให้มีทรัพยากรน้าที่มีคุณภาพและเพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคของประชาชน รวมทั้งการประกอบเกษตรกรรม อุตสาหกรรม

และการอ่ืน
 จัดให้มีมาตรการหรือกลไกท่ีช่วยให้เกษตรกรประกอบเกษตรกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ผลผลิตที่มีปริมาณ และคุณภาพสูง

มีความปลอดภัย โดยใชต้ น้ ทุนตา่ และสามารถแข่งขนั ในตลาดได้ และชว่ ยเหลือเกษตรกรผู้ยากไร้ให้มที ่ีดินทากนิ โดยการปฏริ ปู ท่ดี ินหรอื
วิธอี ่นื ใดท่ีเหมาะสม
 ส่งเสรมิ ให้ประชาชนมคี วามสามารถในการทางานโดยเหมาะสมกับศกั ยภาพและวัย มีงานทา และพึงคุ้มครองผู้ใช้แรงงานให้ได้รับความ
ปลอดภยั และมสี ุขอนามยั ท่ดี ใี นการทางาน ได้รับรายได้ สวสั ดิการ และสทิ ธปิ ระโยชน์อื่นที่เหมาะสมแก่การดารงชีพและพึงจัดให้มีหรือ
ส่งเสริมการออมเพ่ือการดารงชีพเม่ือพ้นวัยทางานหรือยามชรานั่นเอง รวมทั้งจัดให้มีระบบแรงงานสัมพันธ์ท่ีทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องมีส่วน
รว่ มในการดาเนินการ

แนวนโยบายแห่งรัฐ (ตอ่ )

 จัดระบบเศรษฐกิจใหป้ ระชาชนมีโอกาสไดร้ บั ประโยชน์จากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไปพร้อมกันอย่างทั่วถึงเป็นธรรม และย่ังยืน
(Inclusive and sustainable growth) อนั เป็นแนวทางการพัฒนาที่เป็นสากล สามารถพ่ึงพาตนเองได้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงท่ีเป็นท่ียอมรับในระดับโลกแทนการมุ่งเน้นระบบเศรษฐกิจแบบการค้าเสรีที่มือใครยาวสาวได้สาวเอา มุ่งขจัดการผูกขาดทาง
เศรษฐกจิ ทไี่ มเ่ ปน็ ธรรม และพฒั นาความสามารถในการแข่งขนั ทางเศรษฐกจิ ของประชาชนและประเทศโดยรัฐต้องคานึงถึงความสมดุล
ระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับการพัฒนาด้านจิตใจและความอยู่เย็นเป็นสุข ของประชาชนประกอบกัน ไม่ใช่มุ่งพัฒนาความเจริญ
ทางวตั ถเุ ป็นหลักอยา่ งเชน่ ท่ีผ่าน ๆ มา

 ไม่ประกอบกิจการที่มีลักษณะเป็นการแข่งขันกับเอกชน เว้นแต่กรณีท่ีมีความจาเป็นเพื่อประโยชน์ในการรักษาความม่ันคงของรัฐ
การรักษาผลประโยชน์สว่ นรวม การจดั ใหม้ ีสาธารณปู โภค หรอื การจัดทาบรกิ ารสาธารณะ

 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ คมุ้ ครอง และสรา้ งเสถยี รภาพให้แก่ระบบสหกรณป์ ระเภทตา่ ง ๆ และกจิ การวสิ าหกิจขนาดย่อมและขนาดกลางของ
ประชาชนและชุมชน

แนวนโยบายแห่งรฐั (ตอ่ )

 พัฒนาระบบการบริหารราชการแผ่นดินท้ังราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถ่ิน และงานของรัฐอย่างอ่ืนให้เป็นไปตามหลักการ
บริหารกิจการบ้านเมืองทดี่ ี โดยหน่วยงานของรัฐต้องปฏิบัติหน้าท่ีร่วมกันเพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินการจัดทาบริการสาธารณะ
และการใช้จ่ายเงินงบประมาณมีประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน รวมทั้งพัฒนาเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีความซ่ือสัตย์
สจุ ริต และมที ัศนคติเปน็ ผู้ให้บรกิ ารประชาชนอยา่ งสะดวกรวดเร็วไม่เลือกปฏิบตั ิ และปฏบิ ัติหนา้ ที่ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ

 การบรหิ ารงานบคุ คลของหนว่ ยงานของรฐั ต้องเป็นไปตามระบบคณุ ธรรม และต้องมีมาตรการปอ้ งกนั มใิ ห้ผใู้ ดใช้อานาจหรือกระทาการ
โดยมิชอบที่เป็นการก้าวกา่ ยหรอื แทรกแซงการปฏิบัตหิ น้าท่ี หรือการแตง่ ตัง้ โยกยา้ ย หรือการพิจารณาความดีความชอบของเจ้าหน้าท่ี
รัฐ

แนวนโยบายแห่งรฐั (ตอ่ )

 จัดให้มีกฎหมายเพียงเท่าท่ีจาเป็น และยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมายที่หมดความจาเป็น หรือไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ หรือที่เป็น
อุปสรรคตอ่ การด ารงชวี ติ หรือการประกอบอาชีพทไ่ี มจ่ าเป็นโดยเร็ว เพื่อไมใ่ หเ้ ปน็ ภาระแกป่ ระชาชน ท้ังต้องจดั ให้มีระบบการวิเคราะห์
หรือตรวจสอบความจาเป็นท่ีจะต้องมีกฎหมายและมีระบบการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ กฎหมายทุกฉบับเป็นระยะ ๆ
เพอ่ื ใหก้ ฎหมายมกี ลไกหรอื มาตรการท่ีเหมาะสมกบั สถานการณ์ที่เปลยี่ นแปลงไปตลอดเวลา

 ส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเก่ียวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เปน็ ประมุข และมสี ่วนร่วมในการพฒั นาประเทศด้านตา่ ง ๆ การจดั ทาบริการสาธารณะทัง้ ในระดบั ชาตแิ ละระดับท้องถนิ่ การตรวจสอบ
การใชอ้ านาจรัฐ การต่อต้านการทจุ ริต และประพฤติมิชอบรวมตลอดทั้งการตัดสินใจทางการเมือง และการอื่นใดที่อาจมีผลกระทบต่อ
ประชาชนหรือชุมชน

สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)

แบบแบง่ เขต 350 คน
แบบบัญชรี ายชอื่ 150 คน
รวมทงั้ สิ้น 500 คน มวี าระ 4 ปี
เลือกตัง้ โดยตรงและโดยลับ
ใหผ้ ้มู อี ายุไมต่ า่ กวา่ 18 ปีในวันเลอื กตงั้ มสี ทิ ธเิ ลอื กต้ัง เป็นผมู้ สี ิทธเิ ลือกต้งั
มีสทิ ธิเลือกตง้ั เขา้ คหู ากาบตั รเดียว ไดท้ ้งั ส.ส. เขตและ ส.ส. บญั ชีรายชอื่

สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร (ส.ส.) (ต่อ)

 ที่ต้องให้มี ส.ส. บัญชีรายชื่อเพราะ ส.ส. เขตใช้ระบบใครได้คะแนนมากท่ีสุดเป็นผู้ได้รับเลือกตั้ง (First Past the Post) ดังน้ัน
คะแนนเสียงที่ผู้มีสิทธิเลือกต้ังได้ลงให้แก่ผู้ซึ่งไม่ได้รับเลือกต้ังอื่นทุกราย รวมทั้งคะแนนเสียงไม่เลือกใคร (Vote No) จึงไม่มี
ความหมาย ทงั้ ๆ ที่หลายกรณีนนั้ คะแนนของผู้ได้รับเลือกตั้งยังไม่ถึงกึ่งหน่ึงของจานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งด้วยซ้าไป และคะแนน
ของผซู้ ่งึ ไม่ได้รับเลือกต้ังทุกรายรวมกันแล้วกลบั มากกว่าคะแนนผู้ไดร้ บั เลือกตง้ั เสยี อกี ซง่ึ ไมเ่ ปน็ ธรรม

 เพ่อื แก้ไขปัญหาดังกลา่ ว รัฐธรรมนูญฉบับน้ีจึงกาหนดให้นาคะแนนเสียงทุกคะแนนท่ีมีการลงให้แก่ผู้สมัครรับเลือกต้ัง ส.ส. เขต
ทุกรายไปใช้ใน การคานวณจานวนผู้แทนราษฎรทั้งหมดท่ีแต่ละพรรคจะพึงมีโดยใช้วิธีบัญญัติไตรยางค์ธรรมดาหากพรรคใดได้
ส.ส.เขตเกนิ จากจานวน ส.ส. ท่ีจะพงึ มแี ล้ว ก็ให้ถือวา่ มี ส.ส. เท่าน้ัน

- ไมไ่ ด้รบั ส.ส. บัญชรี ายช่อื เพ่มิ อกี

- แต่ถ้าได้ ส.ส. เขต นอ้ ยกว่าจานวน ส.ส. ทพี่ งึ มีก็จะไดร้ บั ส.ส. บัญชรี ายชื่อเพ่ิมจนครบจานวน ส.ส. ท่พี ึงมี นอกจากน้ี ผู้สมัคร
ซึ่งจะไดร้ บั เลือกเปน็ ส.ส. เขต กต็ ้องไดค้ ะแนนมากกว่าจานวนคะแนนเสียงไม่เลือกใคร (Vote No) ด้วย ซึ่งสามารถแก้ปัญหาความ
ไม่เปน็ ธรรมที่เกิดขึน้ ได้

สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร (ส.ส.) (ตอ่ )

 ในระบบน้ี พรรคการเมืองต้องเฟ้นหาผู้สมัครท่ีดีที่สุดในแต่ละเขตเพราะมีผลกระทบต่อคะแนนรวมท่ีแต่ละพรรคจะได้รับจาก
การเลอื กตั้ง ไม่ใชท่ าแบบเดิม ๆ ว่าถ้าในเขตใดไม่มีการแข่งขันจะส่งใครไปลงก็ได้เหมือนกับที่พูดกันว่าส่งเสาโทรเลข ไปลงก็ยัง
ไดร้ บั เลือกตั้งอนั เป็นการดูหมิ่นประชาชนผู้มีสิทธิเลือกต้ัง ซึ่งน่าจะเป็นเหตุหนึ่งที่ทาให้ประชาชนเบ่ือการเมืองและการเลือกต้ัง
และขาดความเชอื่ มัน่ และความศรทั ธาในประชาธิปไตย

 การใช้บัตรใบเดียวในการเลือกต้ัง ทาให้เสียงทุกเสียงของประชาชนมีความหมาย ไม่ว่าจะไปลงคะแนนเสียง ให้ใครก็จะไม่สูญ
เปล่า เพราะจะถูกนาไปนับรวมเป็นคะแนนของพรรคที่ประชาชนลงคะแนน ให้ท้ังประเทศ แล้วนาไปคานวณ หาจานวนส.ส.
ท่ีแตล่ ะพรรคจะพึงมีเพื่อจดั สรร ส.ส. บญั ชรี ายชอ่ื ให้พรรคนัน้ คะแนนของประชาชนจึงมนี า้ หนกั มากขน้ึ ทง้ั ยังเป็นการสะดวกใน
การออกเสยี งลงคะแนน ไม่ทาใหเ้ กดิ บัตรเสียในความสบั สนของการกาบตั ร

บคุ คลดังต่อไปน้ตี อ้ งหา้ มมิใหใ้ ช้สทิ ธสิ มคั รรบั เลือกตั้งเปน็ ส.ส.

1. ติดยาเสพติดให้โทษ

6. อยู่ระหวา่ งถูกระงับสิทธิสมัครรบั เลอื กตงั้ ชว่ั คราวหรอื ถกู เพิกถอนสทิ ธิสมคั รรับเลอื กต้ังตามคาพพิ ากษาหรอื ตามคาวินจิ ฉยั
ของศาลรฐั ธรรมนูญ
2. เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจรติ

ๆ 7. ตอ้ งคาพิพากษาใหจ้ าคุกและถูกคมุ ขังอยโู่ ดยหมายของศาล

3. เปน็ เจา้ ของหรือผ้ถู ือห้นุ ในกจิ การหนงั สือพิมพห์ รือส่อื มวลชนใด ๆ
8. เคยได้รบั โทษจาคกุ โดยได้พ้นโทษมายงั ไม่ถึงสิบปีนบั ถงึ วนั เลอื กตง้ั เวน้ แตใ่ นความผิดอนั ไดก้ ระทาโดยประมาท
หรอื ความผิดลหุโทษ

4. เป็นบุคคลผู้มลี ักษณะต้องหา้ มมใิ หใ้ ชส้ ทิ ธเิ ลอื กต้งั

9. เคยถูกสง่ั ใหพ้ ้นจากราชการ หน่วยงานของรฐั หรือรัฐวิสาหกจิ เพราะทุจริตตอ่ หนา้ ท่ี หรอื ถอื ว่ากระทาการทุจรติ
หรอื ประพฤติ มิชอบในวงราชการ

5. อยใู่ นระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกต้ังไม่วา่ คดนี ั้นจะถงึ ท่สี ุดแล้วหรอื ไม่

บุคคลดังตอ่ ไปนี้ตอ้ งห้ามมิใหใ้ ชส้ ิทธสิ มคั รรบั เลือกตงั้ เป็น ส.ส. (ตอ่ )

10. เคยต้องคาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลอันถึงท่ีสุดให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ารวยผิดปกติหรือกระทาความผิด
ตามกฎหมายวา่ ด้วยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริต

13. เปน็ ข้าราชการซง่ึ มตี าแหนง่ หรอื เงินเดือนประจานอกจากขา้ ราชการการเมอื ง

11. เคยต้องคาพิพากษาอันถึงที่สุดว่ากระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ หรือต่อตาแหน่งหน้าท่ีในการยุติธรรม หรือ
กระทาความผิดตามกฎหมายว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ หรือความผิดเก่ียวกับทรัพย์ที่กระทา โดย
ทุจริตตามประมวลกฎหมายอาญา ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน กฎหมายว่าด้วย ยาเสพติด
ในฐานเป็นผู้ผลิตนาเข้า ส่งออก หรือผู้ค้ากฎหมายว่าด้วยการพนันในความผิดฐานเป็นเจ้ามือหรือเจ้าสานัก กฎหมายว่าด้วย
การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ หรอื กฎหมายว่าดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินในความผดิ ฐานฟอกเงิน

14. เปน็ สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผูบ้ ริหารทอ้ งถิน่

12. เคยต้องคาพิพากษาอนั ถงึ ท่สี ดุ ว่ากระทาการอนั เป็นการทุจริตในการเลอื กต้งั

บคุ คลดังต่อไปนีต้ อ้ งห้ามมใิ หใ้ ช้สทิ ธสิ มัครรับเลือกตง้ั เป็น ส.ส. (ตอ่ )
15. เป็นสมาชิกวฒุ ิสภาหรอื เคยเปน็ สมาชิกวุฒิสภาและสมาชกิ ภาพส้นิ สุดลงยังไมเ่ กนิ สองปี

18. อยใู่ นระหว่างตอ้ งหา้ มมิใหด้ ารงตาแหนง่ ทางการเมือง
16. เปน็ พนกั งานหรอื ลกู จ้างของหน่วยราชการ หนว่ ยงานของรฐั หรือรัฐวิสาหกจิ หรอื เป็นเจ้าหนา้ ทอ่ี ื่นของรัฐ

15. เปน็ สมาชิกวุฒิสภาหรอื เคยเปน็ สมาชกิ วฒุ ิสภาและสมาชกิ ภาพสนิ้ สุดลงยงั ไมเ่ กินสองปี
17. เป็นตุลาการศาลรฐั ธรรมนญู หรอื ผดู้ ารงตาแหนง่ ในองคก์ รอิสระ

หน้าท่ีของสมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร (ส.ส.)

พิจารณาร่าง ควบคมุ การบริหารราชการ ปหี นึง่ มีประชมุ 2 สมยั
กฎหมาย แผน่ ดินของคณะรฐั มนตรใี ห้ สมัยละไม่น้อยกวา่ 120 วนั
เปน็ ไปตามรฐั ธรรมนญู และ

กฎหมาย

หน้าที่ของสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) (ตอ่ )

ส.ส. 1 ใน 5 สามารถเสนอญัตติอภิปรายไม่ ส.ส. 1 ใน 10 สามารถเสนอญตั ตเิ พอ่ื ขอใหเ้ ปิด
ไว้วางใจรฐั มนตรีเปน็ รายบคุ คลหรอื ทั้งคณะได้ อภิปรายทัว่ ไป โดยไมม่ กี ารลงมตไิ ด้

(เดมิ เปดิ อภปิ รายทัง้ คณะไม่ได)้ เพอ่ื เป็นช่องทางใหส้ ามารถตรวจสอบการ
แตใ่ ห้ทาไดเ้ พียงปลี ะครัง้ เพ่อื เปดิ โอกาสให้ ทางานของรฐั บาลได้

รัฐบาลมเี วลาทางานพอสมควร

หนา้ ที่ของสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร (ส.ส.) (ต่อ)

 เพอ่ื ใหร้ ฐั สภาเปน็ เวทใี นการแกไ้ ขปญั หาทางการเมอื งอยา่ งแทจ้ ริง ถ้าผูน้ าฝา่ ยคา้ นเห็นว่า มีปัญหาสาคญั เกีย่ วกับความม่ันคงปลอดภยั
ของประเทศ ซ่ึงการปรึกษาหารือรว่ มกนั ระหว่างรัฐสภาและคณะรฐั มนตรีจะเปน็ ประโยชนใ์ นการแกไ้ ขปญั หาดังกล่าว ผูน้ าฝ่ายคา้ น
จะแจง้ ไปยงั ประธานรฐั สภาขอใหม้ กี ารเปิดอภปิ รายทั่วไปในทป่ี ระชมุ รฐั สภากไ็ ดใ้ นกรณีนี้ คณะรฐั มนตรีมหี น้าท่ตี ้องเขา้ ร่วมประชมุ แต่
รัฐสภาจะลงมติในปญั หาท่อี ภิปรายมิได้ วธิ ปี ระชมุ ใหป้ ระชุมลบั เพราะตอ้ งการใหฝ้ ่ายการเมืองทุกฝ่ายรบั ผดิ ชอบร่วมกนั แกไ้ ขปญั หาของ
ชาติ ไมใ่ ช่ใชก้ ารถา่ ยทอดสดเพ่อื ประโยชนใ์ นการหาเสยี งและโจมตีกนั ไปมาซง่ึ มีแตจ่ ะสรา้ งความแตกแยกเหมอื นเชน่ ทีผ่ ่าน ๆ มา

 ในเรือ่ งงบประมาณ ส.ส. จะแปรญัตตเิ ปลย่ี นแปลงหรือแก้ไขเพ่มิ เติมรายการหรือจานวนในรายการไมไ่ ด้ แต่อาจแปรญตั ติตดั ลดรายจา่ ย
ได้
เว้นแตร่ ายการ (1) ส่งใช้ต้นเงินกู้ (2) สง่ ใช้ดอกเบย้ี เงินกู้ (3) ใชจ้ า่ ยตามทกี่ ฎหมายกาหนด

 ห้าม ส.ส. แปรญัตติหรอื การกระทาดว้ ยประการใด ๆ ทม่ี ผี ลใหต้ นมีสว่ นในการใช้งบประมาณรายจา่ ย (งบ ส.ส.) ถ้ามีการกระทาดงั กลา่ ว
ส.ส. 1 ใน 10 อาจเสนอความเหน็ ตอ่ ศาลรัฐธรรมนูญเพ่อื พจิ ารณา ซึง่ ศาลรฐั ธรรมนญู ต้องพิจารณาวนิ ิจฉัยภายในสิบหา้ วนั นบั แตว่ ันที่
ไดร้ บั ความเหน็ ดังกลา่ ว ถา้ วนิ จิ ฉยั ว่ามกี ารกระทาดังกล่าว ใหก้ ารเสนอ การแปรญตั ติ หรือการกระทา ดงั กลา่ วนน้ั ไมม่ ีผล และให้ ส.ส.
น้ันพ้นจากสมาชกิ ภาพนบั แต่วันทศี่ าลรฐั ธรรมนญู มีคาวนิ จิ ฉยั และให้เพิกถอนสทิ ธสิ มัครรบั เลือกต้งั ของผู้นั้น หากคณะรัฐมนตรีกระทา
การดังกลา่ วเสียเองให้คณะรัฐมนตรีพ้นจากตาแหนง่ ท้งั คณะ และใหเ้ พกิ ถอนสิทธิสมัครรบั เลือกต้ังของรัฐมนตรีผกู้ ระทาการหรือไม่ยบั ย้งั
การกระทานน้ั ทั้งผู้ทเ่ี กีย่ วขอ้ งตอ้ งชดใช้เงนิ คืนพรอ้ มด้วยดอกเบี้ยโดยมีอายคุ วาม 20 ปี

สมาชกิ วฒุ สิ ภา (ส.ว.)

มจี านวน 200 คน

เดมิ ใช้เลือกต้งั โดยตรงกบั แต่งต้งั มปี ญั หามาก เพราะท่ีมาจากการเลอื กต้ังเกือบท้ังหมดจะอิงกบั พรรคการเมอื ง
เพราะตอ้ งหาเสยี ง ตอ้ งใช้หัวคะแนน การเมอื งแทรกแซงได้ แตถ่ ้ามาจากการแต่งต้ังก็ถกู กลา่ วหาว่า
ขาดความยึดโยงกับประชาชน

ดังนั้น รฐั ธรรมนญู นีจ้ ึงเปลย่ี นวธิ กี ารเลอื ก ส.ว. ใหมโ่ ดยใหม้ าจากการเลือกกันเองของประชาชนพลเมอื ง
ผู้มคี วามรู้ความเช่ยี วชาญ และประสบการณ์หรอื มีสถานะตา่ ง ๆ เชน่ ผูพ้ กิ ารฯลฯ หรือเคยทางานในด้านต่าง ๆ
จากทกุ ภาคสว่ นทีห่ ลากหลายของสังคม (All walks of life)

วิธกี ารเลือกส.ว. เช่นน“ี้ เปิดกว้าง” ให้ประชาชนพลเมอื งทกุ คนซ่ึงมคี ุณสมบตั สิ มัครเขา้ รับการเลอื กได้โดยสะดวก
เพอื่ เปิดช่องให้ประชาชนเข้ามา “มีส่วนรว่ มโดยตรง” ในการใช้อานาจอธิปไตยแลว้ ใหผ้ ้สู มัครแต่ละดา้ นเลือกกนั เอง
ใหไ้ ด้ 200 คน โดยใหเ้ ลอื กไขวก้ ลุม่ เพอ่ื ปอ้ งกนั การรวมหวั กันท้งั ในระดบั อาเภอ จังหวดั และระดบั ประเทศ

หน้าท่ขี องสมาชกิ วฒุ ิสภา (ส.ว.)

ไมใ่ ช่สภาพเี่ ล้ียงของ ส.ส. อย่างเดิม หากแต่ เหน็ ชอบการแตง่ ตง้ั ผู้ดารงตาแหนง่ ในองค์กรอสิ ระ
เปน็ “สภาเติมเต็ม” โดยจะชว่ ยพจิ ารณา
ร่างกฎหมาย ทผ่ี า่ นการพจิ ารณาของ
ส.ส.ให้รอบด้าน เพราะเปน็ ผมู้ คี วามรู้

ความเชยี่ วชาญ และประสบการณ์
หรอื เคยทางานในด้านต่าง ๆ จากภาคสว่ นท่ี

หลากหลายของสังคม

คณะรฐั มนตรี (มาตรา 158-183)

• ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งและรัฐมนตรีอน่ื อีกไม่เกนิ 35 คน
• เปน็ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฏรหรอื ไม่ก็ได้
• ต้องแถลงนโยบายต่อรฐั สภาภายใน 15 วัน นบั แต่วันเขา้ รับหนา้ ทีโ่ ดยไม่มีการลงมตคิ วาม

ไวว้ างใจ
• นโยบายต้องสอดคล้องกบั หนา้ ทขี่ องรัฐ แนวนโยบายแหง่ รฐั ยทุ ธศาสตรช์ าติ และต้องช้ีแจง

ทม่ี าแหลง่ ทีม่ าของรายไดท้ ่จี ะนามาใชจ้ า่ ยในการดาเนนิ นโยบาย

ในการบริหารราชการแผน่ ดนิ ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามหลกั เกณฑ์ ดงั ต่อไปน้ีด้วย

(1) ปฏิบัติหนา้ ทดี่ ้วยความซอื่ สัตย์ สุจริต เสยี สละ เปิดเผย และมีความรอบคอบและระมดั ระวงั ใน
การดาเนินกจิ การตา่ ง ๆ เพื่อประโยชน์สงู สดุ ของประเทศและประชาชนส่วนรวม

(2) รักษาวินัยในกิจการทเ่ี ก่ียวกับเงนิ แผน่ ดนิ ตามกฎหมายว่าด้วยวนิ ัยการเงนิ การคลงั อยา่ งเครง่ ครัด
(3) ยึดถือและปฏบิ ัติตามหลกั การบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งท่ีดี
(4) สรา้ งเสริมให้ทกุ ภาคส่วนในสังคมอยูร่ ว่ มกนั อย่างเปน็ ธรรม ผาสกุ และสามคั คีปรองดองกัน

รฐั มนตรี ต้องรบั ผดิ ชอบต่อสภาผู้แทน ฯ ในเรอ่ื งทอี่ ยใู่ นอานาจหน้าที่ รวมทั้งตอ้ งรับผิดชอบร่วมกันต่อรัฐสภา

ในการกาหนดนโยบายและการดาเนนิ การตามนโยบายของ ครม.

ในกรณีท่ีมีปัญหาสาคัญเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดินท่ี ครม.เห็นสมควรจะฟังความคิดเห็นของ สส. และ
สว. นายกรัฐมนตรีจะขอให้ประธานรัฐสภาเปิดอภิปรายทั่วไปในท่ีประชุมร่วมกันของรัฐสภาโดยไม่มีการลงมติก็ได้
กรณีท่มี เี หตุอนั สมควร ครม. จะขอให้มกี ารออกเสียงประชามติในเรอ่ื งใดๆ อันมใิ ช่เรอื่ งที่ขดั หรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
หรอื เรื่องที่เกยี่ วกบั ตัวบคุ คลหรือคณะบคุ คลไดต้ ามทกี่ ฎหมายบัญญตั ิ

องคก์ รอิสระตามรัฐธรรมนูญ (มาตรา 215-247)

มี 5 องค์กร ได้แก่
คณะกรรมการการเลือกตั้ง มีหน้าท่ีและอานาจในการดูแลและจัดให้มีการเลือกตั้งและประชามติอย่างสุจริต

และเทยี่ งธรรม
ผตู้ รวจการแผน่ ดิน มีหน้าที่และอานาจในการดูแลแก้ไขปัญหาความเดอื ดรอ้ นของประชาชนที่เกิดข้ึนจากรฐั
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ มีหน้าท่ีและอานาจในการควบคุมดูแล ไม่ให้เกิด

การทุจรติ หรอื ประพฤตมิ ิชอบในหน่วยงานของรฐั
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน มีหนา้ ทแี่ ละอานาจในการตรวจสอบการใชเ้ งนิ ของหนว่ ยงานรฐั
คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ มหี น้าทแ่ี ละอานาจในการดูแลมิใหม้ ีการละเมดิ สทิ ธิมนุษยชน

- ผดู้ ารงตาแหน่งในองคก์ รอสิ ระต้องมีอายุไม่ตา่ กว่า ส่ีสบิ ห้าปแี ตไ่ ม่เกินเจ็ดสบิ ปี และมี
วาระการดารงตาแหน่ง 7 ปี
- มาจากการสรรหาหรือคัดเลอื กแล้วแตก่ รณี
- ในการสรรหาจะมคี ณะกรรมการสรรหามีประธานศาลฎีกาเป็นประธาน

ศาล และองค์กรอัยการ (มาตรา 188-214 และมาตรา 248)

การพิจารณาพพิ ากษาอรรถคดีเปน็ อานาจของศาล
ประกอบไปด้วย ศาลยตุ ธิ รรม ศาลปกครอง ศาลทหาร และศาลรฐั ธรรมนญู

ศาลแตล่ ะประเภทมีอานาจหนา้ ทีด่ งั น้ี

(1) ศาลยุตธิ รรม พิจารณาพิพากษาคดที ั้งปวง เว้นแตค่ ดที ่ีรฐั ธรรมนูญหรือกฎหมายบญั ญตั ิใหอ้ ยใู่ น
อานาจของศาลอนื่
(2) ศาลปกครอง พิจารณาพิพากษาคดปี กครองอนั เนอ่ื งมาจากการใชอ้ านาจทางปกครองตาม
กฎหมายหรือเนื่องมาจากการดาเนินกจิ การทางปกครอง ท้ังนี้ ตามทกี่ ฎหมายบญั ญัติ
(3) ศาลทหาร พิจารณาพิพากษาคดีอาญาที่ผู้กระทาความผดิ เปน็ บุคคลซงึ่ อยู่ในอานาจศาลทหารและ
คดีอืน่ ท้งั น้ี ตามท่ีกฎหมายบัญญัติ
(4) ศาลรัฐธรรมนูญ พิจารณาวนิ จิ ฉยั ความชอบดว้ ยรัฐธรรมนูญของกฎหมายหรือร่างกฎหมาย,
พิจารณาวินิจฉยั ปญั หาเกยี่ วกับหนา้ ที่และอานาจของสภาผแู้ ทนราษฎร วุฒิสภา รฐั สภา
คณะรัฐมนตรี หรอื องคก์ รอสิ ระ และหน้าที่และอานาจอน่ื ตามที่บญั ญตั ไิ ว้ในรฐั ธรรมนูญ

การปกครองสว่ นท้องถิ่น (มาตรา 249-254)

กาหนดให้มีการจัดการปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักแห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์
ของประชาชนในทอ้ งถนิ่ ตามวธิ กี ารและรูปแบบองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ

การจัดต้ังองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรูปแบบใดให้คานึงถึงความสามารถในการปกครอง
ตนเองในด้านรายได้ จานวนและความหนาแน่นของประชากร และพื้นท่ีท่ีต้องรับผิดชอบ
ประกอบกัน


Click to View FlipBook Version