The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปริญญาโท, เอกสารประกอบการบรรยาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิเคราะห์ปัญหาปัจจุบันเชิงปรัชญา

ปริญญาโท, เอกสารประกอบการบรรยาย

๕๔

จึงลดความสาคัญลงไปเพราะเคร่ืองจักรเป็นปัจจัยสาคัญในการผลิต เช่น การท่ีเคร่ืองจักรมี
ประสิทธิภาพเปน็ การช่วยเพมิ่ ผลผลิตออกสู่ทอ้ งตลาด ปญั หาทีต่ ามมาคือ สนิ ค้าผลติ มากเกนิ ไป ทาให้
คนนับพันตอ้ งวา่ งงาน

(๑.๑.๒) การเปลี่ยนแปลงเรื่องความเป็นเจ้าของและการควบคุมโดยรวมธุรกิจ
เข้าเป็นรูปบริษัท การรวมตัวเช่นน้ีเป็นการทาลายความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล คนงานมีสภาพไม่ผิด
กบั เคร่ืองจกั ร เจ้าของบรษิ ัทสนใจแต่ความม่ันคงในการลงทุน และผลประโยชน์ท่ีจะได้รับ การรวมตัว
ของอุตสาหกรรมและธุรกิจเข้าเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน กลับกลายเป็นการทาลายความเจริญก้าวหน้า
และการอยู่รอดของธุรกิจย่อยๆ ทาให้เกิดปัญหาขัดแย้งระหว่างกลุ่ม เพื่อให้ได้มาซึ่งความเท่าเทียม
ทางเศรษฐกจิ และความมัน่ คง

(๑.๒) การอพยพเคลอื่ นยา้ ย ปัญหาทีต่ ามมาคอื จานวนคนท่ีอพยพจากชนบทเขา้ มา
ทางานในเมือง ตลอดจนนักธุรกิจที่ลงทุนในกิจการอุตสาหกรรมมีมากข้ึน ส่วนทางด้านเกษตรกรรมก็
เริม่ ใช้เคร่ืองจกั รแทนแรงงานคน พวกชาวนาหรือคนงานจึงต้องอพยพเขา้ มาทางานในโรงงานแทน

จากการเปลี่ยนแปลงทางด้านอตุ สาหกรรม ตลอดจนเมืองใหญ่ข้นึ ทาให้คนอพยพมากขึ้น
โดยจะอพยพโยกย้ายถิ่นฐานจากเมืองหนึ่งไปยังอีกเมืองหน่ึง หรือจากตาบลหน่ึงไปยังอีกตาบลหน่ึง
และส่ิงท่ีช่วยให้การอพยพง่ายและรวดเรว็ ขึ้นกค็ ือ การคมนาคมและการขนส่งท่ีสะดวกสบาย เช่น ใช้
รถไฟ รถยนต์ เปน็ ตน้

(๑.๓) เมืองและสังคมอุตสาหกรรมสมัยใหม่ เมืองใหญ่ๆ ในสมัยปัจจุบันเกิดจาก
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เช่น มีการวางท่อสายโทรเลข โทรศัพท์ สายไฟฟ้า ท่อระบายน้า ท่อ
ประปา เป็นต้น สิ่งเหล่านี้มีข้ึนเพื่อสนองความต้องการและความสะดวกสบายแก่ชีวิตประจาวันของ
คน แตใ่ นขณะเดียวกันเมอื งมีการแข่งขันมาก คา่ ครองชพี สูง ทาให้หลายกลมุ่ ปรับตัวไมไ่ ด้

(๑.๔) ค่านิยม คือ ส่ิงที่กลุ่มสังคมหน่ึงเห็นว่าเป็นส่ิงที่มีค่าควรแก่การกระทา น่า
กระทาหรือเห็นว่าถูกต้อง ซ่ึงค่านิยมในปัจจุบันได้มีการย้าผิดๆ กันในหลายเรื่อง เช่น ย้าเรื่องเงิน
อานาจ ตาแหน่ง วตั ถุ มากกว่าเรื่องอื่นๆ บุคคลจงึ ถูกบีบให้พยายามไขว่คว้าในสง่ิ ท่ีตนหวัง บางคนทา
ดีเทา่ ไรกไ็ มไ่ ดด้ ี ก็ออกมาในรปู ทาช่วั เชน่ เป็นพอ่ เล้า แมเ่ ลา้ เมียเชา่ โสเภณี ทาสนิ คา้ ปลอม เปน็ ตน้

(๑.๕) ปัญหาที่เกิดจากวิทยาการ ในปัจจุบันน้ีวิทยาศาสตร์และวิทยาการมีอิทธิพล
สาคัญที่กระทบกระเทือนต่อชีวิตของบุคคลและรูปการปกครอง รวมตลอดถึงกระบวนการทาง
การเมือง ผลจากความก้าวหน้าทั้ง ๒ ด้านน้ัน ได้ทาให้สังคมเปล่ียนไป โดยเฉพาะอย่างย่ิงเป็นส่วน
หนึ่งท่ีกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับบุคคล และระหว่างบุคคลกับรัฐบาล เช่น ทาให้ทุกคนมี
ภาระหน้าท่ีและต้องพึ่งพาอาศัยกันมากขึ้น ทาให้รัฐบาลมีบทบาทและความรับผิดชอบเพิ่มข้ึนในการ
แก้ปัญหาต่างๆ ท่ีกระทบกระเทือนประชาชน และปัญหาเหล่านั้นก็มาจากความก้าวหน้าของ
วทิ ยาการเสยี เป็นสว่ นใหญ่

วิทยาการก่อให้เกิดสถานการณ์ใหม่ๆ ในโลก เช่น มีการเพิ่มกาลังอาวุธ การสะสม และ
การใช้จ่ายในทางทหารและกิจกรรมในด้านการช่วยเหลือต่างประเทศ ซึ่งประเทศใหญ่มักมีบทบาท
อย่างมากมายในกิจการนี้ ทาให้มนุษย์มีความเจริญในด้านการศึกษา ความเข้าใจ และความสานึก
ตา่ งๆ ประชาชนก็เริ่มตื่นตัวต้องการมีส่วนในการปกครอง การได้บริการต่างๆ จากรัฐ และต้องการให้
เกิดความยุติธรรมในด้านการแบ่งปนั รายได้ รวมทง้ั ให้มีการยอมรับในเรื่องศกั ดศิ์ รีของบุคคล

๕๕

การท่ีวทิ ยาการกา้ วหน้าขึ้น ทาใหม้ นุษย์มีความสขุ สบายทางดา้ นวตั ถุมากขน้ึ แต่ถ้ามนุษย์
มีความปรารถนาส่ิงเหล่านี้มากขึ้น และการบาบัดความต้องการนั้นไม่ทั่วถึงบุคคลก็อาจจะต้องการ
เปล่ียนแปลงสังคมและการเมือง เพ่ือเป็นหนทางได้มาซึ่งวัตถุเหล่าน้ี ความปรารถนาท่ีต้องการให้เกิด
การเปลย่ี นแปลงน้ี ในบางโอกาสอาจจะรุนแรงซงึ่ เรยี กว่าการปฏิวตั ิ การปฏวิ ัติในหลายแห่งเป็นไปเพ่ือ
ต้องการจะดิ้นรนแสวงหาความสุขทางวัตถุ ความยุติธรรมทางสังคมในปัจจุบันน้ี เน้นถึงความเท่า
เทียมกันท่ีจะได้รับการบาบัดความต้องการในทางวัตถเุ ป็นสิ่งสาคัญ ถา้ ชนกลุ่มหนึ่งไดแ้ ละชนกลุ่มหนึ่ง
เสยี กจ็ ะเกดิ ความขัดแย้งรุนแรงในสงั คมนนั้

๒) การเสียระเบียบหรือความไม่เป็นระเบียบในสังคม (Social Disorganization) สงั คมที่
ไม่เป็นระเบียบ คือ สังคมที่สามารถจะควบคุมสมาชิกของสังคมให้ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนท่ีวาง
ไว้ โดยทั่วไปทุกสังคมมักจะวางกฎเกณฑ์ หรือบรรทัดฐานบางอย่างให้สมาชิกท่ีมาอยู่ร่วมกันไดใ้ ชเ้ ป็น
แนวทางในการอยู่ร่วมกันอย่างมีระเบียบ ความเป็นระเบียบน้ีไม่ใช่เกิดจากการใช้อานาจ แต่เป็นการ
ยอมรับกฎเกณฑร์ ว่ มกัน อยา่ งไรกต็ าม ความไม่เป็นระเบียบในสงั คมมีสาเหตสุ าคญั ๒ ประการ คือ

(๒.๑) ความล้มเหลวของกลุ่มจารีตประเพณี ปกติแต่ละบุคคลจะรักษาค่านิยมและ
ความมุ่งหวัง ตลอดจนกฎเกณฑ์ต่างๆ ของสังคมท่ีตนเป็นสมาชิก วิธีการถ่ายทอดก็อาจออกมาในรูป
บังคับให้ทุกคนกระทาตาม ซ่ึงวิธีนี้จะได้ผลต่อเมื่อสถาบันถ่ายทอดความรู้ เช่น ครอบครัว โรงเรียน
รัฐบาลมีเสถียรภาพ แต่ถ้าขาดหลักสาคัญในการทางานร่วมกันหรอื ไม่ประสานกัน จะทาให้สถาบันไม่
อาจจะถ่ายทอดและรักษาค่านิยมต่างๆ ของสังคมได้ เพราะขาดความยึดมั่นหรือขาดความศักดิ์สิทธ์ิ
ซึ่งความไม่เป็นระเบียบในสังคมนี้เป็นมูลฐานเบื้องต้นที่ก่อให้เกิดปัญหาสังคมต่างๆ ได้ เช่น เด็ก
กระทาผดิ อาชญากรรม เป็นตน้

(๒.๒) ความขัดแย้งระหว่างกฎเกณฑ์กับความมุ่งหวัง เม่ือกลุ่มจารีตประเพณีใน
สังคมสลายลง หรือไม่สามารถรักษาหน้าที่ของตนได้ สมาชิกของกลุ่มจะขาดความศรัทธา ดังนั้น
ค่านิยมของกลุ่มอาจจะมีผลในทางตรงกันข้าม เพราะไม่มีอะไรเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้กลุ่มมีความ
เข้าใจหรือปฏบิ ัตสิ อดคล้องในแนวเดยี วกัน

ปกติแล้ว ความต้องการหรือความรู้สึกของคนย่อมเปล่ียนแปลงไปได้เสมอ และมักจะไป
ขัดกับกฎเกณฑ์ต่างๆ ของสังคมและเม่ือต้องเผชิญกับความต้องการใหม่ ซึ่งไม่สอดคล้องกับระเบียบ
แบบแผนเก่าๆ ก่อให้เกิดปัญหาสังคม โดยท่ัวไปแล้วสังคมจะพยายามเปลี่ยนกฎเกณฑ์บางอย่าง
เพ่ือให้เข้ากับความต้องการที่เปล่ียนแปลงไป ถ้าสามารถทาได้ โดยไม่ไปขดั แย้งกับกลุม่ ใด ซ่ึงถ้าจะให้
ไดผ้ ลดแี ล้วควรจะเร่มิ จากลุ่มอิทธิพล เพราะถา้ เร่มิ จากกล่มุ เลก็ อาจก่อใหเ้ กิดปญั หาสังคมขึ้น

๓) บุคลิกภาพ (Personality) หรือพฤติกรรมท่ีเกิดจากการเรียนรู้ บุคคลที่เกิดมาแต่ละ
คนจะมีลักษณะท่ีเป็นของตัวเองโดยเฉพาะ ไม่ซ้าแบบใคร เพราะจะไม่มีใครเหมือนกับใครในทุกด้าน
และบุคลิกภาพพัฒนาไปพร้อมกับการพฒั นาทางกาย อารมณ์ และด้านอ่ืนๆ ของจิตใจ และแม้บุคคล
จะมลี กั ษณะทางกายเหมือนกนั การเรียนรู้ก็ไม่เหมอื นกนั แมจ้ ะมีสภาพแวดลอ้ มอย่างเดียวกัน

พฤติกรรมของแต่ละบุคคล เป็นผลของกรรมพันธ์ุและสิ่งแวดล้อมที่หล่อหลอมบุคคลนั้น
โดยแต่ละคนไม่อาจจะเลือกส่ิงแวดล้อมของตนได้ เช่น บุคลิกภาพของเด็กข้ึนอยู่กับสิ่งแวดล้อมในถิ่น
ท่ีเกิดเป็นสาคัญ บุคคลอ่ืนๆ ในสังคมเป็นผู้กาหนดให้เด็กแสดงบทบาทตามที่บุคคลเหล่านั้นปฏิบัติ
การถ่ายทอดมรดกทางสังคมก็เหมือนกับการกับบทให้คนแสดงบนเวที การเปลี่ยนแปลงในบทบาท

๕๖

หรือวัฒนธรรมก็เป็นไปอย่างช้าๆ จนเกือบจะไม่รู้สึกตัว เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม แต่
บางครั้งก็มีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วกะทันหันได้เหมอื นกัน เช่น การปฏิวัติซงึ่ เป็นปรากฏการณ์ที่
ไม่ได้เป็นไปตามปกติ

บคุ ลกิ ภาพในสังคมมที ้ังทีส่ ังคมยอมรับและไม่ยอมรบั ท่ีสังคมยอมรับ เช่น เคารพผู้ใหญ่ มี
ความซือ่ สัตย์ ขยันขันแข็ง เป็นต้น สว่ นทส่ี ังคมไมย่ อมรับ เช่น ลักขโมย เสพสรุ า เสพยาเสพติด ฆ่าคน
ตาย เป็นต้น ซึ่งสังคมจะต้องหาทางแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้น การท่ีบุคคลมีบุคลิกภาพผิดแผกไปจาก
กฎเกณฑ์ที่สังคมกาหนด อาจจะเกิดจากความต้องการทางอารมณ์บางอย่าง เช่น เด็กท่ีมาจากบ้าน
แตกแยก มีจิตใจไม่มั่นคง ต้องการความรัก ต้องการความอบอุ่น บางครั้งจึงอาจจะหาทางชดเชยด้วย
การหาความรักจากนอกบ้าน โดยเฉพาะถ้าเพื่อนไม่ดี เพ่ือนก็จะพาไปในทางเสื่อมเสีย เช่น ลักขโมย
เสพยาเสพติด เปน็ ต้น ซง่ึ เปน็ หน้าทขี่ องสังคมทจ่ี ะตอ้ งหาทางศึกษาและทางป้องกันแก้ไขต่อไป

แม้ว่าจะจาแนกปัญหาสังคมออกเป็น ๒ ประเภท ดังกล่าวข้างต้น แต่แท้จริงแล้วปัญหา
สังคมท้ัง ๒ ประเภท ยังมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน และภายใต้สภาวการณ์บางประการ
ต่างก็มีสว่ นชว่ ยสนบั สนุนให้เกดิ ปัญหาสังคมขึ้นได้

๔.๒.๔ สุวิทย์ รุ่งวิสัย๔ เห็นว่าปัญหาสังคมมีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
จากลักษณะของพฤติกรรมที่มีส่วนสัมพันธ์กับวัฒนธรรม และจากพฤติกรรมท่ีเกิดจากการเรียนรู้ที่มี
ลักษณะเบีย่ งเบนไปจากบรรทดั ฐานของสังคม

Julian และ Kornblum (๑๙๘๒ : ๑๒–๑๓) กล่าวไว้ว่า นักสังคมวิทยาได้พยายามเสนอ
กฎเกณฑ์หลักการต่างๆ เพื่ออธิบายถึงสาเหตุแห่งปัญหาสังคม สรุปได้ว่าปัญหาสังคมอาจเกิดจาก
ภาวะสังคมพิการจากพฤติกรรมฝืนสังคม จากการเปลี่ยนแปลงทางสถาบันสังคม จากพยาธิสังคม
(Social pathology) และอาจเน่ืองมาจากปฏิกิริยาของสังคมท่ีมีต่อปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนหรือ
พฤตกิ รรมของคน (Labeling)

S. D. Weinberg (๑๙๗๐) เสนอไว้วา่ ปัญหาสงั คมอาจเกิดมาจากสาเหตุดังตอ่ ไปน้ี
๑. การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี ก่อให้เกิดปัญหาประชากร ปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหา
การวา่ งงาน
๒. พฤติกรรมท่ีเบี่ยงเบนไปจากบรรทัดฐานของสังคมและความไม่เป็นระเบียบของสังคม
เชน่ ปญั หาการกระทาผดิ ของเดก็ และเยาวชน ปัญหายาเสพตดิ
จากแนวความคิดเกี่ยวกับการศึกษาปัญหาสังคมของ Frank R. Scarpitti พบว่า ปัญหา
สงั คมมสี าเหตุมาจาก
๑. สถาบันสังคมไม่สามารถทาหน้าท่ีได้อย่างสมบูรณ์ซ่ึงอาจก่อให้เกิด ปัญหาครอบครัว
ปญั หายาเสพติด ปัญหาเดก็ เกเร ฯลฯ
๒. เนื่องมาจากพฤติกรรมท่ีเบี่ยงเบน ไปจากบรรทัดฐานของสังคม เป็นต้นว่า ปัญหา
สขุ ภาพจติ ปัญหาอาชญากรรม ฯลฯ

๔ สุวิทย์ รุ่งวิสัย, ลักษณะของผู้ต้องขังเกี่ยวกับยาเสพติดในเรือนจากลางเชียงใหม่, (เชียงใหม่:
ภาควชิ าสงั คมวทิ ยาและมานุษยวทิ ยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม,่ ๒๕๓๒), หน้า ๖๓.

๕๗

๓. เนอ่ื งจากการเปลยี่ นแปลงทางเทคโนโลยี ทาใหเ้ กดิ ปัญหาการว่างงาน ปญั หาส่งิ แวดลอ้ ม
ปญั หาทางธรุ กจิ

นักวิชาการบางท่านมีแนวความคิดท่ีว่า ปัญหาสังคมเกิดจากการเปล่ียนแปลงทางสังคม
และเห็นว่าสาเหตุอื่นๆ นั้นสืบเนื่องมาจากผลแห่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เช่น การท่ีคนเราจะมี
พฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจากบรรทัดฐานของสังคม ก็เนื่องจากสังคมมีการเปลี่ยนแปลงจากสภาพชีวิต
ความเป็นอยู่อย่างง่ายๆ ไปเป็นสภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่สลับซับซ้อน มีการแกง่ แย่งแข่งขันเอารดั เอา
เปรียบ ทาให้เกิดปัญหาสุขภาพจิต ปัญหาความขัดแย้ง หรือการที่สถาบันสังคมมีการเปลี่ยนแปลง
บรรทัดฐานที่ให้ผู้คนในสังคมปฏิบัติ ก็อาจเกิดปัญหาการไม่ยอมรับหรือเกิดปัญหาการขัดแย้งข้ึนได้
ภาวะสังคมพกิ ารกอ็ าจสืบเนอื่ งมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสงั คม

จากการท่ีได้ศึกษาสาเหตุของปัญหาสังคม จากการศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคมที่เกิดข้ึน
และจากทฤษฎีแนวคิดของนักสังคมวิทยาและนักวิชาการต่างๆ สรุปได้ว่าสาเหตุท่ีก่อให้เกิดปัญหา
สงั คมมีดงั น้ี

๑. เน่ืองจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social change) การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ถ้า
เป็นไปอย่างรวดเร็วจนผู้คนในสังคมน้ันปรับตัวตามไม่ทันก็จะก่อให้เกิดปัญหาสังคมขึ้นได้ เป็นต้นว่า
การเปล่ียนแปลงวิธีการผลิตจากการใช้แรงงาน คน สัตว์ ไปเป็นใช้เคร่อื งจกั ร เคร่ืองทุน่ แรงตา่ งๆ ทา
ให้เกิดปัญหาการว่างงาน ปัญหาส่ิงแวดลอ้ มเป็นพิษ การเปล่ียนสภาพจากการอยู่ในสังคมชนบทไปอยู่
ในสังคมเมือง หรือเปลี่ยนสภาพจากชนบทไปเป็นเมืองอย่างรวดเร็ว อาจก่อให้เกิดปัญหาการปรับตัว
เข้ากับสังคมใหม่ซึ่งเต็มไปด้วยการแก่งแย่ง แข่งขัน ความเห็นแก่ตัว การขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับ
ลูกจ้าง ระหว่างผู้มีตาแหน่งหน้าท่ีการงานสูงกว่ากับผู้มีตาแหน่งต่ากว่า ฯลฯ เป็นผลให้เกิดปัญหา
สุขภาพจิต ปญั หาครอบครวั ฯลฯ

๒. เน่ืองจากการเสียระเบียบทางสังคม (Social disorganization) การเสียระเบียบทาง
สังคม หมายถึง ภาวะที่สังคมไมส่ ามารถจะควบคุมสมาชิกของสังคมให้ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนท่ี
วางไว้ หรือสภาวะท่ีสถาบันสังคมไม่สามารถรักษาบรรทัดฐานในกิจกรรมด้านน้ันๆ ไว้ได้ การเสีย
ระเบียบทางสังคม เป็นการระส่าระสาย การขาดตอน การขัดกัน หรือการขาดสมานฉันท์ภายในกลุ่ม
สังคมหนึ่งหรืออีกสังคมหน่ึง ซ่ึงมีผลกระกระเทือนต่อวิถีชีวิตความเคยชิน ต่อสถาบันสังคม ต่อการ
ควบคมุ ทางสังคม ทาให้ชวี ิตสังคมไมอ่ าจดาเนนิ ไปอยา่ งราบรน่ื ถ้าหากไม่ปรับปรุงแก้ไข

การท่ีสังคมเสียระเบียบ เกิดจากสาเหตุสาคัญ ๒ ประการ คือ การขาดความเช่ือถือในตัว
บุคคลผู้ทาหน้าท่ีถ่ายทอดระเบียบแบบแผน กับความไม่เหมาะสมของตัวระเบียบ ซึ่งอาจล้าสมัย
จนเกินไป เป็นกฎเกณฑท์ ่ีไม่อาจดาเนินสู่เปา้ หมายหรอื ความมุง่ หมายไดเ้ ลย ดงั นั้นผ้คู นจึงเกิดความไม่
แน่ใจในการปฏิบัติตามบรรทัดฐานน้ัน และหาวิธีการใหม่ที่จะดาเนินสู่ความต้องการหรือเป้าหมายที่
กาหนด

สภาพสังคมที่เสียระเบียบ กระบวนการควบคุมทางสังคมจะทางานไม่ได้ผล คนจะเสื่อม
คลายความเชื่อในกฎหมาย สถาบัน ตลอดจนตัวบุคคลท่ีมีอานาจมาแต่เดิม ผลประโยชน์และความ
คิดเห็นของคนกลุ่มต่างๆ อาจจะขัดแย้งกัน การเปล่ียนแปลงทางสังคมท่ีเกิดขึ้นทาให้คนแตกแยก
ออกเป็น ๒ ฝ่าย คือ ฝ่ายที่ต้องการรักษาสถานะเดิมและฝ่ายที่ต้องการเปล่ียนแปลงความคิดเห็นที่
แตกต่างกันนี้ ทาใหเ้ กิดความแตกแยกในสังคม เกดิ ปัญหาการใช้อานาจโดยพลการ ปัญหาการจราจร

๕๘

๓. เนื่องจากพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนไปจากบรรทัดฐานของสังคม (The deviatilon of
behavior) พฤติกรรมท่ีเบี่ยงเบนไปจากบรรทัดฐานของสังคม เป็นพฤติกรรมของสมาชิกในสังคม ท่ี
แสดงออกและมีผลต่อส่วนรวม ประชาชนมีความรู้สึกว่าเป็นสภาวการณ์ที่ไม่ปลอดภัยสาหรับตนและ
สังคม เช่น การติดยาเสพติด การค้าประเวณี การประกอบอาชญากรรม การที่คนเรามีพฤติกรรม
เบีย่ งเบนนัน้ อาจเกดิ จากปัจจัยหลายประการ เปน็ ตน้ วา่

- ปัจจัยทางชวี วิทยา เนื่องจากกรรมพนั ธุ์ ความผดิ ปกตขิ องต่อมไร้ทอ่ ทาใหบ้ คุ คลท่ีมี
ความผิดปกตนิ ั้นๆ แสดงพฤติกรรมท่ีสงั คมไม่ยอมรบั ออกมา เช่น เป็นผู้มีอารมณ์ฉุนเฉียว โกรธง่าย มี
ความตอ้ งการทางเพศสูง โงเ่ ขลาถกู ชกั จูงไปในทางท่ีผดิ หรอื กระทาผิดไดง้ า่ ย

- ปจั จัยทางจติ เช่น ความคบั ขอ้ งใจ ไดร้ บั การปฏบิ ตั ดิ ว้ ยความไม่เปน็ ธรรม หรอื
จิตใจท่ีเกิดความต้องการอยา่ งรุนแรง อาจทาให้บุคคลมีจิตผิดปกติ ก่อปญั หาอาชญากรรม ปัญหาการ
ฆ่าตวั ตาย หรือปัญหาอ่ืนๆ ก็ได้

- ปจั จัยทางสง่ิ แวดล้อม ทั้งสิง่ แวดล้อมทางธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมทางสังคม ชัก
นาให้เกิดปัญหาสังคมได้เช่นกัน เช่น ปัญหาโสเภณีเกิดจากการท่ีชาวบ้านขายลูกสาวไปเป็นโสเภณี
เพื่อขจัดความยากจน ปัญหาความยากจน เกิดจากธรรมชาติไม่อานวยต่อการทามาหากินประกอบ
กบั ความดอ้ ยคุณภาพของคน

- ปญั หาทางค่านิยม ทาให้ผูค้ นต่างพยายามหาวิธีการให้ได้มาซึง่ ค่านิยมในสงั คม ไม่
ว่าจะเป็นดว้ ยวธิ ีท่สี งั คมยอมรับ เป็นไปตามบรรทัดฐานของสังคมหรือไม่กต็ าม ดังนน้ั จึงอาจก่อให้เกิด
ปัญหาสังคมได้ เช่น ค่านิยมในเพชรพลอย เงินทอง ทาให้ต่างคนอยากจะได้ อยากจะมี ซ่ึงถ้าไม่
สามารถหามาได้ดว้ ยวิธีสุจรติ กอ็ าจใชว้ ธิ ีทุจรติ

๔. พฤติกรรมท่ีเกิดจากการเรียนรู้ และบุคลิกภาพ (Personality) เฉพาะตัว แต่ละบุคคล
ต่างมลี ักษณะที่เปน็ ของตัวเองโดยเฉพาะ ไมม่ ีใครซา้ แบบหรือเหมอื นกับใครไปทุกด้าน พันธุกรรมและ
ส่ิงแวดล้อมเป็นตัวหล่อหลอมลักษณะนิสัยของบุคคลการเรียนรู้ การได้รับถ่ายทอดมรดกทางสังคม
เป็นผู้กากับบทบาทความประพฤติ ซึ่งมีทั้งท่ีสังคมยอมรับ เช่น ซื่อสัตย์ ขยันขันแข็งและท่ีสังคมไม่
ยอมรับ เชน่ ลัดขโมย เสพยาเสพย์ติด เสพสรุ า ฯลฯ การที่บุคคลมีบุคลกิ ภาพผิดแผกไปจากกฎเกณฑ์
ที่สังคมกาหนด อาจจะเกิดจากความต้องการทางอารมณ์บางอย่าง เช่น เด็กที่มาจากบ้านแตกแยกมี
จติ ใจไม่มั่นคง ต้องการความรักความอบอุ่นจึงหาทางชดเชยหรือบาบัดความต้องการทางอารมณ์ด้วย
การหาความรักจากนอกบ้าน คบเพื่อน ถ้าเพ่ือนไม่ดีก็พาไปในทางเสื่อมเสีย เช่น ลักขโมย เสพ
ยาเสพยต์ ิด

นักวชิ าการบางท่าน มีแนวคิดวา่ ปัญหาสังคมนั้นเกิดจากการเปลย่ี นแปลงทางสังคม ส่วน
สาเหตุอ่ืนๆ น้ัน ก็สืบเนื่องมาจากผลแห่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคมนั่นแหละ เช่น การที่มนุษย์เราจะ
มีพฤติกรรมเบ่ียงเบนไปจากปทัสถานของสังคม ก็เน่ืองจากสังคมมีการเปลี่ยนแปลงจากสภาพชีวิต
ความเป็นอยู่ง่ายๆ ไปเป็นสภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่สลับซับซ้อน มีการแก่งแย่ง แข่งขัน เอารัดเอา
เปรียบทาให้เกิดปัญหาสุขภาพจิต ปัญหาความขัดแย้ง หรือการที่สถาบันสังคมมีการเปล่ียนแปลง
ปทัสถานท่ีให้ผู้คนในสังคมปฏิบัติ ก็อาจจะเกิดปัญหาการไม่ยอมรับ หรือเกิดปัญหาการขัดแย้งขึ้นได้
ภาวะสังคมพิการก็อาจสบื เนื่องมากจากการเปลยี่ นแปลงทางสงั คม

๕๙

๔.๓ หลักสาคญั ในการศึกษาปญั หาสงั คม

เนื่องจากการศึกษาปัญหาสังคมของมนุษย์ มีปัจจัยหลายประการ ท่ีอาจก่อให้เกิดความ
ผิดพลาดเที่ยงตรง เป็นต้นว่าเจตคติ ความคิดเห็นของผู้ทาการศึกษาความคิดเห็นท่ีอาจเปลี่ยนแปลง
ไปของผคู้ นในสังคม ดงั นนั้ ในการศกึ ษาปัญหาสังคมจงึ จาเป็นตอ้ งยดึ หลกั การดังต่อไปนี้

๑. ในการแสวงหาขอ้ เท็จจริงจะต้องไมอ่ คติ ปราศจากความคิดเห็นสว่ นตัว ผู้ศึกษาต้องใจ
กว้างยึดถือความเป็นจริง ยุติธรรม ไม่คานึงถึงเชื้อชาติ เผ่าพันธ์ุหรือสังคมของตนจะต่าต้อยด้อยค่าลง
ไป

๒. จะต้องมจี รรยาในการแสวงหาข้อเท็จจรงิ ผู้ศกึ ษาหาความรู้จะตอ้ งยนื หยัดท่ีจะคงไวซ้ ่ึง
ความจริงที่ตนพบ อย่าคิดเบนความจริง ต้องรับผิดชอบ ๓ ประการ ได้แก่ ความซื่อสัตย์ การรักษา
เกียรตขิ องนกั วชิ าการ และความมีอิสระในการแสวงหาข้อเท็จจรงิ

สมาคมสงั คมวิทยาของอเมรกิ นั ไดใ้ ห้หลกั ในการวจิ ัยทางสงั คมวทิ ยาไว้ดังนี้
๑. จะตอ้ งแสวงหาขอ้ เทจ็ จรงิ อยา่ งเปน็ วทิ ยาศาสตร์
๒. จะต้องมีความซื่อสัตย์ไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง โดยไม่นาความคิดเห็นหรืออคติ

ความลาเอยี งส่วนตัวมาปะปน
๓. จะตอ้ งให้เกียรติยกยอ่ งบุคคลทต่ี นนามาวจิ ยั หาข้อมูล
๔. ขอ้ มลู ทีค่ ้นพบจะตอ้ งมใิ ห้ผ้หู น่ึงผูใ้ ดเปล่ียนแปลงไปจากความจรงิ
๕. จะต้องรกั ษาความลับส่วนตวั ของบุคคลท่ที าการวจิ ัยแต่ละคน

๓. จะต้องศึกษาหาคาตอบจากหลายๆ ด้าน มองหาสาเหตุของปัญหาจากหลายๆ ด้าน
อาศัยทฤษฎจี ากหลายๆ แขนงวิชา เพราะปัญหาอาจเน่อื งมาจากหลายสาเหตุ

๔. จะต้องยอมรับว่าข้อสรุปผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้านั้น เป็นความจรงิ จนกว่าจะ
มีหลักฐานมาพิสูจน์ลบล้างได้ โดยถือว่าความจริงทางวิทยาศาสตร์เป็นความจริงแต่เพียงเท่าที่ยังไม่มี
เหตุผลอ่ืนมาลบล้าง

๕. ต้องไม่มีวิตกกังวลกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางค่านิยมและ
ความคิดเห็นของผู้คนท่ีมีต่อปัญหาสังคม จงศึกษาปัญหาตามที่ต้องการจะศึกษาและได้พิจารณาแล้ว
วา่ จะเปน็ ประโยชน์ต่อการพฒั นาสังคมใหเ้ จรญิ ขึ้น

๔.๔ ประเภทของปัญหาสังคม

ปญั หาสงั คมมีอยู่มากมาย แนวคดิ ในการจาแนกประเภทของปัญหาสังคมมีหลายแนวอาจ
จัดหมวดหมู่ประเภทได้หลายแบบ โดยทั่วไป นักสังคมวิทยามักแบ่งประเภทของปัญหาสังคมที่มี
ผลกระทบต่อความมนั่ คง๕ ดังนี้

๑. ปัญหาสังคมท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเทคโนโลยีต่างๆ (Social
Problems Technological Changes) ปญั หาดงั กลา่ วนี้ ประกอบดว้ ย

๑.๑ ปัญหาความยากจน (Poverty)

๕ โกศล วงศ์สวรรค์ และสถติ วงศส์ วรรค์, ปญั หาสงั คมไทย SOCHIAL PROBLEMS,

(กรงุ เทพมหานคร: อมรการพิมพ์, ๒๕๔๓), หนา้ ๓๘ – ๔๐.

๖๐

๑.๒ ปัญหาชุมชนแออดั (Slum)
๑.๓ ปัญหามลภาวะ (Pollution)
๑.๔ ปญั หาจราจร (Traffic)
๑.๕ ปญั หาอบุ ตั ิเหตุ (Accident)
๑.๖ ปญั หาการวา่ งงาน (Unemployment)
๑.๗ ปัญหาวยั รุน่ (Teenager)
๑.๘ ปัญหาครอบครวั (Family)
๑.๙ ปญั หาหนีส้ นิ (Debt)
๒. ปัญหาสังคมท่ีเกิดจากความไร้ระเบียบวินัย และขาดจิตสานึก หรือมีพฤติกรรม
เบย่ี งเบนของมนุษยใ์ นสงั คม (Social Disorganization and Deviant Behavior) ประกอบดว้ ย
๒.๑ ปญั หาอาชญากรรม (Criminal Problem)
๒.๒ ปัญหายาเสพตดิ (Drug Problem)
๒.๓ ปญั หาแรงงาน (Labor Problem)
๒.๔ ปัญหาโรคเอดส์ (AIDS Problem)
๒.๕ ปญั หาทจุ ริตคอร์รัปชัน่ (Corruption Problem)
๒.๖ ปญั หาการฆา่ ตวั ตาย (Suicide Problem)
๒.๗ ปญั หาโสเภณี (Prostitution Problem)
๒.๘ ปญั หาความม่นั คงของชาติ (National Problem)
๒.๙ ปัญหาการพนันและอบายมขุ (Gambling Problem)
อย่างไรกด็ ี ปัญหาสังคมทเ่ี กิดขึ้นในสังคมปจั จุบันน้ัน มจี านวนมากแต่สว่ นใหญ่มักมสี าเหตุ
มาจากปญั หาสงั คมดังกลา่ วแล้วข้างต้นท้ังส้นิ เนอ่ื งจากเปน็ ปญั หาหลกั ในทางสงั คม
“ปญั หาทางสังคม” หมายถงึ ภาวะหรือสถานการณ์ ความทุกข์ ความเดือดรอ้ นทางสงั คม
ทีไ่ มพ่ งึ ประสงค์ของผู้เขา้ รับการฟ้นื ฟสู มรรถภาพยาเสพตดิ แบ่งออกเป็น ๙ ด้าน ดงั ต่อไปน้ี
๑. ปัญหาด้านครอบครัว หมายถึง ภาวะหรือสถานการณ์ ความทุกข์ ความเดือดร้อนทาง
สงั คมท่ไี มพ่ ึงประสงค์เกีย่ วกับความสมั พันธร์ ะหวา่ งบุคคลในครอบครวั ประกอบดว้ ย
- ปัญหาสมรส คู่สมรส การครองเรือน หมายถึง ภาวะหรือสถานการณ์ ความทุกข์
ความเดือดร้อนทางสังคมที่ไม่พึงประสงค์เก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างคู่สามีภรรยา ได้แก่ การ
ทะเลาะเบาะแวง้ ตบตีระหวา่ งกนั มีสภาพต่างคนต่างอยู่ นอกใจกนั ไมร่ ับผิดชอบ ทศั นคตไิ มต่ รงกัน
- ปัญหาระหว่างพ่อ แม่ ลูก หมายถึง ภาวะหรือสถานการณ์ ความทุกข์ ความ
เดือดร้อนทางสังคมที่ไม่พึงประสงค์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ที่ทาให้เกิดความแตกร้าวบาดหมางระหว่าง
พ่อแมก่ บั ลูก เชน่ ปัญหาด้านการเลยี้ งดู ความเขา้ ใจ ความอบอ่นุ ระหวา่ งกัน
- ปัญหาท่ีเกิดข้ึนระหว่างพี่น้องและวงศ์ญาติในครอบครัว ท่ีไม่ใช่ พ่อ แม่ ลูก
หมายถึง ภาวะหรือสถานการณ์ ความทุกข์ ความเดือดร้อนทางสังคมที่ไม่พึงประสงค์เกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์ท่ีทาให้เกิดความแตกร้าวบาดหมางท่ีเกิดข้ึนระหว่างพ่ีน้องและวงศ์ญาติในครอบครัว ท่ี
ไมใ่ ช่ พ่อ แม่ ลูก
- ปัญหาเก่ียวกบั การดูแลผูเ้ จบ็ ป่วยหรอื ทุพพลภาพในครอบครัว หมายถึง ภาวะหรอื

๖๑

สถานการณ์ ความทุกข์ ความเดือดร้อนทางสังคมที่ไม่พึงประสงค์เกี่ยวกับการดูแลพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่
หรือดูแลลูก สามี/ภรรยา ท่ีป่วยไข้ ทุพพลภาพ ไม่สามารถประกอบอาชีพหาเลี้ยงตนเองได้ ทาใหเ้ ป็น
ภาระลาบาก หรือเกนิ ความสามารถของตนเองจนรู้สกึ เครียด

๒. ปัญหาด้านความสัมพันธ์ทางสังคม หมายถึง ภาวะหรือสถานการณ์ ความทุกข์ ความ
เดือดร้อนทางสังคมที่ไม่พึงประสงค์เก่ียวกับความไม่ลงรอยกับคนอ่ืนนอกครอบครัวและการแยกตัว
ออกจากออกจากสงั คม

๓. ปัญหาด้านท่ีอยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม หมายถึง ภาวะหรือสถานการณ์ ความทุกข์
ความเดือดร้อนทางสังคมท่ีไม่พึงประสงค์เกี่ยวกับสภาพของที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อมท่ีเป็นภัย
คุกคามตอ่ สขุ ภาพ

๔. ปัญหาด้านการศึกษา หมายถึง ภาวะหรือสถานการณ์ ความทุกข์ ความเดือดร้อนทาง
สงั คมที่ไม่พงึ ประสงคเ์ กีย่ วกบั การขาดการศึกษาหรอื ไดร้ บั การศกึ ษาอย่างไม่ต่อเนื่อง

๕. ปัญหาด้านการเงิน หมายถึง ภาวะหรือสถานการณ์ ความทุกข์ ความเดือดร้อนทาง
สังคมที่ไมพ่ ึงประสงคเ์ กี่ยวการขาดแคลนทุนทรัพย์สาหรบั การใช้จ่ายเพื่อการดารงชวี ิต

๖. ปัญหาด้านอาชีพ หมายถึง ภาวะหรือสถานการณ์ ความทุกข์ ความเดือดร้อนทาง
สงั คมทีไ่ มพ่ ึงประสงคเ์ ก่ียวกบั การทางานหรอื การประกอบอาชพี

๗. ปัญหาด้านการเจ็บป่วย หมายถึง ภาวะหรือสถานการณ์ ความทุกข์ ความเดือดร้อน
ทางสังคมที่ไม่พึงประสงค์เกี่ยวกับความเจ็บป่วยและปัญหาเก่ียวกับตัวบุคคลท่ีเป็นอุปสรรคต่อการ
ดูแลทางสุขภาพ

๘. ปัญหาด้านกฎหมาย หมายถึง ภาวะหรือสถานการณ์ ความทุกข์ ความเดือดร้อนทาง
สังคมที่ไม่พึงประสงคเ์ ก่ยี วกับการเป็นคดคี วามทางดา้ นกฎหมาย การฟ้องร้องเปน็ คดคี วามตา่ งๆ

๙. ปญั หาดา้ นอืน่ ๆ หมายถึง ภาวะหรือสถานการณ์ ความทุกข์ ความเดือดร้อนทางสังคม
ที่ไม่พึงประสงค์เก่ียวกับการค้าประเวณี การต้ังครรภ์ไม่พึงประสงค์ การต้ังครรภ์ที่ไม่พร้อม“ความ
ต้องการการสนับสนุนทางสังคม” หมายถึง ความต้องการท่ีจะได้รับการตอบสนองหรือได้รับการ
ช่วยเหลือของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพยาเสพติดจากบุคคล หรือองค์กร ในด้านข้อมูล ข่าวสาร
วัสดุสิ่งของ หรือการสนับสนุนด้านจิตใจ ทาให้สามารถเผชิญปัญหาและรู้สึกว่าตนมีคุณค่า มีความ
มนั่ คงและเป็นสว่ นหน่ึงของสงั คม แบง่ ออกเปน็ ๔ ดา้ น ดังน้ี

๑. การสนับสนุนด้านอารมณ์ หมายถงึ การให้ความพอใจ การยอมรับนับถอื ความห่วงใย
ความเห็นอกเห็นใจ ความเอาใจใสแ่ ละการรบั ฟงั

๒. การสนับสนุนด้านการประเมินเปรียบเทียบ หมายถึง การให้ข้อมูลป้อนกลับ การเห็น
พ้องให้การยอมรับ เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพยาเสพติดนาไปประเมินตนเองและ
เปรียบเทียบตนเองกับบุคคลในสังคม ทาให้เกิดความม่ันใจโดยเปรียบเทียบตนเองกับบุคคลในสังคม
หรือในสถานการณ์ท่ีคล้ายกัน ซ่ึงจะก่อให้เกิดความม่ันใจ เป็นการเสริมแรงทางสังคม (Social
reinforcement)

๓. การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร หมายถึง การให้ข้อมูล คาแนะนาตักเตือน ให้
คาปรึกษา และการให้ข่าวสารท่ีผู้เข้ารับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพยาเสพติดสามารถนาไปใช้ในการแก้ไข
ปัญหาเก่ียวกับบุคคลและสภาพแวดลอ้ มได้

๖๒

๔. การสนบั สนุนด้านส่ิงของหรือบริการ หมายถึง การให้ความช่วยเหลือโดยตรงด้านวัตถุ
สงิ่ ของ เวลา แรงงาน การเงนิ หรือช่วยปรับสภาพแวดลอ้ มให้เหมาะสม๖

ปัญหาสังคมมีอยู่มากมายและอาจจัดหมวดหมู่เป็นประเภทได้หลายแบบ ผู้เขียนเสนอว่า
เราอาจแบ่งปญั หาสงั คมออกเปน็ ๒ ประเภทใหญๆ่ ๗ คอื

(๑) ปัญหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกชนกับสังคมหรือปัญหาการปรับตัว
ของปจั เจกชนให้สอดคล้องกับการเปล่ยี นแปลงของสังคมและ

(๒) ปัญหาเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มต่อกลุ่ม หรือการจัดระเบียบภายใน
สังคม ตัวอย่างของปัญหาสังคมประการแรก ได้แก่ ปัญหาเยาวชน ปัญหาวัยรนุ่ ปัญหาคนแก่ ปัญหา
พฤติกรรมเบี่ยงเบน เช่น การติดยาเสพติดต่างๆ การติดฝนิ่ ติดกัญชา ติดเหล้า ปัญหาโรคจิต เป็นต้น
ตัวอย่างปัญหาประการหลังได้แก่ ปัญหาการขัดแย้งระหว่างเชื้อชาติ ปัญหากรรมกรกับนายทุน
ปัญหาที่อยู่อาศัยแหล่งเสื่อมโทรม ปัญหาสภาวะแวดล้อม เป็นต้น ปัญหาจราจรหนาแน่น ปัญหาการ
เพ่มิ ของประชากร เป็นต้น

ในหนังสอื น้จี ะแบ่งปัญหาเป็นประเภทตา่ งๆ ตามประสบการณ์ คือ ปัญหาทม่ี กั ได้ยนิ ไดฟ้ ัง
กันอยู่เสมอ คือ ปัญหาทางเศรษฐกิจ ทางการเมืองและทางสังคม ปัญหาทางเศรษฐกิจได้แก่
ภาวการณ์ทางเศรษฐกิจที่คนในสังคมเป็นจานวนมากรู้สึกว่าคุกคามคุณค่าของคนและต้องการจะ
แก้ไขให้ดีข้ึนหรือขจัดให้หมดไป เพราะเช่ือว่าคนหรือสังคมของคนสามารถทาได้ เช่น ความยากจน
การขนส่งอาชีพต่างๆ การตลาด ราคาสิ่งของแพง เงินเฟ้อ เงินฟุบ เศรษฐกิจตกต่า เป็นต้น ปัญหา
ทางการเมืองได้แก่ ภาวการณ์ทางการเมืองท่ีคนในสังคมจานวนมากรู้สึกว่า คุกคามคุณค่าของคน
และต้องการจะแก้ไขให้หมดส้ินไปหรือเบาบางลง เพราะเชื่อว่าพวกตนสามารถแก้ไขได้ เช่น การ
คอรัปชั่น ซงึ่ อาจแบ่งย่อยออกเป็น การโกงรปู แบบต่างๆ การเบียดบังเวลาราชการ การเล่นพรรคเล่น
พวก การรับสินบน เป็นต้น การแทรกซึมของลัทธิคอมมิวนิสต์ สงคราม เป็นต้น ปัญหาทางสังคม
ได้แก่ ภาวการณ์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลท่ีคนในสังคมเป็นจานวนมากรู้สึกว่าคุกคามต่อ
คุณค่าของตน จึงต้องการแก้ไขโดยเห็นว่า การกระทาเช่นน้ันอยู่ในวิสัยของกลุ่มหรือสังคมของตนเอง
จะทาได้ เช่น ปัญหาการศึกษาอนามัย อาชญากรรม ปัญหาวัยรนุ่ ยาเสพติด สภาวะแวดล้อมเป็นพิษ
และปญั หาประชากรเพ่มิ อย่างรวดเรว็ เป็นต้น

ปัญหา หมายถึงประเด็นท่ีเป็นอุปสรรค ความยากลาบาก ความต้านทาน หรือความท้า
ทาย หรือเป็นสถานการณ์ใดๆ ที่ต้องมีการแก้ปัญหา ซ่ึงการแก้ปัญหาจะรับรู้ได้จากผลลัพธ์ของการ
แก้ปัญหาหรือผลงานที่นาไปสู่วัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย ประเด็นปัญหาแสดงถึงทางออกที่ต้องการ
ควบคู่กับความบกพร่อง ข้อสงสัย หรือความไม่สอดคล้องท่ีปรากฏข้ึน ซ่ึงขัดขวางมิให้ผลลัพธ์ประสบ
ผลสาเร็จ ประเภทของปญั หาปญั หาอาจจัดแบ่งประเภทได้ดว้ ยหลายปจั จยั อาทิ

๖ พเิ ชฐ จนั ทรเ์ จนจบ และคณะ, “ปญั หาและความต้องการการสนับสนนุ ทางสงั คมของผู้เข้ารับการ
ฟื้นฟูสมรรถภาพยาเสพติดแบบควบคุมตัวไม่เข้มงวดของสถานบาบัดรักษายาเสพติดในสังกัดกรมการแพทย์
กระทรวงสาธารณสุข”, (สถาบันบาบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนีกรมการแพทย์
กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ.๒๕๕๕), หน้า ๕ – ๗.

๗ ธีระวัส บาเพ็ญบุญบารมี, รู้ปัญหาสังคม, โครงการธรรมวิจัย, (มหาบัณฑิตสาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา:
มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๕๐) หน้า ๑๑ – ๑๒.

๖๓

กรณีที่ ๑ แบ่งประเภทได้ดว้ ยหลายปัจจยั อาทิ
ประเภทของปัญหาแบ่งตามลักษณะท่ัวไป-เฉพาะกิจ โดยพีเตอร์ ดรักเกอร์ (Peter
Drucker) แบง่ เปน็ ๔ ประเภทได้แก่
(๑) ปัญหาท่ัวไปโดยแท้จริง - เกิดข้ึนได้บ่อยและทั่วไปในหลายโอกาส ผู้ท่ีเก่ียวข้องอาจ
สร้างแบบจาลองเพือ่ รบั มอื กับปัญหา ปัญหาจงึ สามารถแก้ไดโ้ ดยงา่ ย
(๒) ปัญหาท่ัวไป แต่เฉพาะกิจในสถานการณ์เอกเทศ - เมื่อแบบจาลองสาหรับรับมือกับ
ปัญหาไม่สามารถแก้ไขได้ จาเป็นต้องมีการวิเคราะห์เพ่ิมเติมเพ่ือแก้ปัญหาเป็นเรื่องๆ ไป ปัญหา
ลกั ษณะนีอ้ าจเกิดซ้าได้อกี แตร่ ายละเอยี ดจะไมเ่ หมือนกนั
(๓) ปัญหาเฉพาะกิจโดยแท้จริง - รายละเอียดของปัญหาแตกต่างจากปัญหาอื่นโดย
สนิ้ เชิง เกดิ ข้ึนได้น้อยและตอ้ งการการวเิ คราะห์อย่างสงู เมื่อปัญหาได้รับการแกไ้ ขอาจจะไม่เกิดปัญหา
แบบเดมิ อกี
(๔) ปญั หาท่วั ไปทีค่ ดิ ไวล้ ่วงหน้าเปน็ ปญั หาใหม่ - เปน็ การเตรียมรับมอื ปัญหาทัว่ ไปที่จะ
เกดิ ขน้ึ ในอนาคตโดยผู้ทเี่ กยี่ วข้อง แมป้ ญั หานั้นจะยังไมเ่ กดิ
ประเภทของปัญหาแบ่งตามรากฐานกาเนิด โดยแดเนียล เทยากู (Daniel Theyagu)
แบง่ เปน็ ๔ ประเภทได้แก่
(๑) ปัญหาที่มาจากคาถาม - เกิดข้ึนเม่ือมีคาถามท่ีต้องการคาตอบ และบางคร้ังมันก็
อาจจะยากท่ีจะให้คาตอบ เพราะอาจต้องรวบรวมข้อมูลและข้อเท็จจริงท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อนามาตอบ
คาถามหรือตดั สนิ ใจ
(๒) ปัญหาที่มาจากสถานการณ์ - เกิดขึ้นเม่ือสถานการณ์ปัจจุบันประสบสภาวะลาบาก
ตอ้ งกระทาการอย่างใดอย่างหน่ึงเพื่อแก้ปัญหา บางคร้ังปัญหาเกดิ ขึ้นเม่ือจาเป็นต้องเลือกส่ิงหน่ึงและ
จาใจตอ้ งละทิ้งอกี ส่งิ หนึง่ ซ่ึงสิง่ ที่ถกู ละทิ้งกอ็ าจจะเป็นปัญหาใหม่
(๓) ปัญหาท่ีมาจากการโน้มน้าว - การโน้มน้าวจูงใจจากเพื่อนร่วมงาน เจ้านาย ลูกค้า
หรือคนในครอบครัว อาจก่อให้เกิดปัญหา เน่ืองจากหากเห็นใจและทาตามการโน้มน้าว อาจจะส่งผล
กระทบต่อตัวเองหรือผู้ท่ีเก่ียวข้อง หรือหากไม่ทาตามก็จะถูกตาหนิหรือถูกตราหน้าจากเพ่ือนร่วมงาน
ฯลฯ ดงั กล่าว
(๔) ปัญหาท่ีมาจากการแก้ปัญหา - เป็นปัญหาท่ีจาเป็นต้องได้รับการแก้ไขปัญหา หากไม่
แก้ปัญหาจะไม่สามารถดาเนินงานต่อไปได้ ควรมีการวางแผนเพื่อรับมือกับปัญหาเดิมท่ีอาจเกิดข้ึนได้
ในอนาคต
ประเภทของปัญหาแบง่ ตามความคงอยู่ โดยจแู รน (Juran) แบง่ เปน็ ๒ ประเภทไดแ้ ก่ [๓]
(๑) ปัญหาคร้ังคราว - เกิดขึ้นไม่บ่อย ไม่สามารถคาดการณ์ได้ แต่สามารถทาให้ปัญหา
หมดไปได้
(๒) ปัญหาเรื้อรัง - เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา สามารถคาดการณ์ได้ อาจแก้ไขให้หมดไปไม่ได้
แต่สามารถลดความรุนแรงใหน้ ้อยลงได้
ประเภทของปัญหาแบ่งตามความซับซ้อน โดยเอเมอรี (F.E. Emery) และทริสต์ (E.L.
Trist) แบง่ เป็น ๔ ประเภทได้แก่

๖๔

(๑) ปัญหาไม่ซับซ้อนและแก้ได้ด้วยตัวเอง - เป็นปัญหาท่ีง่ายต่อการจัดการและกาจัดให้
หมดส้นิ ไป ดว้ ยพละกาลังทตี่ ัวเองมีอยู่

(๒) ปัญหาไม่ซับซ้อนและต้องรวมกลุ่มเพ่ือแก้ปัญหา - เป็นปัญหาท่ียากมากข้ึน ไม่
สามารถแก้ไดด้ ้วยพละกาลงั ของตัวเอง จาเป็นต้องมกี ารรวมกลุม่ กับหนว่ ยอ่ืนเพือ่ แกป้ ัญหาร่วมกนั

(๓) ปัญหาซับซ้อนและเปล่ียนแปลงไปตามวิสัย - เป็นปัญหาท่ีเกิดข้ึนหลังจากหรือใน
ระหว่างการแก้ปัญหาอื่น ซ่ึงผลลัพธ์ของการแก้ปัญหาก่อให้เกิดปัญหาใหม่ตามมา อาจต้องมีการ
รวมกลมุ่ เพอ่ื แกป้ ัญหา

(๔) ปัญหาซับซ้อนและเปล่ียนแปลงอย่างก้าวรา้ ว - เป็นปัญหาท่ีมีความซับซ้อนมากท่ีสุด
เน่ืองจากไมส่ ามารถคาดการณไ์ ด้ มีความไม่แนน่ อนและความเสยี่ งสูง

๓.๕ ประเด็นปญั หาสังคมที่สาคญั

ประเดน็ ปญั หาสังคมทีส่ าคญั สรุปสั้นๆ ดงั น้ี
๑. ประเทศไทยมีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วทางด้านวัตถุ แต่เกิดความเส่ือม
ทางด้านจิตใจ ค่านิยมและสังคมคนไทยประพฤติปฏิบัติที่แสดงถึงความเสื่อมทางจิตใจอย่างเห็นได้
ชัดเจนหลายประการ เช่น นิยมวัตถุ นิยมความหรูหราฟุ่มเฟือย ยกย่องคนรวย โดยไม่คานึงถึงว่าจะ
รา่ รวยมาได้โดยวิธใี ด เกิดการแขง่ ขันเอารัดเอาเปรียบ ไม่คานึงถึงคุณธรรม จริยธรรม การเบียดเบียน
เอารัดเอาเปรียบน้ีนอกจากจะเบียดเบียนกันเองแล้ว ยังเบียดเบียนรุกรานธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
อกี ด้วย ท่ีดนิ ปา่ ไม้ แม่นา้ สภาพธรรมชาติ ถกู รกุ ราน ยึดครอง ถูกทาลาย สภาพน้าเน่าเสีย สภาพคน
จนอยู่ใน สลัมท่ามกลางตึกสูงอันหรูหราใหญ่โต สภาพความยากจนแร้นแค้นของคนในชนบท และ
สภาพเสื่อมโทรมทางสังคม อันเกิดจากความเส่ือมทางจิตใจมีมากยิ่งขึ้น จะเห็นได้จากปัญหายาเสพ
ติด โสเภณี โรคเอดส์และปัญหาอ่ืน ๆรวมถึงการละเลยด้านศาสนา และประเพณีเป็นต้น
๒. ปญั หาอื่นๆ ที่สืบเนอ่ื งจากความเสอื่ มทางดา้ นจิตใจและค่านิยม คือ

๒.๑ ทรัพยากรและสงิ่ แวดล้อมเสอ่ื มโทรมลงอย่างมากและอย่างรวดเร็ว
๒.๒ ความเหลื่อมล้าระหว่างคนรวยและคนจนมีมากย่ิงข้ึน คนรวยมีเพียงจานวน
เล็กน้อย แต่เป็นเจ้าของทรัพย์สมบัติมากมาย ทาให้คนจนส่วนใหญ่ท่ีจนอยู่แล้วกลับยิ่งยากจนลงไป
กว่าเดิมอกี
๒.๓ ความเจริญกระจกุ อยู่แต่ในเมอื งไมไ่ ดก้ ระจายออกไป ทาให้คนชนบทอพยพเข้า
สเู่ มืองเกดิ ปญั หาตามมาทัง้ ในชนบทและในเมือง
๒.๔ ระบบราชการขาดประสิทธิภาพ เพราะปรับสภาพไม่ทันกับปัญหาสังคมที่
ซบั ซอ้ นในเมอื งหลวงและในชนบท
๒.๕ คนไทยส่วนใหญ่พ้นื ฐานการศึกษายังน้อย ปรบั ตัวไม่ทันเทคโนโลยใี หม่ ๆ ที่เข้า
มาสูป่ ระเทศไทยโดยเฉพาะเรื่องข้อมูลขา่ วสาร และเทคโนโลยที างด้านคอมพิวเตอรเ์ ป็นตน้
๓. วิกฤตการณ์ทางการเมือง หมายถึง ระบบการเมืองของ ไทยอันเป็นแบบแผน ของ
สังคมในการปกครองประเทศ และดูแลทุกข์สุขของประชาชนให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุข ขณะนี้การ
เมอื งไทยมีปัญหาถงึ ๘ ประการ คือ
๓.๑ ใช้เงนิ เป็นใหญ่

๖๕

๓.๒ มกี ารผกู ขาดการเมืองโดยคนจานวนนอ้ ย
๓.๓ คนดีมีความสามารถเขา้ ไปสกู่ ารเมืองได้ยาก
๓.๔ การทจุ รติ ประพฤติมิชอบมีอย่ใู นทกุ ระดบั
๓.๕ การเผดจ็ การโดยระบอบรฐั สภา
๓.๖ การตอ่ ส้ขู ดั แย้งเร้ือรงั และความไร้เสถียรภาพทางการเมอื ง
๓.๗ การขาดประสิทธภิ าพทางการบริหารและนติ ิบญั ญตั ิ
๓.๘ การขาดสภาวะผนู้ าทางการเมือง
๔. วกิ ฤตการณ์ในระบบราชการ หมายถงึ ระบบราชการอนั เป็นเคร่อื งมอื ปัญหาสังคมไทย
กลับกลายเป็นปัญหาเสียเอง เช่น ปัญหาความเสื่อมศักด์ิศรีของระบบราชการ ทาให้คนดีคนเก่งหนี
ระบบราชการ ปัญหาคอรปั ชั่นในวงราชการปญั หาคุณธรรม เปน็ ตน้
๕. วิกฤตการณ์ของการศึกษา หมายถึง การศึกษาของไทยอัน เป็นเคร่ืองมือในการ
แก้ปัญหาของสังคมไทยกลายเป็นตัวปัญหาเสียเอง เช่นการเรียนแบบท่องจาเน้ือหาไม่ทันตอ่ ความรู้ที่
เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว ปัญหาการแก่งแย่งแข่งขัน ปัญหาระบบการศึกษา การบริหาร การกระจาย
โอกาสการศึกษา รวมถึงการศึกษาของสงฆ์ก็มีปัญหาด้วยประมวลสรุป สภาพปัญหาของเยาวชนไทย
ถ้ามองถึงปัญหาของเยาวชนไทยจะต้องยอมรบั เสยี ก่อนวา่ เยาวชนไทยส่วนใหญ่เป็นคนดี เป็นพลเมอื ง
ดีของชาติ แต่ผู้ใหญ่คาดหวังจะใหเ้ ขาเป็นคนดียิ่งขึ้นไปอกี และมีเยาวชนอีกจานวนหน่ึงมีปัญหา ซ่งึ คา
วา่ จานวนหนึ่งน้ีเม่อื เทียบกบั เยาวชนท้งั ประเทศ เยาวชนท่มี ีปญั หากน็ บั จานวนเปน็ ลา้ นทีเดียว
จากลักษณะของเยาวชนไทยที่มีจานวนมากเช่นน้ี หากจะทาความเข้าใจและให้ความ
สนใจเยาวชน ก็ควรเข้าใจว่าเยาวชนแยกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ซึ่งแบ่งแยกตามลักษณะสังคมอยู่แล้ว คือ
๑. กลุ่มเยาวชนที่อยู่ในสถานศึกษา โรงเรียนเริ่มตั้งแต่นักเรียนชั้นมัธยมเร่ือยไปจนถึง
ระดับมหาวทิ ยาลัย เยาวชนกลุ่มนสี้ ่วนใหญ่เป็นคนดี ใฝศ่ ึกษาหาความรู้ มคี วามรู้ สนใจสิ่งทอี่ ยรู่ อบตัว
และสนใจเร่ืองราวทั้งทอี่ ยู่ใกล้ตัว ไกลตัว รวมไปถึงเรอ่ื งราวตา่ งๆ ท่ีเกิดข้ึนทวั่ โลก เป็นกลมุ่ ท่ีมีกิจกรร
รมและความสนใจหลากหลาย
๒. กลุ่มเยาวชนที่อยู่ในชุมชน ในหมู่บ้านหน่ึงหรือชุมชนหนึ่ง จะมีเยาวชนอยู่จานวนไม่
น้อยทีเดียว เยาวชนเหล่าน้ีจะมีลักษณะที่หลากหลายปะปนกัน เยาวชนจานวนหน่ึงออกไปทางาน
นอกบ้านแล้วกลบั มาตอนเย็น บางกลุ่มทางานช่วยพ่อแมอ่ ยูบ่ ้าน บางกลุ่มอยู่บ้านเฉยๆ บางกลุ่มก็เข้า
มาอยู่ในชุมชนอย่างแอบแฝง ดังน้ันเยาวชนกลุ่มน้ีจึงมีลักษณะหลากหลาย มีต้ังแต่เยาวชนผู้นา
รวมกลุ่มทากิจกรรมให้แก่สังคมอย่างเข้มแข็ง เป็นกาลังสาคัญของหมู่บ้านรองจากผู้ใหญ่รวมไปถึง
พวกอย่เู ฉยๆ กนิ เหล้าเมายา ลักเล็กขโมยน้อย รวมไปถึงตดิ ยาเสพติด และเร่ืองอ่ืนๆ ดว้ ย
๓. กลุ่มเยาวชนทีอ่ ยใู่ นสถานประกอบการ เยาวชนกลุ่มน้ีมตี ้ังแต่เดก็ ท่ีเพิ่งจบช้ันประถมปี
ที่ ๖ แล้วก็ เข้าไปรับจ้างขายแรงงาน แต่ส่วนใหญ่จะเป็นเยาวชนวัยกาลังหนุ่มสาว อายุระหว่าง ๑๘
ปี ไปจนถึง ๒๕ ปี ซ่ึงถือว่าเป็นเยาวชนเต็มตัว คนวัยหนุ่มสาวน้ีจะไปทางานรวมตัวกันอยู่ตามเมือง
ใหญ่ๆ หรือเมืองอุตสาหกรรม เช่น กรุงเทพ ฯ ระยอง อยุธยา นครราชสีมา เป็นต้น เยาวชนดังกล่าว
พ้นื ฐานความรู้ส่วนใหญ่จบแค่ ป. ๖ ต้องจากบ้านท่ีค้นุ เคยกับชวี ิตชนบท แบบชาวไร่ชาวนามาใช้ชีวิต
แบบอุตสาหกรรม ต้องทางานตรงตามเวลาเข้าทางาน เวลาเลิกงาน ได้ค่าจ้างท่ีไม่มากทางานหนัก
ต้องทางานนอกเวลาเพ่ิมเพื่อให้ได้เงินมากขึ้น อาหารการกินจากัด ท่ีอยู่คับแคบ เวลาพักผ่อนน้อย

๖๖

ว่างเพียงวันอาทิตย์วันเดียว จะรีบออกไปเที่ยวพักผ่อนตามศูนย์การค้าหรือสวนสาธารณะ มีปัญหา
ทางจิตใจ ปัญหาทางเพศ จับคู่อยู่กันแบบผัวเมียเร็ว มีลูก เกิดปัญหา เกิดการแตกแยก รวมถึงเรื่อง
ปัญหายาเสพติด เปน็ ตน้

๔. เยาวชนในวดั กลุ่มนม้ี ีทัง้ สามเณร รวมไปถึงเด็กวัดและคนอาศัยวัดอยสู่ ่วนใหญม่ าจาก
ครอบครวั ที่มีฐานะยากจน บวชเณรเพ่ือหนีความยากจนและเบ่ือเรียนหนังสอื ส่วนใหญ่เป็นเยาวชนผู้
ใฝด่ ี แต่ขาดแคลนทุกอย่าง มคี วามเหงาว้าเหวท่ างใจ โดยเฉพาะเดก็ วัด การขาดหรอื ความไม่เท่าเทยี ม
คนอ่ืนทาใหข้ าด ความมัน่ ใจ หรือมฉิ ะนน้ั กจ็ ะหันไปในทางท่ีผดิ

ปญั หาเยาวชนแยกได้เปน็ ๒ ลักษณะ คือ
๑. ปัญหาร่วม หมายถึง ปญั หาทมี่ อี ยู่แลว้ สังคมสรา้ งปญั หา ผู้ใหญส่ ร้างปญั หาเยาวชนอยู่
ในสังคมกไ็ ดร้ ับปญั หานน้ั ซง่ึ จะโทษเยาวชนคงไม่ได้ ปัญหาร่วมท่สี าคัญจะยกตัวอย่างใหเ้ หน็ ดังนี้

๑.๑ ปัญหาเรื่องบุหรี่ เหล้า การพนัน การกินเหล้า สูบบุหรี่ เล่นการพนัน เป็นส่ิงที่
ผู้ใหญ่สร้างขน้ึ มาทาขึน้ มา และผใู้ หญก่ ็ปฏบิ ัติกนั อยู่แล้ว เยาวชนเห็นตัวอย่างก็กนิ สูบและเสพเหมือน
ผใู้ หญ่

๑.๒ ปัญหาแหล่งบันเทิง ผับ บาร์ ดิสโก้เธค สถานอาบ อบ นวด ซ่อง ส่ิงเหล่าน้ีมี
ทั่วไปในสังคมไทย แม้บางอย่างกฎหมายกาหนดไว้ในทางปฏิบัติก็มีการปล่อยให้เยาวชนเข้าเสพได้
อย่างเสรี

๑.๓ ปัญหาเร่ืองภาพยนตร์โป๊ หนังสือโป๊ หรือเรื่องโป๊เปลือยร่างกาย เรื่องทางเพศ
ดงั กล่าว เยาวชนเข้าถึงได้โดยไม่มขี อ้ จากัด เช่นเดียวกบั ผู้ใหญ่

๑.๔ ปัญหายาเสพติด ยาบ้า ยาอี เฮโรอีน และอ่ืนๆ สิ่งเสพติดดังกล่าวมีอยู่แล้วใน
สงั คมและผใู้ หญ่กเ็ สพอยู่แลว้ เยาวชนกท็ าไดเ้ ช่นกัน

๑.๕ ปัญหาการเอารัดเอาเปรียบ การโกงกิน คอรัปช่ันของนักการเมือง พ่อค้า
ข้าราชการ รวมไปถึงเร่ืองการฝ่าฝืนกฎหมาย ระเบียบสังคม สิ่งเหล่านี้ปรากฏอยู่ทั่วไป เยาวชนย่อม
ทาตามและสร้างปญั หาเชน่ เดยี วกบั ผู้ใหญ่

๒. ปัญหาเฉพาะของเยาวชน ปัญหาเฉพาะดังกล่าวน้ีก่อให้เกิดปัญหาอ่ืนๆ แก่เยาวชนอีก
มาก ลกั ษณะของปัญหาเกดิ จากลกั ษณะเฉพาะของความเป็นเยาวชนนน่ั เอง ซง่ึ กล่าวแต่เพียงประเด็น
สาคัญพอเปน็ แนวพจิ ารณา ดงั น้ี

๒.๑ ปัญหาเฉพาะของเยาวชนอันเกิดจากความอยากรู้ อยากเห็น อยากทดลอง ปัญหา
อยากต่างๆ ทก่ี ลา่ วน้ีเป็นต้นเหตุของปัญหาอื่น ๆ เชน่ อยากทดลองเหล้า บุหรี่ ยาเสพตดิ ทดลองเป็น
คนู่ อนกนั ทดลองขับรถแขง่ กัน ยังมีการอยากทดลองขับแข่งรถ ยังมีการอยากการทดลองอย่างอื่นอีก
มาก ล้วนใหเ้ กิดปัญหาตามมาทัง้ สิน้

๒.๒ ปัญหาตามเพ่ือนหรือปญั หาติดกลมุ่ ช่วงวัยรุน่ เปน็ ช่วงที่ทาตามเพื่อนเป็นใหญ่จงึ เกิด
ปัญหาอ่ืนตามมา เช่น เพื่อนเข้าบาร์ก็เข้าด้วย เพ่ือนใส่กระโปรงสั้นก็ใส่ด้วย เพื่อนร้องเพลงฝร่งั ก็ร้อง
ด้วยเพ่อื นกินไกเ่ ค้นตักกี้ กินพซิ ่า กท็ าตามด้วย ยง่ิ ไปกว่านัน้ เพอ่ื นๆ ไม่เขา้ วัดกไ็ ม่เขา้ ด้วย

๒.๓ ปญั หาความว้าเหว่ ความเหงา ซงึ่ เป็นลักษณะเฉพาะของวยั รนุ่ เหงาเพราะขาดเพ่ือน
ไม่ได้ มีอะไรไม่เท่าเพ่ือน ทาให้ไม่พอใจในฐานะตัวเอง เกลียดพ่อแม่พาลหนีออกจากบ้านไปเข้ากลุ่ม

๖๗

เพ่ือน เหงาหรือว้าเหว่เพราะไม่ม่ันใจในตัวเองก็ออกแสวงหาความมั่นใจทั้งในทางที่ถูกและทางที่ผิด
ใครห้ามกไ็ มฟ่ งั ทาให้เกิดปญั หาอ่นื ตามมาอกี มากมาย

๒.๔ ปัญหาการขาดการอบรมกล่อมเกลาขาดความใกล้ชิดสนิทสนม ทั้งจากครอบครัวทั้ง
จากสังคมแวดล้อม จากสังคม เช่น สนามกีฬาท่ีออกกาลังกายไม่มี ที่พักผ่อนหย่อนใจไม่มี ท่ีจัด
กจิ กรรมตา่ งๆ ตามความสนใจไมม่ ี โดยเฉพาะเมืองใหญๆ่ ไม่มสี ่งิ เหลา่ น้ี

ด้านครอบครัวเช่น พ่อแม่ไม่มีเวลาให้ลูก ไม่เคยใกล้ชิดลูก ไม่เคยแนะนากล่อมเกลาหรือ
เป็นตัวอย่างท่ีดี เหล่านี้ล้วนเป็นพ้ืนฐานของการขาดความสัมพันธ์สืบเนื่องกัน ความสัมพันธ์ดังกล่าว
เป็นการสืบทอดความคิด ความเชื่อ ประเพณี แนวปฏิบัติต่อตนเองและสังคม การขาดท้ังสองเรื่อง
ดงั กลา่ วทาให้เยาวชนสรา้ งปญั หาใหต้ วั เองและสังคม เพราะเยาวชนเปน็ วัยที่กาลังใฝ่หาแบบอยา่ งจาก
ผูใ้ หญ่และจากสงั คม

๔.๖ จุดอ่อน จดุ แขง็ ของเยาวชนไทยในยุคโลกาภิวฒั น์

๑. จุดแข็งของเยาวชนไทย
๑.๑ เป็นคนมีเหตุผล ความมีเหตุผลนี้จะทาให้พฤติกรรมกล้าถาม กล้าตอบ กล้า

โตเ้ ถียง ซึ่งผู้ใหญจ่ ะมองว่าหวั แข็ง ไม่มีสมั มาคารวะ แต่ ลักษณะมีเหตุมผี ลนี้เปน็ คุณสมบัตทิ เี่ หมาะกับ
โลก ปัจจบุ ัน อนั เปน็ ยุคโฆษณา

๑.๒ เปน็ ตวั ของตัวเอง ความเปน็ ตวั ของตัวเองคอื อยากทาอะไรก็ทาทต่ี ัวเองเห็นวา่ ดี
ถูกต้อง เช่น การยืน การพูด ถกเถียง การแต่งตัว แม้แต่การเข้าไปในวดั คุยกับพระ หากผู้ใหญ่ไม่เข้า
ใจความเปน็ ตัวของวัยรนุ่ กจ็ ะตาหนิหรือหาว่าไม่มมี ารยาท ไม่มีสัมมาคารวะ

๑.๓ ความกล้า ความสนใจกว้างกว่า การก้าวทันวิทยาการใหม่ๆ วัยรุ่นเป็นคนรุ่น
ใหม่จะกล้ามากกว่าเดิม กล้าเรียน กล้าทางาน กล้าเป็นนักร้อง กล้าเป็นนางแบบ รู้เร่ืองคอมพิวเตอร์
อนิ เตอร์เน็ต รคู้ วามเคล่อื นไหว ความเป็นไปตา่ งๆ ของสงั คม และโลก ทง้ั ท่ใี กล้และไกลตัว

๒. จุดอ่อนของเยาวชนไทย
๒.๑ ความอ่อนแอในเชิงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตแบบไทยอันเน่ืองมาจากชีวิต

ครอบครัว ลักษณะสังคมไทยเปล่ียนไปมาก พ่อแม่ไม่มีเวลาส่ังสอนอบรมลูกน้อยลง เยาวชนเข้าเรียน
หนังสือในชีวิตอยู่ในโรงเรียนตั้งแต่วัยเยาว์ โรงเรียนไม่สามารถอบรมกล่อมเกลาเยาวชนในด้าน
วัฒนธรรมและวถิ ีชีวิตได้เท่าเทียมกับพ่อแม่และชุมชน หรือจะกล่าวง่ายๆ คือ วัด บ้าน โรงเรียน แยก
ส่วนกันไม่เป็นสังคมที่กลมกลืนกัน การหล่อหลอม อบรม สืบทอดวัฒนธรรมและวิถีชีวิตแบบไทยก็
อ่อนด้อยไป ยิ่งเยาวชนที่อยู่ในวัยทางานต้องจากครอบครัวไปอยู่ต่างถิ่น อยู่ในสังคมโรงเรียน ยิ่งเกิด
การแตกแยก ทั้งทางด้านจิตใจและการดาเนินชีวิต ความอ่อนแอในทางวัฒนธรรมทาให้ขาดจุดยืน
ขาดความม่ันใจ ขาดการใคร่ครวญและรับหรือไม่รับสิ่งต่างๆ ที่เข้ามากระทบได้ง่าย เกิดความสับสน
ในการดาเนินชีวิตแบบไทยท่ีเหมาะสมถงึ สภาพปัจจุบัน เยาวชนจานวนไม่น้อยเห่อเหิม ฟุม่ เฟอื ย หนัก
ไม่เอาเบาไม่สู้ หลงวตั ถุ หลงเงนิ ตรา ก่อปัญหาใหต้ วั เองและสังคม

๒.๒ ความว้าเหว่ เปล่าเปล่ียว สับสนวุ่นวายทาง สภาพครอบครัว สภาพสังคมท่ี
สับสน สภาพการแข่งขัน สภาพชิงดีชิงเด่น เอารัดเอาเปรียบ ทาให้จิตใจของเยาวชนจานวนไม่น้อย
เกิดความสับสนวุ่นวาย ย่ิงวัยรุ่นเป็นวัยที่ติดเพ่ือนพลอยทาให้ตัดสินใจอะไรพลาดพลั้งได้ง่าย ย่ิง

๖๘

ประเภทพ่อแม่ไม่มีเวลาให้ลูกหรือครอบครัวมีปัญหา ครอบครัวแตกแยก หรือการออกไปทางานต่าง
ถนิ่ ยง่ิ เสีย่ งตอ่ การตดั สนิ ใจในทางท่ผี ิดก่อปญั หาต่อตวั เองและสงั คม

จุดอ่อนของเยาวชนท้ัง ๒ ข้อ เป็นพ้ืนฐานสาคัญท่ีสุด ก่อให้เกิดปัญหาอ่ืน ๆ ตามมาที่น่า
สังเกต ก็คือ เป็นเรื่องของจิตใจอันเป็นผลให้คนดาเนินชีวิตไปท้ังในทางช่ัวและทางดี เรื่องการนาและ
อบรมทางใจนี้ พระสงฆย์ ่อมมบี ทบาทสงู สุดอยา่ งไมต่ ้องสงสัย

สิ่งทีเ่ ยาวชนสับสนและอยากไดค้ าตอบมากที่สุด
๑. ความจริงของชวี ติ เกดิ มาทาไม ความจริงของโลก จกั รวาล คอื อะไร
๒. อะไรคือความช่ัว อะไรคือความดี คนทาชั่วทาไมจึงได้ดี ทาไมจึงมีเกียรติ ทาไมจึง
รา่ รวย คนทาดีทาไมจงึ ยากจน คนซือ่ สัตย์สจุ ริตทาไมจึงถูกโกง ถูกเอารัดเอาเปรยี บ
๓. ค่านิยมท่ีดีคืออะไร คนท่ีเรยี บร้อย อยู่กับเหย้าเฝา้ กับเรอื นทาไมเพื่อนจึงกล่าวหาว่าหัว
ออ่ น, คนท่ีเปลือยผ้าถ่ายรูป มีรายไดส้ ูง มีคนนยิ มชมชอบ เป็นคา่ นยิ มที่ดหี รอื ไม่ , คนท่คี ดโกงมคี วาม
ร่ารวย มีอิทธิพล ได้เป็นรัฐมนตรีปกครองคน เป็นผู้นาประเทศ เป็นค่านิยมท่ีดีหรือเลว เหล่านี้เป็น
คาถามในใจเยาวชน
๔. วิกฤตการณ์ด้านจิตใจ อันหมายถึง ความสับสนยุ่งเหยิงทางใจท่ีเป็นข้อขัดแย้ง เป็น
คาถามในใจของเยาวชนตลอดเวลา เชน่ ทาไม ตุด๊ ดี้ จึงดังในจอทีวี คนนยิ มชมชอบ ทาไมตารวจ ทาง
หลวงจึงเก็บส่วยจากรถบรรทุก สร้างความร่ารวยให้ตัวเองได้ ทาไมผู้ใหญ่รณรงค์ให้เยาวชนรักษา
ความสะอาด ฟุตบาทจึงเต็มไปด้วยแผงขายอาหาร ขายของสกปรกจนไม่มีที่เดิน ทาไมคนหนุ่มสาว
ผู้ใช้แรงงานจึงถูกเอาเปรียบค่าแรง แล้วทาไมจึงให้ตา่ งชาติเข้าเมืองผิดกฎหมาย มาขายแรงงานราคา
ถูกไม่ถกู จบั คาว่าทาไมๆ ๆ เยาวชนนม้ี มี ากมาย เกดิ วิกฤตทางจติ ใจตลอดเวลา
สภาพปัญหาเยาวชนไทยยุคโลกาภิวัตน์ทั้งหลายท้ังปวงมาจากความสับสนวุ่นวายทาง
จิตใจ จิตใจเยาวชน ไม่มัน่ คงไม่มีอะไรเปน็ เครอ่ื งยดึ ม่ัน องค์กรของรฐั ทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการศึกษาโดยตรง
เช่นสานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติกระทรวงศึกษาธิการ และ หน่วยงานที่เก่ียวข้อง มี
นโยบายในการแก้ปญั หาก็จริง แต่ขาดการปฏิบตั ติ ่อเน่อื ง และจริงจงั
ดังนั้น องค์กรทางศาสนา หลักธรรมคาสอน และพระสงฆ์เท่าน้ัน จะเป็นผู้สร้าง ผู้ช้ีทาง
และเป็นผู้นาทางทางจิตใจของเยาวชนไทย เป็นผู้อธิบายค่านิยมท่ีถูกต้อง ผู้อธิบาย ความดี ความชั่ว
ความจริงของโลกและความสุขอันแท้จริงของชีวติ เป็นผู้ช้ีนาความสวา่ ง ความสงบ ท้ังแก่เยาวชน และ
แก่คนไทยทุกคนให้พบแต่ความสุขความเจริญ แต่น่ันก็หมายถึงว่าพระสงฆ์เองก็ต้องพัฒนาตนเอง ให้
อยู่ในสภาวะทพ่ี ร้อมจะชว่ ยเหลือสังคม แก้ปัญหาสังคม ไมเ่ ป็นปญั หาสังคมเสียเอง

๔.๗ ปญั หาสงั คมปัจจบุ ันด้านตา่ งๆ

ผูเ้ ขยี นไดแ้ บง่ ปัญหาสงั คมออกเป็นด้านต่างๆ ดังต่อไปน้ี
๔.๗.๑ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๑) ปัญหาสอื่ ลามกอนาจารบนเครอื ข่ายอินเตอร์เนต็ ถอื วา่ เปน็ ปญั หาท่ีร้ายแรงอย่าง
หนึ่งซึ่งจะต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน ปัจจุบันมีการใช้งานอินเตอร์เน็ตอย่างแพร่หลาย และก็มี
กลุ่มคนจานวนหน่ึงที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตไปในทางท่ีไม่เหมาะสม เช่น ใช้เผยแพร่สื่อลา มก
อนาจาร ไม่ว่าจะเป็น ภาพโป้ คลิปโป้ หรือการทาอนาจารผ่าน webcam และอื่นๆ ที่เกี่ยวกับสื่อ

๖๙

ลามกอนาจารอีก ซ่ึงส่งผลให้เกิดปัญหาสังคมและท้ังยังทาลายวัฒนธรรมอันดีงานของสังคมเราอีก
ดว้ ย

๒) ปัญหาการติดอินเตอร์เน็ต เป็นปัญหาหนึ่งท่ีเกิดข้ึนในสังคมไทย ซ่ึงในปัจจุบันน้ี
อินเตอร์เน็ตถูกใช้กันอย่างแพร่หลาย เพราะในอินเตอร์เน็ตมีบริการต่างๆ มากมาย มีทั้งท่ีเป็นสาระ
ความรู้และสิ่งบันเทิงต่างๆ หากผู้ใช้ไม่รจู้ ักแยกแยะเวลาในการเล่นเพ่ือความผ่อนคลายและเพ่ือทาใน
สิ่งท่ีเป็นประโยชน์แล้ว อินเตอร์เน็ตก็จะให้โทษกับผู้ใช้ และหากใช้ไปนานๆ จนถึงระยะหน่ึงที่ผู้ใช้ไม่
สามารถหยดุ เล่นได้ ก็จะทาให้เกิดการตดิ อนิ เตอรเ์ นต็ ตามมา

๓) "อินเตอร์เน็ต" ดาบสองคมของสงั คมไทย เทคโนโลยีท่ีถกู พัฒนาไปอยา่ งรวดเร็ว ทา
ให้เทคโนโลยีเป็นส่ิงที่ทุกๆคนสามารถเข้าถึงได้ โลกในปัจจุบันจึงกลายเป็นโลกท่ีไร้พรม แดน
"อินเตอร์เน็ต" นามาซ่ึงความสะดวก รวดเร็วในการติดต่อ ส่ือสาร เปน็ เครือ่ งมือทมี่ ีประโยชน์มากมาย
แต่เคร่ืองมือท่ีมีประโยชน์เหล่าน้ี หากนามาใช้ในทางท่ีผิดก็จะก่อให้เกิดผลเสียตามมาเช่นกัน และ
เน่ืองจากเป็นสื่อท่ีอิสระทาให้อินเตอร์เน็ตเป็นส่ือที่ควบคุมดูแลได้ยาก ดังนั้นผู้ใช้เอง ควรจะมี
วจิ ารณญาณเพอ่ื ให้รเู้ ทา่ ทนั ถึงภัยใกล้ตวั ทีเ่ กดิ จากอนิ เตอร์เน็ต

๔) ปัญหาอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ เป็นปัญหาสังคมท่ีมีผลกระทบต่อการดาเนิน
ชีวิตของคนในสงั คมยุคปัจจบุ ันเป็นอยา่ งมาก สืบเนื่องมาจากคอมพวิ เตอรไ์ ด้เขา้ มามีบทบาทสาคัญต่อ
การดาเนนิ ชวี ิตของมนษุ ย์ ถ้ามนุษยใ์ ชค้ อมพวิ เตอร์ไปในทางท่ถี กู มนษุ ย์จะไดร้ ับประโยชน์อยา่ งมากที่
สามารถนามาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้ามนุษย์ใช้
คอมพิวเตอร์ไปในทางท่ีผิด ถึงแม้ว่ามันอาจจะสร้างประโยชน์สูงสุดให้แก่บุคคลน้ัน แต่ถ้าสร้างความ
เดอื ดรอ้ นให้แก่ผ้อู ่นื จะถอื ว่าบุคคลนัน้ ไดส้ ร้างปญั หาอาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ข้ึนแล้ว ด้วยเหตุนี้
ความรู้ ความเข้าใจ ในเร่ืองของปัญหาอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรจ์ ึงเป็นสิ่งสาคญั เพอื่ ให้บุคคลคน
นั้นได้รู้ถึงเท่าทันอาชญากรรมดังกล่าว เป็นการป้องกันตนเองจากการกระทาผิด และป้องกันผู้อ่ืนท่ี
เข้ามาสร้างความเดอื ดร้อนให้แก่เราด้วย

๕) ปญั หาเกมส์ออนไลน์ เทคโนโลยใี นปจั จุบนั มคี วามกา้ วหนา้ มาก จดุ ประสงคห์ ลกั
เพื่ออานวยความสะดวกในการใช้ชีวิตประจาวนั ของมนุษย์ แต่ถ้าใช้เทคโนโลยีไม่ถูกวิธีกจ็ ะมีโทษด้วย
เช่นกัน คอมพิวเตอร์ถือว่าเป็นเครื่องมือที่อานวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสารได้ดี และเกมส์
ออนไลน์ หากเล่นเพียงต้องการคลายเครยี ดเลก็ ๆ น้อยๆ ก็จะไม่มีโทษ แต่หากเล่นจนติด ก็จะทาให้มี
ปัญหาต่างๆเข้ามาในชีวิต ท้ังเสียเวลา เสียเงิน อาจจะเสียเพื่อนๆ อีกด้วย ดังนั้นการเล่นเกมส์
ออนไลนค์ วรแยกแยะความสาคญั ให้ออก

๔.๗.๒ ด้านสงิ่ แวดลอ้ ม
ปัญหาขยะล้นเมือง เป็นปัญหาเกี่ยวกับด้านของส่ิงแวดล้อม(มลภาวะ) ซ่ึงปัญหานี้ไม่ใช่
ปัญหาแค่ระดับประเทศของเราเท่าน้ัน แต่มันเป็นปัญหาท่ีเกิดขึ้นระดับโลกเลยทีเดียว ซึ่งการท่ีเกิด
ขยะน้ีเกิดจากการกระทาของมนุษยเ์ ราท้ังสิน้ ซึ่งมนั จะสง่ ผลกระทบหลายด้าน เช่น ด้านสุขภาพ ด้าน
ส่ิงแวดลอ้ ม ซงึ่ ทางดา้ นสิ่งแวดลอ้ มน้เี ป็นส่วนท่ีสาคญั มากเพราะวา่ มันจะเปน็ สิ่งทเี่ ปน็ แหล่งเพาะพนั ธ์ุ
และแพร่กระจายของสัตว์ แมลง รวมทั้งเชื้อโรคต่าง ๆ มากมาย ซ่ึงมันจะส่งผลกระทบต่อประเทศท้ัง

๗๐

ทางดา้ นเศรษฐกิจ ทางด้านการท่องเทยี่ ว และทางด้านสงั คมอกี ด้วย ซึง่ ปัญหาน้เี ป็นปญั หาสาคัญทีท่ ุก
คนต้องชว่ ยกันดูแลและแกไ้ ข

๔.๗.๓ ด้านครอบครวั
๑) ปัญหาผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง เป็นปัญหาท่ีถูกละเลยจากคนในครอบครัว เน่ืองจาก
สภาพเศรษฐกิจและสังคมท่ีเปล่ียนไป กลายเป็นกระแสทุนนิยม ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างครอบครัว
ให้กลายเป็นครอบครัวเด่ียวมากข้ึน ความรักความผูกพันในครอบครัวน้อยลง คนในครอบครัวมัวแต่
สนใจเรื่องการทางานเก็บเงิน จนอาจมองข้ามความสัมพันธ์ระหว่างคนในครอบครัวไป ซ่ึงปัญหาน้ี
อาจจะไม่ผิดในแง่ของกฎหมายแต่ในแง่ของจริยธรรมน้ัน ได้แสดงให้เห็นถึงความเสื่อมของจริยธรรม
ของคนในสงั คม หากไมม่ กี ารแก้ไขอาจจะนามาซึ่งปัญหาอน่ื ๆ อกี มากมาย
๒) ปัญหาเด็กเร่ร่อน เป็นปัญหาท่ีมีมานาน และมีแนวโน้มท่ีจะทวีความรุนแรงมากขึ้น
ตามลาดับ เป็นปัญหาสังคมท่ีเช่ือมโยงกับปัญหาอื่นๆ การศึกษาวถิ ีชีวติ ของเด็กเรร่ ่อน ทกุ แงม่ ุมจะทา
ให้รัฐและสังคมตระหนักถึงความสาคัญของปัญหาและหันมาสนใจแก้ปัญหาอย่างรีบด่วนและจริงจัง
มากกว่าเดิม ปัญหาเด็กเร่ร่อนเป็นปัญหาท่ีพบได้ในเมืองใหญ่ๆ ท่ัวโลก โดยแต่ละประเทศต่างก็
พยายามแสวงหาแนวทางในการแก้ปัญหาดังกล่าว ซ่ึงมาตรการในการแก้ปัญหาเด็กเร่ร่อนท่ีได้ผลใน
ประเทศต่างๆ สามารถนามาปรับใช้ได้กับประเทศไทย เราจึงได้นาเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาเด็ก
เร่รอ่ น เชน่ การใหก้ ารศึกษา , การใหง้ านทา, การให้ความชว่ ยเหลือบนทอ้ งถนน เปน็ ต้น

๔.๗.๔ ด้านวัฒนธรรม
๑) ปัญหาแฟชั่นการแต่งตัว จากเทคโนโลยีการส่ือสารท่ีเจริญก้าวหน้าทาให้มีการ
แลกเปล่ียนวัฒนธรรมระหว่างประเทศมากข้ึนซึ่งทาให้วัฒนธรรมของชาติไทยถูกวัฒนธรรมของชาติ
อน่ื เข้ามาแทนที่ จนทาให้คนรุ่นใหม่นิยมที่จะทาตัวเลียนแบบใหค้ ล้ายกับคนต่างชาติมากขึน้ โดยที่เห็น
ได้เด่นชัดที่สุดก็คือเส้ือผ้าการแต่งกาย เพราะแฟช่ันการแต่งกายในปัจจุบันเป็นแฟชั่นท่ีได้รับอิทธิพล
หรือมีการลอกเลียนแบบมาจากต่างชาติจนแทบไม่เหลือเคา้ ของวฒั นธรรมของชาติไทย ซึ่งพฤติกรรม
เหลา่ นีเ้ ปน็ เหตกุ อ่ ใหเ้ กดิ ปัญหาอื่นๆตามมา เชน่ ปญั หาอาชญากรรม เปน็ ต้น
๒) ปัญหา “เกาหลีฟีเวอร์” เกิดขึ้นจากการซึมซับเอาวัฒนธรรมเกาหลีเข้าไปปรับใช้ใน
ชีวิตประจาวันโดยไม่รู้ตัว โดยมักจะเกิดกับกลุ่มบุคคลที่มีอายุต้ังแต่ ๑๕ ปี ไปจนถึง ๒๕ ปีซึ่งมี
พฤติกรรมคล่ังไคลด้ ารานักร้องเกาหลี เด็กวยั รนุ่ เหล่านี้ต่างมีพฤตกิ รรมการคลั่งไคล้ในหลายๆรปู แบบ
เช่นการไปรับที่สนามบิน จนกระท่ังการติดตามศิลปินไปยังประเทศเกาหลีพฤติกรรมเหล่าน้ันสะท้อน
ให้เห็นวา่ วัฒนธรรมเกาหลีได้รกุ คืบเข้ามาในสงั คมไทยเป็นอย่างมาก ทาให้เกิดการปรับเปลี่ยนทัศนคติ
ค่านิยม และวัฒนธรรมไทยดังเดิมหลายประการ จากสภาพปัญหาที่กล่าวมาจึงเกิดคาถามว่า ทาไม
วัฒนธรรมเกาหลีจึงสามารถเข้ามาอยู่ในสังคมไทยได้อย่างแนบเนียน และคนส่วนใหญ่ไม่รู้สึกต่อต้าน
กระแสนี้ และจะมีวธิ ีแก้ปญั หาน้ีได้อย่างไร
๓) ปญั หาการแตง่ กายไม่เหมาะสมของนิสติ นักศึกษา เนื่องจากการแต่งกายของนสิ ิต
นักศึกษาในปัจจุบันนั้น เป็นปัญหาท่ียากต่อการแก้ไข ซ่ึงนักศึกษานิยมแต่งกายตามแฟช่ัน ค่านิยม
เลียนแบบ ซึ่งการแต่งกายในลักษณะน้ีนั้นขัดต่อวัฒนธรรมอันดีงาม และขัดต่อกฎระเบียบของ

๗๑

มหาวิทยาลัย ท้ังยังก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรมต่างๆ นอกจากนี้ยังทาให้เกิดข้อถกเถียงในด้านสิทธิ
มนุษยชนด้านการแต่งกาย ถึงแม้ว่าจะมีการรณรงค์จากทางมหาวิทยาลัยและหน่วยงานที่รับผิดชอบ
กันอย่างต่อเนื่อง แต่ก็ยังเป็นปัญหาสังคมท่ียังไม่สามารถแก้ไขได้ นอกจากหน่วยงานท่ีรับผิดชอบ
จะต้องหันมาควบคุมและมีการรณรงค์อย่างจรงิ จังแล้ว นิสิตนักศึกษา จะต้องมีทัศนคติท่ีดีต่อการแต่ง
กายท่ีถกู ระเบียบด้วย ซ่งึ ถ้าแต่ละบุคคลน้ันเห็นความสาคัญของการรักษาเกยี รติของสถาบัน ปัญหา
นีก้ ็คงจะไม่เปน็ ทถี่ กเถียงจนถึงปัจจบุ นั

๔.๗.๕ ด้านส่ิงเสพตดิ
๑) ปัญหาการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่น เป็นปัญหาหนึ่งที่นาไปสู่ปัญหาต่างๆ
อีกมากมาย ซึ่งปัญหาน้ีอาจเกิดจากพฤติกรรมการเลียนแบบ การชักชวนของเพ่ือนฝูง ส่ือโฆษณา
ต่างๆ ซ่ึงสิ่งเหล่านี้ เป็นลู่ทางท่ีนาไปสู่ปัญหาการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นทั้งน้ัน และ
ปัจจุบันปัญหาดังกล่าว มีอัตราการดื่มที่สูงข้ึน และช่วงอายุของผู้ดื่มที่น้อยลง ซ่ึงทาให้เป็นปัญหาต่อ
สงั คมอย่างยิ่ง และอาจเป็นข้อมูลที่ดีว่า การรณรงค์จากองค์กรต่างๆ เป็นผลหรือไม่ แล้วถ้าไม่เป็นผล
มีสาเหตุมาจากอะไร ที่ทาให้การรณรงค์ไม่เกิดผล หากปัญหาดังกล่าวไม่รับการแก้ไขโดยเร่งด่วนอาจ
เป็นผลสืบเน่ืองทท่ี าใหเ้ กิดปญั หาอื่นๆ ตามมาอย่างไม่หยดุ ย้ัง
๒) ปัญหายาเสพติดกับเยาวชน วัยรุ่น วัยเรียน เป็นวัยท่ีดาเนินชีวิตอยู่ในช่วงหัวเรียว
หัวต่อ เป็นวัยท่ีใฝ่หาความรู้ อยากเห็น อยากลอง รักเพ่ือน เช่ือเพ่ือน และเป็นวัยท่ีมองหาแบบอย่าง
เพ่ือดาเนินรอยตามแบบ ในช่วงของวัยรุ่นควรมีผู้ใหญ่เป็นแบบอย่างท่ีดีในการดาเนินชีวิต และ
ครอบครัวเป็นส่ิงสาคัญสิ่งแรก ที่ต้องให้การอบรม ส่ังสอน ดูแล รองลงมาคือสถานที่ให้การศึกษา
เยาวชนทุกคนควรสร้างภูมิคุ้มกันสิ่งแวดล้อมให้กับตัวเอง ในการไม่หลงผิดเดินเข้าสู่วงจรของยาเสพ
ติด ซ่ึงสาเหตุท่ีทาให้เยาวชนเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับปัญหายาเสพติดน้ันมีมากมาย อาทิเช่น ปัญหา
ครอบครัว ปัญหาเศรษฐกิจ หรืออาจจะเกิดจากความอยากรู้อยากลอง ดังนนั้ เราจึงควรหาวิธใี นการ
ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เยาวชนไปยงุ่ เกี่ยวกบั ยาเสพตดิ

๔.๗.๖ ดา้ นพฤตกิ รรมความเสยี่ ง
๑) ปัญหาพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศ คาๆ น้ี อาจจะดูไม่รุนแรงนัก เนื่องจากผู้คนคิด
ว่าผู้ที่มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศนั้น คือ พวกทอม ดี้ ตุ๊ด กระเทย เกย์ หรือเรียกรวมๆ ว่า ผู้ท่ีมี
พฤติกรรมรักร่วมเพศท่ีเห็นได้อยู่ทั่วไปในทุกสังคม แต่ท่ีจริงแล้วผู้ท่ีมีพฤติกรรมรักร่วมเพศเป็นเพียง
ส่วนหนึ่งของผู้ที่มีปัญหาพฤติกรรมเบ่ียงเบนทางเพศเท่านั้น ผู้ท่ีมพี ฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศสามารถ
แบ่งออกได้หลายกลุ่มตามหลักการแบ่งของแต่ละที่ เช่น หลักการวินิจฉัยโรคของระบบสมาคม
จิตแพทยอ์ เมรกิ ัน (DSM-IV) เป็นตน้ ซงึ่ ผู้ป่วยหรือผู้ทมี่ พี ฤติกรรมเบ่ียงเบนทางเพศเหล่าน้ีอาจจะเป็น
ปัญหาสงั คมทีร่ อรับการแกไ้ ขอยจู่ ากบุคคลในสังคมนน่ั เอง
๒) ปัญหาความรักในวัยเรียน เป็นปัญหาที่สาคัญ ระดับหน่ึงในประเทศไทยท่ีต้องจับตา
และให้ความสาคัญกับปญั หาน้ี เพราะปัญหานี้เป็นปัญหาเกี่ยวกบั เยาวชนของชาติ ซ่ึง ถ้าเยาวชนของ
ชาติไทยมีพฤติกรรมที่เส่ียง กับปัญหารักในวัยเรียนน้ันจะทาให้อนาคตของชาติอาจจะล่มจม เพราะ
ปัญหาน้ีเป็นปัญหาที่ต้องให้ เยาวชน ตั้งใจเรียน อย่าไปเสี่ยงกับความรัก หรือ มีการแนะนาและสอน

๗๒

ให้รจู้ ักคาว่ารกั ในชว่ งของวยั เรียน เพราะถ้าเกิดรักผดิ ในช่วงวยั เรียนแล้ว จะทาให้อนาคตของเยาวชน
อาจจะหมดอนาคตได้ ซ่งึ ปญั หานี้ตอ้ งเล็ง และให้ความสาคญั กบั ปัญหาความรักในวยั เรียนอยา่ งจรงิ จงั

๓) ปัญหาพฤติกรรมเด็กแว้น น้ันได้เกิดขึ้นมาตลอดตั้งแต่แต่อดีตจนปัจจุบันน้ีก็ยังพบ
ขา่ วตามหนังสือพิมพ์และทีวบี ่อยคร้ัง ซ่ึงก็เป็นปัญหาที่ยังไมส่ ามารถแกไ้ ขได้มานานมาก ซึ่งในปจั จบุ ัน
นี้เองปัญหาพฤติกรรมเด็กแว้นได้เพ่ิมจานวนของกลุ่มเด็กแว้นมากมายทั้งในกรุงเทพและต่างจังหวัด
และยงั มีปญั หายาเสพติด การพนนั ลกั ขโมย โดดเรยี น การก่ออาชญากรรมและการมีเพศสมั พันธ์กอ่ น
วัยอันควร รวมทั้งโรคต่างๆ อีกด้วยท่ีเกิดมากับพฤติกรรมของเด็กแว้นนั่นเอง ดังนั้นเราต้องรีบ
แก้ปัญหานี้ให้เร็วท่ีสุดเพ่ือพฤติกรรมของเด็กแว้นจะได้ไม่สร้างความเดือดร้อนต่างๆ ให้กับสังคมและ
ประเทศของเรา

๔) ปัญหาพฤติกรรมเลียนแบบดาราของวัยรุ่น น้ันเก่ียวกับด้านพฤติกรรมเส่ียง ซ่ึง
พฤตกิ รรมต่างๆ ที่ดาราแสดงออกนน้ั นับเป็นส่ิงท่ีวัยรุน่ ยึดเปน็ แบบอยา่ ง โดยสิ่งเหล่าน้ันอาจจะเป็น
ส่ิงท่ีดีหรือส่ิงไม่ดีก็ได้ ซ่ึงสิ่งท่ีวัยรุ่นทานั้นเป็นการเพ่ิมความม่ันใจให้กับตนเอง เช่น การแต่งกาย
เพอื่ ให้ดดู เี หมอื นกับดารา แต่หากเกดิ ปัญหากับตนเอง ก็อาจจะเลียนแบบดาราได้ เชน่ การฆ่าตวั ตาย
ซ่งึ ดาราเกาหลเี กดิ การฆ่าตวั ตายกันบอ่ ยๆ และเป็นทน่ี ิยมชมชอบของวัยรุ่นในปัจจบุ นั

๕) ปัญหานักเรียนตีกัน เป็นปัญหาท่ีเก่ียวกับสังคมของกลุ่มนักเรียน ซ่ึงมีมาต้ังแต่อดีต
จนกระท่ังปัจจบุ ัน แตก่ ็ยังไม่สามารถแกไ้ ขปัญหาน้ีได้ อกี อยา่ งปัญหาน้นี ั้นเกิดจากการท่ีบางครง้ั กส็ ่ง
รุ่นต่อรุ่นจากรุ่นพี่มาว่าสถาบันน้ีไม่ถูกกับสถาบันน้ีเป็นอย่างน้ีมาเร่ือยจนปัจจุบัน การแสดงออกของ
ปัญหานี้ก็รุนแรงมากข้ึน ซึ่งปัญหาน้ีก็จะทาให้เกิดคนตาย บาดเจ็บ ซึ่งจะทาให้เกิดการเสียทรัพยากร
ทางการพัฒนาของชาติตามไปด้วย ปัญหาน้ีน้ันจะแก้ไขได้ถ้าทุกคนร่วมกันตระหนัก แล้วช่วยกัน
แกป้ ัญหา

๕) ปัญหาการ์ตูนญี่ปุ่น ซ่ึงมีรูปแบบ ประเภท และการนาเสนอท่ีหลากหลาย ท้ังด้านดี
และไม่ดี ผลสะท้อนท่ีกลับออกมาสู่สังคมไทยเป็นด้านที่ไม่ดีเสีย ซึ่งเกิดการเรียนแบบพฤติกรรมใน
การต์ นู ญีป่ ุ่นขน้ึ การเลียนแบบนแี้ ม้ว่าจะดูเป็นเรื่องเลก็ นอ้ ย แตม่ ีการเลียนแบบท่ไี ม่ดี อันเป็นสาเหตุที่
นาไปสู่ปัญหาสังคมบนพื้นฐานของความรุนแรง เพศ สิ่งลามกอนาจาร และความเกินความเป็นจริง
(ไม่เจ็บ ไม่ได้) ปัญหาทเี่ กิดขึ้นจากการ์ตูนญี่ปุ่นนีจ้ าเป็นต้องได้รับการแกไ้ ขควบคุมเช่นเดียวกับปัญหา
สังคมอื่นๆ โดยมีการร่วมกันของคนในสังคมทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และบุคคลในครอบครัวซ่ึงเป็น
รากฐานของสงั คมด้วย

๖) ปัญหาเด็กล่าแต้ม เป็นปัญหาหนึ่งที่เกิดขึ้นในกลุ่มเยาวชนที่ยังขาดความสามารถใน
การพิจารณาแยกแยะผิดถูก แม้จะเกิดขึ้นได้กับทั้งสองเพศ แต่ก็ปฏเิ สธไม่ได้ว่ากลุ่มเด็กสาวคือเหย่ือ
ท่ีตกอยู่ในวังวนของพฤติกรรมล่าแต้มมากกว่า การที่เด็กสาวคนหนึ่งยอมอยู่บนเส้นทางของการล่า
แต้มโดยนอนกับผู้ชายไม่ซ้าหน้าเพื่อครองความเป็นท่ีหน่ึงในหมู่นักล่าแต้มมีสาเหตุมาจากอะไร และ
เพราะเหตุใดสามัญสานึกพื้นฐานของการดาเนินชีวิตในหมู่เด็กล่าแต้มจึงเป็นไปในแนวทางท่ีไม่
เหมาะสม จึงกลายเป็นคาถามทีค่ วรใหค้ วามสนใจ

๗) ปัญหาเร่ืองการคา้ ประเวณี ไม่วา่ จะเปน็ ประเทศไหนๆก็เจอปัญหานี้กนั ท้งั น้ันปญั หา
นี้เกิดข้ึนมาตั้งแต่อดีตการ เหมือนเป็นประเพณีแต่จริงๆ แล้วไม่ใช่ ตามความคิดเห็นของข้าพเจ้า
ขา้ พเจ้าคิดว่ามันเป็นค่านิยมของบคุ คลกลุ่มหนงึ่ การค้าประเวณีน้ันก่อใหเ้ กดิ ปัญหาต่างๆตามมาไม่ว่า

๗๓

จะเป็นปัญหาทางด้านสังคมเศรษฐกิจ ปัญหาทางด้านจิตใจ ส่วนใหญ่ปัญหาน้ีจะเกิดขึ้นในกลุ่มของ
เยาวชน ไม่ว่าจะเปน็ ผู้หญิงหรือผูช้ าย ก็สามารถเกดิ ขึ้นได้ อาจเป็นเพราะวา่ ปัญหาทางด้านครอบครัว
ปญั หาทางด้านการเงิน การมีค่านยิ มแบบผดิ ๆ อาจชักนาใหเ้ ยาวชนไทยหลงเดินทางผดิ ฉะนั้นการท่จี ะ
แก้ปัญหาเบื้องต้นเก่ียวกับเร่ืองน้ีเราควรเริ่มจาก ครอบครัวก่อนที่จะให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
เร่อื งน้ี เป็นตน้

๘) ปัญหาการพนันกับสังคมไทย น้ันทาให้ผู้ศึกษาได้รับความรู้เพิ่มเติมและมีทัศนะคติ
เก่ียวกับปัญหาการพนันกับสังคมไทยมากข้ึน กล่าวคือ เมื่อทาการศึกษาแล้วได้รับรู้ถึงสาเหตุของการ
พนัน และผลกระทบที่ได้รับจากการพนัน ท้ังน้ีหากผู้ที่ทาการศึกษาได้นาความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ต่อ ก็
จะเป็นประโยชนต์ ่อสงั คมไมม่ ากกน็ อ้ ย

๙) ปัญหาของเดก็ ติดเกม เหน็ ไดว้ ่าเปน็ ปัญหาทีต่ อ้ งรีบแก้ไขโดยเร็ว เพราะเดก็ ๆ น้นั เป็น
อนาคตของชาติ หากเด็กทุกวันนี้ไม่สนใจเล่าเรียน หรือทากิจกรรมสร้างเสริมอ่นื ๆ ประเทศชาติในวัน
ขา้ งหน้า คงไม่สามารถเจริญก้าวหน้าไปในทางที่ถูกที่ควรสักเท่าไหร่นัก และการแก้ปัญหาน้ีจะเกิดข้ึน
ไม่ได้เลย ถ้าแต่ละฝ่าย เช่น ครอบครัว ภาครัฐ ไม่ร่วมมือกัน หรือไม่ใส่ใจในปัญหาน้ี หากว่าทุกฝ่าย
หันมาคุยกัน ทาความเข้าใจกับปัญหา ค่อยปรับเปล่ียนพฤติกรรม หรือสิ่งแวดล้อมของเด็กๆ ไปทีละ
นอ้ ย สักวันปญั หาเดก็ ติดเกมนีค้ งจะไดร้ บั การแก้ปญั หาในทางถูกต้อง และอาจจะยตุ ลิ งได้ในทส่ี ดุ

๑๐) ปัญหาเร่อื งของการทาแท้ง นานมาแลว้ ทส่ี ังคมประณามผูห้ ญิงว่าเป็นแม่ใจร้าย แต่
ถ้าหันกลับย้อนมามองดูสาเหตุ หรือต้นเหตุก่อนท่ีจะเกิดเร่ืองน้ีกันดีๆ สิ่งเหล่านี้เกิดข้ึนได้อย่างไร
ดังนั้นทางออกของปัญหาอย่างยั่งยืน รวมถึงการป้องกันการเพ่ิมของปัญหาการทาแท้ง คนในสังคม
ควรหันมาดูแลเอาใจใสอ่ ย่างใกลช้ ิด โดยเฉพาะครอบครัว และควรให้ความรู้ ความเขา้ ใจถา่ ยทอดออก
สู่วัยรุ่นอย่างถูกต้อง และเท่าทันกับสถานการณ์ นอกจากน้ีการเปิดใจให้กว้าง มองปัญหา ยัง
จาเป็นตอ้ งสร้างใหเ้ กดิ ข้นึ ในสังคมเราตอ่ ไป

๔.๗.๗ ด้านสุขภาพ
ปัญหาโรคอ้วน ในสภาวะของสังคมปัจจุบนั ทาใหเ้ กิดปัญหาสุขภาพกันมาก โรคหน่ึงเป็น
ภาวะจากความสมบูรณ์ทีเ่ กินไป ความสมบรู ณ์นั้นกลบั กลายเป็นแหล่งรวมโรคนานาชนดิ ที่ร้ายแรงโรค
อ้วนอย่างเดียวก็กระชากความม่ันใจของคนนั้นไปแทบหมดสิ้น อีกทั้งต้องเผชิญกับโรคร้ายท่ีจ่อคิว
ตามมา เช่น โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เหน่ือยง่าย อุ้ยอ้าย เครียดงา่ ย เหลา่ นี้เป็น
สงิ่ ทเ่ี ม่อื คณุ อ้วนจะต้องพบพานไมช่ ้าก็เรว็

๔.๗.๘ ดา้ นเศรษฐกิจ
๑) ปญั หาคนวา่ งงาน เน่อื งจากปัจจบุ ันนป้ี ัญหาสงั คมมีมากขึ้นและปัญหาคนว่างงานนั้น
เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจของสังคมไทยเราเป็นอย่างมาก จึงเป็นปัญหาท่ีน่าสนใจ
และติดตามข่าวสาร รวมทั้งควรเข้าใจและช่วยกันวิเคราะห์ถึงปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทาง
ในการแก้ปัญหา “ปัญหาคนว่างงาน” เป็นปัญหาท่ีควรพิจารณาอย่างมาก เนื่องจากผละกระทบของ
ปญั หาคนว่างงานนั้นอาจทาให้เกิดปัญหาทางสงั คมด้านอ่ืน ๆ ตามมาเช่น ปัญหาอาชญากรรม ปัญหา
การทามาหากิน ปัญหาความยากจน ฯลฯ ซึ่งปัญหาเหล่าน้ีก็ส่งผลต่อสังคมไทย ทาใหส้ ังคมไม่มีความ

๗๔

เจริญ ไม่พัฒนา ดังนั้นเราควรเร่งวิเคราะห์ และรับรู้ เข้าใจถึงปัญหาคนว่างงานท่ีเกิดขึ้นในสังคมไทย
เราอย่างตระหนัก

๒) ปัญหาแรงงานต่างดา้ ว อะไรก็ตามที่มีมากเกินยอ่ มมีผลเสีย แรงงานต่างด้าวกเ็ ช่นกัน
การที่มีแรงงานต่างด้าวเข้ามาทางานในประเทศไทยมากข้ึนทุกวันนั้น ย่อมมีผลกระทบเกิดข้ึนตามมา
หลายอย่าง นายจ้างหลายคนเลือกที่จะจ้างแรงงานต่างด้าวมากกว่าแรงงานไทย เพราะค่าแรงถูกกว่า
และไม่ค่อยเร่ืองมาก ทาให้แรงงานไทยถูกแย่งงาน หลายคนไม่มีงานทา และแรงงานไทยที่ทางานอยู่
แล้วก็ยากท่ีจะปรับค่าแรงข้ึนได้ ด้วยความที่แรงงานต่างด้าวมีความต้องการสูงจากนายจ้างชาวไทย
ทาให้มีการลักลอบเข้าเมืองอย่างผิดกฎหมายมากมาย ด้วยความที่มีจานวนมากแรงงานต่างด้าว
เหลา่ นีอ้ าจรวมกลมุ่ กนั ทาเร่อื งผิดกฎหมายได้

๔.๗.๙ ด้านอื่นๆ
ปัญหาช้างเร่ร่อน ช้างเป็นสัตว์ท่ีมีความผูกพันกับคนไทยมาอย่างยาวนาน ในอดีตเราใช้
ช้างเพื่อปกป้องประเทศชาติ ร่วมรบเคียงบ่าเคียงไหล่กับกษัตริย์ไทย และแม้ว่าจะล่วงเลยจากยุคท่ี
ทาสงครามกัน ช้างก็ยังมีบทบาทสาคัญกับสังคมไทยไม่ยิ่งหย่อนลงไป ท้ังในด้านสังคม เศรษฐกิจ
รวมทั้งการเมืองการปกครอง และดว้ ยสาเหตุหลายๆ ประการ ทาให้ในปัจจุบันช้างตอ้ งเรร่ ่อนเข้าสู่ตัว
เมืองใหญ่ต่างๆ เพ่ือความอยู่รอดท้ังตัวช้างและควาญช้าง ก่อให้เกิดปัญหาสังคมต่างๆ ตามมา ซึ่งใน
ปัจจุบัน นับว่าเร่ิมจะมีมากขึ้นเร่ือยๆ จนกลายเป็นภาพสะท้อนท่ีทาให้คนในสังคมเริ่มหันมามอง
ปัญหาในส่วนนี้กันมากขึ้น แต่นั่นก็ยังไม่สามารถทาให้ปัญหาของช้างเร่ร่อนน้ันหมดไปจากสังคมไทย
เรา ในระยะเวลาอนั สั้นได้

๔.๘ การวดั ความรนุ แรงของปญั หาสังคม

สพุ ัตรา สุภาพ๘ ไดก้ ลา่ วถึงการวดั ความรนุ แรงของปญั หาสังคม มี ๒ วิธี คอื
๔.๘.๑ การวัดแบบ Objective (การวดั แบบวัตถุวสิ ยั )
การวัดแบบ Objective เป็นการวัดจากพฤติกรรมที่แสดงออกโดยไม่นาเอาความคิด หรือ
ความรสู้ ึกเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เช่น ดูว่าจานวนคนท่ีได้รบั ผลกระทบกระเทือนมีมากน้อยเพียงไร ถ้ามี
คนได้รับความเดือดร้อนมากก็แสดงว่าปัญหาน้ันรุนแรง เป็นการวัดโดยใช้วิธีการทางสถิติ ซ่ึงการวัด
ทางสถิตินี้เป็นเพียงวิธีหน่ึงเท่าน้ัน ซ่ึงก็อาจจะทาให้เกิดการเข้าใจผิดได้เหมือนกัน เพราะมีเสมอที่
ตวั เลขทางสถิติผดิ จากความเปน็ จรงิ ซึง่ ก็มสี าเหตหุ ลายประการ คอื

๑) ความเชื่อถือได้ (Reliability) ข้อมูลทางสถิติเป็นปัญหาว่าเช่ือถือได้มากน้อย
เพียงใด ในการท่ีจะใช้วัดพฤติกรรม โดยจะสรุปจากข้อมูลเพียงแห่งใดแห่งหน่ึงไม่ได้ เพราะแบบของ
ความประพฤติในแต่ละชุมชนแตกต่างกัน แม้แบบของความประพฤติจะเหมือนกัน แต่คนอาจจะมอง
หรือตีความหมายต่างกันได้ เช่น ถา้ ต้องการจะดวู ่าเด็กกระทาผดิ มากนอ้ ยเพยี งไร ก็อาจหาได้จากกอง
สวัสดิภาพเด็กและเยาวชน เป็นสถิติที่ได้จากการท่ีถูกตารวจจับกุมทั่วประเทศ แต่สถิติท่ีเข้ามาก็มี
มาตรฐานไม่เหมอื นกัน เช่น บางทีเด็กระทาผิดอาจจะจับกุมทันที แต่บางแห่งก็เพียงว่ากล่าวตักเตือน

๘ สพุ ัตรา สภุ าพ, ปญั หาสังคม พิมพค์ รัง้ ท่ี ๑๙, (กรงุ เทพมหานคร: ไทยวฒั นาพานืช, ๒๕๔๖), หน้า
๑๔ – ๑๕

๗๕

และปล่อยไป เป็นต้น ด้วยเหตุดังกล่าวจึงทาให้การรวบรวมตัวเลขทางสถิติให้แน่นอนกระทาได้ยาก
จึงทาใหเ้ ปน็ การยากทจ่ี ะไดข้ อ้ มูลท่ถี ูกต้อง เพราะวธิ ีการต่างๆ ยังไม่มีระเบยี บกฎเกณฑท์ ี่แน่นอน

๒) การตีความหรือการประเมินผล (evaluate) ข้อมูลนั้นจาเป็นต้องอาศัยการ
พิจารณาหลายๆ ด้าน โดยอาศัยดูจากขอบข่ายของปัญหานั้น เช่น จากข้อมูลของเด็กกระทาผิด ส่วน
หน่ึงจะทาผิดโดยนิสัยเดิม อีกส่วนหนึ่งกระทาผิดเนื่องจากได้รับการเสี้ยมสอนจากผู้อ่ืน ซ่ึงข้อมูลทั้ง
สองนี้จะรวมอยู่ในสถิติของเด็กระทาผิด ความแตกต่างของข้อมูลน้ีอาจจะทาให้มีพฤติกรรมแตกต่าง
กนั ได้

๔.๘.๒ การวัดแบบ Subjective (การวดั แบบอัตวสิ ยั )
การวัดแบบ Subjective เป็นการวัดโดยดูจากแนวความคิดของคน บางครั้งเรามักจะวัด
ความรนุ แรงของปญั หาด้วยการใช้ความรู้สึกและค่านิยมส่วนตัวเป็นหลัก มากกว่าท่ีจะขึ้นอยู่กับการดู
จากสถิติ การท่ีมีปัญหาสังคมเกิดขึ้น แสดงว่าคนในสังคมไม่เคารพเช่ือฟังกฎเกณฑ์บางอย่าง และเมื่อ
มบี ุคคลหนึ่งเกิดความรู้สกึ ในเรื่องใดขึ้นมา กจ็ ะทาใหป้ ัญหาเล็กกลายเป็นปัญหาใหญ่และสร้างบรรทัด
ฐานของสังคมข้ึนมา โดยคานึงถึงความเสมอภาคของบุคคลเป็นหลัก ซึ่งก็นับว่าเป็นการเส่ียงอย่างย่ิง
เพราะถ้ากฎเกณฑ์ท่ีต้ังขึ้นไปขัดกับค่านิยมของบุคคลอีกกลุ่มหนึ่ง ก็อาจจะเกิดความรู้สึกขัดแย้งกับ
บรรทดั ฐานนัน้ ๆ ได้เช่นเดยี วกัน
จะเห็นได้ว่า การเกิดปัญหาสังคม ไม่ใช่จะดูเฉพาะแต่ว่ามีบุคคลบางส่วนได้รับความ
กระทบกระเทือนเท่านั้น แต่ยังต้องดูปัญหาอ่ืนๆ ที่เข้ามาเก่ียวข้อง เช่น ปัญหาเด็กขาดความอบอุ่น
ปัญหาเด็กกระทาผิด เป็นต้น เป็นการแสดงให้เห็นถึงความล้มเหลงของครอบครัวและสังคมที่มีต่อ
ระดับความเปน็ อย่ขู องมนษุ ย์
อย่างไรก็ตาม การวัดความรุนแรงของปัญหาสังคมแบบวัตถุวิสัยได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือใน
การกาหนดแนวทางพัฒนาสังคม กาหนดแผนงานและโครงการที่จะป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคม
ต่างๆ หลายประเทศได้พยายามพัฒนาเครื่องชี้ภาวะสังคมขึ้น ประเทศไทยโดยคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติก็ได้จัดทาเคร่อื งชภ้ี าวะสังคมข้นึ เช่นเดยี วกนั เพื่อแสดงใหเ้ ห็น
สภาพเหตุการณ์ทางสังคมที่เกิดข้ึนและเป็นเคร่ืองมือท่ีใช้สาหรับการประเมินผลทางด้านสังคม อัน
เป็นประโยชน์ในการกาหนดเค้าโครงของโครงการที่ควรจะดาเนินการต่อ ไปหรือควรจะมีการริเริ่ม
จัดทาโครงการใหม่เพอ่ื แก้ไขปัญหาสังคมทีเ่ พง่ิ จะอบุ ตั ิข้ึน

๔.๙ บทสรปุ

ประเทศไทยมีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วทางด้านวัตถุ แต่เกิดความเสื่อมทางด้าน
จิตใจ ค่านิยมและสังคมคนไทยประพฤติปฏิบัติที่แสดงถึงความเส่ือมทางจิตใจอย่างเห็นได้ชัดเจน
หลายประการ เช่น นิยมวตั ถุ นิยมความหรหู ราฟุ่มเฟือย ยกย่องคนรวย โดยไม่คานงึ ถงึ ว่าจะร่ารวยมา
ไดโ้ ดยวิธีใด เกิดการแข่งขันเอารัดเอาเปรียบ ไม่คานึงถงึ คณุ ธรรม จริยธรรม การเบียดเบียนเอารัดเอา
เปรียบน้ีนอกจากจะเบียดเบียนกันเองแล้ว ยังเบียดเบียนรุกรานธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอีกด้วย
ที่ดิน ป่าไม้ แม่น้า สภาพธรรมชาติ ถูกรุกราน ยึดครอง ถูกทาลาย สภาพน้าเน่าเสีย สภาพคนจนอยู่
ใน สลัมท่ามกลางตึกสูงอันหรูหราใหญ่โต สภาพความยากจนแร้นแค้นของคนในชนบท และสภาพ
เส่ือมโทรมทางสังคม อันเกิดจากความเสื่อมทางจิตใจมีมากยิ่งขึ้น จะเห็นได้จากปัญหายาเสพติด
โสเภณี โรคเอดสแ์ ละปญั หาอืน่ ๆรวมถึงการละเลยดา้ นศาสนา และประเพณเี ปน็ ต้น

๗๖

ปัญหาสังคมเป็นสภาวการณ์ที่มีผลกระทบต่อประชาชนส่วนใหญ่ประชาชนมองเห็นว่า
สภาวการณ์นั้นเป็นส่ิงไม่ต้องการให้เกิดขึ้นและเห็นว่าสามารถจะแก้ไขได้ด้วยการกระทาร่วมกัน
สาเหตุเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเปน็ การเปล่ียนแปลงในโครงสร้างของสังคม คือ ในกลุ่มหรือ
องค์การทางสังคมแต่ละกลุ่ม องค์การทางสังคมหรอื โครงสร้างของสังคมเลยน้ัน คือ เปล่ียนแปลงจาก
การวัดความรุนแรงของปัญ หาสังคม สังเกตได้จากการที่ประชาชนส่วนหนึ่งได้รับความ
กระทบกระเทือนโดยตรงมากน้อยเพียงใด ซ่ึงเป็นผลมาจากที่บุคคลไม่ปฏิบัติตามค่านิยมต่างๆ ที่
สังคมวางไว้ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลตั้งแต่สองคนข้ึนไปจนถึงความสัมพันธ์ในกลุ่มทั้งสังคมเลยท่ี
เดยี ว ดงั นน้ั ลักษณะของการเปลีย่ นแปลงทางสังคมทีจ่ ะก่อให้เกดิ ปัญหา

คาถามทา้ ยบท

๑. อธบิ ายประเดน็ ปัญหาปจั จุบนั ทสี่ าคญั มาพอเข้าใจ
๒. อธบิ ายจุดอ่อน จุดแข็งของเยาวชนในยุคโลกาภิวฒั นม์ าพอเขา้ ใจ
๓. ใหย้ กตวั อยา่ งพร้อมอธบิ ายปญั หาสงั คมปจั จบุ ันในดา้ นตา่ งๆมาพอเขา้ ใจ
๔. จงอธบิ ายสาเหตขุ องปัญหาสังคม
๕. จงอธบิ ายหลกั สาคัญในการศึกษาปัญหาสังคม
๖. จงอธิบายการวดั ความรนุ แรงของปัญหาสังคม

๗๗

เอกสารอ้างองิ ประจาบท

โกศล วงศ์สวรรค์ และสถิต วงศส์ วรรค์. ปัญหาสงั คมไทย SOCHIAL PROBLEMS. กรงุ เทพมหานคร:
อมรการพิมพ,์ ๒๕๔๓.

จรญั พรหมอย.ู่ ความเข้าใจเกยี่ วกบั สังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพ์โอเดียน สโตร,์
๒๕๒๖.

จานงค์ อดวิ ัฒนสทิ ธ์ิ. การศึกษาเพือ่ พัฒนาประเทศ. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพโ์ อเดียน สโตร,์
๒๕๓๒.

จฑุ ารตั น์ เอ้อื อานวย. อาชญากรรม. กรงุ เทพมหานคร: สานักพิมพจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ,
๒๕๕๑.

ณรงค์ เสง็ ประชา. สังคมวิทยา. กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพ์พทิ ักษ์อกั ษร, ๒๕๓๗.
ธรี ภทั ร์ เสรรี งั สรรค์. ปญั หาสังคมเมืองไทยปัจจบุ ัน หนว่ ยท่ี ๑ – ๖. พิมพค์ ร้งั ที่ ๑๐.

กรงุ เทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๔๐.
ธรี ะวัส บาเพ็ญบุญบารมี. รปู้ ัญหาสงั คม. โครงการธรรมวิจัย. มหาบณั ฑติ สาขาวิชาพทุ ธศาสน์

ศกึ ษา: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั , ๒๕๕๐.
ประสาท หลักศิลา. ปญั หาสังคม. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๑๑.
พทั ยา สายหู. กลไกของสงั คม. กรงุ เทพมหานคร: สานกั พิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๒๙.
พิเชฐ จันทร์เจนจบ และคณะ. “ปญั หาและความตอ้ งการการสนบั สนุนทางสงั คมของผูเ้ ขา้ รบั การ

๗๘

ฟน้ื ฟสู มรรถภาพยาเสพติดแบบควบคมุ ตัวไมเ่ ข้มงวดของสถานบาบัดรกั ษายาเสพติด
ในสงั กัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ ”. สถาบันบาบดั รักษาและฟื้นฟูผู้ติดยา
เสพติดแห่งชาติบรมราชชนนีกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๕.
สญั ญา สญั ญาววิ ฒั น์. ทฤษฎสี ังคมวิทยา: เน้อื หาและการใชป้ ระโยชนเ์ บ้อื งตน้ . พิมพ์ครงั้ ที่ ๑๐.
กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพจ์ ุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, ๒๕๒๖.
________. หลักสังคมวทิ ยา. กรุงเทพมหานคร: ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๒๓.
สพุ ตั รา สุภาพ. ปญั หาสงั คม. พมิ พ์ครั้งที่ ๑๙. กรงุ เทพมหานคร: ไทยวฒั นาพานิช, ๒๕๔๖.
สุพิศวง ธรรมพนั ทา. มนุษยก์ ับสังคม. กรงุ เทพมหานคร: สถาบนั ราชภัฏบา้ นสมเด็จเจ้าพระยา,
๒๕๔๐.
สวุ ิทย์ ร่งุ วิสัย. ลกั ษณะของผูต้ ้องขังเก่ยี วกับยาเสพติดในเรอื นจากลางเชียงใหม่. เชยี งใหม่:
ภาควชิ าสังคมวิทยาและมานุษยวทิ ยา คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม,่ ๒๕๓๒.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพทส์ งั คมวิทยา องั กฤษ – ไทย ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน.
กรุงเทพมหานคร: บริษทั รงุ่ ศลิ ปก์ ารพมิ พ์ จากดั , ๒๕๒๔.
อานนท์ อาภาภริ ม. ปัญหาสังคม. กรุงเทพมหานคร: สานกั พมิ พโ์ อเดยี น สโตร,์ ๒๕๑๗.
James M. Henslin. Social Problems. New Jersey: Prentice Hall, Inc., 1990.
Jonathan H. Turner. The Sturcture of Sociologial Theory 4 ed. Chicago: The Dorsey,
1986.

๗๙

๘๔

บทที่ ๕
ผลกระทบและแนวทางการปอ้ งกนั แก้ไขปญั หาสังคม

วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นประจาบท
เมือ่ ได้ศึกษาเนื้อหาในบทแลว้ ผู้ศึกษาสามารถ
๑. บอกผลกระทบของปัญหาสงั คมได้
๒. บอกแนวทางการแก้ไขปัญหาสังคมได้
๓. อธิบายแนวทางการพัฒนาสงั คมได้

ขอบขา่ ยของเนือ้ หา
 ความนา
 ผลกระทบของปัญหาสังคม
 การป้องกนั แกไ้ ขปัญหาสงั คม
 กระบวนการในการแกป้ ัญหาสังคมดว้ ยวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์
 วธิ ีการท่ใี ชใ้ นการแกไ้ ขปัญหาสงั คม
 กรณตี วั อย่างปัญหาสังคมไทยและแนวทางการแก้ไข
 แนวทางการพฒั นาสงั คม

๖.๑ ความนา

การแก้ไขปัญหาสงั คม ในแงข่ องการปฏิบัติมักแยกออกเป็น ๒ ลักษณะ คือ การแก้ไขแบบ
ยอ่ ย และแบบถ้วนท่วั

๘๕

๑. การแก้ปัญหาแบบยอ่ ย (Pelcemeal approach) การดาเนินงาน คือ การแก้ไขปัญหา
แบบให้ได้ผลทันใจ หรือให้ปรากฏออกมาอย่างรวดเร็ว เช่น เมื่อเกิดการขาดแคลนอาหาร ก็ใช้
งบประมาณซื้ออาหารไปแจก

๒. การแก้ปญั หาแบบถว้ นทั่ว (Wholesale) หรือโดยการวางแผน การแก้ไขปญั หาแบบนี้
คือ การมองปัญหาว่ามิใช่มีอยู่อย่างเป็นเอกเทศ แต่สัมพันธ์เก่ียวข้องกับสิ่งอื่นๆ มากมาย (multi –
causal) ตัวอย่างเช่น การแก้ไขปัญหาความยากจนไม่ใช่การเอาของไปแจก แตอ่ าจใช้การสอนให้รู้จัก
วิชาชพี หรือการแก้ไขสถานะแวดลอ้ มให้มกี ารประกอบอาชีพได้

การแก้ไขแบบถ้วนท่ัว มักใช้ระบบที่เรียกว่า วิศวกรรมทางสังคม (Social engineering)
คอื ใช้วทิ ยาการนานาแขนง เพือ่ ก่อให้เกิดการเปลยี่ นแปลงปรับปรุงสงั คมใหด้ ีข้ึน

๕.๒ ผลกระทบของปญั หาสังคม

เม่ือเกิดปัญหาสังคมข้ึนแล้วย่อมจะเกิดผลเสียท้ังบุคคลและสังคมส่วนรวม และไม่ว่าบุคคล
นัน้ ๆ จะเกี่ยวข้องกับเหตุการณโ์ ดยตรงหรือไม่ก็ตาม ย่อมจะได้รบั ผลกระทบจากปัญหาสงั คมท่ีเกิดข้ึน
น้ันๆ ไม่มากก็น้อย ไม่โดยทางตรงก็ทางอ้อม ตัวอย่าง เช่น ปัญหาโสเภณีอาจมีผลกระทบถึงผู้ที่ไม่ได้
เข้าไปเก่ียวข้องกับตัวโสเภณีในด้านต่างๆ เช่น อาจเป็นผลเสียต่อญาติพ่ีน้องซ่ึงไปเท่ียวหญิงโสเภณี
อาจได้รับผลกระทบจากการที่รัฐบาลต้องสูญเสียงบประมาณไปในการป้องกัน ปราบปราม ในการ
อบรมโสเภณี ในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บจากผู้ท่ีไปเก่ียวข้องกับโสเภณี และจากความเจ็บป่วยนั้นๆ
ยอ่ มมผี ลตอ่ กาลังในการผลติ ของสังคม ผลของปญั หาโสเภณแี ยกเป็น ๓ ประการ คอื

๑. ผลทางเศรษฐกิจ ได้แก่ การเสียทรัพย์สิน การขาดกาลังในการผลิต ทรพั ย์สินอาจเสียไป
ในกรณดี งั ต่อไปนี้

- คา่ ใช้จา่ ยในการรักษาพยาบาล
- คา่ ใช้จา่ ยในการดาเนินงาน
- คา่ ใชจ้ า่ ยอน่ื ๆ
ผู้ที่ประกอบกิจการทางการค้าประเวณี เม่ือพิจารณาดูแล้ว ไม่ได้มีส่วนช่วยในการเพิ่ม
ผลผลิตและรายได้แก่สังคม เพียงแต่ช่วยให้การเงินหมุนเวียน และถ้ามีบุคคลประเภทนี้มากๆ แต่
บุคคลผู้ผลิต ผู้สร้างสินค้า ผู้เพ่ิมผลิตผลทางการเกษตร เพ่ิมผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม ถ้าบุคคล
ดงั กล่าวมีนอ้ ย กจ็ ะไมช่ ่วยใหส้ ังคมเจริญกา้ วหนา้ ทางเศรษฐกจิ
๒. ผลทางด้านสังคม ได้แก่ เสียชื่อเสียง และก่อให้เกิดปัญหาอื่นๆ ตามมา สังคมที่มี
โสเภณีมาก อาจได้ชื่อว่าเป็นเมืองโสเภณี ทาให้สังคมอื่นดูถูก มองผู้หญิงของสังคมน้ันเป็นผู้หญิงไม่ดี
ไปก็ได้
การมีโสเภณีอาจก่อให้เกิดปัญหาสังคมอื่นๆ ตามมา เช่น ปัญหาการล่อลวงผู้หญิงไปเป็น
โสเภณี ปญั หาการทาร้ายร่างกาย ปญั หาสขุ ภาพอนามยั ปญั หาเดก็ ไม่มพี ่อฯลฯ
๓. ผลส่วนบุคคลท่ีเก่ียวข้องและผู้มีอาชีพโสเภณี ผลท่ีอาจเกิดข้ึนได้แก่ โรคภัยไข้เจ็บ
การเสื่อมเสยี ชอ่ื เสยี งวงศ์ตระกลู เสื่อมเสยี ชื่อเสียงทง้ั ของครอบครวั และตนเอง
ปัญหาสังคมอื่นๆ ก็จะก่อให้เกิดผลเสียต่อทางเศรษฐกิจ สังคม และตัวผู้เกี่ยวข้องใน
ทานองเดียวกนั

๘๖

ผลของปัญหาสังคมนั้นจะทาลายชีวิตท่ีสงบสุข ทาลายความเจริญก้าวหน้าของชีวิตและ
สังคม ดังนนั้ จงึ ควรจะได้ช่วยกันป้องกันแกไ้ ข

๕.๓ การปอ้ งกนั แก้ไขปัญหาสงั คม

ดังทีไ่ ด้กล่าวมาบา้ งแล้วว่า ปัญหาสังคมแตล่ ะปัญหานั้นอาจเกิดจากสาเหตหุ ลายประการ ท้ัง
สาเหตุเน่ืองจากสภาพแวดล้อมทางสังคม และสาเหตุจากปัจจัยภายในตัวบุคคลดังเช่น ปัญหาความ
ยากจน อาจเน่ืองมาจากสาเหตุต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติไม่อานวย การเอารัดเอา
เปรียบของพ่อค้าคนกลาง ความเกียจคร้านของผู้คน ความโง่เขลาเบาปัญญา การว่างงานฯลฯ
ดังน้ันในการป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาข้ึนและแก้ไขปัญหาจาเป็นต้องมองให้รอบด้านถึงสาเหตุขอ ง
ปัญหา และขจดั สาเหตแุ ห่งปญั หาน้นั

๕.๓.๑ การป้องกันปญั หาสงั คม
การป้องกัน๑ หมายถึง การหาวิธีการที่จะยับย้ังไม่ให้ปัญหาสังคมต่างๆ เกิดขึ้น ซึ่งอาจทา
ได้ก็โดยการศึกษาสาเหตุของปัญหาน้ันๆ อย่างแจ่มแจ้งแล้วพยายามนาเอาเคร่ืองมือหรือวิธีการท่ีได้
ศึกษาค้นคว้ามาใช้กับคนและสังคมเพื่อไม่ให้ก่อสาเหตุอันจะเป็นผลให้เกิดปัญหาน้ันๆ ปัจจัยต่างๆ ท่ี
จะชว่ ยป้องกนั ไมใ่ หเ้ กดิ ปญั หาสงั คม เช่น
๑. การกาหนดบรรทัดฐานของสังคม (Norms) ถ้าสังคมได้กาหนดบรรทัดฐานในการ
ดาเนินชีวิตให้แน่ชัดว่า สิ่งใดควรปฏิบัติ สิ่งใดห้ามไม่ให้ปฏิบัติ ผู้คนก็จะมีแนวทางในการปฏิบัติตนได้
ถกู ต้องปญั หาต่างๆ ก็จะไมเ่ กิดขึน้
การกาหนดบรรทัดฐานของสังคมน้ัน จาเป็นจะต้องให้เหมาะสมกับสภาพของสังคมที่
เปล่ียนไป การยึดม่ันในบรรทัดฐานเดิมซึ่งใช้มานานปี อาจก่อให้เกิดปัญหาการขัดแย้งได้ เพราะผู้คน
รุ่นใหม่อาจเหน็ วา่ บรรทดั ฐานนัน้ ล้าสมัย ถ่วงความเจริญ
๒. การขัดเกลาทางสงั คม (Socialization) แมส้ งั คมจะมบี รรทัดฐานที่เหมาะสมแลว้ แตถ่ ้า
ขาดการขัดเกลา ขาดการอบรมให้เรียนรู้ ผู้คนก็จะปฏิบัติไม่ถูก หรือไม่รู้ว่าบรรทัดฐานนั้นๆ ว่าด้วย
อะไร และถา้ เปน็ เช่นน้นั กจ็ ะก่อใหเ้ กดิ ปัญหาข้นึ
การขัดเกลาทางสังคม ถ้าจะให้ได้ผลดี ผู้ทาหน้าท่ีขัดเกลาจะต้องอยู่ในบรรทัดฐานน้ันๆ
เพ่ือเป็นแบบอยา่ งทีด่ ดี ว้ ย
๓. การลงโทษที่รุนแรง (Severe punishment) การอยู่ร่วมกันในสังคมจาเป็นต้องมี
ระเบียบ กฎเกณฑ์ เพื่อเป็นแนวปฏิบัติให้สมาชิกอยู่ด้วยกันอย่างม่ันคงปลอดภัย เป็นธรรมดาท่ี
สมาชิกของสังคมได้รับการอบรมมาไม่เหมือนกัน ประกอบกับบุคลิกลักษณะนิสัยใจคอไม่เหมือนกัน
บางคนมีนิสัยสุภาพอ่อนโยน บางคนก้าวร้าวรุกราน เมื่อมีการประพฤติผิดหรือละเมิดระเบียบ
กฎเกณฑ์ทางสังคมก็สมควรจะได้มีการลงโทษ ท้ังน้ีเพื่อทาให้ระเบียบกฎเกณฑ์มีความหมาย ทาให้
สมาชิกคนอ่นื ๆ เห็นว่าการกระทาความผิดเป็นสิ่งท่ีไม่ดี และการประพฤติอยู่ภายในกรอบเปน็ ส่ิงท่ีคน
ทัว่ ไปยกย่องนับถือ ดงั นน้ั เมื่อมกี ารกระทาผิดหรอื ละเมดิ บรรทดั ฐานของสงั คมก็ต้องมกี ารลงโทษ

๑ โก ศ ล วงศ์ ส วรรค์ แ ล ะ ส ถิ ต วงศ์ ส วรรค์ , ปั ญ ห าสั งค ม ไท ย SOCHIAL PROBLEMS,
(กรงุ เทพมหานคร: อมรการพิมพ์, ๒๕๔๓), หน้า ๔๖ – ๔๙

๘๗

๔. การใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ (Better law enforccment) กฎหมายจะ
ศักด์ิสิทธิ์หรือมีความหมายเพียงใดนน้ั ข้ึนอยู่กับการบังคบั ใชอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ หรือมีการนาเอาไป
ปฏิบัติอย่างจริงจัง ให้เป็นไปตามตัวบทกฎหมาย ไม่ให้อ่อนโอนตามอานาจของผู้ใช้หรืออทิ ธิพลของผู้
ประพฤตผิ ิดไปจากขนบประเพณี ถา้ เมื่อใดกฎหมายไรค้ วามศักด์ิสทิ ธิ์ ไม่มีผลบังคับใช้ สังคมก็จะเกิด
การเอารดั เอาเปรียบ มีการกดขี่ข่มเหง ก่อใหเ้ กิดปัญหาสังคมต่างๆ ได้ เช่น ปัญหาอาชญากรรม และ
แม้แต่ปัญหาการจราจรก็อาจเกิดข้ึนได้ในกรณีที่ตารวจจราจรไม่เข้มงวดในการนาเอากฎหมายท่ีมีอยู่
ไปบังคับใช้ อนึ่ง เกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายนี้มีบุคคลและองค์การที่เก่ียวข้องท่ีจะช่วยเสริม
ประสิทธภิ าพของการใช้กฎหมาย คือ ผู้เสียหาย ตารวจและเจา้ หน้าที่ฝ่ายปกครองซง่ึ เป็นเจ้าพนักงาน
ท่ีรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน อัยการซ่ึงทาหน้าฟ้องผู้กระทาผิดต่อศาล ทนายความเป็น
ผู้ให้คาปรึกษาว่าความแทนฝ่ายโจทก์และจาเลย ศาลทาหน้าท่ีพิจารณาคดี และเรือนจามีหน้าท่ี
ควบคุมกักขังลงโทษและปรับปรุงแกไ้ ขผู้กระทาความผดิ

๕. การศึกษา (Education) คือการพัฒนาคนในด้านต่างๆ ทางกายภาพ อารมณ์ และ
สติปัญญา เพ่อื ใหม้ คี วามประพฤติดี มีอารมณ์ม่นั คง มคี วามเฉลยี วฉลาด และมีพลานามยั ทแี่ ขง็ แรง

การให้การศึกษาที่ถูกต้องย่อมนาไปสู่ความเป็นระเบียบของสังคม และช่วยป้องกันแก้ไข
ปัญหาสังคมต่างๆ ได้เป็นอย่างดี เป็นต้นว่า เมื่อคนเรามีการศึกษาดีทาให้มีความรู้ในด้านวิชาการ
แขนงต่างๆ มีความรู้ในด้านอาชีพ ทาให้สามารถนาเอาความรู้ไปประกอบอาชีพสร้างฐานะทาง
เศรษฐกิจและสังคมของตน ปัญหาสังคมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาความยากจน
ฯลฯ กจ็ ะไม่เกิดข้นึ นอกจากนั้นการศกึ ษายงั กอ่ ให้เกิดประโยชนอ์ ื่นๆ อกี เชน่

- ทาใหไ้ ด้เรียนรรู้ ะเบยี บแบบแผนของสงั คมและปฏบิ ัตไิ ด้อยา่ งถกู ต้อง
- ทาใหเ้ กดิ ความเฉลยี วฉลาดรอบรู้ทันคน ไม่ถกู หลอกลวงไปในทางมชิ อบ
- ทาให้เกิดความสานกึ ในศกั ดศ์ิ รี (Dignity) เกิดความภาคภูมิใจในสถานภาพของตน
ทาให้ไมก่ ล้าทาผดิ เพราะถือวา่ เปน็ การทาลายชื่อเสียงของตนเอง
๖. ศาสนา (Religion) เป็นสถาบันทางสังคมอย่างหน่ึงท่ีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของผู้ท่ี
เคารพนับถือ ศาสนา คือ หลักคาสอนของศาสดา มีหลักคาสอนท่ีเป็นแนวปฏิบัติของมนุษย์เพื่อให้
บรรลุสู่ความสันติสุข โดยทั่วไปแล้วศาสนาได้กาหนดหลักของศีลธรรมเบื้องต้นที่เป็นหลักควบคุม
พฤติกรรมของคนในสังคม เช่น สอนให้คนมีเมตตากรุณาต่อกัน อยู่ร่วมกันอย่างเห็นอกเห็นใจ ไม่คด
โกงเอารัดเอาเปรยี บกนั
หลักคาสอนทางศาสนาน้ัน สามารถช่วยป้องกันแก้ไขปัญหาสังคมได้ เช่น ในทางพุทธ
ศาสนา สอนให้คนรวยทรัพย์ มีฐานะทางเศรษฐกิจดี ทาให้ไม่เกิดปัญหาความยากจน ถ้าปฏิบัติตาม
หลักธรรมที่ว่าดว้ ยทิฏฐธมั มิกัตถ หรือประโยชน์ปัจจบุ ัน ๔ ประการ คือ อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วย
ความขยันหมั่นเพียรในการประกอบอาชีพ อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษาทรัพย์ท่ีหามาได้
กัลยาณมิตตตา คบเพ่ือนที่ดีเป็นมิตร และ สมชีวิตา เลี้ยงชีพให้พอเหมาะพอควรแก่ฐานะทาง
เศรษฐกจิ
๗. หน่วยงานแนะแนวและให้คาปรึกษา (Guidance and counselling programs)
การแนะแนว(Guidance) คือ บริการแนะนาให้ผู้อ่ืน เกี่ยวกับการพัฒนาตัวเอง และเกี่ยวกับการ
ตัดสินใจในการดาเนนิ ชวี ติ ทง้ั ในปจั จบุ ันและอนาคต

๘๘

การให้คาปรึกษา (Counselling) คือ กระบวนช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหา โดยผู้ให้คาปรึกษา
กระตุ้นให้ผู้มีปัญหาสามารถแก้ไขปัญหาของตนเอง และปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ อย่างมี
ประสิทธิภาพ

ปัญหาสังคมท่ีเกิดขึ้นจากพฤติกรรมเบี่ยงเบน มักจะเกิดข้ึนจากการท่ีคนเราขาดการ
อบรมและแนะนาในทางที่ถูกท่ีควรอย่างต่อเน่ืองกันในระยะยาว เด็กท่ีเจริญเติบโต โดยขาดการ
อบรมและแนะนา มักจะมีโอกาสกลายเป็นอาชญากรได้งา่ ย ปัญหาความขัดแย้งระหว่างบุคคล หาก
ได้รับการแนะนาและให้คาปรึกษาที่ดีก็อาจจะขจัดความขัดแย้งได้ หน่วยงานแนะแนวและให้
คาปรกึ ษา จึงมคี วามจาเปน็ ในการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาสังคม

๘. หน่วยงานท่ีตั้งขึ้นเพ่ือบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม (Social group work) เช่น สภา
สงั คมสังเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ยวุ พทุ ธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ฯลฯ การ
รวมกลุ่มกันเพื่อก่อต้ังหน่วยงานบาเพ็ญประโยชน์ให้แก่สังคมน้ันย่อมได้ประโยชน์ทั้งผู้เข้าร่วมเองและ
ประโยชน์ตอ่ สังคมโดยส่วนรวมอีกด้วย ประโยชนต์ ่อส่วนบุคคลท่ีเป็นสมาชิก ได้แก่ การใชเ้ วลาว่างให้
เปน็ ประโยชน์และไม่มีเวลาที่จะทาสง่ิ ใดท่ีกอ่ ให้เกิดปัญหาสังคม ในดา้ นส่วนรวมน้ันเป็นการช่วยเหลือ
บุคคลและสงั คม และช่วยแบ่งเบาภาระหน้าทข่ี องหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไดอ้ ีกดว้ ย

๙. การปรับปรุงสภาพแวดล้อม (Area rehabilitation) สภาพแวดล้อมมีผลกระทบต่อ
พฤติกรรมของคนเรา หากอยู่กันอย่างแออัดและคับแคบ ไม่ค่อยจะมีความเป็นตัวของตัวเอง
สภาพแวดล้อมท่ียั่วยุหรือกระตุ้นเร่งเร้าให้กระทาผิดด้านต่างๆ ได้ ดังน้ันเพื่อการป้องกันปัญหาควรมี
การปรับปรุงแก้ไขสภาพแวดล้อม ดงั น้ี

ก. การปรบั ปรงุ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Physical rehabilitation) เป็นการ
ปรับปรุงสภาพแวดล้อมรอบๆ บ้านในชุมชนให้น่าอยู่อาศัย มุมถนนหนทางสะอาด ปราศจากมุมมืด
ป่าละเมาะ มีไฟฟ้าแสงสว่างตามถนน ท้ังนี้เพ่ือป้องกันพวกมิจฉาชีพอาศัยเป็นฉากกาบังเพ่ือ
ประกอบอาชญากรรม

ข. การปรับปรงุ สภาพแวดลอ้ มทางสังคม (Social rehabilitation) เป็นการ
ปรับปรุงตัวบุคคลและกลุ่มคนในสังคม เช่น จัดให้มีการรวมกลุ่มกัน เพ่ือช่วยกันแก้ไขปัญหาสังคม
ต่างๆ โดยอาจจัดให้มีกิจกรรมร่วมกันท้ังด้านบันเทิง สาธารณประโยชน์ หรือทางศาสนา ฯลฯ จะทา
ให้สภาพแวดลอ้ มของเดก็ ดขี นึ้ แทนท่ปี ระชาชนจะรวมตวั กันเปน็ กลมุ่ อนั ธพาลหรอื เลน่ การพนนั

การปรบั ปรุงสภาพการเล้ยี งดู เพ่ือให้เด็กได้เจริญเตบิ โตเปน็ บคุ คลทีส่ มบรู ณ์ทัง้ รา่ งกาย
และจิตใจ ย่อมเป็นปัจจัยอย่างหนึ่งท่ีจะช่วยป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาสังคมขึ้น อนึ่ง ในทัศนะของนัก
พยาธิวิทยาทางสงั คมที่เนน้ ในเร่อื งของพันธกุ รรมเห็นว่า ถา้ สามารถควบคุมเช้ือไมด่ ีไว้และส่งเสรมิ เช้ือ
ดี เพ่อื ให้ไดป้ ระชากรที่มคี ุณภาพ กจ็ ะช่วยปอ้ งกันการเกิดปญั หาสงั คมได้

๑๐. พัฒนาด้านเศรษฐกิจ ส่งเสริมให้มีการผลิตทั้งทางด้านเกษตรกรรม และ
อุตสาหกรรมตามความเหมาะสม อุดหนุนให้ประชาชนสามารถดาเนินการทางธุรกิจท้ังในด้านทุน
วิธีดาเนินการและการจาหน่ายผลผลิต นอกจากน้ันควรส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักออมทรัพย์ขยัน
ขนั แข็งในการทามาหาเลีย้ งชีพ ร้จู ักเล้ียงชีพให้พอเหมาะกับฐานะทางเศรษฐกิจ

เครื่องมือและวิธกี ารในการปอ้ งกันปญั หาสังคมนน้ั มีหลายอยา่ งด้วยกัน แต่การท่ีจะใช้วิธี
ใดและสามารถนาเอาไปใช้ได้ผลแค่ไหนนั้น ย่อมข้ึนอยู่กับสถานการณ์ (Situation) เวลาและสถานท่ี

๘๙

ตัวอย่าง เช่น การใช้วิธลี งโทษที่รนุ แรง ใครกระทาผิดกป็ ระหารชีวิต อาจทาให้สงั คมทไี่ ร้ระเบียบกลับ
สู่สภาวะปกติได้ แต่ถ้าสังคมน้ันผู้คนมีการศึกษาสูง และอยู่ในภาวะปกติดี ถ้าจะใช้วิธีการลงโทษ
ผกู้ ระทาผดิ อยา่ งรุนแรงก็อาจไม่เหมาะสม และอาจได้รบั การต่อต้านจากสงั คม

๕.๓.๒ การแก้ไขปัญหาสงั คม
การแก้ปัญหาสังคม หมายถึง การจัดการกับปัญหาสังคมเมื่อเกิดปัญหาขึ้นแล้ว เช่น เกิด
ความยากจน เกดิ ปัญหาการว่างงานเกิดขึ้น ฯลฯ จงึ ดาเนินการแก้ไข ตัวอยา่ งเช่น เมื่อเกิดปญั หาการ
ว่างงาน ก็แก้ไขโดยการสร้างงานให้มากข้ึน เพื่อคนจะได้มีงานทา ใช้วิธีส่งคนไปทางานต่างประเทศ
แนวความคดิ ในการแก้ปญั หาดงั กล่าวอาจกระทาได้ดังนี้
๑. การล้มล้างระบบสังคมเดิม และนาระบบใหม่เข้ามาใช้แทน เชน่ การเปลี่ยนระบบการ
ปกครองจากเผด็จการไปเป็นประชาธิปไตย การเปลยี่ นระบบเศรษฐกิจจากเสรนี ยิ มเปน็ สังคมนิยม
๒. การขัดเกลาทางสังคม เพื่อให้รู้ดี รู้ช่ัว รูว้ ่าสงิ่ ใดควรทา สง่ิ ใดไม่ควรทา จะไดไ้ ม่กระทา
ผดิ
๓. การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ทั้งน้ีเพื่อพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าท้ัง
ทางด้านเศรษฐกิจและสังคม เม่ือคนเรามีการกินดีอยู่ดี มีการจัดระบบสังคมท่ีดี ก็อาจช่วยแก้ปัญหา
สงั คมได้
๔. การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบปัญหา เช่น เม่ือเกิดปัญหาความยากจนก็ให้การ
สงเคราะห์ในรูปของโครงการเงินกู้เพื่อนาเอาไปลงทุนเพ่ือประกอบอาชีพ การสร้างงานในชนบท
เพ่ือให้ชาวชนบทมีงานและมีรายได้ในช่วงระยะที่ว่างงาน การจัดฝึกอบรมวิชาชีพให้กับหญิงโสเภณี
การจดั บ้านพกั ใหก้ ับผูท้ ่ไี ร้ทอ่ี ยู่อาศัย ฯลฯ
๕. การพัฒนาคนให้มีโลกทัศน์ท่ีกว้าง รู้ถึงเหตุและผลแห่งปัญหา มีความรู้ความสามารถ
ในการทามาหาเลีย้ งชีพ มคี วามรับผดิ ชอบต่อตนเองและสงั คม
วิธีการแกไ้ ขปัญหาดังกลา่ ว เป็นเพียงแนวทางกว้างๆ ท่อี าจนาไปใชใ้ นการแกป้ ัญหาสังคม
แต่เน่ืองจากปัญหาสังคมแต่ละปัญหามีสาเหตุท่ีแตกต่างกันออกไป ดังน้ันในการแก้ปัญหาสังคมเรา
ต้องคานึงถึงสาเหตุและแกท้ ส่ี าเหตซุ ึ่งทาให้เกดิ ปัญหาน้ันๆ

๕.๔ กระบวนการในการแกป้ ัญหาสังคมด้วยวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์

การท่ีจะป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมให้ได้ผลนั้น จาเป็นต้องศึกษาถึงสาเหตุของปัญหา แล้วจึงขจัด
เหตุท่ีกอ่ ให้เกิดปัญหา ปัญหาน้ันๆ ก็จะสามารถแก้ไขได้ หลกั การดังกล่าวคือ การแก้ไขปัญหาสังคมด้วยวธิ ีการ
ทางวทิ ยาศาสตร์ ซงึ่ มขี ้ันตอนที่สาคัญ ดังน้ี

๑. กาหนดปัญหาที่ต้องการแกไ้ ข
๒. ตั้งขอ้ สมมุตฐิ านสาเหตุทก่ี อ่ ให้เกดิ ปัญหา
๓. รวบรวมข้อมูล
๔. วิเคราะห์ขอ้ มูล
๕. สรปุ และเสนอรายงาน

๙๐

๑. การกาหนดปัญหา (The problem) หรือเลือกปัญหาท่ีจะศึกษาค้นคว้า การเลือก
ปัญหาน้ัน เราควรเลอื กปัญหาท่ีมีความสาคัญ ปัญหาน้ันเม่ือศกึ ษาแลว้ ผลท่ีได้จะก่อให้เกิดประโยชน์
แก่สังคมมาก ตัวอย่างของปัญหาสังคม ท่ีเราอาจนามาศึกษา เช่น ปัญหาสุขภาพจิต (Mental
illiness) ปัญหาความเส่ือมโทรมทางศีลธรรมและวฒั นธรรม ปัญหาอาชญากรรมทางเพศ ฯลฯ

๒. การต้ังสมมุติฐาน (Formulating hypothesis) เราอาจตั้งสมมุติฐานว่า ปัญหาท่ี
เกดิ ขน้ึ นน้ั เน่อื งมาจากสาเหตใุ ดบา้ ง เช่น ปัญหาโสเภณีอาจมีสาเหตมุ าจาก

๒.๑ ความผิดปกติของต่อมเพศ(Gonad)
๒.๒ ความยากจน
๒.๓ ความโงเ่ ขลา
สาเหตุท่ีเราคาดคะเนไว้นี้เรียกว่าสมมุติฐาน ซึ่งผลจากการศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล
และวเิ คราะหอ์ อกมาแล้วอาจไม่เปน็ เชน่ น้นั ก็ได้
การต้ังสมมุติฐาน จะช่วยให้เรามีแนวทางในการดาเนินการศึกษาหาสาเหตุต่างๆ ของ
ปัญหาไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ สมมตุ ฐิ านท่ีต้งั ข้นึ ควรจะอาศยั ประสบการหรืออา้ งองิ ทฤษฎีเพื่อความ
เป็นไปไดจ้ ริงของสาเหตุแหง่ ปญั หานั้นๆ
๓. การรวบรวมข้อมูล (Collecting data) เม่ือได้ต้ังสมมุติฐานแล้ว เราก็รวบรวมข้อมูล
ซ่ึงมีด้วยกันหลายวิธี แต่ท่ีนิยมใช้กันในการศึกษาค้นคว้าทางสังคมศาสตร์และรวมถึงในการศึกษา
ค้นคว้าทางสังคมวิทยา ได้แก่ การรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วย
แบบสอบถาม การสัมภาษณ์และการสังเกต จดุ มุ่งหมายของการรวบรวมขอ้ มลู ก็เพ่ือนาเอาผลที่ไดม้ า
พิสจู น์สมมตุ ิฐานทต่ี ้งั ไว้ เปน็ ความจรงิ ตามนั้นหรือไม่
๔. การวิเคราะห์ข้อมูล (Data analysis) เมื่อได้ข้อมูลต่างๆ ตามต้องการแล้วก็นาเอา
ขอ้ มูลท่ีมีเหตุผล มีหลักฐานอ้างอิงมีความเช่ือถือได้ มาวิเคราะห์และสรุปความออกมาเป็นคาอธิบาย
เพอ่ื หาขอ้ เทจ็ จริงหรอื สาเหตุทแี่ ทจ้ รงิ ของปัญหา
๕. สรุปผลและเสนอรายงาน (Interpretation and Research report) เมื่อได้ข้อมูล
จากการศกึ ษาค้นคว้าแล้ว ผู้ศกึ ษาจะต้องสรปุ ผลการศึกษาค้นคว้าและเขียนไปตามท่ีได้ค้นพบโดยไม่มี
อคตหิ รือเพมิ่ เติมความรู้สึกส่วนตัวลงไป และควรสรปุ ดว้ ยวา่ ไดค้ น้ พบอะไร หรอื มีปญั หาอะไรที่ควรจะ
ศกึ ษาตอ่
เมื่อได้ข้อสรุปของสาเหตุแห่งปัญหาสังคมแล้ว เช่น พบว่า ปัญหาโสเภณีเกิดจากความ
ยากจน เราก็ต้องแก้ความยากจนของผู้คนในสังคมด้วยวิธีการต่าง ๆ และเม่ือแก้ความยากจนได้
ปัญหาโสเภณกี จ็ ะลดหรอื หมดไป ดงั น้เี ป็นตวั อยา่ งเบ้อื งต้น

๕.๕ วิธกี ารทีใ่ ช้ในการแกไ้ ขปัญหาสงั คม

การแก้ไขปัญหาสงั คมตา่ งๆ สามารถจะดาเนินการได้ดังน้ี
๑. ปัญหาอันมีสาเหตุจากภายนอก เช่น ปัญหาที่เกิดจากความเจริญของเทคโนโลยี และ
การขยายของชุมชน อุตสาหกรรม การส่อื สาร เป็นต้น ควรแกด้ ว้ ยวธิ ีการดังน้ี

๙๑

๑.๑ การอบรมสั่งสอน (Socialization) คือ การอบรม ถ่ายทอดทางวฒั นธรรม เพ่ือ
นาคนเขา้ สรู่ ะบบสังคม

๑.๒ ให้การศึกษา (Education) การศึกษาควรให้ได้บูรณาการท้ังการพัฒนาสังคม
อารมณ์ และปัญญา

๑.๓ การลงโทษ (Punishment) เป็นมาตรการหน่ึงที่ควบคุมสังคม ปฏิบัติตาม
กฎเกณฑ์ทางสังคม การลงโทษมีอยู่หลายอย่าง การจับกุม หรือแสดงอาการรังเกียจ ไม่คบค้าสมาคม
แกผ่ ูก้ ระทาผดิ เปน็ ต้น

๒. ปัญหาอันมีสาเหตุจากภายใน เช่น การเปลี่ยนรสนิยม ค่านิยม ความเช่ือ ซ่ึงมีผลต่อ
ปญั หาอันเกิดจากการเมอื ง และความเส่ือมโทรมทางศลี ธรรม ควรแก้ด้วยวธิ กี ารดังน้ี

๒.๑ หน่วยงานแนะนาใหค้ าปรึกษา (Guidance and Counselling Programs) คือ
มีหน่วยงานให้คาปรึกษาช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางจิต หรือมีหน่วยงานจัดต้ังเพ่ือประกาศเกียรติ
คุณ แกผ่ ปู้ ระกอบกรรมดี เปน็ ต้น

๒.๒ คาสอนทางศาสนา (Doctrinc) คือ ทางรัฐบาล ควรเปิดโอกาสให้การศึกษา
คน้ คว้า เพื่อประยุกตห์ ลักการทางศาสนามาใช้ให้แพรห่ ลาย กระต้นุ ให้เกิดจิตสานึกท่ดี ีต่อสงั คม

๕.๖ กรณตี ัวอยา่ งปัญหาสงั คมไทยและแนวทางการแกไ้ ข

แม้ว่าสังคมจะมีความร่วมมือปรับเปลี่ยนและแก้ไข เพื่อให้ได้กลไกทางสังคมดาเนินไป
อยา่ งราบร่ืน แตบ่ างครั้งบางกรณอี าจเกดิ ปญั หาหรอื ข้อขดั แย้งข้ึนท้ังทีเ่ ป็นผลมาจากปจั จัยภายในและ
จากปัจจัยภายนอกของสังคม ซ่ึงส่งผลให้การทางานของกลไกทางสังคมไม่เป็นปกติและกลายเป็น
ปัญหาสงั คมขึ้นมา

พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๒๔๒ ได้ให้
ความหมายของปญั หาสงั คมวา่ หมายถึง ภาวะใดๆ ในสังคมทค่ี นจานวนมากถือวา่ เปน็ สิ่งผดิ ปกติ และ
ไม่พึงปรารถนา รู้สึกไม่สบายใจ และต้องการให้มีการแก้ไขให้กลับคืนสู่สภาวะปกติ เช่น ปัญหา
อาชญากรรม ปัญหาการทุจริตในวงราชการ ปัญหายาเสพติด เป็นต้น ปัญหาสังคมเป็นผลมาจาก
กระบวนการทางสังคม รวมถึงการประเมินพฤตกิ รรมของคนในสังคมดว้ ยมาตรฐานศลี ธรรมในณะนั้น

จากคาจากัดความดังกล่าวจะเห็นได้ว่า ปัญหาหรือข้อขัดแย้งที่กระทบคนส่วนใหญ่ใน
สงั คมเท่าน้ันจึงจะถือว่าเป็นปัญหาสังคม แต่หากเป็นปัญหาของตัวบุคคลเพียงคนเดียว เช่นพี่ทะเลาะ
กบั นอ้ ง เพราะนอ้ งไม่ยอมทาการบ้าน ครลู งโทษนกั เรียน เพราะทาผดิ กฎของโรงเรียน จะไมถ่ ือวา่ เป็น
ปญั หาสังคม

สังคมไทยก็เป็นเช่นเดียวกับสังคมอ่ืนๆ ท่ัวโลกที่มีปัญหา เพราะทุกสังคมมีการ
เปล่ียนแปลงซ่ึงส่ิงเหล่านี้เป็นปัจจัยพื้นฐานทาให้เกิดปัญหาสังคมได้ ปัญหาสังคมอาจมีความรุนแรง
และส่งผลกระทบต่อสังคมในระดับและขอบเขตที่ต่างกนั เช่น ระดับขุมชน ระดับประเทศ และระดับ
โลก เปน็ ต้น

๒ ราชบัณฑติ ยสถาน, พจนานกุ รมศพั ท์สงั คมวทิ ยา อังกฤษ – ไทย ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน,
(กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ัท ร่งุ ศิลปก์ ารพมิ พ์ จากดั , ๒๕๒๔), หนา้ ๓๕๘.

๙๒

อย่างไรก็ตามไม่ว่าจะมีความรุนแรงและมีขอบเขตขนาดใด คนในสังคมโดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งผู้ที่มีหน้าท่ีรับผิดชอบโดยตรงต้องพยายามหาทางควบคุม เพื่อให้ความเป็นระเบียบเรียบร้อย
กลับคืนมา ในที่นี้จะหยิบยกปัญหาสังคมบางประการมากล่าวถึงและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไข
เพอ่ื เป็นตวั อยา่ ง

การศึกษากรณีปัญหาตัวอย่างดังน้ีจะทาให้ผู้ร้องเรียนได้ตระหนักถึงความรุนแรงและ
ผลกระทบของปัญหาสังคม เพ่ือจะได้ร่วมกันหาหนทางป้องกันมิให้เกิดข้ึนอีก หรือหากเกิดข้ึนแล้วจะ
รว่ มกนั แก้ไขไดอ้ ยา่ งไร

๕.๖.๑ ปญั หายาเสพติด
ยาเสพติดเป็นปัญหาใหญ่ระดับชาติที่นับวันจะเพิ่มความรุนแรงทุกขณะ ดังจะเห็นได้จาก
สถิติการจับกมุ ผกู้ ระทาความผิดเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๕ จานวน ๒๖๕,๕๔๐ ราย ตอ่ มาจานวนคดีไดล้ ดลง
เหลือ ๗๔,๒๕๔ รายในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ แต่หลังจากน้ันคดียาเสพติดก็ได้เพิ่มข้ึนเรื่อยๆ จนกระทั่งปี
พ.ศ. ๒๕๕๓ มีผู้กระทาผดิ สูงถึง ๒๖๖,๐๑๐ ราย แต่มาในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๕ ปญั หายาเสพ
ติดยังคงมีความรุนแรงอยู่แม้จานวนคดีและผู้กระทาผิดจะมีน้อยลง โดยผู้กระทาความผิด ๖๐,๐๐๐
ราย แตป่ ริมาณยาเสพตดิ ท่ีสาคญั ทส่ี ามารถยึดได้มจี านวนเพิ่มมากขึน้
ตามกฎหมายได้ให้ความหมายของยาเสพติดว่า หมายถึง ยา สารเคมี หรือวัตถุชนิดใดๆท่ี
เม่ือเสพเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าจะโดยการรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือวิธีการใดก็ตามทาให้เกิดผลต่อ
รา่ งกายและจิตใจ
สาเหตุของยาเสพติดมาจากความอยากรู้อยากลองของเด็กเอง และไม่ได้รับคาแนะนาท่ี
ถูกต้องจากผู้ใหญ่ จึงหลงผิดไมร่ ู้ถึงโทษหรือผลลัพธท์ ี่จะเกิดตามมา และสาเหตุสาคัญอีกประการหนึ่ง
มาจากสภาพแวดล้อมภายนอกท่ีผลักดันใหค้ นหันไปหายาเสพตดิ เช่น ครอบครัวแตกยก ความทุกข์ท่ี
เกิดจากความยากไร้ การไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมใหญ่ๆได้ ทาให้จิตใจอ่อนแอ เมื่อ
ได้รับการชุกจูงให้เสพยาเสพติดเพ่ือคลายทุกข์ก็หันเข้าหายากเสพติดทันที ในขณะเดียวกันเหล่า
มิจฉาชีพท่ีมุ่งแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัวก็พยายามผลิตและจานวนยาเสพติดด้วยกลวธิ ีหลอกล่อให้
คนเสพยาโดยไมค่ านงึ ถึงโทษทีจ่ ะเกดิ ขึน้ กับคนในสังคม
แนวทางการแก้ไขและปราบปรามปัญหายาเสพตดิ ทส่ี าคญั ดงั น้ี

๑) นโยบายของรัฐบาล ด้านการปราบปรามปัญหายาเสพติด โดยการจับกุมทาลาย
แหล่งผลิตยาเสพตดิ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และออกกฎหมายเพิ่มโทษผผู้ ลติ และผู้ขายอย่างรนุ แรง

๒) สถานบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด ดาเนินการเพื่อให้เลิกใช้สารเสพติด อนึ่งการ
บาบัดรักษาต้องได้ความความร่วมมือเป็นอย่างดี จากสถาบันศึกษา สถาบันทางศาสนาและสถาบัน
นันทนาการ ในการให้ความช่วยเหลือผู้ติดยาด้านเงินบริจาคกับสถานบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดให้
สามรถออกเย่ยี มผู้ปว่ ย เพื่อให้กาลังใจแกผ่ ู้ติดยาได้อยา่ งสมา่ เสมอ

๓) ความช่วยเหลือจากองค์กรเอกชน ปัจจุบันมีองค์กรเอกชนมากมายท่ีให้ความ
ช่วยเหลือผู้ติดยาให้สามารถ ลด ละ เลิกการใช้สารเสพติด เช่น สานักงานสร้างเสริมสุขภาวะ (สสส.)
เปน็ ต้น ในขณะเดียวกันได้มกี ารสนับสนนุ ให้สถาบนั ครอบครัว สถาบันศาสนา สร้างภมู ิคมุ้ กันให้คนใน
ครอบครัวและสังคม เป็นคนดีและเป็นท่รี ักของคนรอบข้าง รผู้ ิดรู้ชอบ และสามารถชว่ ยแบง่ เบาความ
ทกุ ข์ยากท่เี กดิ ข้นึ กบั คนอน่ื ไดห้ ากปัญหาชีวิต ซงึ่ มาตรการเหลา่ น้จี ะทาให้คนหลกี หนยี าเสพตดิ ได้

๙๓

ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาทางสังคมท่ีก่อให้เกิดผลเสียกับท้ังสู้เสพเองและต่อสังคม
ส่วนรวม เพราะผู้ติดยาเสพติดอาจจะสร้างปัญหาสังคมรุนแรงตามมาได้ เช่น อาชญากรรม จี้ปล้น
การจับตัวประกันเมื่อเกิดการคลุ้มคล่ัง การทาร้ายร่างกาย และการฆ่าตัวตาย เป็นต้น ดังนั้น
ประชากรทกุ คนจงึ ต้องร่วมมือกันดว้ ยพลังสามัคคปี กป้อง และแก้ไขให้สังคมไทยหลดุ พ้นจากปัญหายา
เสพติดโดยเรว็ ที่สุด

๕.๖.๒ ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ประเทศไทยและท่ัวโลกกาลังเผชิญปัญหาส่ิงแวดล้อมทีอ่ ยู่ในข้ันรุนแรง และส่งผลกระทบ
ต่อการดารงชีวิตของประชาชนทุกคน สิ่งแวดล้อมในที่นี้ หมายถึง ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ เช่น ดิน
น้า อากาศ ภูเขา และส่ิงแวดล้อมทางชีวิภาพ เช่น ป่าไม้ พืชพันทางธรรมชาติ สัตว์ป่า และสัตว์น้า
เปน็ ต้น
สาเหตุท่ีทาให้เกิดปัญหาส่ิงแวดล้อมมีอยู่ด้วยกันหลายประการแต่ท่ีสาคัญ คือ เกิดจาก
กระบวนการการผลิตโดยเฉพาะจากโรงงานอุตสาหกรรม การคมนาคมขนส่งก่อให้เกิดมลพิษ การ
พฒั นาประเทศ ก่อใหเ้ กิดสภาวะแวดล้อมท่เี ปลี่ยนไป ทั้งทรพั ยากร ส่ิงแวดลอ้ ม และภัยธรรมชาติ แต่
ก็นับว่าน้อยมากถ้าเปรียบกับปัญหาท่ีเกิดข้ึนจากการกระทาของมนุษย์ เช่น การถางป่าเพ่ือใช้ดินใน
การเพาะปลูก การตดั ตน้ ไม้ทาฟนื และถา่ น เพือ่ ใช้เป็นพลงั งานในการหงุ ตม้ เปน็ ต้น
สาหรับแนวทางการป้องกันและแก้ไขควรเร่ิมท่ีระดับบุคคลและครอบครัวซ่ึงถือเป็น
พื้นฐานที่สาคัญที่สุดของสังคม โดยปลูกฝังความรู้ความเข้าใจให้ถูกต้อง เกี่ยวกับการสงวนรักษา
สภาพแวดล้อมการใช้พลังงานทดแทน และการปลูกต้นไม้เพ่ือทดแทนเป็นต้น รวมท้ังการหาแนวทาง
รณรงค์การรักษาสิ่งแวดล้อมต่อไปในระดับชุมชนและระดับประเทศ เพราะการให้ความรู้ความเข้าใจ
ถือวา่ เปน็ แนวทางแรกทจ่ี ะแกไ้ ขปญั หาท่ีต้นเหตไุ ด้ดีทีส่ ดุ
๕.๖.๓ ปัญหาการทจุ รติ
ปัญหาการทจุ ริตฉ้อราษฎร์บังหลวงคือคอรัปช่นั ถอื เป็นปญั หาที่สาคัญระดบั ชาติ จะเห็นได้
วา่ การทุจรติ มีตั้งแต่ในระดบั สูงลงมาถึงระดับท้องถน่ิ แม้วา่ จะมีการปราบปรามและรณรงค์ตอ่ ต้านอยู่
เนืองๆ แลว้ กต็ าม
สาเหตุสาคัญของการเกิดปัญหาทุจริตมาจากความต้องการบริโภคเกินความพอดี คือมี
รายได้น้อยกว่ารายจ่าย จึงหาช่องทางทุจริตนาเอาทรัพย์สนิ ของคนอ่ืนและของทางราชการมาเปน็ ของ
ตนเอง รวมทั้งกฎเกณฑ์และกฎศลี ธรรมของคนในสังคมเส่ือมลง จึงทาผิดได้โดยไม่มคี วามละอายและ
เกรงกลัวต่อกฎหมายบา้ นเมือง
แนวทางการแก้ปัญหาจึงเร่ิมจากการปลูกฝังค่านิยมท่ีดี โดยเฉพาะการปลูกฝังให้เห็นว่า
ประโยชน์ส่วนรวมเป็นสิ่งที่สาคัญท่ีสุด รวมท้ังต้องมีการรณรงค์ให้คนในสังคมรังเกียจการทุจริต เน้น
ความซ่ือสัตย์ ภูมิใจในศักด์ิศรีของตนเอง โดยต้องการปลูกฝังต้ังแต่ในวัยเด็ก ผ่านการอบรมสั่งสอน
ของบิดามารดา และการศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ เพ่ือให้ค่านิยมเหล่าน้ีซึมอยู่ในจติ ใจของคน
ไทยทกุ คน
นอกจากนี้ บทลงโทษทางสังคมก็จะต้องเข้มแข็งไม่ให้มีช่องโหว่ทางกฎหมายในการ
ช่วยเหลือพวกพ้องให้พ้นผิด คนจะได้ไม่กล้าทุจริต และสังคมต้องให้การสนับสนุนด้วยการชี้เบาะแส
ผกู้ ระทาผิดใหก้ บั องคก์ ร ก็จะเป็นการชว่ ยแก้ไขปัญหานใี้ ห้ลดน้อยลงได้

๙๔

๕.๖.๔ ปัญหาความรนุ แรงในครอบครวั และสังคม
ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและสังคมกาลังเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลง
ทางสังคมอย่างมาก เพราะปัญหาดังกล่าวนาไปสู่ปัญหาสังคมต่างๆ เช่น ปัญหาการหย่าร้าง ปัญหา
การทารุณกรรมในครอบครวั ปัญหาการลว่ งละเมิดทางเพศ ปญั หาสทิ ธเิ ด็กและสตรี ปัญหาวยั ร่นุ เป็น
ตน้ ซึ่งปัญหาเหล่าน้ีเป็นปัญหาที่นับวนั จะทวีความรุนแรงมากขึน้ และอาจเป็นแนวทางนาไปสู่ปัญหา
อาชญากรรม ยาเสพตดิ และการพนนั ตอ่ ไปได้
สาเหตุหลักๆ ของปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและสังคมนั้นมาจากการที่สังคมมี
จานวนสมาชิกหรือจานวนประชากรเพ่ิมมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ทาให้คนในสังคมต้องแข่งขันกันในด้าน
ต่างๆ จนเกิดความเครียด หรือสภาพสังคมที่เน้นวัตถุนิยม รวมทั้งการยับยั้งช่ังใจและการควบคุม
อารมณ์ให้มีสติของคนในสังคมมีน้อยลง จึงทาให้หลายคนหันไปใช้กาลังและความรุนแรงในการแก้ไข
ปญั หาต่างๆตนเองกาลงั เผชิญอยู่
แ น ว ท า งก า ร แ ก้ ไข ปั ญ ห าค ว ร เร่ิ ม จ าก ก าร ส ร้ างค่ า นิ ย ม ก าร ให้ เกี ย ร ติ กั น แ ล ะ กั น ใน
ครอบครัว หันหน้าปรึกษาหารือกันทั้งทางด้านการเงิน การเรียน การดาเนินชีวิต และทางด้านจิตใจ
สิ่งเหล่าน้ีจะช่วยทาให้ครอบครัวมีความเอ้ืออาทร ลดความรุนแงอย่างย่ังยืนได้ และต้องอาศัยความ
ร่วมมือจากองค์กรช่วยเหลือต่างๆ เช่น กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในการ
เข้าไปรณรงค์และดแู ลทาให้ปัญหาต่างๆ คลีคลายไปในทางท่ีดี เช่น ส่งเสริมการสร้างครอบครัวใหม่ท่ี
มีความเขา้ ใจกนั สง่ เสริมสิทธสิ ตรี สง่ เสริมการคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชน เปน็ ตน้
อน่ึง การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมจะเป็นทางออกที่ดีให้กับสังคมท่ีมีการแตกแยก
ด้านความคิดและใช้ความรุนแรงเข้าประหัตประหารกัน โดยเน้นการติดต่อส่ือสารระหว่างกันผ่าน
ทางการประชมุ สัมมนา และการทากิจกรรมเพื่อสังคมร่วมกัน รวมทั้งรว่ มกันสร้างค่านยิ มการยอมรับ
ความแตกต่างด้านความคิดเห็นของบุคคลอื่น เพราะถ้าหากสังคมไร้ค่านิยมดังกล่าว สังคมก็จะมีแต่
การทะเลาะเบาะแวง้ ปราศจากความสงบสุข และไมอ่ าจพัฒนาต่อไปได้
นอกจากปัญหาสังคมทไี่ ด้ยกตัวอย่างมาขา้ งต้น สงั คมไทยยังมีปญั หาสังคมอีกมากมายท่ีมี
ความรุนแรงสูง เช่น ปัญหาโรคเอดส์ ปัญหาสุขภาพอนามัย ปัญหาคนว่างงาน ปัญหาคนชรา เป็นต้น
ซึ่งทุกปัญหาต้องได้รับความร่วมมือจากสมาชิกของสังคมในการพิจารณาถึงสาเหตุของแต่ละปัญหา
แนวทางป้องกนั และรว่ มกันแก้ไขปัญหากอ่ นทจี่ ะลุกลามไปมากกว่าเดมิ ทงั้ นี้หากทกุ คนทาหน้าท่ีของ
ตนอย่างสมบูรณ์โดยอยู่ในกรอบของกฎหมายและกฎเกณฑ์ทางสังคมก็ย่อมจะทาให้สังคมเกิดความ
เป็นระเบยี บเรยี บร้อยไดอ้ ย่างแนน่ อน

๕.๗ แนวทางการพฒั นาสังคม

สังคมมีการเปล่ียนแปลงเร่ือยมาด้วยอัตราที่เร็วบ้างช้าบ้าง การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
ก่อให้เกิดผลดีมากมาย แต่ในขณะเดียวกันผลกระทบในทางลบก็เกิดข้ึนหลากหลายเช่นกันจน
กลายเป็นปัญหาสังคมท่ีต้องร่วมกันแก้ไข โดยในช่วงที่ผ่านาผลการพัฒนาสังคมของไทยน้ัน ประสบ
ความสาเร็จในหลายด้าน เช่น คนไทยมายุที่ยืนยาวข้ึน สามารถเข้าถึงหลักประกันศึกษาสูงขึ้น มี
สาธารณูปโภคทดี่ คี รบครนั แทบทุกหมบู่ ้านทกุ ตาบลท่วั ประเทศ

๙๕

แต่ความก้าวหน้าในเชิงคุณภาพยังไม่เป็นที่น่าพอใจ เช่น คุณภาพการศึกษาของเด็กไทย
โดยรวมยังอยู่ในเกณฑ์ด้อย กลุ่มแรงงานยังมีระดับการศึกษาต่า สุขอนามัยยังอยู่ในภาวะเสย่ี งจากการ
เป็นโรคที่เกิดจากพฤติกรรมอันไม่เหมาะสม ปัญหาด้านสุขภาพ ความมั่นคงและความปลอดภัยของ
คนและสังคมยังน่าวิตก สังคมยังมีการก่ออาชญากรรม ทาร้ายร่างกาย จนถึงอาชญากรรมข้ามชาติ
และสถาบนั ครอบครัวมแี นวโนม้ ออ่ นแอลงทกุ ขณะ

ด้วยเหตุนี้ทิศทางและกระบวนการพัฒนาสังคมจึงต้องเป็นไปในเชิงรุกควบคู่กับการแก้ไข
ปัญหาที่สั่งสมมานาน เพื่อให้การพัฒนาสังคมมีประสิทธิภาพ ดังนั้น เป้าหมายของการพัฒนาสังคม
ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบับท่ี ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔) จึงกาหนดให้ “คน
ไทยเป็นคนดี มีคุณภาพ มีความสุข อยู่ในสังคมที่เอื้ออาทร สันติ และเป็นธรรม” โดยได้กาหนด
ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาไว้ ดังน้ี

๑) ยกระดับคุณภาพคนไทย เข้าสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ โดยการสร้างศักยภาพการ
เรียนรู้ ทักษาชีวิต สร้างภูมิคุ้มกัน สร้างจิตสาธารณะ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และให้มีสุขภาพดีทุก
มิติ กล่าวคือ ใช้กระบวนการชุมชนเข้มแข็งในการเสริมสร้างสุขภาวะและพฤติกรรมสุขภาพท่ีดีในทุก
กลุ่มอายุ สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างกาลังคนรุ่นใหม่ให้มีสมรรถนะทางวิชาชีพและ
ทกั ษะ เพื่อเพมิ่ ขีดความสามารถในการพัฒนาประเทศ

๒) เตรียมความพร้อมสังคมไทยสู่สังคมผู้สูงอายุ จานวนประชากรผู้สูงอายุของ
ประเทศไทย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเร่ือยๆ ทุกปี ท้ังน้ีเป็นเพราะความเจริญก้าวหน้าทางด้านการแพทย์
ดังนั้น จึงต้องร่วมกันสร้างเสริมความรับผิดชอบ การดูแลสุขภาพ สร้างหลักประกันด้านรายได้
สนับสนุนการใช้ความรู้ ประสบการณ์ และภูมิปัญญาของผู้สูงอายุให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม

๓) สรา้ งความม่ันคงทางสังคมแก่คนไทย โดยให้ทุกคนได้รับการคุ้มครองทางสังคม
มีที่พักอาศัยที่ม่ันคง มีความปลอดภัยในชุมชน และสร้างหลักประกันทางสังคมให้สามารถดารงชีวิต
และทามาหากินได้อย่างปกติสุข เน้นบทบาทครอบครัวและชุมชนเป็ นพื้นฐานสาคัญ

๔) รักษาคุณค่าของสังคมไทย โดยการนาทุนทางสังคมหรือสิ่งดีๆ ที่มีอยู่แล้วใน
สังคมมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ด้วยทุนทางสังคมที่มีอยู่แล้ว สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐ์กิจให้ทุนทางวัฒนธรรม ด้วยการส่งเสริมให้
ภาคเอกชนนาวัฒนธรรมไทยมาเป็นปัจจยั ในการผลิตสินค้าและบริการ

กล่าวได้ว่า แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี ๑๐ ให้ความสาคัญต่อการสร้าง
ประชากรและชุมชนให้เข้มแข็ง เน้นการมีส่วนร่วมพั ฒนาสังคม จัดการบริหารการพัฒนามี
ประสิทธิภาพ และจัดทารากฐานทางสังคมท่ีเข้มแข็ง เช่น สร้างระบบพื้นฐานและจัดบริหารทางสังคม
ที่ดีมีคุณภาพ กฎระเบียบต้องมีประสิทธิภาพที่สอดคล้องกับความต้องการของคนทั้งในปัจจุบันและ
อนาคต

กล่าวโดยสรุป การศึกษาสังคมมนุษย์น้ัน จาเป็นต้องเรียนรู้ถึงโครงสร้างทางสังคมเพ่ือให้
สามารถมองเห็นลักษณะของระบบและสถาบันทางสังคมอย่างชัดเจน สามารถเข้าใจกลไกการจัด
ระเบียบทางสังคมที่ยึดโยงสังคมให้ธารงอยู่และมีเอกลักษณ์เฉพาะของแต่ละสังคม โดยความสัมพันธ์
ของสมาชิกในสังคมจะอยู่ภายใต้โครงสร้างสังคมท่ีอาจเป็นไปได้ ท้ังในทางความร่วมมือสนับสนุนกัน

๙๖

และกัน การแข่งขนั การขัดแย้ง การประนีประนอม หรือการเอาเปรียบกัน แตท่ ้ังหมดกจ็ ะต้องเป็นไป
ตามระเบยี บแผนหรือแบบแผนหรอื อย่ใู นกรอบของสังคมนน้ั ๆ

เมื่อสงั คมมีสมาชิกใหม่ กระบวนการขดั เกลาทางสังคมก็จะบังเกิดข้ึน เพ่ือให้สมาชิกใหม่ได้
เรียนรู้คุณธรรม คุณค่า และอุดมคติท่ีสังคมยึดมั่น และได้เรียนรู้บรรทัดฐานและขนบธรรมเนียม
ประเพณีที่ใช้ในสังคม ซ่ึงจะทาให้ผู้น้ันเป็นสมาชิกของสังคมได้อย่างสมบูรณ์ การขัดเกลาทางสังคม
อาจเป็นไปในทางตรง เช่น สอนพูด สอนมารยาท และทางอ้อม เช่น ผ่านส่ือต่างๆ ผ่านอินเตอร์เน็ต
และการอยรู่ ่วมกับคนอน่ื ในสงั คม

๕.๘ สรปุ

ปัญหาสังคม เป็นปรากฏการณ์ทางสังคมที่เกิดขึ้นในทุกสังคม แต่ละสังคมอาจมีปัญหาไม่
เหมือนกัน เพราะพ้ืนฐานทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองแตกต่างกัน ในสังคมไทยมีปัญหาที่
สาคญั ๆ เกิดขึ้นดังกล่าวแล้ว และก็ยังมอี ีกหลายปัญหา ท่มี ีอย่ใู นสังคมไทย ซ่ึงควรจะได้ให้ความสนใจ
เชน่ กัน เช่น ปญั หาความเสื่อมทางศีลธรรม ปัญหาอบายมุข ฯลฯ ปัญหาเหล่านถี้ ้าได้มีการศึกษาวิจัย
หาที่มาแหง่ ปัญหา และได้รว่ มมือช่วยกันป้องกนั แก้ไขปัญหาเหลา่ นี้อยา่ งเอาจรงิ กจ็ ะลดลงหรือหมดไป
ได้ อนั จะยงั ผลใหป้ ระชาชนชาวไทย ได้มกี ารอยู่ดกี นิ ดี มชี วี ติ อยูร่ ว่ มกันอยา่ งมคี วามสงบสุข

นอกจากน้ี สังคมท้ังหลายมไิ ดห้ ยุดนิ่งอย่กู ับท่ี แต่เปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลาและตามแรง
กระตุ้นต่างๆ ท้ังภายในและภายนอกประเทศ ทาให้โครงสร้างและการจัดระเบียบทางสังคมต้อง
ปรับเปลี่ยนไปตามกระแส ท้ังทางบวกและทางลบ ซ่ึงผลกระทบในทางลบที่เกิดข้ึนอาจก่อให้เกิด
ปัญหาสังคมตามมา ดังนั้น ประชาชนทุกคนต้องร่วมกันแก้ไขและสร้างแนวทางในการพัฒนาสังคม
เพื่อให้โครงสร้างและการจัดระเบียบทางสังคมปรับเปลี่ยนตามบริบทท่ีอยู่บนรากฐานของความเป็น
ไทยอยา่ งแท้จรงิ

คาถามทา้ ยบท

๑. จงอธิบายผลกระทบของปัญหาสงั คม
๒. จงอธบิ ายการปอ้ งกนั แกไ้ ขปญั หาสงั คม

๙๗

๓. จงอธิบายกระบวนการในการแกป้ ญั หาสงั คมดว้ ยวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์
๔. จงอธบิ ายแนวทางการพฒั นาสงั คม

เอกสารอ้างอิงประจาบท

โกศล วงศส์ วรรค์ และสถติ วงศส์ วรรค์. ปญั หาสงั คมไทย SOCHIAL PROBLEMS. กรุงเทพมหานคร:
อมรการพิมพ,์ ๒๕๔๓.

๙๘

จรญั พรหมอย่.ู ความเข้าใจเก่ียวกับสงั คมไทย. กรงุ เทพมหานคร: สานกั พิมพโ์ อเดียน สโตร์,
๒๕๒๖.

จานงค์ อดิวฒั นสิทธิ์. การศกึ ษาเพื่อพัฒนาประเทศ. กรงุ เทพมหานคร: สานักพมิ พ์โอเดียน สโตร,์
๒๕๓๒.

จุฑารตั น์ เออื้ อานวย. อาชญากรรม. กรุงเทพมหานคร: สานกั พมิ พ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ,
๒๕๕๑.

ณรงค์ เสง็ ประชา. สังคมวิทยา. กรุงเทพมหานคร: สานักพมิ พ์พิทักษ์อกั ษร, ๒๕๓๗.
ธรี ภทั ร์ เสรรี ังสรรค์. ปัญหาสงั คมเมืองไทยปจั จบุ ัน หน่วยที่ ๑ – ๖. พิมพค์ รงั้ ท่ี ๑๐.

กรุงเทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช, ๒๕๔๐.
ธรี ะวัส บาเพ็ญบญุ บารมี. รู้ปญั หาสงั คม. โครงการธรรมวิจยั . มหาบณั ฑิตสาขาวชิ าพุทธศาสน์

ศกึ ษา: มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั , ๒๕๕๐.
ประสาท หลักศลิ า. ปัญหาสังคม. กรงุ เทพมหานคร: สานกั พมิ พจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๑๑.
พทั ยา สายหู. กลไกของสงั คม. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๒๙.
พเิ ชฐ จันทรเ์ จนจบ และคณะ. “ปัญหาและความตอ้ งการการสนับสนนุ ทางสงั คมของผู้เขา้ รับการ

ฟื้นฟสู มรรถภาพยาเสพติดแบบควบคุมตัวไมเ่ ข้มงวดของสถานบาบดั รกั ษายาเสพติด
ในสงั กัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข”. สถาบันบาบดั รกั ษาและฟนื้ ฟูผูต้ ดิ ยา
เสพติดแห่งชาติบรมราชชนนกี รมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. ๒๕๕๕.
สญั ญา สญั ญาววิ ฒั น์. ทฤษฎีสังคมวิทยา: เนือ้ หาและการใช้ประโยชนเ์ บื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ ๑๐.
กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพ์จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย, ๒๕๒๖.
________. หลกั สงั คมวทิ ยา. กรุงเทพมหานคร: ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๒๓.

สพุ ัตรา สภุ าพ. ปญั หาสังคม. พมิ พ์ครง้ั ที่ ๑๙. กรุงเทพมหานคร: ไทยวฒั นาพานิช, ๒๕๔๖.
สพุ ิศวง ธรรมพนั ทา. มนุษยก์ บั สังคม. กรุงเทพมหานคร: สถาบนั ราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา,

๒๕๔๐.
สวุ ิทย์ รุ่งวสิ ยั . ลักษณะของผู้ตอ้ งขังเกีย่ วกับยาเสพติดในเรือนจากลางเชยี งใหม่. เชยี งใหม่:

ภาควิชาสงั คมวิทยาและมานษุ ยวทิ ยา คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่, ๒๕๓๒.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศพั ท์สังคมวทิ ยา องั กฤษ – ไทย ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน.

กรงุ เทพมหานคร: บริษทั รุ่งศลิ ปก์ ารพมิ พ์ จากัด, ๒๕๒๔.
อานนท์ อาภาภริ ม. ปญั หาสังคม. กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพโ์ อเดียน สโตร์, ๒๕๑๗.
James M. Henslin. Social Problems. New Jersey: Prentice Hall, Inc., 1990.
Jonathan H. Turner. The Sturcture of Sociologial Theory 4 ed. Chicago: The Dorsey,

1986.

๑๐๒

บทที่ ๖
วเิ คราะห์ปญั หาสังคมปัจจุบนั เชงิ ปรัชญา

เมือ่ ไดศ้ กึ ษาเนื้อหาในบทแล้ว ผูศ้ กึ ษาสามารถ
๑. บอกปญั หาสังคมปจั จุบันเชิงปรัชญาของประเทศไทยได้
๒. บอกวิธีการแกป้ ัญหาของปญั หาสังคมปจั จุบนั เชงิ ปรัชญาของประเทศไทยได้
๓. วิเคราะห์ปัญหาสงั คมปัจจุบนั ของเยาวชนปัจจุบันโดยใช้หลกั อรยิ สัจ ๔ ได้

ขอบขา่ ยของเนือ้ หา
 วเิ คราะห์ปญั หาสงั คมปจั จบุ นั เชงิ ปรัชญาของประเทศไทย
 การแก้ไขปญั หาสังคมของเยาวชนปจั จบุ นั โดยใชห้ ลักอรยิ สัจ ๔

๖.๑ ความนา

จากข่าวสารทางหนังสือพิมพ์ โทรทศั น์ และสื่อต่างๆ นั้นได้แสดงให้เห็นว่าปัญหาสังคมใน
ปัจจุบันน้ันทวีความรุนแรงมากกว่าเม่ือก่อนมากและมีแนวโน้มว่าจะทวีความรุนแรงข้ึนเรื่อยๆ และ
ปัญหาสังคมยังสามารถก่อให้เกิดปัญหาอ่ืนๆ ตามมาเช่นปัญหาส่ิงแวดล้อม ปัญหาการรุกราน
ธรรมชาติ การเห็นแก่ตวั ของมนษุ ย์กอ่ ให้เกิดสภาวะโลกร้อน ท้ังนี้ก็เกิดข้ึนมาจากปัญหาสังคม เกิดขึ้น

๑๐๓

จากคนทไ่ี ด้รบั ความกดดันซึ่งคนเหล่านี้มักจะไม่เห็นคุณค่าของส่ิงแวดล้อม ดังน้ัน ปัญหาสังคมจึงเป็น
สิ่งที่ไม่ควรปล่อยปะละเลยหรือมองข้ามและดูเหมือนว่าคนในหลายฝ่ายก็หันมาให้ความสาคัญกับสิ่ง
เหล่านี้ ปัญหาสังคมน้ันมีหลายรปู แบบและมีความรุนแรงแตกต่างกัน เราอาจจะเห็นตัวอย่างมากมาย
ในข่าวหนังสือพิมพ์ท่ีโดยมากจะเป็นข่าวอาชญากรรม ปัญหาสง่ิ เสพติด ปัญหาการล่วงละเมิดไปจนถึง
การก่อการร้าย อะไรเป็นสาเหตุของปัญหาสังคมเหล่านั้น อะไรเป็นสาเหตุท่ีทาให้คนเลือกที่จะทาผิด
แล้วทาไมคนจึงกระทาส่งิ เหล่านั้นได้โดยไม่สนใจคนอ่ืนรอบข้าง ก่อนที่เราจะมองตรงจุดนั้นก็ลองมอง
ตัวเราเองก่อนว่าหากชวี ิตของเราได้รับความทกุ ข์มาต่ังแต่วัยเด็กแลว้ เราจะสามารถเติบโตขึน้ เป็นคนดี
ของสังคมได้มากน้อยเพียงใด แล้ววันนเ้ี ราได้ทารา้ ยจติ ใจของคนรอบขา้ งแลว้ หรอื ยงั ตน้ ตอของปญั หา
สังคมมาจากการไมเ่ ข้าใจสภาวะของความทุกขค์ รับ เปน็ ความกดดันของคนต่ังแต่เริ่มต้นชีวิตไปจนถึง
บนั่ ปลายซึง่ เราควรท่จี ะทาการศกึ ษาเพือ่ หาทางออกของปัญหาสังคมเหลา่ น้ี

สภาพปัญหาเยาวชนไทยยุคโลกาภิวัตน์ทั้งหลายทั้งปวงมาจากความสับสนวุ่นวายทาง
จติ ใจ จิตใจเยาวชน ไม่มัน่ คงไม่มอี ะไรเป็นเครอ่ื งยดึ ม่ัน องค์กรของรัฐทเ่ี กี่ยวข้องกับการศึกษาโดยตรง
เช่นสานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติกระทรวงศึกษาธิการ และ หน่วยงานที่เก่ียวข้อง มี
นโยบายในการแก้ปญั หากจ็ ริง แตข่ าดการปฏบิ ตั ิตอ่ เนือ่ ง และจรงิ จงั

ดังนั้น องค์กรทางศาสนา หลักธรรมคาสอน และพระสงฆ์เท่านั้น จะเป็นผู้สร้าง ผู้ช้ีทาง
และเป็นผู้นาทางทางจิตใจของเยาวชนไทย เป็นผู้อธิบายค่านิยมท่ีถูกต้อง ผู้อธิบาย ความดี ความช่ัว
ความจริงของโลกและความสุขอันแท้จริงของชีวติ เป็นผู้ชี้นาความสว่าง ความสงบ ท้ังแก่เยาวชน และ
แก่คนไทยทุกคนให้พบแต่ความสุขความเจริญ แต่น่ันก็หมายถึงว่าพระสงฆ์เองก็ต้องพัฒนาตนเอง ให้
อยใู่ นสภาวะที่พร้อมจะช่วยเหลือสงั คม แก้ปญั หาสังคม ไม่เป็นปญั หาสงั คมเสยี เองสภาพปญั หาสังคม

๖.๒ การวเิ คราะหป์ ญั หาปัจจุบนั เชิงปรัชญา

ปัญหาสังคมปัจจุบันเป็นปัญหาของปรัชญาสาขาหนึ่ง คือ จริยศาสตร์ ในที่น้ีผู้เขียนจัก
ยกตัวอย่างปัญหาและวิเคราะห์เพื่อให้เห็นประเด็น ความหมายของปัญหา สาเหตุ ตลอดถึงแนวทาง
ในการแก้ไข ดงั น้ี

๖.๒.๑ ปญั หาอตั วนิ ิบาต
๑) ความหมายของอัตวินบิ าต
กกกกกกกกสาหรับทรรศนะโดยทั่วไปเก่ียวกับการให้คานิยามของคาว่า อัตวินิบาตกรรมหรือการฆ่า
ตัวตายน้ันมีผู้ให้คานิยามไว้อย่างหลากหลาย ในพุทธศาสนามีรากศัพท์หลายคาที่มีความหมายว่า
“ฆ่า” เช่น ปหร, เฉทน, วธก, ชีวิตา โวโรปน, หนฺตุ, มาร, ฆาต และวินิปาต ในท่นี ้ีจะแบ่งแยกออกเป็น
๒ กลุ่มตามความหมาย คือ การฆ่าในความหมายทั่วๆ ไป และในความหมายที่เป็นการฆ่าตนเองหรือ

๑๐๔

การฆ่าตวั ตาย สาหรบั การฆ่าในความหมายทั่วไป เชน่ คาวา่ “เฉทน, วธก, ชีวิตา โวโรปน,” ซ่ึงมาจาก
คาว่า “เฉทน วธก พนฺธน วิปลาโมสอาโลปสหสาการ”๑ ซ่ึงหมายถึง ทาการตัดการฆ่า การจองจา
การตีชิง การปล้น และการกรรโชกเป็นกระบวนการทาร้าย หรือทากรรมทุกวิถีทางที่จะให้สาเร็จสม
ความมุ่งหมาย หรอื คาวา่ “หนฺตุ” แปลว่า การฆ่า มาจากคาว่า “หนฺตุกาโมสีติ”๒ แปลว่า ต้องการฆ่า
หรือใคร่ทีจ่ ะฆ่า “โวโรป” แปลว่า ปลง หรือ ทาให้ตายมาจากคาวา่ “ชีวิตาโวโรเปตุ” ซง่ึ แปลว่า ปลง
หรือปลิดชีพและฆ่า หรือทาให้เสียชีวิตด้วยวิธีการต่างๆ เป็นต้น ส่วนการฆ่าในความหมายว่า
อัตวินิบาตกรรมนั้นมีปรากฏใน ตติยปาราชิกสิกขาบท วินัยปิฎก มหาวิภังค์ท่ีใช้ในบาลีโดยตรงก็คือ
“อตฺตวินิปาต” แปลว่า การปลงชีวิตตนเอง๓ ซึ่งปรากฏในพุทธดารัสว่า “ก็ ภิกษุใดจงใจพรากกาย
มนุษย์จากชีวิต”๔ หรือแสวงหาศัตรา ๕ อันจะพรากกายจากชีวิต...”๖ หรือหมายถึงพรากจากชีวิต
ความว่า ตัดทอน บ่ันรอน ซึ่งอินทรีย์คือชีวิต ทาความสืบต่อให้ส้ินสุดลง ซึ่งปรากฏในฉันโนวาทสูตร
และโคธิกสูตร พบว่ามีจุดร่วมกันของคานิยามและความหมายประการหน่ึงก็คือ “การนาศัตรามาเพ่ือ
ฆ่าตัวเอง ด้วยตัวเราเอง” หรืออาจจะพิจารณาประเด็นของการนิยามศัพท์ว่าอัตวินิบาตกรรม นั้นว่า
เปน็ การจงใจทาลายชวี ิตของตนให้สิน้ ไปดว้ ยความพยายามของตนเองหรือใชใ้ ห้ผอู้ ืน่ ทาก็ได้
กกกกกกกกดงั นนั้ สามารถสรุปได้ว่า คาว่า การฆา่ ตัวตาย ในทรรศนะของพุทธศาสนาน้ันตรงกับคาว่า
อัตตวนิ ิบาตกรรม แปลว่า การจงใจทาลายชวี ิต(ขันธ์๕) ของตนเองให้สิ้นไปหรอื ขาดการสืบต่อซ่ึงหาก
พิจารณาจากพุทธดารัสว่า “ ก็ ภิกษุใดจงใจพรากกายมนุษย์” จะพบว่า คาว่า “จงใจ” ซ่ึงหมายถึง
เจตนา การฆ่าตัวเองด้วยวิธีใดๆ ก็ตามถ้าไม่มีเจตนาหรือจงใจการฆ่านั้นก็ไม่เรียกว่าเป็น
อัตวินิบาตกรรม เช่น นาย ก. กลัดกลุ้มมีปัญหาเก่ียวกับหนี้สินล้นพ้นตัว จึงคิดว่าถ้าอยู่ไปจะต้อง
ลาบากเร่อื งการใช้หน้ี หากตายไปคงไม่ต้องมารับผิดชอบ นาย ก. จึงลงมือผูกคอตายในวันต่อมาส่วน
นาย ข. ได้คิดทาเงื่อนเพื่อดักสุนัขท่ีเข้ามากินอาหารโดยผูกเชือกท่ีทาเง่ือนไว้บนข่ือ บังเอิญว่าเงื่อนที่
ผูกกับข่ือนั้นอยู่สูงจากพื้นนาย ข. จึงเอาเก้าอ้ีมารองแล้วข้ึนไปทดลองเอาคอสอดเข้าไปในเง่ือน แต่
เพราะเหตุที่เกา้ อ้ลี ม้ ทาใหเ้ งือ่ นรัดคอนาย ข. จนเสยี ชีวติ จากท้ัง ๒ จะพบว่ากรณนี าย ก.น้ันจัดว่าเป็น
อัตวินิบาตกรรมเพราะมีเจตนา แต่กรณีนาย ข. ไม่ถือว่าเป็นอัตวินิบาตกรรมเพราะไม่มีเจตนามาแต่
ตน้
กกกกกกกกพระพุทธเจ้าวางเกณฑ์สาหรบั ภิกษุท่ีตอ้ งอาบัติไว้ด้วย คาว่า “สจิตตกะ” ซึ่งคานี้หมายถึง
“มเี จตนา, เป็นไปโดยต้งั ใจ”๗ กรณีศึกษาประเด็นนก้ี ็คอื เร่อื งของภกิ ษุที่กระโดดหน้าผาโดยประสงค์ที่
จะฆ่าตัวตายเน่ืองจากเบ่ือหน่ายในชีวิต เม่ือตกลงมาแล้วเกิดทับอบุ าสกเสยี ชีวิตเพราะท่านไม่จงใจฆ่า
คนตายท่านจึงไม่อาบัติปาราชิก แต่ท่านจงใจและพยายามที่จะทาอัตวินิบาตกรรม พระองค์จึงปรับ

๑ ที. สี. (บาล)ี ๙/๙๗/๗๔.
๒ ว.ิ จุ. (บาลี) ๗/๓๖๗/๑๗๙.
๓ ว.ิ มหา. (ไทย) ๑/๑๖๖-๑๖๗.
๔ ว.ิ มหา. (ไทย) ๑/๑๗๒/๑๔๑.
๕ ม. อุปร.ิ (ไทย) ๑๔/๓๘๙-๓๙๔/๔๔๒-๔๔๗.
๖ ว.ิ มหา. (ไทย) ๑/๑๖๗/๑๓๙.
๗ พระราชวรมุนี (ประยุทธ ปยตุ โฺ ต), พจนานกุ รมพุทธศาสตร์ ฉบบั ประมวลศพั ท์, (กรงุ เทพมหานคร:
มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๒๘), หนา้ ๒๙๖.

๑๐๕

อาบัติทุกกฏ เกี่ยวกับเรื่องเจตนา พระองค์ได้ทรงย้าเสมอว่า “ภิกษุท้ังหลาย เราเรยี กเจตนาว่า “เป็น
กรรม” กรรมดีหรือกรรมช่ัวจะเกิดขึ้นได้ก็เพราะเรามีเจตนาเป็นปฐม ด้วยเหตุน้ี จะพบความจริงว่า
การกระทาทุกอย่างในทางพระพุทธศาสนาท่ีจะถือได้ว่ามีความผิดหรือไมน่ ั้น ขึ้นอยู่กับเจตนาแรกเริ่ม
ของบุคคลเป็นเกณฑ์ตัดสิน เนื่องจากเจตนาน้ันจะกลายเป็นแรงจูงใจสาคัญในการส่ังให้กายกระทา
การอยา่ งใดอย่างหนึง่
กกกกกกกกจุดทต่ี ้องให้ความสนใจคือว่า การปรบั อาบัตินั้นพระองค์จะปรับอาบัตเิ ฉพาะพระภกิ ษทุ ีท่ า
อัตวินิบาตกรรมและมีชีวิตอยู่เท่านั้น แต่สาหรับผู้ท่ีทาอัตวินิบาตกรรมไปเรียบร้อยแล้วจะเห็นว่า
พระองค์มิได้ทรงปรับอาบัติแต่ประการใด ดังจะเห็นได้จากตติยปาราชิกที่มีกรณีภิกษุซึ่งได้พิจารณา
อสภุ กรรมฐานเสรจ็ บางรูปกท็ าอตั วินบิ าตกรรม บางรูปก็ไปฆ่ารปู อนื่ ตาย๘ พระองค์ทรงตาหนิวา่ การ
กระทาในลักษณะดังกล่าวเป็นส่ิงท่ีไม่ดี ไมเ่ หมาะแก่สมณะท่ีจะทาเช่นนั้น หลังจากน้ันพระองค์ก็ปรับ
อาบัติปาราชิกแก่ภิกษุท่ีไปฆ่าคนอื่นตาย แต่พระองค์กลับมิได้ทรงปรับอาบัติแก่พระภิกษุที่ทา
อตั วินบิ าตกรรม นั่นก็แสดงว่า อาบัตหิ รือความผดิ ของศีลนัน้ จะปรับได้ก็ต่อเมื่อยังมีชวี ติ อยู่เทา่ นั้น จะ
ไม่คลอบคลุมไปถงึ ภกิ ษุท่ีตายไปแล้ว พระภิกษทุ ที่ าอัตวินิบาตกรรมไปแล้วจงึ ไม่ต้องอาบัติ
กกกกกกกกประเด็นต่อมาคืออัตวินิบาตกรรมผิดศีลข้อปาณาติบาตหรือไม่ ก่อนท่ีจะหาคาตอบได้ว่า
อัตวินิบาตกรรมผิดศีลข้อที่ ๑หรือปาณาติบาต หรือไม่น้ัน ต้องพิจารณาว่าการทาอัตวินิบาตกรรม
เขา้ เกณฑ์องค์ประกอบของปาณาตบิ าตทุกข้อหรือไม่ อยา่ งไร
กกกกกกการกระทาที่ถือได้ว่าผิดศีลข้อปาณาติบาตน้ัน จะต้องถึงพร้อมด้วยองค์ประกอบสาคัญ ๕
ประการด้วยกัน กล่าวคือ
กกกกกกกก(ก) สตั วม์ ชี ีวิต (ปาโณ)
กกกกกกกก(ข) รวู้ ่าสตั วม์ ชี วี ติ (ปาณสัญญิตา)
กกกกกกกก(ค) มีเจตนาจะฆา่ (วธกเจตนา)
กกกกกกกก(ง) มีความพยายามท่ีจะฆ่า (วธกปโยโค)
กกกกกกกก(จ) สัตว์นัน้ ตายดว้ ยความพยายามนั้น (เตน มรณ)
กกกกกกกกจะอย่างไรก็ตาม ในองค์ประกอบท้ัง ๕ ประการนี้ สิ่งท่ีถือได้ว่ามีอิทธิพลอย่างสูงต่อการ
ทาปาณาติบาตก็คือ “วธกเจตนา” ซึ่งหมายถึง จิตท่ีจะฆ่า เน่ืองจากการจงใจฆ่าน้ัน จะดารงอยู่บน
ฐานของการกระทาที่เป็นอกุศล อันประกอบไปด้วยโทสะ และโมหะ ซ่ึงการกระทาที่ตกอยู่ในอานาจ
ของอกุศลจิตจะทาให้เกิดสภาพท่ีเรียกว่า “บาป” ขึ้นมา ดังนั้นอัตวินิบาตกรรมถ้ากระทาจนเป็น
ผลสาเร็จ ผู้กระทากน็ ่าจะได้รับ “บาป” นั้นไปดว้ ย

๒) แนวทางการแก้ไขปญั หา
กกกกกกกกครอบครัวเป็นสถาบนั หน่ึงของสังคมที่มีความสาคัญท่ีสุด สมาชิกของครอบครวั จะเป็นตัว
ช้ีหรือบ่งบอกสังคมส่วนรวมว่าครอบครัวน้ันมีลักษณะอย่างไร ขนาดของครอบครัวข้ึนอยู่กับจานวน
ของสมาชิกในครอบครัว ความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัว เป็นส่ิงสาคัญที่จะทาให้ครอบครัวน้ัน
ดาเนนิ ชวี ิตอย่รู ว่ มกนั อย่างมีความสขุ
กกกกกกกกปัจจุบันความสัมพันธ์ในครอบครัวและขนาดของครอบครัวไทยเปลี่ยนแปลงไป
ค่อนข้างมาก ในอดีตครอบครัวส่วนมากเป็นครอบครัวขยาย ประกอบด้วย บิดา มารดา บุตรธิดา ปู่

๘ ว.ิ มหา. (ไทย)๑/๑๖๒-๑๖๖/๙๓-๙๗.

๑๐๖

ย่า ตา ยาย อีกท้ังพ่ี ป้า น้า อา อาศยั อยใู่ นครอบครัวเดียวกัน ภายในครอบครวั มีความสัมพันธ์เหนียว
แน่น มีความรักใคร่ปองดองซึ่งกันและกัน มีความใกล้ชิด ให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลกัน โดยมีผู้สูงอายุ
อยู่ในครอบครัวเป็นบุคคลที่บุตรหลานให้ความเคารพนับถือในบ้าน เมื่อบิดา มารดาของบุตรหลานไป
ทางาน ครอบครัวส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เม่ือทางานก็จะทาร่วมกันเม่ือเสร็จจากการ
ทางานแล้วสมาชิกก็จะกลับมาทากิจกรรมร่วมกันภายในครอบครัว เครือญาติจึงมีความสัมพันธ์กันดี
ในครอบครัว แต่ในปัจจุบันสภาพครอบครัวมีการขยายตัวน้อยลง จากผลการพัฒนาประเทศ ความ
เจริญได้แพร่หลายเข้าไปสชู่ านเมือง เขตอุตสาหกรรมเกดิ ขึ้นมาก อาชีพเกษตรกรรมเปล่ียนเป็นอาชีพ
รับจ้างในโรงงานอุตสาหกรรมมากขึ้น ระบบครอบครัวเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น คือ มีเฉพาะบิดา
มารดา บุตร ธิดา และกลุ่มท่ีมาอาศัยในครอบครัวส่วนใหญ่ไม่ได้เป็นญาติกัน จะเป็นผู้ที่มาเช่าอาศัย
อย่ใู นครอบครวั และเป็นกล่มุ ท่อี ยใู่ นวยั ใชแ้ รงงานเปน็ สว่ นมาก
กกกกกกกกเมื่อบิดามารดาไปทางานอยู่คนละสถานท่ี ไม่มีปู่ ย่า ตา ยาย ช่วยเล้ียงดูบุตรธิดา จึง
จาเป็นต้องนาบุตรธิดาไปฝากตามศูนย์บริการรับเลี้ยงเด็กในช่วงกลางวัน เมื่อถึงตอนเย็นก็จะไปรับ
กลับหรืออาจให้อยู่กับพี่เลี้ยงท่ีบ้าน บิดามารดาไม่มีเวลาดูแลเอาใจใส่สมาชิกในครอบครัวอย่าง
เพียงพอ ความสัมพันธ์ระหว่างบิดามารดากับบุตรธิดาเริ่มลดน้อยลง ขาดผู้สูงอายุท่ีเป็นสายเลือด
โดยตรงคอยเชอ่ื มความสมั พนั ธ์ คอยอบรมดูแลสมาชกิ ในครอบครัวให้เกิดความอบอ่นุ
กกกกกกกกจากสภาพครอบครัวที่เปล่ียนแปลงไป เป็นเหตุหน่ึงที่ทาให้วิถีการดาเนินชีวิตของคนใน
สงั คมเปลยี่ นไป ประกอบกับกระแสของค่านิยมท่ีเน้นความสาคัญของวัตถุมากกวา่ จิตใจ จึงทาให้จติ ใจ
ของคนเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีไม่พึงประสงค์ ดังพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดชว่า “ความเปล่ียนแปลงอย่างหน่ึงที่น่าวิตกก็คือ ทุกวันนี้ความคิดอ่านและความ
ประพฤติหลายๆ อย่าง ซ่ึงแต่ก่อนถือว่าเป็นความช่ัวความผิด ได้กลายเป็นสิ่งท่ีคนในสังคมยอมรับ
แล้วพากนั ประพฤติปฏิบตั ิโดยไม่รสู้ ึกสะดุ้งสะเทือน จนทาให้เกิดปัญหาและทาใหว้ ิถีชีวติ ของแตล่ ะคน
มดื มนไป”๙ สังคมไทยเองกเ็ ริ่มมองเห็นปัญหานี้ ในชว่ งหลังๆ การพฒั นาประเทศจึงใหค้ วามสนใจหัน
มาเน้นเรื่อง การพัฒนาคน และพัฒนาจิตใจมากข้ึนพร้อมทั้งมาสนใจปัญหาเร่ืองคุณธรรมและ
จรยิ ธรรม สงั เกตได้จากกระบวนการศึกษาซึ่งมกี ารพูดเร่อื งจริยธรรมมากขึ้นตามหนา้ หนงั สือพิมพแ์ ละ
ส่อื มวลชนอืน่ ๆ เกิดความรู้สึกวา่ เยาวชนมีความตกต่าทางจรยิ ธรรมเป็นอย่างมาก
กกกกกกกกการพัฒนาประเทศในระยะสิบปีที่ผ่านมาเน้นหนักในด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาทางด้าน
จิตใจได้รับความสนใจน้อยมาก การเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาก็มุ่งเน้นการพัฒนาทางด้าน
ร่างกาย และสติปัญญารวมทั้งวิชาการด้านอื่นๆ มากกว่าการเสริมสร้างด้านคุณธรรม จริยธรรม ซึ่ง
เป็นส่วนสาคัญของการพัฒนาชีวิตและสังคม ประกอบกับสภาพเศรษฐกิจในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา
ตกต่าทาให้สถาบันครอบครัวที่เป็นสถาบันแรกของสังคมที่เปล่ียนแปลงบทบาทและหน้าท่ีไปจาก เดิม
บิดามารดาต้องใช้เวลาในการประกอบอาชีพหารายได้มาจุนเจือครอบครัวท่ีมีค่าครองชีพสูงขึ้นเวลา
ดูแลอบรมส่ังสอนบุตรธิดามีไม่เพียงพอ บุตรธิดาไม่ได้รับการอบรมสั่งสอนขัดเกลาจิตใจจากสถาบัน
ครอบครัว เมื่อสถาบันครอบครัวไม่สามารถท่ีจะทาหน้าท่ีถ่ายทอดกระบวนการน้ีได้อย่างสมบูรณ์แล้ว
ปัญหาต่างๆ โดยเฉพาะด้านคุณธรรม และจริยธรรมย่อมเกิดขึ้น ด้วยเหตุดังกล่าวน้ี จึงทาให้เยาวชน

๙ ดนัย จนั ทร์เจ้าฉาย, ในหลวงในรอยธรรม, (กรุงเทพมหานคร: บรษิ ทั อมั รนิ ทร์พรน้ิ ต้ิง แอนด์พลบั
ลิชชง่ิ จากัด (มหาชน), ๒๕๕๐), หนา้ ๑๕๓.

๑๐๗

อันเปน็ กาลังสาคัญของชาติในอนาคต ขาดการพัฒนาด้านคุณธรรม ไม่สามารถแยกแยะสิ่งที่เปน็ ความ
ดี และส่ิงท่ไี ม่ดี ท่ีปะปนอย่ใู นสงั คม และสง่ิ แวดล้อมรอบตัวได้๑๐
กกกกกกกกจากที่ได้ที่ได้วิเคราะห์ถึงสาเหตุการฆาตกรรมที่เกิดจากสภาพครอบครัวในบทท่ี ๒ จะ
พบว่า เนอื้ หาสาระสาคญั ของสาเหตกุ ารฆาตกรรมที่เกิดจากสภาพทางครอบครัวมีสองประการคือ
กกกกกกกกประการแรก เกิดจากปัญหาแตกแยกทางกายภาพ กล่าวคือ บิดามารดา แยกทางกันซึ่ง
ทาให้เกิดปัญหาหรือส่งผลกระทบต่อสมาชิกภายในครอบครัว ด้วยสาเหตุนี้ สมาชิกในครอบครัว
โดยเฉพาะ บุตรธิดา ย่อมปฏิบัติตัวลาบาก ส่งผลให้เด็กมีพฤติกรรมก้าวร้าว ชอบความรุนแรง ซึ่ง
อาจจะนาไปสู่การฆาตกรรมได้
กกกกกกกกประการท่ีสอง เกดิ จากการแตกแยกทางด้านจิตใจ กล่าวคือ สมาชิกภายในครอบครัวไม่มี
ความเข้าใจกัน มีความขัดแย้งกันทางด้านจิตใจ แต่สมาชิกภายในครอบครัวยังอยู่ด้วยกันท้ังบิดา
มารดาและบุตรธิดา จากการศึกษาพบว่า ด้วยสาเหตุนี้สามารถนาไปสูก่ ารฆาตกรรมได้ หมายความว่า
เมื่อสมาชิกภายในครอบครัวมีความเห็นไม่ตรงกัน ขัดแย้งกัน ไม่มีความเคารพรักต่อกัน มักจะนาไปสู่
ความทุกข์ยากลาบาก และอาจจะนาไปสู่การฆาตกรรมที่เกิดภายในครอบครัวหรืออาจจะเกิดขึ้นกับ
บคุ คลอืน่ ก็ได้
กกกกกกกกพุทธจริยศาสตร์ได้วางหลักสาหรับเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาการฆาตกรรมท่ีเกิดจาก
สาเหตทุ างสภาพครอบครัวไว้อยา่ งน่าสนใจ กล่าวคือ เม่ือการแตกแยกทางครอบครัวเป็นสาเหตุ ที่ทา
ให้เกิดปัญหาการฆาตกรรม การแก้ไขในเบือ้ งตน้ ควรแก้ไขที่สมาชิกภายในครอบครัวเป็นประการแรก
โดยได้วางหลักสาหรับการปฏิบัติของสมาชิกแต่ละบคุ คลภายในครอบครัว
กกกกกกกกจะเห็นว่าพุทธจริยศาสตร์ได้วางหลักหรือหน้าที่สาหรับบุตรธิดาไว้อย่างน่าสนใจ เพื่อ
ป้องกันการประพฤติปฏิบัติตัวที่ไม่เหมาะสม ป้องกันความเป็นคนอกตัญญู และป้องกันหลายๆ อย่าง
ท่ีนาไปสคู่ วามเสื่อมเสยี ของวงศ์สกุล เพราะปัจจุบนั นี้ความคิดของผู้คนได้เปล่ียนไปในทางที่ผดิ เป็นถูก
มีความมั่นใจในตนเองมากเกินไป จนลืมนึกถึงหลักศีลธรรมที่ถูกตอ้ ง หลักพุทธจริยศาสตร์ถือเป็นสิ่งท่ี
มีประโยชน์ต่อการประพฤติปฏิบัติของทุกคน ในที่นี้ผู้วิจัยเห็นว่า น่าจะเป็นการป้องกันบุตรธิดาท่ีจะ
เป็นฆาตกรได้ หมายความว่า ถ้าบุตรธิดาปฏิบัติตามหน้าท่ีของตนอย่างสมบูรณ์ ตามหลักพุทธจริย
ศาสตร์ท่ีได้วางไว้นี้ ความแตกแยกทางด้านกายภาพท่ีเกิดจากสมาชิกภายในครอบครัว และส่งผล
กระทบมายังบตุ รธดิ าหรอื การแตกแยกทางจิตใจท่ีเกิดจากสมาชิกภายในครอบครัว โดยมีบตุ รธิดาเป็น
สาเหตุนั้น อันจะนาไปสู่การฆาตกรรม ย่อมจะเกิดขึ้นไม่ได้เพราะบุตรธิดา เมื่อมีความกตัญญูต่อผู้มี
อุปการะแล้ว ย่อมเป็นผู้มีความเมตตา อ่อนน้อมถ่อมตน ไม่ชอบความรุนแรง ไม่ชอบการเบียดเบียน
ผู้อ่ืน โดยเฉพาะเรือ่ งการฆาตกรรมยอ่ มไมม่ ีข้ึนในจติ ใจของมนษุ ย์เหล่านแ้ี น่นอน

๓) วิพากษท์ รรศนะแนวทางการแกไ้ ขปญั หาฆาตกรรมท่เี กดิ จากสภาพทางครอบครวั
กกกกกกกกหลังจากที่ผู้วิจัยได้วิเคราะห์พุทธจริยศาสตร์กับแนวทางการแก้ไขปัญหาฆาตกรรมท่ีเกิด
จากสภาพครอบครัวแล้ว ต่อจากน้ีไปจะได้นาเอาทฤษฎีของนักปรัชญาท้ัง ๓ กลุ่ม คือ (๑) กลุ่มสันติ
นิยมสัมบูรณ์(Absolute Pacifism) (๒) กลุ่มอนุรักษ์นิยม (Conservatism) (๓) กลุ่มประโยชน์นิยม
(Utilitarianism) มาวิพากษ์ทรรศนะของพุทธจริยศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาฆาตกรรมท่ีเกดิ จากสภาพ
ครอบครัว ดังตอ่ ไปน้ี

๑๐ โสภา ชปลิ มันส,์ ปญั หาสงั คม, (กรุงเทพมหานคร: อมรการพิมพ,์ ๒๕๔๑), หน้า ๔.

๑๐๘

กกกกกกกก(๑) กลุม่ สันตินยิ มสมั บรู ณ์(Absolute Pacifism)
กกกกกกกกจากการวิเคราะห์ทฤษฎีของกลุ่มสันตินิยมสัมบูรณ์ โดยเฉพาะทฤษฎี“สัตยาเคราะห์” ที่
พยายามแกป้ ัญหาด้วยสันติวิธี เน้นความจริงใจท่ีมีต่อธรรมชาติของตนเอง และการเขา้ ถึงธรรมชาติที่
แท้จริงของมนุษย์“ธรรมชาติท่ีแท้จริงของมนุษย์นั้นไม่ชอบวิธีการที่รุนแรง”๑๑ มนุษย์ไม่ชอบการ
เบียดเบยี น ไม่ชอบการประหัตประหารกัน การแก้ปัญหาตอ้ งเป็นไปด้วยสันตวิ ิธีและเพื่อให้โลกนี้มีแต่
ความสงบสุข
กกกกกกกกเมื่อนาเอาทฤษฎีดังกล่าวมาวิพากย์กับพุทธจริยศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาฆาตกรรมที่เกิด
จากสภาพทางครอบครวั แล้ว นับเป็นสิ่งที่สามารถอธิบายร่วมกันไดเ้ ปน็ อย่างดี เพราะพุทธจริยศาสตร์
มที รรศนะว่า การแตกแยกกันทางกายภาพและการแตกแยกกันทางด้านจิตใจอันเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทา
ให้เกิดฆาตกรรมนั้น พุทธจริยศาตร์แนะนาให้แก้ไขด้วยการให้สมาชิกภายในครอบครัวทุกคนหันหน้า
เข้าหากัน สมานสามัคคีกัน ให้ความเคารพกัน และทาหน้าท่ีของตนให้สมบูรณ์ในขณะที่แนวคิดของ
กลุ่มสันตินิยมสัมบูรณ์ ก็มีความปารถนาให้บุคคลท้ังสองฝ่ายหันหน้าเขา้ หากัน ประณีประนอมกัน ไม่
ต้องการให้บุคคลใช้ความรุนแรงเข้าหากันอันจะนามาซ่ึงการฆ่า ทุกฝ่ายต้องทาความเข้าใจกันให้ได้
แนวคิดดังกล่าวนับเป็นส่ิงท่ีใกล้เคียงกันกับแนวคิดของพุทธจริยศาสตร์ที่ต้องการให้บุคคลอยู่ร่วมกัน
อย่างสงบสุข โดยมีการแนะนาให้บุคคลอยู่ร่วมกันด้วยความสมานสามัคคีกัน ทาความเข้าใจกัน เม่ือ
ทุกคนอยู่ร่วมกันด้วยความเข้าใจกันไม่ขัดแย้งกันแล้ว เรื่องการเบียดเบียนหรือการฆาตกรรมก็จะไม่
เกดิ ขนึ้

(๒) กลุ่มอนุรกั ษ์นยิ ม (Conservatism)
แนวคิดของกลุ่มอนุรักษ์นิยมท่ียึดถือเอาทฤษฎีที่ว่า “การฆาตกรรมเป็นสิ่งไม่อาจเลี่ยงได้
บางทกี ลับเป็นส่ิงทพ่ี งึ ปรารถนาดว้ ยซา้ ย่งิ ถ้าเป็นทรรศนะอนรุ ักษ์นิยมอย่างจัดแล้ว การฆาตกรรมเป็น
การกระทาท่ีถกู ในทุกกรณี เม่ือนามาวพิ ากยก์ บั พทุ ธจริยศาสตรใ์ นการแกไ้ ขปัญหาฆาตกรรมท่ีเกิดจาก
สภาพทางครอบครัวแล้ว นับว่าขัดแย้งกัน พุทธจริยศาสตร์น้ันแนะนาให้บุคคลมีการสมานสามัคคีกัน
ของสมาชิกภายในครอบครัว พยายามทาความเข้าใจกันด้วยจิตเมตตา เพื่อไม่ให้เกิดการทะเลาะกัน
หรือมีเร่ืองที่ไม่เข้าใจกันจนก่อให้เกิดการฆาตกรรมข้ึน หลักพุทธจริยศาสตร์มีกฏเกณฑ์ที่ว่า การ
ฆาตกรรมเป็นสิ่งท่ีผดิ ศีลธรรม แต่กลุ่มอนุรักษน์ ยิ มกลับมีทรรศนะขัดแย้งกับพุทธจรยิ ศาสตรอ์ ย่างมาก
ต่อฆาตกรรม ด้วยเหตุผลของกลุ่มอนุรักษ์นิยมท่ีวา่ ฆาตกรรมเป็นส่ิงทส่ี ามารถกระทาได้ไม่ผิดศีลธรรม
แต่อยา่ งใด
(๓) กลุ่มประโยชนน์ ิยม (Utilitarianism)
ทฤษฎีของกลุ่มประโยชน์นิยม คือ การยึดเอาหลักประโยชน์สุขของคนส่วนมาก มาเป็น
ตัวกาหนดในการตัดสินว่าอะไรควรและไม่ควรทา เมื่อนามาวิพากย์กับพุทธจริยศาสตร์ในการแก้ไข
ปัญหาฆาตกรรมที่เกิดจากสภาพครอบครัวแล้ว นับว่ามีทรรศนะทั้งท่ีสอดคล้องกันและขัดแย้งกันที่
กล่าวเช่นนี้เพราะแนวคิดของกลุ่มประโยชน์นิยมได้มุ่งเป้าประสงค์ไปที่ประโยชน์สุขของคนหมู่มาก
แนวทางการแก้ไขปัญหาฆาตกรรมท่ีเกิดจากสภาพครอบครัวนั้น พุทธจริยศาสตร์แนะนาให้สมาชิก
ภายในครอบครัวทาความเข้าใจกัน สมานสามัคคีกัน เพื่อไม่ให้มีการก่อเหตุฆาตกรรม ในประเด็น

๑๑ ดิเรก ชัยนาม, ความสมั พนั ธร์ ะว่างประเทศ เลม่ ๒, (กรงุ เทพมหานคร: สมาคมสังคมศาสตรแ์ หง่
ประเทศไทย, ๒๕๐๙), หนา้ ๔๙๙.

๑๐๙

ดงั กล่าวน้ีกลุ่มประโยชน์นิยมยังไม่สรุปว่าจะเป็นสิ่งที่ดีเสมอไป กล่าวคือจะต้องมีการพิจารณาก่อนว่า
การสมานสามัคคีกันของสมาชิกภายในครอบครัวนั้นส่งผลให้เกิดประโยชน์สุขของคนหมู่มากได้จริง
หรือไม่ หากการสมานสามัคคีกันของสมาชิกภายในครอบครัว ไม่เกิดประโยชน์สุขแก่คนหมู่มาก
ทฤษฎีของกลมุ่ ประโยชนน์ ิยมก็กลายเปน็ ส่ิงทขี่ ดั แย้งกนั กบั แนวคิดของพุทธจรยิ ศาสตรท์ ันที

๔) แนวทางการแก้ไขปัญหาฆาตกรรมท่ีเกิดจากสภาพเศรษฐกจิ
จากการวิเคราะห์สาเหตขุ องการฆาตกรรมที่เกิดจากสภาพเศรษฐกิจจะเหน็ ว่า บุคคลมี
ความโลภ อยากได้ทรัพย์ในปริมาณเพิ่มมากขึ้นเร่ือยๆ เมื่อไม่สามารถสนองความต้องการของตนเอง
ได้หรือเกิดความล้มเหลวทางด้านเศรษฐกิจหรือการเงินแล้ว บ่อยครั้งที่หาทางออกโดยการทา
อัตวนิ ิบาตกรรม คือ การฆ่าตัวตาย แต่ก่อนทจ่ี ะฆ่าตัวตายนั้น บุคคลประเภทนี้มักจะทาการฆาตกรรม
ต่อบุคคลที่เกี่ยวข้องหรือใกล้ชิด เช่น ภรรยา,บุตรธิดาหรือญาติพ่ีน้องของตน ด้วยเหตุผลท่ีว่ารักและ
เป็นห่วง กลัวบุคคลดังกล่าวท่ีเก่ียวข้องจะเกิดความลาบากเม่ือตนตายจากไปแล้ว จึงต้องทาการ
ฆาตกรรมต่อบุคคลท่ตี นรกั และเป็นหว่ ง
จากสาเหตุดังกล่าว พุทธจริยศาสตร์ได้วางหลักการแก้ไขหรือทางออกของปัญหาน้ีไว้คือ
การดาเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจสายกลาง กล่าวคือ เศรษฐกิจในทรรศนะของพุทธจริยศาสตร์เป็น
กิจกรรมด้านหนึ่งในการดาเนินชีวิตของมนุษย์ ซ่ึงมีลักษณะเฉพาะก็คือ เศรษฐกิจแบบมัตตัญญุตา
“มัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักประมาณคือความพอเหมาะพอดี เช่น รู้จักประมาณในการแสวงหารู้จัก
ประมาณในการใช้จ่ายพอเหมาะพอควร”๑๒ เศรษฐกิจแบบดังกล่าวน้ีเน้นความเพียงพอและมุ่ง
ควบคุมวัตถมุ ิให้เกิดความต้องการมากจนกลายเป็นความโลภ๑๓ จะเห็นได้ว่า เป็นพ้ืนฐานการดาเนิน
ชีวิตตามปกติของชาวพุทธที่เหมาะสมตามหลักการทางสายกลางหรือมรรคมีองค์ ๘๑๔ โดยอาศัย
พ้ืนฐานข้อหนึ่งของมรรคมีองค์๘ คือ สัมมาอาชีวะ เป็นพ้ืนในการสร้างหลักเศรษฐกิจ แต่การสร้าง
หลักเศรษฐกิจ ต้องเขา้ ใจเรอื่ งเศรษฐศาสตร์ในท่ีน้ีกล่าวถงึ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธหรอื เรียกอีกอย่างว่า
“พุทธเศรษฐศาสตร์ หมายถึงการนาคาสอนของพระพุทธเจ้ามาประยุกต์เข้ากับแนวคิดในวิชา
เศรษฐศาสตรท์ ี่พัฒนาขึ้นมาจากอารยธรรมตะวันตก”๑๕
กกกกกกกกเศรษฐกิจสายกลาง หรอื เศรษฐกิจมชั ฌิมา สามารถสร้างคุณค่าในการดาเนินชวี ติ ซึง่ กล่าว
โดยสรุปได้ ๒ ลกั ษณะดังน้ี
กกกกกกกก(๑) มิตทิ างการสร้างคุณภาพชวี ติ คือเศรษฐกจิ มชั ฌิมาแบบการไดค้ ุณภาพชีวติ ซ่งึ พ้นื ฐาน
ของการดาเนินเศรษฐกิจนั้น ถือว่าเป็นพฤติกรรมทางเศรษฐกิจที่ถูกต้อง เป็นการดาเนินกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจแบบพอดี คือ “มัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักประมาณคือความพอเหมาะพอดี”๑๖ ทาง
พระพุทธศาสนาใช้คาว่า โภชเนมัตตัญญุตา คือ ความเป็นผู้รู้จักประมาณในการบริโภคอาหาร, รู้จัก

๑๒ พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยตุ โฺ ต), พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบบั ประมวลศพั ท,์ (กรุงเทพมหานคร :
บริษัท เอส.อาร์พริน้ ต้ิง แมส โปรดกั ส,์ ๒๕๔๖), หนา้ ๒๒๙.

๑๓ ท.ี ปา. (ไทย) ๑๑/๓๙๔/๒๕๔.
๑๔ ท.ี ม. (ไทย) ๑๐/๒๙๙/๒๓๑.
๑๕ ดร.อภชิ ัย พันธเสน, พุทธเศรษฐศาสตร์, พมิ พค์ ร้งั ท๓ี่ , (กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัท อมั รินทร์พรน้ิ ตง้ิ
แอนดพ์ ลบั ลชิ ชิ่ง จากดั (มหาชน) ๒๕๔๗ ), หน้า ๓.
๑๖ พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยตุ โฺ ต), พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบบั ประมวลศพั ท์, หน้า ๒๒๙.

๑๑๐

ประมาณในการกิน คือ กินเพ่ือหล่อเลี้ยงร่างกายใช้ชีวิตเพ่ืออยู่ผาสุกมิใช่เพ่ือสนุกสนานมัวเมา”๑๗
อนั เปน็ ระบบแห่งสมดลุ หรอื ดลุ ยภาพ
กกกกกกกก ความพอดีหรือดุลยภาพเป็นจุดท่ีคุณภาพชีวิตกับความพอใจมาบรรจบกัน เป็นการได้รับ
ความพึงพอใจด้วยการตอบสนองความตอ้ งการคุณภาพชีวิตจากการดาเนนิ กิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจ
ในแงจ่ ติ วิทยาของการปฏิบัติแลว้ ความพึงพอใจไม่สามารถนามาตัดสินอรรถประโยชน์ไดส้ มบรู ณใ์ นตัว
ของมัน แต่ต้องอาศยั คุณภาพชวี ิตท่ดี ีงามมาช่วยตดั สินจงึ จะถือไดว้ ่าเปน็ อรรถประโยชนแ์ ก่วิถชี วี ิตของ
มนุษย์ได้ โดยลักษณะของมรรคแล้วเป็นฐานสนับสนุนกระบวนการในการพัฒนาตนเองของมนุษย์
เพื่อให้มีชีวิตที่ดีย่ิงขึ้น ซึ่งเศรษฐกิจก็เป็นกิจกรรมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างหนึ่งของมนุษย์
เท่าน้ัน

(๒) มิติแห่งการสร้างความสงบสุข คือเศรษฐกิจมัชฌิมาแบบไม่เบียดเบียนตนและไม่
เบียดเบียนผู้อ่ืน ดังท่ีได้กล่าวไว้ข้างต้นแล้วว่า การดารงชีวิตของมนุษย์น้ันเป็นกระบวนการที่มีความ
เก่ียวสัมพันธ์กัน ซึ่งจะแยกเป็นอย่างใดอย่างหน่ึงไม่ได้ เพราะมีความสัมพันธ์เก่ียวเน่ืองกันโดยตลอด
โดยระบบการดาเนินชีวติ ของมนุษย์มีองค์ประกอบอยู่ ๓ ประการ คือ มนุษย์ ธรรมชาติและสังคม ซ่ึง
จะต้องสอดคล้องกับกระบวนการแห่งเหตุปัจจัยอย่างครบวงจรประสานและเกื้อกูลกัน ดังนั้น
พฤติกรรมทางเศรษฐกจิ ของมนษุ ย์จะต้องเปน็ ไปในทางทไ่ี มเ่ บยี ดเบยี นตนคอื ไมท่ าให้เสยี คุณภาพชวี ิต

ของตนเอง เป็นไปในทางท่ีส่งเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ของตนเอง และในขณะเดียวกันกไ็ มก่ ่อความเดือดร้อน
แก่ผูอ้ ่นื และสงั คมดว้ ย๑๘

จะสังเกตเห็นว่า เศรษฐกิจสายกลางท้ังสองมิติ โดยเฉพาะมิติแห่งการสร้างความสงบจะ
เนน้ ชัดเจนว่า ไม่สรา้ งความเดอื ดรอ้ นให้กบั ผู้อื่น เพราะการดาเนินชวี ติ ในรูปแบบดงั กลา่ ว นอกจากจะ
ไม่เบียดเบียนตนเองแล้ว ยังไม่ทาให้ผู้อ่ืนเดือดร้อนอีกด้วย เป็นการสร้างความสงบให้เกิดขึ้นทั้งสอง
ฝ่าย จะเห็นว่าเศรษฐกิจสายกลางทั้งสองมิตินี้ สามารถแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจที่นาไปสู่การฆาตกรรม
เพราะความเป็นทกุ ข์ได้

พุทธจริยศาสตร์ได้มีทรรศนะต่อจุดมุ่งหมายของเศรษฐกิจว่า เป็นกิจกรรมด้านหนึ่งของ
ชีวิตมนุษย์ท่ีต้องการแสวงหาความสุข ความพึงพอใจจากโลกทางวัตถุ ซึ่งเป็นจุดหมายเบื้องต้นของ
ชีวิตมนุษย์ท่ีจะพึงประสงค์ แม้กระน้ันก็ตามเศรษฐกิจยังมีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์ เพ่ือยังความ
บรบิ ูรณ์ด้านวัตถุใหเ้ กิดขน้ึ เพื่อเป็นการไปสู่จุดมุ่งหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนาคือ พระนิพพานพุทธจ
ริยศาสตร์มีจุดหมายเพ่ือควบคุมความอยากในวัตถุ โดยเน้นการควบคุมความอยากในปัจจัยเครื่อง
บริโภค ให้บริโภคแต่พอประมาณตามหลักมัตตัญญุตา๑๙ เน้นความพอดีคือรู้จักประมาณในการเสพ
เสวยวัตถุแต่พอสมควร ไม่ก่อให้เกิดความลาบากและไม่สร้างภาระด้านวัตถุให้แก่ตนเอง อีกท้ังไม่
เบยี ดเบยี นสังคมและธรรมชาตแิ วดล้อมดว้ ย

๑๗ เรอ่ื งเดยี วกัน, หนา้ ๒๐๙.
๑๘ พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยตุ โฺ ต), มรณกถา, พิมพ์ครง้ั ที่ ๓, (กรงุ เทพมหานคร: บริษัทส่อื ตะวัน จากดั ,
๒๕๓๙), หนา้ ๕๒ - ๖๔.
๑๙ ท.ี ม. (ไทย) ๑๐/๕๔/๔๐.


Click to View FlipBook Version