The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย Buddhism and Thai Culture

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย Buddhism and Thai Culture

พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย Buddhism and Thai Culture

Keywords: พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย,Buddhism and Thai Culture

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๙๒ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

บญุ เข้ากรรม

ฮีตบุญเข้ากรรม (บุญเดือนอ้าย) เป็นบุญท่ที ําในเดอื นอ้าย (เจยี ง) เดอื นแรกของปีท่ี

ชาวอสี านทาํ กนั จนเป็นประเพณี ทําในวนั ขา้ งขน้ึ /แรมกไ็ ด้ เป็นบุญทเ่ี ก่ยี วกบั พระโดยตรง มคี วาม
เช่อื ว่าทําบุญร่วมกบั พระแลว้ จะได้อานิสงส์มาก จงึ มกี ารทําบุญเขา้ กรรมขน้ึ ซง่ึ เป็นกิจกรรมท่ที ํา
เพ่อื ให้พระต้องอาบตั ิสงั ฆาทเิ ลส น้ีแล้วต้องทําพิธเี ข้ากรรมท่เี รยี กอีกอย่างว่า วุฏฐานพิธี คอื
ระเบยี บอนั เป็นเครอ่ื งออกจากอาบตั ิ ประกอบพธิ ปี รวิ าสมานตั ต์ ปฏกิ สั สนาและอพั ภาน เป็นขนั้ ตอน
การอยกู่ รรมของพระทต่ี อ้ งจาํ กดั ทอ่ี ยเู่ พอ่ื ทรมานรา่ งกายใหห้ ายจากกรรม เป็นการชําระจติ ใจใหห้ าย
มวั หมองบางแห่งถอื ว่า เม่อื บวชแทนคุณมารดาไดจ้ ะต้องอย่กู รรมเพราะมารดาก็เคยอย่กู รรมเม่อื
คลอดบุตร โดยเช่อื ว่า มพี ระรปู หน่ึงไดต้ อ้ งอาบตั เิ พยี งเลก็ น้อยทเ่ี อามอื ไปทาํ ใบตระไครน้ ้ําขาดแลว้
ไมไ่ ดแ้ สดงตนว่าตอ้ งอาบตั เิ มอ่ื มรณะจงึ เกดิ เป็นนาค เพยี งเพราะอาบตั ทิ เ่ี ลก็ น้อย ดงั นนั้ จงึ มพี ธิ กี าร
อยวู่ าสกรรมเพ่อื พน้ อาบตั ิ

โดยมสี ถานทเ่ี ขา้ กรรมทเ่ี งยี บสงบ มกี ุฏใิ ห้พกั เพ่อื เขา้ กรรมคนเดยี ว โดยพระทต่ี ้องอาบตั ิ
แลว้ ต้องบอกพระสร่ี ปู ใหร้ วู้ ่าไดเ้ วลาแลว้ จงึ เขา้ กรรม ซง่ึ ตามวนิ ัยมขุ ผเู้ ขา้ ต้องประพฤตมิ านัตต์ คอื
นบั ราตรี ครบหกราตรี จงึ สวดระงบั อาบตั ิ อพั ภาน ในระหว่างการเขา้ กรรมต้องสารภาพความผดิ ต่อ
พระ ๔ รปู เป็นผรู้ บั รู้ ส่วนการออกต้องมพี ระ ๒๐ รปู ใหอ้ พั ภาน พระผอู้ อกจากกรรมแลว้ ถอื ว่าหมด
มลทณิ เป็นผบู้ รสิ ุทธิ ์ การรบั ภกิ ษุผู้ตอ้ งอาบตั หิ นักไดล้ งโทษ คอื อย่ปู รวิ าสหรอื มานัตต์ใหก้ ลบั เป็น
พระบรสิ ุทธโิ ์ ดยพระสวดระงบั อาบตั ิ ว่าอพั ภาน ซง่ึ ทําใหห้ มดมลทนิ บรสิ ุทธิ ์ สาํ หรบั ชาวเขา้ มาส่วน
เกย่ี วขอ้ งโดยเป็นผอู้ ุปถมั ภด์ ว้ ยจตุปจั จยั แด่ภกิ ษุตลอดเวลาเขา้ กรรมและวนั ออกจากกรรมต้องมกี าร
ทําบุญให้ทาน ซง่ึ ปจั จุบนั มกี ารทําบุญน้ีพยี งบางตําบลบางหมู่บา้ นเท่านัน้ ท่ที ําจรงิ ๆ จงั ๆ แบบดงั่
เดมิ โดยมคี ําบอกเล่าทางศาสนามคี าํ สอนของคนเฒ่าแก่กเ็ น้นย้าํ ใหล้ กู หลานได้จดจาํ ไปปฏบิ ตั ิ คอื
พอถงึ เดอื นเจยี ง (เดอื นอ้าย)ภกิ ษุสงฆจ์ ะต้องเตรยี มพธิ เี ขา้ ปรวิ าสกรรม เพราะถอื เป็นธรรมเนียม
ประเพณีมาแต่โบราณอย่าไดท้ ง้ิ หาไม่แลว้ จะทาํ ใหเ้ กดิ ภยั พบิ ตั ไิ ด้ ดว้ ยคําสอนน้ีชาวอสี านจงึ นํามา
ปฏบิ ตั อิ ยา่ งเครง่ ครดั

ฮีต บญุ คณู ลาน เดือนยี่ เป็นบญุ ทท่ี าํ ขน้ึ เพ่อื แสดงความเคารพ ในปจั จยั ยงั ชพี ของคน

คอื ขา้ วทส่ี รา้ งความภาคภูมใิ จใหก้ บั ลูกหลานในการท่จี ะไดข้ า้ วมานัน้ ยากลําบากและถอื ว่าปีใดบุญ
ลานมขี า้ วเยอะแสดงว่าปีนัน้ มคี วามอุดมสมบูรณ์ดแี ละเป็นการทําให้เกิดสริ มิ งคลแก่ชาวบ้านและ
ขอบคุณสง่ิ ศกั ดสิ ์ ทิ ธทิ งั้ หลาย ผปี ตู่ า ผตี าแฮก เจา้ แมโ่ พสพ ทป่ี ระทานขา้ วมาอยา่ งอุดมสมบูรณ์

เม่อื ครงั้ พุทธกาลมหี นุ่มสองพ่นี ้องทํานาท่เี ดียวกนั พอข้าวออกรวงน้องชวนพ่ีทําข้าว
มธุปายาสแต่พ่ไี ม่เหน็ ด้วยเลยแบ่งนากนั ทํา เม่อื ทํานาคนเดยี ว ผู้น้องได้ทําบุญอย่างต่อเน่ืองเป็น
ระยะตามเวลาของการเกบ็ เกย่ี วขา้ วเป็นชว่ งๆ เกา้ ครงั้ ตงั้ แต่ขา้ วเป็นน้ํานมจนกระทงั้ เกบ็ เกย่ี วใส่ยงุ้
ฉากโดยปรารถนาสําเรจ็ พระอรหนั ต์ในอนาคต พอถงึ พุทธศาสนาสมณโคดม และเกดิ ได้ออกบวช
สําเร็จพระอรหนั เป็น อัญญาโกฑญั ญะ ส่วนพ่ีทําบุญครงั้ เดียวตอนทํานาเสร็จ เกิดเป็นสุภทั ท

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๓๙๓ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ปรพิ าชก สาํ เรจ็ อนาคามผิ ลเป็นพระอรยิ บคุ คลองคส์ ุดทา้ ยในพุทธศาสนา เน่ืองจากอานิสงสจ์ ากการ
ทานขา้ วน้อย เมอ่ื ชาวบา้ นทราบอานสิ งสจ์ ากการทาํ บญุ น้จี งึ นยิ มทาํ บญุ คณู ลานต่อๆกนั มา โดยการ
ทาํ พธิ ใี ชบ้ รเิ วณวดั เป็นลานขา้ ว โดยดายหญ้าออกแลว้ ใชม้ ลู ควายผสมน้ําเทราด ก่อนวนั งานจะนํา
ขา้ วมารวมกนั ตามศรทั ธา นมิ นตพ์ ระ ๙ รปู จาก ๙ วดั มาเจรญิ พุทธมนตท์ ล่ี านขา้ เอาดา้ ยสายสญิ จน์
พนั รอบฐานพระพุทธรปู และภาชนะใส่น้ํามนตผ์ ่านพระ และรอบลานขา้ วเมอ่ื เสรจ็ แลว้ กเ็ ทศฉลอง ๑
กณั ฑ์ กลางคนื อาจมมี หรสพคบงนั ตอนเชา้ ถวายอาหาร พรมน้ํามนต์และนําน้ําไปรดทน่ี าตนเอง
เช่อื วา่ ขา้ วในนาจะงามไมม่ ศี รทั ตรพู ชื รกุ รานพรอ้ มกรวดน้ําอุทศิ แก่ญาตผิ รู้ ว่ งลบั ตลอดเทพยาดาเมอ่ื
ไดร้ บั กุศลกจ็ ะอวยพรใหฝ้ นตกตามฤดกู าลเมอ่ื เสรจ็ พธิ กี จ็ ะนําขา้ วเกบ็ ยงุ้ ฉากวดั หรอื ขาย

ฮีต บญุ ข้าวจ่ี (เดือนสาม) ข้าวจี่

เป็นขา้ วเหน่ียวปนั้ เท่าไข่เป็ดทาเกลอื แลว้ เสยี บไมย้ ่างไฟดว้ ยถ่าน ทส่ี ุกเหลอื งพอดที าไข่
แลว้ ยา่ งอกี ครงั้ บางแห่งนิยมใส่น้ําออ้ ยดงั คาํ โบราณว่า เดอื นสามคอ้ ยเจา้ หวั คอยปนั้ ขา้ วจ่ี ขา้ วจบ่ี ่มี
น้ําอา้ ยจวั น้อยเชด็ น้ําตา ซง่ึ การทาํ บุญขา้ วจใ่ี นเดอื นสามเป็นชว่ งทช่ี าวนาหมดภาระในการทาํ นาแลว้
ขา้ วขน้ึ ยงุ้ ฉางใหม่จงึ อยากร่วมทาํ บุญถวายพระ โดยมเี ร่อื งเล่าว่า มนี างปุณทาสี ทาํ ขนมปงั จถ่ี วาย
องคส์ มั มาสมั พุทธเจา้ และพระอานนท์และคดิ ว่าพระองค์ไม่เสวยเอาให้สตั วต์ ่างๆ กนิ เม่อื พระองค์
ทราบจงึ ไดเ้ สวยทาํ ใหน้ างปลม้ื ปรตี ยิ นิ และไดฟ้ งั เทศนาทพ่ี ระพุทธเจา้ สอนกบ็ รรลุโสดาปตั ตผิ ลดว้ ย
อานิสงส์ถวายขนมปงั จ่ี ทําให้ชาวอสี านเช่อื แลว้ ทําขา้ วจ่ถี วายพระสงฆ์ โดยสถานทท่ี ําพธิ แี ต่แห่ง
อาจไมเ่ หมอื นกนั ซง่ึ พอถงึ เวลาชาวบา้ นก็จะจดั ทําขา้ งจต่ี งั้ แต่เชา้ มดื จากบ้านแล้วนําไปรวมกนั เพ่อื
ถวายพระสงฆ์ แต่บางแห่งกร็ วมกนั นําขา้ วและฟืนไปรวมกนั ทําขา้ วจอ่ี ย่ทู ว่ี ดั เพราะถอื ว่ารว่ มกนั
ทาํ บุญและสามคั คมี ากขน้ึ และนิยมนิมนต์พระ ๗-๙ รูป หรอื ตามความเหมาะสม ซง่ึ การนัดทําบุญ
ขา้ วจเ่ี ป็นวนั ใดกไ็ ด้ในเดอื นสาม ในหม่บู า้ นจะมกี ารจดั เตรยี มขา้ วจแ่ี ต่ย่าํ รุ่งวนั นัน้ เพ่อื ให้สุกทนั ใส่
บาตร ปกตจิ ะใส่ ๗-๙ ก้อนต่อครอบครวั นอกจากน้ีก็อาจนําขา้ วเกรยี บย่างไฟพองไปถวายพรอ้ ม
อาหารคาวหวานซง่ึ ถงึ เวลาถวายจะมกี ารกล่าวคําถวายข้าวจแ่ี ลว้ นําไปใส่บาตรและถวายอาหารขอ
พรเป็นอนั เสรจ็ พธิ ี

การนัง่ ฟังเทศน์ของบญุ เผวส

อีต บุญเผวสหรอื บุญมหาชาติ (เดือนส่ี)

เป็นบุญท่ที ําเก่ยี วกับเร่อื งพระเวสสนั ดรนิยมทําในเดอื นส่ี ซ่งึ ก่อนจดั งานมกี ารประชุม
จดั เตรยี มอาหารคาวหวานเพ่อื ถวายแก่พระสงฆ์ และแขกผูม้ ารว่ มงานและปจั จยั ไทยทานสําหรบั ใส่
กณั ฑเ์ ทศน์ ทางวดั กม็ กี ารแบ่งหนงั เป็นกณั ฑม์ อบใหพ้ ระ ภกิ ษุสามเณรวดั ต่างๆ เตรยี มไวเ้ ทศน์ ซง่ึ
มเี ร่อื งเล่าในเร่อื งมาลยั หม่นื มาลยั แสน ว่ามีพระมาลยั ไปไหว้พระธาตุเกตุแก้วจุฬามณีสวรรค์
ดาวดงึ สพ์ บพระศรอี รยิ ไตรย ไดส้ งั่ กาํ ชบั พระมาลยั ว่า ถา้ อยากพบพระองค์ จงอยา่ ทําบาปกรรม เช่น
การฆ่า ข่มเหงบดิ า มารดา สมณพราหมณ์ณาจารย์ ทําร้ายพุทธเจ้าและยุยลพระแตกกนั ให้ ฟงั

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๙๔ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

เรอ่ื งราวพระเวสสนั ดรชาดกใหจ้ บในวนั เดยี วและนําไปปฏบิ ตั ิ เม่อื พระมาลยั กลบั มาถงึ โลกมนุษยจ์ งึ
ไดบ้ อกใหท้ าบทวั่ กนั ผปู้ รารถนาเชน่ ว่าน้จี งึ พากนั ทาํ บญุ เผวสสบื ต่อกนั มา

โดยเป็นบุญเก่ียวกับศาสนาโดยตรงสถานประกอบพิธีจงึ อยู่ท่วี ดั ส่วนใหญ่ การเทศน์
บางครงั้ กน็ ําไปเทศน์ในงานอุทศิ กุศลต่างๆกม็ ี แต่งานบุญเผวสจรงิ ๆ จะต้องทําในบรเิ วณวดั เท่านนั้
และมพี ระครบจาํ นวนกณั ฑเ์ ทศน์อาจมพี ระถงึ ๓๐-๖๐ รปู หรอื อาจหมุนเวยี นกนั กไ็ ด้ โดยก่อนมงี าน
บุญน้ชี าวจะไปรวมกนั ทว่ี ดั จดั สถานท่ี ทพ่ี กั ตกแต่งดอกไมใ้ นศาลา พวงมาลยั ธงทวิ มกี ารทําหมาก
พนั คาํ เมย่ี งพนั คาํ เทยี นธูป มดี ดาบ อย่างละพนั และขา้ วตอกดอกไมไ้ วบ้ ชู าคาถาพนั ประกอบดว้ ย
ดอกบวั กางของ ผกั ตบชวาอยา่ งละพนั ดอกธงพนั ผนื กระดาษสี ขงึ ดา้ ยสายสญิ จน์ ตงั้ หมอ้ น้ํามนต์
ขนั หมากเบง็ แปดอนั โอ่งน้ํา ๔ โอ่งตงั้ สม่ี มุ ธรรมาสน์ในโองมจี อกแหน ดอกไมช้ นิดต่างๆ และใบบวั
ปนั้ รูปสตั ว์ต่างไว้ใต้ธรรมาสน์ใหญ่ ๘ อนั ปกั รอบธรรมาสน์นอกศาลาทงั้ แปดทศิ เพ่อื หมายเขต
ปลอดภยั ป้องกนั มารทงั้ หลาย ตามเสามที ่ใี ส่ขา้ วพนั กองศาลามหี อพระอุปคต คอื บาตรกระโถน
กาน้ํา รม่ สบงจวี ร ถวายพระอุปคต ทต่ี อ้ งจดั ก่อนวนั งาน โดยวนั โฮม หรอื วนั รวมนออกจากจะเพ่อื น
บ้านมาร่วมงาน มพี ธิ สี ําคญั ๒ อย่าง การนิมนต์พระอุปคต ในตอนเช้ามดื วนั รวมประมาณส่หี ้า
นาฬกิ าโดยการนํากอ้ นหนิ ขนาดใหญ่สามกอ้ นไปวางในวงั น้ําหรอื ทใ่ี ดกไ็ ดพ้ อถงึ เวลากแ็ ห่ดอกไมธ้ ปู
เทยี น ขนั หา้ ขนั แปดไปทก่ี อ้ นหนิ วางอย่ทู ส่ี มมุตวิ ่าเป็นพระอุปคุต แลว้ มคี นหยบิ ก้อนหนิ ชขู น้ึ ถามว่า
เป็นพระอุปคตหรอื ไม่ สองก้อนรบั คําตอบว่าไม่ ก้อนสามตอบว่าใช่ จงึ กล่าวราทนาอุปคตแลว้ เชญิ
หนิ ก้อนสามใส่พานพร้อมจุกปะทดั ต่างๆ แห่แหนพระอุปคตอย่างครกึ คร้นื เข้ามายงั วัดแล้วนํา
ประดษิ ฐ์สถานทศ่ี าลาท่เี ตรยี มไว้ การนิมนตพ์ ระอุปคตมาบุญเพ่อื สริ มิ งคลชยั เพ่อื การจดั งานสาํ เรจ็
ราบรน่ื และการแหเ่ ผวส จะทาํ ตอนประมาณบ่ายสามเพ่อื อญั เชญิ พระเวสสนั ดรและพระนางมทั รเี ขา้
เมอื ง โดยสมมตวิ ่าอยใู่ นป่า มพี ระพุทธรปู พระภกิ ษุ ๔ รปู ขน้ึ นงั่ บนเสลย่ี งหามไปยงั ทส่ี มมตวิ ่าพระ
เวสสนั ดรกบั นางมทรอี ยแู่ ลว้ อารธานาศลี หา้ ก่อนแห่พรอ้ มบายศรพี ระเวสสนั ดรเขา้ เมืองกบั นางมทั รี
และนิมนพระเทศน์กณั ฑก์ ระษตั รยิ ์ เสรจ็ แลว้ เชญิ เขา้ เมอื ง ตอนค่ําใหพ้ ระสวดพุทธมนต์เสรจ็ และ
สวดบนธรรมาสน์ ๔ ครงั้ คอื “อติ ปิ ิโส โพธสิ ตั ว์ สวดชยั และเทศน์ พระมาลยั เหมอื นมาลยั แสนก่อน
เทศเอาคาถาอุปคต ๔ บท ปกั ข้างธรรมาสน์ เป็นอันเสรจ็ พิธีตอนค่ํา จนกระทัง่ ประมาณ ๓-๔
นาฬิกา ชาวรอ้ งแห่ขา้ วพนั ก้อนไปถวายพระอุปคตท่วี ดั พรอ้ มวางตามธงเม่อื เสรจ็ พระสงฆก์ ็เทศน์
สงั กาสแลว้ อาราธนาเทสมหาชาติ ตลอดทงั้ วนั ตงั้ แต่กณั ฑเ์ ทศน์พร-นครกณั ฑจ์ บทุกกณั ฑก์ ค็ ่าํ พอดี
เสรจ็ แลว้ กจ็ ดั ขนั ดอกไมธ้ ปู เทยี นกลา่ วคารวะพระรตั รนตรยั จบเป็นอนั เสรจ็ พธิ บี ุญเผวส

ฮีต บญุ สงกรานต์ (บญุ เดือนห้า)

บุญมหาสงกรานตห์ รอื ตรษุ สงกรานต์ ของภาคอสี านกําหนดขน้ึ ในเดอื นหา้ มี ๓ วนั ตงั้ แต่
๑๓ วนั มหาสงกรานต์ ๑๔ วนั เนา ๑๕ วนั สุดทา้ ยเป็นวนั เถลงิ ศก ชาวอสี านถอื เป็นวนั ขน้ึ ปีใหม่ พธิ ี
ในแต่ละทอ้ งถนิ่ อาจต่างกนั เหมอื นกนั กค็ อื การสรงน้ําพระพทุ ธรปู

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๙๕ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

งานบญุ สงกรานต์

ซง่ึ มเี ร่อื งเล่ากนั มาว่า เศรษฐผี หู้ น่ึง กบั ภรรยามานานไม่มบี ุตร บา้ นอย่ใู กลน้ ักเลงสุราทม่ี ี
บุตร ๒ คน วนั หน่ึงนักเลงไดก้ ล่าวคาํ หยาบว่าเศรษฐมี สี มบตั มิ ากไม่มบี ุตรตายแลว้ สมบตั กิ ส็ ูญเปล่า
และว่าตนนัน้ ประเสรฐิ กว่า เม่อื ได้ยนิ เช่นนัน้ เศรษฐจี งึ ทําการบวงสรวงขอบุตรต่อพระอาทติ ยแ์ ละ
พระจนั ทร์สามปีไม่ได้ผล จงึ ขอแก่ต้นไทรจงึ ได้บุตรช่อื ว่า ธรรมบาล ผู้มคี วามฉลาดทุกเร่อื งเกิน
ความสามารถเดก็ ๗ ขวบ ต่อมามบี ลิ พรหมจากพรหมโลกไดถ้ ามปญั หาโดยต่างใหศ้ รี ษะเป็นประกนั
ใหเ้ วลาเจด็ วนั ในการตอบปญั หา ว่า คนเราในวนั หน่ึงๆเวลาเชา้ ศรอี ย่ไู หน เวลาเท่ยี งศรอี ยู่ทไ่ี หน
เวลาเยน็ ศรอี ยู่ท่ไี หนจนกระท่วี นั ท่ี ๖ ธรรมบาลยงั ตอบไม่ได้คดิ กงั วนใจเดนิ เขา้ ป่าและได้ยนิ นก
อนิ ทรคี ุยกนั จงึ ไดร้ คู้ ําตอบว่า ยามเชา้ ศรี ษะอย่ทู ่หี น้าคนจงึ ลา้ งหน้าในตอนเชา้ กลางคนื อยทู่ อ่ี กคน
จงึ เอาเครอ่ื งหอมประพรมทห่ี น้าอก เวลาเยน็ ศรสี ะอย่ทู เ่ี ทา้ คนจงึ ลา้ งเทา้ เมอ่ื ธรรมบาลตอบปญั หาน้ี
ไดก้ บลิ พรหมจงึ ตดั ศรสี ะตนโดยศรี ษะน้ถี า้ ตกพน้ื เกดิ ไฟไหม้ ทง้ิ ในอากาศจะทาํ ใหเ้ กดิ ฝนแลง้ ทง้ิ ลง
มหาสมทุ รน้ํากจ็ ะแหง้ ดงั นนั้ ธดิ าจงึ ไดน้ ําพานมารองและแหร่ อบเขาพระสเุ มรุ ๑ ชวั่ โมง

การแห่ศรี ษะน้จี งึ ทาํ ใหเ้ กดิ พธิ ตี รษุ สงกรานตข์ น้ึ ทุกปีและถอื เป็นประเพณีขน้ึ ปีใหม่ของชาว
ไทยโบราณจะมพี ธิ กี ารทําบุญตกั บาตร ตอนบ่ายกจ็ ะทําน้ําอบ หอมดอกไมธ้ ูปเทยี นไปรวมกนั ทว่ี ดั
แลว้ ทาํ พธิ สี รงน้ําพระแลว้ นําน้ําทไ่ี ดจ้ ากการสรงพระนนั้ ไปพรมหวั ลกู หลานสตั วเ์ ลย้ี งเพ่อื ความอยดู่ มี ี
สขุ ตามความเช่อื นอกจากน้ีแลว้ กม็ พี ธิ กี ารสรงน้ําภกิ ษุสามเณร รดน้ําดาํ หวั คนเฒา่ คนแก่ เพ่อื แสดง
ความเคารพและขอพร วนั ท่ี ๑๔ กจ็ ะเป็นวนั หยุดทท่ี ุกคนต้องมารว่ มกนั เล่นน้ํา การนําธงไปแห่และ
แขวนเพ่อื บูชาพระรตั นตรยั เป็นเคร่อื งหมายของชยั ชนะ วนั ท่ี ๑๕ มกี ารขนทรายเขา้ วดั เพ่อื ต่ออายุ
ชวี ติ ในการทําลูกเจดยี ร์ อบๆ ฐานเจดยี แ์ ละนึกถงึ พระธรรมคําสอนของพระพุทธองค์ แปปดหม่นื ส่ี
พนั ธรรมขนั ธแ์ ละกจ็ ะทาํ พธิ บี วชพระสงฆ์ ๕ รปู มาสวดพทุ ธมนตแ์ ละบวชองคพ์ ระเจดยี ท์ ราย ซง่ึ การ
ก่อเจดยี จ์ ะไดบ้ ญุ ตามความเชอ่ื แลว้ ยงั ทาํ ใหพ้ น้ื ทต่ี รงนนั้ ของวดั สงู ขน้ึ อกี ดว้ ย

ฮีต บญุ บงั้ ไฟ (บญุ เดือนหก)

บุญบงั้ ไฟมคี วามสําคญั ต่อชาวอสี านมาก เพราะเช่อื ว่าบุญประเพณีน้ีจะทําให้เกิดความ
อุดมสมบรู ณ์ของฟ้าฝนขา้ วปลาอาหารพชื พรรณเจรญิ เตบิ โตงอกงามดแี ละนํามาซง่ึ ความสนุกสนาน
เกดิ ความหวงั ในชวี ติ เหมอื นมที ่พี ่งึ อยู่ใกล้สง่ิ ศกั ดสิ ์ ทิ ธิ ์ เพราะมคี วามเช่อื มาจากเร่อื งพญาแถน
(เทวดาชาวอสี าน) ทด่ี ลบนั ดาลใหค้ วามอุดมสมบรู ณ์จงึ มกี ารทาํ บุญบูชาพญาแถน และบชู ามเหศกั ดิ ์
หลกั เมอื งทกุ ปี เพราเชอ่ื วา่ หากไมท่ าํ จะทาํ ใหฝ้ นตกไมต่ ามฤดกู าร เกดิ โรคระบาดต่างๆ ได้

งานบญุ เดือนหก

โดยชาวอสี านมคี วามเช่อื วา่ บนฟ้ามสี ง่ิ ศกั ดสิ ์ ทิ ธิ ์ พญาแถน คอื เทวดาทค่ี อยประธานฟ้าฝน
ความอุดมสมบรู ณ์แหง่ ฤดกู าล บงั้ ไฟคอื เครอ่ื งบชู าทจ่ี ะบอกกล่าวใหพ้ ญาแถนทราบว่าชาวโลกยงั ให้
ความเคารพ นับถอื บูชาไม่เคยขาดขอจงดลบนั ดาลหรอื ประทานฟ้าฝนให้ตกต้องตามฤดกู าล ซง่ึ มี
นิทานเล่าต่อกนั มาว่า นานมาแลว้ บา้ นเมอื งเกดิ ความเดอื ดรอ้ น ฟ้าฝนไม่ตกตามฤดูกาลเกดิ ความ

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๙๖ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ลําบากถ้วนหน้า ผนื ดนิ แตกระแหงแหง้ แลง้ มพี ญาคนั คาก (คางคก) สตั วว์ เิ ศษปกครองอย่พู น้ื ดนิ
ออกตรวจหาสาเหตุว่าทําไมฝนฟ้าจงึ ไม่ตกจงึ รูว้ ่าเป็นพญาแถน จงึ มกี ารต่อสู่กนั กบั พญาแถนโดย
เอาฝนฟ้าเป็นเดมิ พนั และพญาแถนสู่พญาคนั คากไม่ได้ จงึ ตอ้ งทําใหฝ้ นตกโดยต้องจกุ บงั้ ไฟบอกว่า
ใหต้ กเมอ่ื ใด

ดงั นนั้ เมอ่ื ถงึ ช่วงทาํ นากจ็ ะทาํ บุญบงั้ ไฟ จดุ บงั้ ไฟบอกกลา่ วใหท้ ําฝนตก ชาวอสี านจงึ มกี าร
ทําประเพณีน้ีสบื ต่อกนั มาจนปจั จุบนั เม่อื ถึงช่วงเดือนหกก็จะมกี ารทําบุญน้ีเป็นประจําโดยทํา
รว่ มกบั หมบู่ า้ นใกลเ้ คยี งใหท้ าํ บงั้ ไฟมาจดุ รว่ มกนั โดยเมอ่ื มกี ารทาํ บุญจะแบ่งเป็นสองวนั คอื วนั โฮม ท่ี
มกี ารแห่บงั้ ไฟประดบั ประดาสวยงามเป็นรปู ต่างๆและมกี ารละเล่นทเ่ี ช่อื ว่ายงิ่ เล่นสกปรก ลามก ยง่ิ
จะทําให้ฝนฟ้าอุดมสมบรู ณ์เท่านัน้ วนั ท่ี ๒ เป็นวนั จุด ซ่งึ ก่อนจดุ จะมกี ารทําการจุดบงั้ ไฟเพ่อื เส่ยี ง
ทายหรอื บชู าพญาแถน เทพารกั ษก์ ่อนเสรจ็ แลว้ จงึ จดุ บงั้ ไฟใหญ่

ฮีต บญุ ซาฮะ (บญุ เดือนเจด็ )

เป็นบุญทจ่ี ดั ขน้ึ เพ่อื ทาํ พธิ ปี ดั รงั ควาน ขบั ไลค่ วามเสนียดจญั ไรภตู ผปี ีศาจออกจากหมบู่ า้ น
บางแห่งเรยี กวา่ บญุ เบกิ บา้ น หรอื บญุ บา้ นเป็นบุญทแ่ี ต่ละหมบู่ า้ นจะทําไม่ขาด เป็นบญุ เกย่ี วกบั
ภตู ผปี ีศาจ สงิ่ ศกั ดสิ ์ ทิ ธปิ ์ ระจาํ หมบู่ า้ น ผปี ตู่ า ผตี าแฮก มเหศกั ดหิ ์ ลกั เมอื ง ทค่ี อยคุม้ ครองหม่บู า้ น
ชาวบา้ นเชอ่ื ว่าจะรวมผบี รรพบุรษุ อยดู่ ว้ ยทช่ี ว่ ยดลบนั ดาลใหช้ าวบา้ นเมอื งมคี วามสุข

มเี ร่อื งเล่าไว้ในคัมภีร์ธรรมบทว่า ครงั้ หน่ึงเมืองไพสาลี เกิดภาวะข้าวยากหมากแพง
ประชาชนขาดแคลนอาหาร (ทุพภกิ ขภยั ) เพราะฝนแลง้ สตั วเ์ ลย้ี งตาย มโี รคห่าทาํ ใหผ้ คู้ นลม้ ตายจงึ
พากนั ไปนิมนต์พระพุทธเจา้ มาปดั เป่าภยั พบิ ตั ิ โดยมพี ระ ๕๐๐ รูป เดนิ ทางเรอื ๗ วนั จากกรุงรา
ชคฤห์ เม่ือมาถึงเมืองไพลาสี ฝนก็ตกหนักพัดพาซากศพออกจากหมู่บ้านไปจนหมดส้ิน
พระพุทธเจา้ ได้ทําน้ํามนต์ ใส่บาตรและมอบให้พระอานนท์ไปพรมทวั่ เมอื ง โรคภยั ไข่เจบ็ ก็หาย
ดงั นนั้ คนโบราณและคนในอสี านจงึ ทาํ บุญชาํ ฮะมาจนถงึ ปจั จบุ นั ในเดอื น ๗ ของทกุ ๆ ปี

ซง่ึ บุญน้ีจะเป็นการทาํ บุญตกั บาตรในหม่บู ้านและมกี ารขงึ ดา้ ยไปทวั่ ทุกหลงั คาเรอื น โดย
นิมนต์ ๔-๙ รปู มาเจรญิ พุทธมนต์ แลว้ มพี ธิ ผี ูกขอ้ ต่อแขนซ่งึ กนั และกนั ของคนในหมู่บ้านทไ่ี ด้ฝ้าย
จากการทําพธิ แี ละมกี ารน้ํากรวดทรายหรอื หนิ ไปหว่านรอบๆหม่บู า้ นหรอื หลงั คาบ้าน เพราะเช่อื ว่า
เป็นการกนั ผหี รอื สงิ่ จญั ไรเขา้ หมบู่ า้ น นอกจากพธิ เี หล่าน้แี ลว้ ชาวบา้ นกจ็ ะเกบ็ สง่ิ ทไ่ี ม่ดอี อกจากบา้ น
ตน เช่นของเก่า เสอ้ื ผา้ ขาด ก่องขา้ ว เพ่อื ใหบ้ า้ นเรอื นตนสะอาด บรสิ ุทธแิ ์ ละเช่อื ว่าเมอ่ื เอาของเก่า
ออกจากบ้านเม่อื ผีเห็นของเหล่าน้ีอยู่นอกบ้านแล้วจะไม่เข้าบ้านจงึ มกี ารเล้ียงผใี ห้ถูกต้องตาม
ประเพณี

บญุ เข้าพรรษา บญุ เดือนแปด

ฮีต บุญเขา้ พรรษา พรรษา คอื ฤดฝู น ฝน ปี ซง่ึ ชาวอสี านออกสาํ เนียง บุญเขา้ วดั สา ส่วน
ไทยปจั จุบนั นิยมใชค้ ําว่า พรรษา ซง่ึ เป็นบุญทส่ี ําคญั แก่ทุกคนในไทย เป็นช่วงทพ่ี ระต้องจาํ พรรษา

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๙๗ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

เพ่อื ศกึ ษาธรรมไมต่ อ้ งเดนิ ทางไปคา้ งคนื ทไ่ี หน และเช่อื วา่ การทาํ บุญช่วงน้ีจะไดก้ ุศลมากเหมอื นบุญ
ออกพรรษาเพราะเป็นช่วงทพ่ี ระมเี จตนาสรา้ งบญุ สะสมบารมจี ติ แน่วแน่ในคาํ สอน ซง่ึ การทาํ บุญกบั
พระทม่ี เี จตนาดจี งึ ถอื ว่าไดอ้ านิสงสม์ าก ชาวอสี านจงึ ใหค้ วามสําคญั โดยไม่ว่าจากอยถู่ น่ิ ไกลเมอ่ื ถงึ
ฤดูทําบุญน้ีก็ต้องกลบั บ้านเพ่ือร่วมปวารณาตนต่อพระและญาตพิ ่นี ้องแต่บา้ งคนก็กลบั เพราะร่วม
ทําบุญกบั ญาตพิ ่นี ้องเพยี งเท่านัน้ และบางแห่งกม็ กี ารเคารพพ่อธรรมหรอื พ่อฮกั ษา ทเ่ี ป็นเหมอื น
ตวั แทนของสง่ิ ศกั ดสิ ์ ทิ ธิ ์ มกี ารนําดอกไมธ้ ปู เทยี นไปเคารพ เรยี กว่า ขน้ึ ต่อ ลกู เผง่ิ ลูกเทยี น เพ่อื ให้
ผกู ขอ้ มอื ประพรมน้ํามนต์บอกกล่าวใหล้ ูกหลานอย่เู ยน็ เป็นสุขเม่อื ถงึ ออกพรรษาก็กลบั มาทําเช่นน้ี
กบั พ่อธรรม พอ่ ฮกั ษาอกี ที

ซง่ึ การจาํ พรรษาของภกิ ษุนนั้ มเี รอ่ื งเล่าวา่ สมยั ก่อนโลกยงั ไมเ่ จรญิ มกี ารเดนิ ทางดว้ ยเทา้
เวลาไปโปรดญาตโิ ยมจะตอ้ งเดนิ ลดั ท่งุ นาและเมอ่ื ฤดฝู นทาํ ใหฝ้ นตกตอ้ งเดนิ ลยุ โคลนเกดิ ความ
เดอื ดรอ้ นในการไปเหยยี บย้าํ นาขา้ ว ตน้ กลา้ ชาวบา้ นและถกู วา่ กล่าววา่ ขนาดนกแจวแวว ชว่ ง
เขา้ พรรษาจะไมส่ ง่ เสยี งจะอยถู่ น่ิ ตนจนกวา่ ออกพรรษาแลว้ เหตุใดพุทธสาวกจงึ ออกมาเดนิ ย่าํ ขา้ ว
กลา้ ใหเ้ ดอื ดรอ้ น เมอ่ื มกี ารรอ้ งเรยี นพระพทุ ธองคจ์ งึ ประทบั อยทู่ เ่ี วฬุวนั และใหส้ งฆจ์ าํ พรรษาทว่ี ดั
๓ เดอื นเรม่ิ แรม ๑ ค่าํ เดอื นแปด ถงึ ขน้ึ ๑๕ ค่าํ เดอื นสบิ เอด็ คอื พรรษาแรก ซง่ึ จะไมอ่ นุญาตให้
ภกิ ษุไปพกั วดั อ่นื หรอื มเี หตุจาํ ตอ้ งพกั ไดไ้ มเ่ กนิ ๗ วนั

เม่อื ถงึ ฤดเู ขา้ พรรษาชาวบา้ นจะมกี ารเตรยี มเทยี นเพ่อื ไปถวายวดั รวมทงั้ เคร่อื งปจั จยั ไท
ทายต่างๆโดยเฉพาะเคร่อื งสําหรบั ใหแ้ สงสว่าง แมป้ จั จุบนั จะเจรยิ แลว้ แต่ยงั รกั ษาฮตี เดมิ โดยการ
นําเทยี น ตระเกยี งน้ํามนั ธปู เทยี นไปถวายเช่นเดมิ และการนําถวายผา้ อาบน้ําฝนเพ่อื ใชอ้ าบน้ําช่วง
ฤดฝู น ซง่ึ เดมิ ก่อนพระพทุ ธเจา้ ใหภ้ กิ ษุใชเ้ พยี ง ๓ ผนื คอื สงั ฆาฏิ ผา้ ห่มและผา้ นุ่ง แต่พออาบน้ําฤดู
ฝนไม่มผี ้าเปล่ยี นอาบจงึ เปลอื ยกายอาบ เม่อื นางวสิ าขาทราบเช่นน้ีจงึ นําความทูลพรพุทธเจ้าว่า
อยากขอถวายผา้ อาบน้ําฝนแด่ภกิ ษุ ท่านจงึ อนุญาตและใหภ้ กิ ษุใชผ้ า้ อาบน้ําฝนเป็นวตั รปฏบิ ตั เิ ป็น
ตน้ มา

ฮตี บุญขา้ วประดบั ดนิ เป็นบญุ สน้ิ เดอื นเกา้ ทเ่ี รยี กอกี อยา่ งวา่ บญุ ขา้ วสาก นําอาหารคาว
หวาน หมากพลบู หุ รจ่ี ดั ใส่กระทงวางไวบ้ นพน้ื ใตต้ น้ ไมเ้ พอ่ื เป็นการเซ่นดวงวญิ ญาณของบรรพบรุ ษุ
ทม่ี คี วามสาํ คญั ต่อชาวอสี านเพราะเช่อื ว่าเป็นบญุ ทต่ี อ้ งส่งส่วยใหก้ บั ผฮี กั และผบี รรพบรุ ษุ เพอ่ื ใหเ้ กดิ
ความเป็นอยู่ ทรพั ยส์ นิ ขา้ วปลาอาหารอุดมสมบูรณ์ไมม่ ภี ยั รา้ ยใดๆมาเยอื น

บญุ ข้าวประดบั ดิน (เดือนเก้า)

เน่ืองจากคนลาวไทยอสี านมคี วามเช่อื สบื ต่อกนั มานาน ว่ากลางคนื เดอื นเก้าดบั (แรมสบิ
ค่าํ เดอื นเก้า)เป็นวนั ทป่ี ระตูนรกเปิด ยมบาลปล่อยผนี รกออกมาเยย่ี มญาตใิ นโลกมนุษย์ คนื เดยี วใน
รอบปี จงึ พากนั จดั ห่อขา้ วไวใ้ หแ้ ก่ญาตพิ น่ี ้องทต่ี ายไปแลว้ และมกี ารอ้างเร่อื งเปรตของพระเจา้ พมิ
พสิ ารดว้ ยวา่ ครงั้ พุทธกาลญาตขิ องทา่ นกนิ ของสงฆ์ ตายไปแลว้ เกดิ เป็นเปรตเม่อื ท่านถวายอาหาร
แด่พระเจา้ และภกิ ษุเปรตไม่ไดร้ บั ผลบุญจงึ ส่งเสยี งดงั เพ่อื ขอส่วนบุญ เม่อื ท่านไดย้ นิ รงุ่ เชา้ จงึ ไดห้ า

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๙๘ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

สาเหตุจากพระพุทธเจา้ และทรงทราบจงึ ได้อุทศิ บุญไปให้เปรต ต่อจากนัน้ มาเปรตเหล่าน้ีก็ไม่มา
รบกวนอกี เพราะไดร้ บั ผลบญุ ชาวอสิ าน จงึ ถอื เอาเหตุการณ์น้ที าํ บุญขา้ วประดบั ดนิ

โดยเตรยี มอาหารถวายสงฆแ์ ละการห่อขา้ วประดบั ดนิ โดยใชใ้ บตองห่อขา้ งเหนียว กบั เน้ือ
ปลา ไก่ หม่ใู ส่เลก็ น้อยพรอ้ มของหวานเช่นน้ําอ้อย กลว้ ยสุก มะละกอสุก พรอ้ มกบั หมากคํา พลูคํา
บุหร่ี เมย่ี งห่อใบตองโดยเมอ่ื ถงึ 14ค่าํ เชา้ มดื ชาวบา้ นจะนําสงิ่ ทเ่ี ตรยี มไปวางตามทต่ี ่างๆพรอ้ มจดุ ธูป
เทยี นหรอื บอกกล่าวกไ็ ด้

ฮีต บญุ ข้าวสาก บญุ เดือนสิบ

บญุ ขา้ งสากเป็นบุญทท่ี าํ เพ่อื อุทศิ ใหแ้ ก่ผตู้ ายหรอื เปรต โดยมเี วลาห่างจากบุญขา้ วประดบั
ดนิ เพยี ง ๑๕ วนั เป็นเวลาทเ่ี ปรตตอ้ งกลบั ไปอย่ทู ข่ี องตน ซง่ึ ทงั้ สองบุญน้ีจะมลี กั ษณะคลา้ ยๆ กนั คือ
การห่อขา้ วส่งใหเ้ ปรต รวมทงั้ บรรพบุรุษญาตพิ น่ี ้องของผูท้ ําบุญดว้ ยและเปรตไม่มญี าตดิ ้วย และทุ
คนใหค้ วามสาํ คญั กบั บุญน้มี าก เพราเช่อื ว่าผบี รรพบุรษุ จะมคี วามหวิ กําลงั รอส่วนบุญจากงานน้ีเมอ่ื
ถงึ งานบุญจงึ ทํากนั อย่างศรทั ธา และพน่ี ้องแมจ้ ะอย่หู ่างไกลกต็ อ้ งกลบั บา้ นไปเยย่ี มเยยี นกนั และมี
ของฝากใหก้ นั

โดยมเี ร่อื งเล่ากนั ว่า มบี ุตรชายกฎุมพี ผู้หน่ึง เม่อื พ่อส้นิ ชวี ติ แม่ได้หาหญิงมาให้เป็น
ภรรยาแต่อย่ดู ว้ ยกนั หลายปีไม่มบี ุตรแม่จงึ หามาใหอ้ กี และมลี ูกเมยี หลวงอฉิ าจงึ คดิ ฆา่ ทงั้ แม่และลูก
และเกดิ ความอาฆาตของเมยี น้อย ชาตติ ่อมาทงั้ เกดิ เป็นไก่และแมว แมวจงึ กนิ ไก่และไข่ ต่อมาเกดิ
เป็นเสอื และกวาง เสอื จงึ กนิ ลูกและกวาง ชาตสิ ุดทา้ ยเกดิ เป็นคนและเป็นยกั ษณิ พี อฝ่ายทเ่ี กดิ เป็น
คนและมลี ูกยกั ษิณีก็กินลูกถงึ สองครงั้ ต่อมาพอมคี รรภ์ท่สี ามจงึ ไปอยู่กบั พ่อแม่เม่ือคลอดเห็นว่า
ปลอดภยั จงึ จงึ พาสามแี ละลกู กลบั วดั มหาวหิ าร ซง่ึ พอดกี บั ท่พี ระพุทธเจา้ กําลงั เทศนาอย่นู างจงึ นํา
ลูกและสามเี ขา้ ขอชวี ติ ยกั ษ์จะเขา้ ไปในเขตวดั ไม่ไดเ้ พราะเทวดากนั้ ทาง พระพุทธเจา้ จงึ ให้พระ
อานนทเ์ รยี กยกั ษ์มาฟงั ธรรมเพ่อื ไมใ่ หพ้ ยาบาทจองเวรกนั แลว้ ใหย้ กั ษ์ไปอย่ทู ห่ี วั ไร่ปลายนาเพราะ
มคี วามรเู้ กย่ี วกบั น้ํา ฝนดเี พ่อื แจง้ ใหช้ าวเมอื งทราบจงึ เกดิ ความนบั ถอื มากมกี ารนําอาหารไปส่งโดย
สม่าํ เสมอแล้วนางยกั ษ์ก็นําไปเป็นสลากภตั แด่ภกิ ษุวนั ละแปดทเ่ี ป็นประจาํ ๖๐ ชาวอสี านจงึ ถอื การ
ถวายสลากภตั หรอื บุญขา้ วสากน้เี ป็นปะเพณสี บื มาและนอกจากจะเอาข้าวสากไปถวายภกิ ษุและวาง
บรเิ วณวดั เพ่อื อุทศิ กุศลแก่ญาตพิ นี ้องผู้ล่วงลบั ชาวนายงั เอาอาหารไปเลย้ี งนางยกั ษ์หรอื นางผเี สอ้ื
นาในบรเิ วณนาของตนแต่เรยี กวา่ ตาแฮก

โดยเมอื ถงึ วนั ขน้ึ ๑๕ ค่าํ เดอื น สบิ จะมกี ารทาํ บุญตกั บาตรทว่ี ดั ถวายทานอุทศิ ส่วนกุศล
ใหญ้ าตผิ ลู้ ่วงลบั ตอนเพลจะทาํ เป็นสํารบั พานอาหารถวายอกี หรอื ถวายสลากภตั และการจบั สลาก
ใบแรกมกั เป็นสนใจแก่ชาวบา้ นมาเพราะหากจบั ไดข้ องคนทม่ี ฐี านะไมค่ อ่ ยดกี จ็ ะทาํ นายตามนนั้ หาก

๖๐ ข.ุ ธ.อ. (บาล)ี ๑/๔๒-๔๙. กาลยี กฺขนิ ยี า อุปปฺ ตฺตวิ ตฺถุ.

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๙๙ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

จบั ไดผ้ มู้ ฐี านะดกี ท็ าํ นายวา่ ขา้ วกลา้ ในนาดี อุดมสมบูรณ์ อยเู่ ยน็ เป็นสุขหลงั จากน้ีกม็ กี ารฟงั เทศน์
ถวายฉลองขา้ วสากและกรวดน้ําอุทศิ กุศลกเ็ สรจ็ พธิ ี

ฮีต บญุ ออกพรรษา

วนั ออกพรรษาหรอื วนั ปวารนา

เป็นวนั ขน้ึ ๑๕ ค่าํ เดอื น ๑๑ เป็นวนั ออกพรรษา วนั ปวารนา เป็นบุญทค่ี วามสําคญั เพราะ
เช่อื ว่าพระสงฆไ์ ดอ้ ยจู่ ําพรรษาเป็นเวลาไตรมาส (๓ เดอื น) ย่อมมคี วามบรสิ ุทธิ ์ จรยิ ธรรมงดงามจะ
มาซง่ึ บญุ และไดบ้ ุญมาก ชาวอสี านเชอ่ื ว่าเหมอื นไดบ้ ุญจาก นิโรธสมาบตั ิ (การออกจากการพกั ผ่อน
ของพระอรหนั ต์) ดงั นัน้ ลูกหลานท่ไี ปทํางานต่างถ่ินจงึ นิยมกกลบั บ้านเพ่อื มาทําบุญน้ีและออก
พรรษากบั พ่อธรรม หรอื ของฮกั ษา ทไ่ี ดเ้ ขา้ ไวใ้ นช่วงบุญเขา้ พรรษา

บญุ น้มี คี วามเป็นมาแยก ๒ ส่วน คอื พธิ สี งฆ์ และพธิ ฆี ราวาส ซง่ึ พธิ สี งฆโ์ ดยพระพุทธเจา้
อนุญาตใหพ้ ระทจ่ี าํ พรราครบไตรมาสสามารกสรรจรไปทต่ี ่างๆ ไดต้ ามความตอ้ งการ แต่ทส่ี ําคญั สุด
คอื พระภกิ ษุเม่อื อยู่ดว้ ยกนั ในท่แี ห่งเดยี วเป็นเวลานาน โอกาสกระทบกระทงั่ กนั ไม่พอใจกนั เกดิ
ความขนุ่ เคอื งแก่กนั ยอ่ มมเี ป็นธรรมดา พระองคจ์ งึ ใหถ้ อื วนั ออกพรรษาเป็น วนั มหาปวารณาเพ่อื ให้
สงฆไ์ ดป้ วารณาตนกบั เพ่อื นพระด้วยกนั ว่าแต่ต่อไปน้ีหากทาํ ผดิ พลาดประการใดขอใหแ้ นะนําจะได้
ปรบั ปรุง ซง่ึ สามารถกล่าวตกั เตอื นกนั ได้ ส่วนของฆราวาสญาตโิ ยมทใ่ี ห้ความสําคญั นนั้ เพราะ
เช่อื กนั ว่าการทาํ บุญกบั พระทอ่ี อกพรรษาแลว้ จะไดบ้ ุญกุศลมากเน่ืองจากพระทอ่ี ย่คู รบไตรมาสไม่ใช่
พระธรรมดามคี วามมนั่ คงในธรรมปฏบิ ตั ิ จงึ มกี ารทําบุญตกั บาตรเทโวขน้ึ ในวนั ออกพรรษาและบาง
แห่งอาจมกี ารไหลเรอื ไฟ จดั งานลอยกระทงหรอื แห่ปราสาทผง้ึ ดว้ ย และเหตุทต่ี อ้ งทําบุญตกั บาตร
เทโวในวนั ออกพรรษา ถอื เอาเหตุการณ์เสดจ็ ลงจากสวรรคข์ องพระพุทธเจา้ ทเ่ี ล่าว่าพระพุทธเจา้
ทรงมคี วามตอ้ งการโปรดพระมารดาทส่ี วรรคตไปอย่สู วรรคแ์ ลว้ ทรงไปจาํ พรรษาอย่ทู น่ี นั่ จนครบไตร
มาสออกพรรษาจงึ กลบั เมอื งมนุษยแ์ ละมพี ุทธศาสนิกชนไปรอรบั และรอใส่บาตรมากมาย จงึ ทาํ ใหผ้ ู้
ทไ่ี ม่สามารถเขา้ ใกลใ้ ส่บาตรไดจ้ งึ มกี ารโยนขา้ วใส่บาตรจงึ ทําใหเ้ กดิ ประเพณกี ารตกั บาตรและโยน
เคร่อื งไทยทานขน้ึ พอถึง ๑๕ ค่ํา เดอื น ๑๑ ชาวบ้านจะร่วมกนั ทําบุญตกั บาตรเทโวทว่ี ดั และฟงั
ธรรมเทศนาและกลางคนื จะจุดประทปี เพ่ือความสว่างไสวพร้อมมกี ารจุดปะทดั เสยี งดงั สนุกสนาน
หวนั่ ไหวดว้ ย

ฮตี บุญกฐนิ กฐนิ คอื ไมส้ ะดงึ ทใ่ี ชส้ าํ หรบั ขงึ ผา้ เวลาจะเยบ็ ผา้ จวี รพระในการเยบ็ ใหส้ ะดวก
ขน้ึ จงึ เป็นทม่ี าของผา้ กฐนิ คอื ผา้ จวี ร สบงหรอื ผา้ นุ่งห่มทจ่ี ะนําไปถวายพระนนั่ เองบุญกฐนิ จงึ คอื
บญุ ทต่ี อ้ งนําเขา้ ไปถวายพระเป็นสําคญั บุญกฐนิ เป็นบุญฮตี สุดทา้ ยของอตี เดอื นสบิ สองของชาว
อสี านชาวอสี านจงึ รดู้ วี า่ ช่วงน้เี ป็นช่วงทต่ี อ้ งนําจวี รไปถวายในชว่ งน้ซี ง่ึ มกี าลเวลา ทเ่ี รยี กว่าเทศกาล
กฐนิ ทก่ี ลายเป็นประเพณีขน้ึ ซง่ึ มคี วามสาํ คญั ต่อชาวอสี านมากทถ่ี อื ว่าเป็นใหอ้ านิสงสแ์ ก่ผทู้ าํ บญุ
อยา่ งมากเพราะจะไดถ้ วายจวี รใหแ้ ก่ภกิ ษุทค่ี รบไตรมาส เท่านนั้ และเป็นบญุ ทอ่ี ยใู่ นชว่ งขา้ วใหมป่ ลา
มนั

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๔๐๐ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

งานบุญกฐิน

ซง่ึ ในสมยั พุทธกาลมพี ระภกิ ษุชาวเมอื ง ปาฐาจาํ นวน ๓๐ รปู เดนิ ทางไปเฝ้าพระพุทธเจา้
ซง่ึ ประทบั อยพู่ ระเชตุวนั มหาวหิ ารเน่ืองจากการเดนิ ทางใกลว้ นั เขา้ พรรษาและหนทางระยะไกลและ
ไมส่ ามารถไปถงึ พระเชตวนั มหาวหิ ารไดจ้ นถงึ กาํ หนดเขา้ พรรษาก่อนจงึ หยดุ จาํ พรรษาทเ่ี มอื งสาเกต
พอออกพรรษาจงึ รบี เขา้ เฝ้าพระพุทธเจา้ แต่ระยะทางไกลพรอ้ มกบั ช่วงฤดูฝนจวี รจงึ เปียก จนถึง
พระเชตะวนั มหาวหิ ารกพ็ ากนั เขา้ เฝ้าพระพุทธเจา้ ทนั ที พอพระองคเ์ หน็ พระทงั้ หลายเปียกจงึ มพี ุทธ
บญั ญตั ใิ ห้ภกิ ษุแสวงหาผ้าและรบั ผ้ากฐนิ ได้ มกี ําหนด ๑ เดอื น นับแต่แรม ๑ ค่ําเดอื น ๑๑ ถึงวนั
เพญ็ เดอื น ๑๒ จงึ มปี ระเพณที อดกฐนิ ต่อๆ กนั มา

โดยสามารถแบ่งจุดมุ่งหมายของฮีตได้ชัดเจน คือบุญเก่ียวกับพระสงฆ์โดยตรง บุญ
ลกั ษณะน้ีมี ๖ บุญ บุญเข้ากรรม บุญข้าวจ่ี บุญเผวส บุญเขา้ พรรษา บุญออกพรรษาและบุญกฐนิ
บุญเก่ยี วกบั การทํามาหากนิ เก่ยี วกบั การขอพรหรอื บวงสรวงสง่ิ ศกั ดสิ ์ ทิ ธใิ ์ หด้ ลบนั ดาลความอุดม
สมบูรณ์ทางธรรมชาติเช่นฟ้าฝน ข้าวปลาอาหาร มบี ุญคูณลานและบุญบงั้ ไฟ บุญเก่ยี วกับขวญั
กาํ ลงั ใจการดาํ รงอาชพี เกย่ี วขอ้ งกบั ความเช่อื ทว่ี ่าสงิ่ สกั ดสิ ์ ทิ ธจิ ์ ะอํานวยความสุข สวสั ดภี าพ มี บุญ
สงกรานต์และบุญซําฮะ บุญเก่ยี วกบั ความกตญั ํู ซง่ึ จะเน้นเกย่ี วกบั การทาํ บุญอุทศิ เป็นสาํ คญั คอื
บุญขา้ วประดบั ดนิ และบุญขา้ วสาก

คลองสิบส่ี หมายถงึ แนวทางปฎบิ ตั วิ ถิ ที างทด่ี ที น่ี ักปราชญ์บรรพบุรุษชาวอสี านวางไว้
เพ่อื ใหผ้ ปู้ กครองนําไปเป็นแนวทางในการปกครอง พ่อแม่นําไปสอนลกู ป่ยู า่ ตายายนําไปสอนหลาน
พระนําไปสอนพุทธศาสนกิ ชนและประชาชนเพ่อื นําไปปฏบิ ตั ิ และเป็นแนวทางปฏบิ ตั ิทม่ี ที งั้ หมด ๑๔
ขอ้ ซง่ึ เป็นแนวปฏบิ ตั ริ ะดบั บุคคลครอบครวั และส่งผลต่อส่วนรวม ซ่งึ ยกได้ ๒ แนวคอื บุคคลทวั่ ไป
และสาํ หรบั ทา้ วพระยาขา้ ราชการผปู้ กครองบา้ นเมอื ง ซง่ึ ความเป็นจรงิ คลองสบิ สม่ี คี วามเป็นมาจาก
ประเทศลาวเพราะกฎหมายมคี ลองสบิ ปรากฎชดั เจน และชาวอสี านก็ใช้ภาษาอกั ษรลาวและคบ
ประชนแก่ก็อ่านออกได้มากทําให้คลองสบิ ส่ถี ูกนําเข้าสู่อสี านได้ง่าย เป็นแบบอย่างฮตี คองจนถงึ
ปจั จบุ นั

คลองสบิ สม่ี หี ลายประเภทต่างกนั แต่สามารถแบง่ ไดม้ ี ๓ ประเภท ไดแ้ ก่ สาํ หรบั ประชาชน
ทวั่ ไป พระสงฆ์ และผปู้ กครองตงั้ ผใู้ หญ่บา้ นจนถงึ มหากษตั รยิ ์

คลอง ๑๔ ประเภท สอนผปู้ กครองเจา้ ฟ้ามหากษตั รยิ ์ เป็นสงิ่ ทช่ี าวลาวไทยนับถอื เคารพ
เหมอื นกนั เป็นศูนยร์ วมจติ ใจ คอื พระมหากษตั รยิ ์ และชาวอสี านจะใหค้ วามเคารพเช่อื ถอื มาก หาก
ผนู้ ํามคี ุณธรรมยงิ่ เคารพและนับถอื มาก ดงั้ นนั้ จงึ บญั ญตั คิ ลองสบิ สข่ี น้ึ เพ่อื ผปู้ กครองจะไดป้ กครอง
จะไดป้ กครองใหป้ ระชาชนอยดู่ มี สี ุข๖๑

๖๑ คณาจารย์ มจร., เทศกาลและพิธีกรรมทางพระพทุ ธศาสนา (เทศกาลและพิธีกรรมภาคอีสาน), หน้า ๑๙๓-๑๙๗.

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๔๐๑ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

คลอง ๑ ผูป้ กครองต้องรจู้ กั แต่งตงั้ อามาตยร์ าชมนตรผี มู้ คี วามรฉู้ ลาดและตงั้ มนั่ ในพรหม
วหิ ารธรรมคอื มคี วามซอื่ สตั ย์ สจุ รติ ไมค่ ตโกงเป็นผปู้ กครองทจี่ ะทาใหบ้ า้ นเมอื งอยเู่ ยน็ เป็นสขุ

คลอง ๒ ผู้ทเี่ ป็นเจา้ ฟ้ามหากษตั รยิ ต์ อ้ งตงั้ มนั่ ในคุณธรรม ๑๐ ประการ คอื ให้ทาน รกั ษา
ศลี บรจิ าค ซอื่ ตรง อ่อนโยน ความเพยี ร ไมโ่ กรธ ไมเ่ บยี ดเบยี น อดทน ไมป่ ระพฤตผิ ดิ

คลอง ๓ ปีใหมผ่ นู้ าตอ้ งนาน้าอบน้าหอมไปสรงพระตามประเพณี
คลอง ๔ เมอื ถงึ สงกรานตต์ อ้ งมพี ธิ ี แห่พระสงฆ์ สรงน้าพระและพธิ เี ลอื่ นตาแหน่งพระ

คลอง ๕ ตอ้ งทาพธิ สี ่ขู วญั เพอื่ ถวายพระพรแด่พระราชาและสงน้าพระราชา

คลอง ๖ พอวนั ปีใหมป่ ระชาชนทาพธิ ดี มื่ น้าสาบานเพอื่ แสดงความจงรกั ภกั ดตี ่อพระราชา

คลอง ๗ ถงึ เดอื นเจด็ ทาพธิ บี ชู าถวายเครอื่ งสงั เวยแด่เทพารกั ษห์ ลกั เมอื ง เป็นการแกบ้ น

คลอง ๘ จดั ใหม้ พี ธิ ที าขวญั เมอื งสะเดาะเคราะหเ์ มอื งยงิ ปืนหว่านกรวดทรายไล่ภตู ผี

คลอง ๙ ใหท้ าบญุ ขา้ วประดบั ดนิ เพอื่ อุทศิ ส่วนกุศลใหญ้ าติเปรตผลู้ ว่ งลบั ไปแลว้
คลอง ๑๐ ใหท้ าบญุ ขา้ วสากเพอื่ อุทศิ ส่วนกุศลแก่ปยู่ า่ ตายายและญาตพิ นี่ ้องผลู้ ่วงลบั ไป

คลอง ๑๑ ใหท้ าบญุ ออกพรรษามพี ธิ ปี วารณาประทปี โคมไฟตามสถานทตี่ ่างๆลอ่ งเรอื ไฟ

คลอง ๑๒ ใหแ้ ขง่ เรอื เพอื่ บชู าพญานาคทสี่ งิ่ สถติ ใตบ้ าดาล
คลอง ๑๓ ใหม้ พี ธิ สี มโภชแห่แหนพระราชา ทาบญุ ใหท้ าน ฉลองแสดงความจงรกั ภกั ดี

คลอง ๑๔ ใหพ้ ระราชาจดั หาสงิ่ ทที่ าใหบ้ า้ นเมอื งอยดู่ มี สี ุขเป็นปึกแผ่นและเจรญิ ก้าวหน้า
คลองสิบสี่ ประเภทสอนพระสงฆ์ เพื่อเตือนพระสงฆ์ให้ปฏิบตั ิถกู ต้องตามทานอง
ธรรม

คลอง ๑ ใหพ้ ระศกึ ษาพระธรรม ๒๒๗ ขอ้ อยา่ ใหข้ าด
คลอง ๒ ใหด้ แู ลกุฏวิ หิ ารปดั กวาดเชด็ ถอู ยา่ ใหเ้ ศรา้ หมอง
คลอง ๓ ใหก้ ระทาํ ปฏบิ ตั แิ ละสนองศรทั ธาประชาชน
คลอง ๔ ถงึ เดอื นแปดใหเ้ ขา้ พรรษา ๓ เดอื น และเดอื น ๑๒ รบั ผา้ กฐนิ ครบสเ่ี ดอื น
คลอง ๕ ออกพรรษาแลว้ ภกิ ษุตอ้ งเขา้ อยปู่ รวิ าสกรรม
คลอง ๖ ใหถ้ อื บณิ ฑบาตเป็นวตั ร
คลอง ๗ ใหส้ วดมน ทาํ วตั รเจรญิ สมาธทิ ุกคนื อยา่ ขาด
คลอง ๘ วนั พระประชมุ ลงอุโบสถทาํ สงั ฆกรรมไม่ขาด
คลอง ๙ ปีใหมใ่ หน้ ําน้ําสรงพระพทุ ะรปู พระเจดยี ์
คลอง ๑๐ ถงึ ศกั ราชปีใหมพ่ ระเจา้ แผ่นดนิ ใหไ้ หวพ้ ระสรงน้ําในพระราชวงั และทาํ บายศรี
คลอง ๑๑ ใหท้ าํ ตามกจิ นิมนตช์ าวบา้ น

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๔๐๒ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

คลอง ๑๒ ใหส้ รา้ งวดั วาอาราม พระธาตุเจดยี ์

คลอง ๑๓ ใหร้ บั สงิ่ ของทายกใหท้ าน

คลอง ๑๔ พระมหากษัตรยิ ์ ขา้ ราชการขนั้ ผู้ใหญ่มศี รทั ธานิมนต์ใหม้ าประชุมกนั ในพระ
อุโบสถในวนั เพ็ญเดอื นสบิ เอ็ดเป็นงานใหญ่อย่าขาด ชาวอสี านและลาวไดถ้ ือคลองร่วมกนั เป็น
ขนบธรรมเนียมประเพณขี องสงฆท์ ต่ี อ้ งปฏบิ ตั ทิ าํ ใหพ้ ระสงฆข์ องอสี านในอดตี ไม่มปี ญั หาและมพี ระ
อรยิ สงฆเ์ กดิ ขน้ึ มากมายเพราะท่านเคร่งครดั ทําให้วตั รปฏบิ ตั ทิ ่านดงี ามนามาซง่ึ ความสุขคุณธรรม
คาํ สอนทด่ี ี

คลองสิบส่ี ประเภทสอนประชาชนทวั ่ ไป

โดยสรุปไดเ้ ป็นแนวปฏบิ ตั ิ คอื เม่อื ฤดูขา้ วออกรวงเกบ็ ผลผลติ อยา่ พง่ึ นํามารบั ประทานให้
นําไปทาํ บญุ ก่อน อยา่ เป็นคนโลภมาก เหน็ แก่ตวั ใหส้ รา้ งหอบชู าสม่ี มุ บา้ น รวั้ กําแพงวดั ก่อนขน้ึ บน
บา้ นใหล้ า้ งเทา้ เมอ่ื ถงึ วนั พระใหค้ าราวะกอ้ นเสา้ บนั ไดบา้ นประตูบา้ น และนําดอกไมธ้ ูปเทยี นคารา
วะสามี และวนั อุโบสถใหถ้ วายพระสงฆ์ ก่อนนอนใหล้ า้ งเทา้ ใหส้ ะอาด และพอถงึ วนั ดบั ขน้ึ หรอื แรม
๑๕ ค่าํ ใหน้ ิมนต์พระมาเจรญิ พุทธมนตแ์ ละตกั บาตรบา้ น เม่อื พระมาใส่บาตรอย่าใหท้ ่านไดร้ อ และ
เมอ่ื พระเขา้ ปรวิ าสกรรมเสรจ็ ใหถ้ วายดอกไมธ้ ปู เทยี น ภกิ ษุเดนิ ผ่านใหน้ งั่ ลงยกมอื ไหวก้ ่อนพูดดว้ ย
อยา่ เยยี บเงาพระสงฆ์ อย่าเอาอาหารเหลอื กนิ ไปถวายและอยา่ ใหส้ ามกี นิ เพราจะบาปตลอดชาตนิ ้ี
และหน้า และสาคญั เมอื่ ถงึ วนั พระ เข้าพรรษา ออกพรรษา วนั มหาสงกรานต์ หา้ มเสพเมถุน (ร่วม
เพศ) เพราะลกู หลานจะสอนยาก

จากคลองคาํ สอนทก่ี ลา่ วมาถา้ ปฏบิ ตั ไิ ดจ้ ะนํามาซง่ึ ความสงบสขุ

คลองงสิบสี่ประเภทสอนทกุ เพศ ทกุ วยั ทกุ ฐานะ

ฮตี เจา้ คลองขนุ คอื แบบแผน คาํ สอน ทผ่ี ูป้ กครองระดบั สูงพงึ นําไปปฏบิ ตั ิ เพ่อื ให้ไพร่ฟ้า
ประชาชนมคี วามสุข ปกครองดว้ ยความเท่าเทยี มกนั ทกุ คน มคี วามเสมอภาค

ฮตี ทา้ งคลองเพยี คอื เหตุร้ายทงั้ หลายท่เี กดิ ขน้ึ เป็นเพราะผูป้ กครองปล่อยปะละเลยห่าง
จากทศธรรมทําให้ประชาชนละเลยศีลธรรมปญั หาจงึ เกิด ฮีตไพร่คลองนาย คือผู้ปกครองอย่า
อวดอา้ ง อยา่ ลมื ตวั เจา้ นายจะดคี นเดยี วไมไ่ ด้ ไดด้ แี ลว้ อย่าลมื ตวั เป็นใหญ่แลว้ ใหร้ กั ผนู้ ้อยและใคร
ทาํ ดี ไดด้ กี ใ็ หเ้ คารพ

ฮตี บา้ นคลองเมอื ง คอื มุ่งใหท้ ุกคนรจู้ กั อตี สบิ สองคองสบิ สเ่ี พ่อื ทุกคนไดป้ ฏบิ ตั ติ ่อกนั อยา่ ง
มคี วามสุขและผปู้ กครองตอ้ งมใี จเป็นธรรมและกลา้ หาญ

ฮตี ผวั คลองเมยี มงุ่ ใหส้ ามภี รรยาปฏบิ ตั ดิ ตี ่อกนั

ฮตี พอ่ คลองเมยี มงุ่ สอนพ่อแมใ่ หอ้ บรมเลย้ี งดลู กู ใหถ้ กู ทาง

ฮตี ลกู คลองหลาน สอนลูกหลานใหป้ ฏบิ ตั ติ ามขนบธรรมเนียมประเพณี มคี วามยาํ เกรงต่อ
ผใู้ หญ่

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๔๐๓ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ฮตี ใภค้ ลองเขย มงุ่ สอนลกู สะใภแ้ ละลกู เขยใหป้ ฏบิ ตั ติ ่อพ่อตาแม่ยายป่ยู า่ ตายายใหถ้ ูกต้อง
ตามคลองธรรม

ฮตี ป้าคลองลุง สอนใหป้ ้าลุงปฏบิ ตั ติ ่อกนั ญาตพิ น่ี ้องใหด้ ี
ฮตี ปคู่ ลองยา่ ฮตี ตาคลองยาย สอนใหป้ ยู่ าตายายปฏบิ ตั เิ ป็นปชู นยี บุคคลทด่ี ี

ฮตี เฒา่ คลองรแก่มงุ่ สอนคนแก่ทวั่ ไป

ฮตี ปีคลองเดอื น สอนชาวอสี านรกั ษาฮตี สบิ สองคลองสบิ ส่ี

ฮตี ไฮค่ ลองนา มงุ่ สอนใหช้ าวนารจู้ กั รกั ษาดแู ลไรน่ า

ฮตี วดั คลองสงฆ์ มงุ่ สอนใหป้ ฏบิ ตั วิ ตั รฐาก ดแู ลวดั วาอาราม บาํ รงุ สงฆ์

คลองสบิ ส่ี เป็นแนวแบบแผนประพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ องบุคคลกลุ่มต่างๆทใ่ี หผ้ คู้ นตอ้ งปฏบิ ตั ติ าม
จงึ ทาํ ใหส้ งั คมอสี านมคี วามสขุ สงบ รม่ เยน็ ตลอดมา

ฮตี สบิ สอง คลองสบิ ส่ี ถอื ว่าเป็นสง่ิ ทม่ี คี ่าทช่ี าวอสี าน และคนภาคอ่นื ควรเรยี นรู้ แลว้ นําไป
ประยกุ ตใ์ หเ้ กดิ ประโยชน์แก่การปกครอง การอยรู่ ว่ มกนั ของคนในสงั คมได้

จากทกี่ ล่าวมาเกยี่ วกบั วฒั นธรรมและประเพณีท้องถนิ่ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ (อสี าน)
ขา้ งตน้ จะเหน็ ไดว้ ่า

ภาคอสี านเป็นศูนยร์ วมวฒั นธรรมอนั เก่าแก่ซ่งึ ปจั จุบนั สามารถ แบ่งคนอสี านตามเชอ้ื สาย
บรรพบุรษุ ได้ ๓ กลุ่มคอื (๑) ลาว มถี นิ่ ฐานตงั้ แต่เขตจงั หวดั มหาสารคาม รอ้ ยเอด็ (๒) ไทย มถี นิ่
ฐานต่ําลงมาในเขตจงั หวดั นครราชสมี า กลุ่มน้ีมวี ฒั นธรรม ภาษาและประเพณีแตกต่างไปจากพวก
ลาวอสี าน (๓) เขมร มถี นิ่ ฐานทางดา้ นตะวนั ออกในเขตบรุ รี มั ย์ ศรสี ะเกษ

กลุ่มคนในภาคอสี าน เป็นผู้รกั ษาขนบธรรมเนียมประเพณีอย่างเคร่งครดั ยดึ มนั่ ในพุทธ
ศาสนา และวฒั นธรรมประจําท้องถ่ิน นับถอื สง่ิ ศกั ดสิ ์ ทิ ธคิ ์ ู่บ้านคู่เมอื ง ซ่งึ เป็นศูนยร์ วมชาวอีสาน
ตงั้ แต่อดตี จนถงึ ปจั จบุ นั ไดแ้ ก่

๑) การเคารพในพระบรมสารกิ ธาตุ ซง่ึ แสดงถงึ ความสมั พนั ธท์ างศาสนาทม่ี คี วามผกู พนั
กบั ชาวลาวมาอดตี พระบรมธาตุของจงั หวดั ต่างๆ ในภาคอสี าน ทงั้ ในเขต อสี านเหนือและอสี านใต้
จงึ เป็นศนู ยร์ วมทางจติ ใจของชาวอสี าน

๒) การเคารพสกั การะพระปรางคแ์ ละปราสาทต่างๆ กนั เป็นศลิ ปะของขอมทป่ี รากฏใน
บรเิ วณอสี านใต้ แสดงถงึ ความผูกพนั กบั ดนิ แดนของกมั พูชาในประวตั ศิ าสตร์ ดงั เช่น ปราสาทหนิ พิ
มาย ปราสาทเขาพนมรงุ้ เป็นตน้

๓) การเคารพสกั การะอนุสาวรยี ์ท้าวสุรนารีหรอื ย่าโมท่หี น้าประตู เมอื งนครราชสีมา
จงั หวดั นครราชสมี า

ภาคอสี านเป็นทร่ี จู้ กั แพร่หลายทางดา้ นศลิ ปะแบบเขมร โบราณวตั ถุ และโบราณสถานท่ี
สาํ คญั คอื ศลิ าจาํ หลกั ทบั หลงั นารายณ์บรรทมสนิ ธุ์ ปราสาทเขาพนมรงุ้ ปราสาท หนิ เมอื งต่ําซง่ึ ไดร้ บั

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๔๐๔ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

การยกยอ่ งใหม้ คี ณุ คา่ ทางศลิ ปกรรมและสถาปตั ยกรรมแบบเขมรและไดร้ บั การจดทะเบยี นเป็นมรดก
โลกทส่ี าํ คญั

นอกจากนัน้ ชาวอีสานเป็นผู้มีความสามารถในการทอผ้าไทยมา เป็นเวลาช้านาน
ภายหลงั จากไดร้ บั พระมหากรณุ าธคิ ุณจาสมเดจ็ พระนางเจา้ พระบรมราชนิ ีนาถในการสนบั สนุนการ
ทอผา้ ไหมของชาวอสี าน ส่งผลใหม้ กี ารทอผา้ ไทยทม่ี คี ุณภาพสงู อาทิ ผา้ ไหม มดั หม่ี ผา้ ทอพน้ื เมอื ง
ลายขดิ ผา้ ไหมของชาวพไู ทย จงั หวดั นครพนม และผา้ ไหมอาํ เภอมกั ธงชยั เป็นตน้

๗.๖ ภมู ิปัญญาแบบวฒั นธรรมภาคเหนือ (Heritage North Culture)

วฒั นธรรมและประเพณีท้องถิ่นภาคเหนือ

ภาคเหนือ หรือล้านนา ดนิ แดนแห่งความหลากหลายทางประเพณีและวฒั นธรรมท่มี ี
ความน่าสนใจไมน่ ้อยไปกว่าภาคอ่นื ของไทย เพราะเป็นเมอื งทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยเสน่หม์ นต์ขลงั ชวนใหน้ ่า
ข้นึ ไปสมั ผสั ความงดงามเหล่าน้ียง่ิ นัก ส่วนบรรดานักท่องเท่ยี วท่ไี ปเย่ยี มชม ต่างก็ประทบั ใจกบั
สถานทท่ี ่องเทย่ี วมากมายและน้ําใจอนั ลน้ เหลอื ของชาวเหนือ ดงั นนั้ ใครทย่ี งั ไม่มโี อกาสได้ไปเยอื น
ซกั ครงั้ คงตอ้ งไปดสู กั ครงั้

สาํ หรบั ภาคเหนือของไทย มลี กั ษณะภูมปิ ระเทศเป็นเขตภูเขาสลบั พน้ื ทร่ี าบระหว่างภเู ขา
ซง่ึ ผคู้ นอาศยั อยา่ งกระจายตวั แบ่งกนั เป็นกลุ่ม อาจเรยี กว่า กลุ่มวฒั นธรรมล้านนา โดยจะมวี ถิ ชี วี ติ
และขนบธรรมเนยี มเก่าแก่เป็นของตนเองมเี อกลกั ษณ์เฉพาะตวั แต่องคป์ ระกอบทส่ี ําคญั กย็ งั มคี วาม
คลา้ ยคลงึ กนั อยมู่ าก อาทิ สําเนียงการพูด การขบั รอ้ ง ฟ้อนราํ การดาํ รงชวี ติ แบบเกษตรกร การนบั
ถือส่ิงศักดิส์ ิทธิแ์ ละวญิ ญาณของบรรพบุรุษ ความเล่ือมใสในพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทการ
แสดงออกของความรูส้ กึ นึกคดิ และอารมณ์โดยผ่านภาษาวรรณกรรม ดนตรี และงานฝีมอื แมก้ ระทงั่
การจดั งานฉลองสถานทส่ี ําคญั ทม่ี มี าแต่โบราณ เดมิ วฒั นธรรมคนเมอื งหรอื คนลา้ นนา มศี ูนยก์ ลาง
อย่ทู เ่ี มอื งนพบุรศี รนี ครพงิ ค์เชยี งใหม่ ตามช่อื ของอาณาจกั รทม่ี กี ารปกครองแบบนครรฐั ท่ตี งั้ ขน้ึ ใน
พุทธศตวรรษท่ี ๑๘ โดยพญาเมง็ ราย

เน่ืองจากภูมปิ ระเทศส่วนใหญ่ของภาคเหนือเป็นภูขาสูงสลบั กบั แอ่งหุบเขา ทําให้ในฤดู
หนาวมอี ากาศหนาวจดั ในฤดูรอ้ นจะมอี ุณหภูมคิ ่อนขา้ งสูง เพราะอย่หู ่างไกลจากทะเล มปี ่าไมม้ าก
จงึ ถือเป็นแหล่งกําเนิดของแม่น้ําท่สี ําคญั หลายสาย ได้แก่ แม่น้าปิ ง แม่น้ าวงั แม่น้ ายม และ
แม่น้าน่าน มพี น้ื ทร่ี วมทงั้ หมด ๙๓,๖๙๐.๘๕ ตารางกโิ ลเมตร และเม่อื เทยี บขนาดภาคเหนือจะมี
พน้ื ทใ่ี กลเ้ คยี งกบั ประเทศฮงั การมี ากทส่ี ุด แต่จะมขี นาดเลก็ กวา่ ประเทศเกาหลใี ตเ้ ลก็ น้อย

ทงั้ น้ี ภาคเหนือมที งั้ ส้นิ ๑๗ จงั หวดั แบ่งออกเป็น ภาคเหนือตอนบน และภาคเหนือ
ตอนลา่ ง ดงั น้ี

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๔๐๕ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ภาคเหนือ ตอนบน มที งั้ หมด ๙ จงั หวดั ไดแ้ ก่ จงั หวดั เชยี งราย จงั หวดั เชยี งใหม่จงั หวดั
น่าน จงั หวัดพะเยา จงั หวดั แพร่ จงั หวดั แม่ฮ่องสอน จงั หวดั ลําปาง จงั หวดั ลําพูน และจงั หวัด
อุตรดติ ถ์

ภาคเหนือ ตอนล่าง มีทงั้ หมด ๘ จงั หวดั ได้แก่ จงั หวดั ตาก จงั หวดั พษิ ณุโลก จงั หวดั
สุโขทยั จงั หวัดเพชรบูรณ์ จงั หวัดพิจติ ร จงั หวดั กําแพงเพชร จงั หวัดนครสวรรค์ และจงั หวัด
อุทยั ธานี

วฒั นธรรมในท้องถิ่นของภาคเหนือ แบง่ ออกได้ดงั นี้๖๒

วฒั นธรรมทางภาษาถ่ิน ชาวไทยทางภาคเหนือมภี าษาล้านนาท่นี ุ่มนวลไพเราะ ซ่งึ มี
ภาษาพูดและภาษาเขยี นทเ่ี รยี กว่า “คาํ เมอื ง” ของภาคเหนือเอง โดยการพูดจะมสี าํ เนียงทแ่ี ตกต่าง
กนั ไปตามพน้ื ท่ี ปจั จบุ นั ยงั คงใชพ้ ดู ตดิ ต่อสอ่ื สารกนั

วฒั นธรรมการแต่งกาย การแต่งกายพ้นื เมอื งของภาคเหนือมลี กั ษณะแตกต่างกนั ไปตาม

เช้ือชาติของกลุ่มชนคนเมอื ง เน่ืองจากผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์อาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีซ่ึงบ่งบอก
เอกลกั ษณ์ของแต่ละพน้ื ถนิ่

สาํ หรบั หญงิ ชาวเหนือจะนุ่งผา้ ซนิ่ หรอื ผา้ ถุง มคี วามยาวเกอื บถงึ ตาตุ่ม ซง่ึ นิยมนุ่งทงั้ สาว
และคนแก่ ผา้ ถุงจะมคี วามประณีต งดงาม ตนี ซนิ่ จะมลี วดลายงดงาม ส่วนเสอ้ื จะเป็นเสอ้ื คอกลม มี
สสี นั ลวดลายสวยงาม อาจห่มสไบทบั และเกลา้ ผม

ส่วนผชู้ ายนิยมนุ่งนุ่งกางเกงขายาวลกั ษณะแบบกางเกงขายาวแบบ ๓ ส่วน เรยี กตดิ ปาก
วา่ “เตย่ี ว” “เตย่ี วสะดอ” หรอื “เตย่ี วก”ี ทาํ จากผา้ ฝ้าย ยอ้ มสนี ้ําเงนิ หรอื สดี าํ และสวมเสอ้ื ผา้ ฝ้ายคอ
กลมแขนสนั้ แบบผ่าอก กระดุม ๕ เมด็ สนี ้ําเงนิ หรอื สดี าํ ทเ่ี รยี กว่า เสอ้ื ม่อฮ่อม ชุดน้ีใส่เวลาทาํ งาน
หรอื คอจนี แขนยาว อาจมผี า้ คาดเอว ผา้ พาดบ่า และมผี า้ โพกศรี ษะ

ชาวบ้านบางแห่งสวมเส้อื ม่อฮ่อม นุ่งกางเกง สามส่วน และมผี ้าคาดเอว เคร่อื งประดบั
มกั จะเป็นเครอ่ื งเงนิ และเครอ่ื งทอง

ผา้ พน้ื เมอื งของภาคเหนอื
ผา้ ฝ้ายลายปลาเสอื ตอ จงั หวดั นครสวรรค์

ผา้ ไหมลายเพชร จงั หวดั กาํ แพงเพชร

ผา้ พน้ื เมอื งเชยี งแสน ลายดอกขอเครอื (เกย่ี วขอ) จงั หวดั เชยี งราย

ผา้ ตนี จก ลายเชยี งแสน หงสบ์ ้ี จงั หวดั เชยี งใหม่
ผา้ ฝ้ายลายดอกปีกคา้ งคาว จงั หวดั ตาก

ผา้ ไหมลายน้ําไหล จงั หวดั น่าน

๖๒ คณาจารย์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , เทศกาลและพิธีกรรมพระพทุ ธศาสนา, หน้า ๒๐๕-๒๑๕.

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๔๐๖ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ผา้ ฝ้ายลายนกกระจบิ จงั หวดั พจิ ติ ร
ผา้ ฝ้ายมดั หมล่ี ายดอกบบี จงั หวดั พษิ ณุโลก

ผา้ หมอ้ หอ้ ม จงั หวดั แพร่

วฒั นธรรมการกนิ

ชาวเหนือมีวฒั นธรรมการกินคล้ายกบั คนอีสาน คอื กนิ ขา้ วเหนียวและปลารา้ ซง่ึ ภาษา

เหนือเรยี กว่า ข้าวน่ิงและฮ้า ส่วนกรรมวธิ กี ารปรุงอาหารของภาคเหนือจะนิยมการต้ม ป้ิง แกง
หมก ไม่นิยมใช้น้ํามนั ส่วนอาหารขน้ึ ช่อื เรยี กว่าถ้าได้ไปเทย่ี วต้องไปลม้ิ ลอง ได้แก่ น้ําพรกิ หนุ่ม,
น้ําพรกิ อ่อง, น้ําพรกิ น้ําป,ู ไสอ้ วั่ , แกงโฮะ, แกงฮงั เล, แคบหม,ู ผกั กาดจอ ลาบหมู, ลาบเน้ือ, จน้ิ สม้
(แหนม), ขา้ วซอย, ขนมจนี น้ําเงย้ี ว เป็นตน้

นอกจากน้ี ชาวเหนือชอบกนิ หมากและอมเมย่ี ง โดยนําใบเมยี งท่เี ป็นส่วนใบอ่อนมาหมกั
ใหม้ รี สเปรย้ี วอมฝาด เม่อื หมกั ได้ระยะเวลาท่ตี ้องการ จะนําใบเมย่ี งมาผสมเกลอื เมด็ หรอื น้ําตาล
แล้วแต่ความชอบ ซ่งึ นอกจากการอมเมย่ี งแล้ว คนลา้ นนาโบราณมคี วามนิยมสูบบุหรท่ี ่มี วนด้วย
ใบตองกลว้ ยมวนหน่ึงขนาดเท่าน้ิวมอื และยาวเกอื บคบื ชาวบ้านเรยี กจะเรยี กบุหรช่ี นิดน้ีว่า ข้ีโย
หรอื บุหรข่ี โ้ี ย ทน่ี ิยมสบู กนั มากอาจเน่อื งมาจากอากาศหนาวเยน็ เพ่อื ทาํ ใหร้ า่ งกายอบอุ่นขน้ึ

ภมู ิปัญญาด้านวฒั นธรรมที่เกี่ยวกบั ศาสนา-ความเช่ือ

ชาวล้านนา มคี วามผกู พนั อยกู่ บั การนับถอื ผี ซง่ึ เช่อื ว่ามสี ง่ิ เรา้ ลบั ใหค้ วามคุม้ ครองรกั ษาอยู่
ซง่ึ สามารถพบเหน็ ไดจ้ ากการดําเนินชวี ติ ประจําวนั เช่น เมอ่ื เวลาทต่ี ้องเขา้ ป่าหรอื ต้องคา้ งพกั แรม
อยใู่ นปา่ จะนยิ มบอกกล่าวและขออนุญาตเจา้ ท-่ี เจา้ ทางอยเู่ สมอ และเมอ่ื เวลาทก่ี นิ ขา้ วในปา่ จะแบ่ง

อาหารบางส่วนใหเ้ จา้ ทอ่ี กี ดว้ ย เช่นกนั ซง่ึ เหล่าน้ีแสดงใหเ้ หน็ ว่าวถิ ชี วี ติ ทย่ี งั คงผูกผนั อย่กู บั การนบั

ถอื ผสี าง แบง่ ประเภท ไดด้ งั น้ี

-ผบี รรพบรุ ษุ มหี น้าทค่ี ุม้ ครองเครอื ญาตแิ ละครอบครวั

-ผอี ารกั ษ์ หรอื ผเี จา้ ทเ่ี จา้ ทาง มหี น้าทค่ี ุม้ ครองบา้ นเมอื งและชมุ ชน

-ผขี นุ น้ํา มหี น้าทใ่ี หน้ ้ําแก่ไรน่ า

-ผฝี าย มหี น้าทค่ี ุม้ ครองเมอื งฝาย

-ผสี บน้ํา หรอื ผปี ากน้ํา มหี น้าทค่ี ุม้ ครองบรเิ วณทแ่ี มน่ ้ําสองสายมาบรรจบกนั

-ผวี ญิ ญาณประจาํ ขา้ ว เรยี กว่า เจา้ แมโ่ พสพ
-ผวี ญิ ญาณประจาํ แผ่นดนิ เรยี กวา่ เจา้ แมธ่ รณี๖๓

๖๓ ฉตั รทพิ ย์ นาถสุภา และพรพไิ ล เลศิ วชิ า, วฒั นธรรมหมู่บ้านไทย, (กรุงเทพมหานคร : สรา้ งสรรค์, ๒๕๔๑), หน้า
๑๔-๒๒.

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๔๐๗ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ทงั้ น้ี ชาวล้านนาจะมกี ารเลย้ี งผบี รรพบุรุษ ในช่วงระหว่างเดือน ๔ เหนือเป็ง (มกราคม)
จนถงึ ๘ เหนือ (พฤษภาคม) เช่น ทอ่ี ําเภอเชยี งคํา จงั หวดั พะเยา จะมกี ารเลย้ี งผเี ส้อื บา้ นเสอ้ื เมอื ง
ซง่ึ เป็นผบี รรพ บุรุษของชาวไทลอ้ื พอหลงั จากน้ีอกี ไม่นานกจ็ ะมกี ารเลย้ี งผลี วั ะ หรอื ประเพณบี ูชา
เสาอนิ ทขลิ ซง่ึ เป็นประเพณีเก่าแก่ของคนเมอื ง ไม่นบั รวมถงึ การ เลย้ี งผมี ด ผเี มง็ และการเลย้ี งผปี ู่
แสะยา่ แสะของ ชาวลวั๊ ะ ซง่ึ จะทยอยทาํ กนั ต่อจากน้ี

ส่วนช่วงกลางฤดูร้อนจะมกี ารลงเจา้ เขา้ ทรงตามหม่บู ้านต่าง ๆ อาจเป็นเพราะความเช่อื
ท่วี ่าการลงเจา้ เป็นการพบปะพูดคุยกบั ผบี รรพบุรุษ ซ่งึ ในปีหน่ึงจะมกี ารลงเจ้าหน่ึงครงั้ และจะถอื
โอกาสทําพธิ รี ดน้ําดําหวั ผบี รรพบุรุษไปดว้ ย ยงั มพี ธิ เี ลย้ี ง "ผมี ดผเี มง็ " ทจ่ี ดั ขน้ึ ครงั้ เดยี วในหน่ึงปี
โดยจะต้องหาฤกษ์ยามทเ่ี หมาะสม ก่อนวนั เขา้ พรรษา จะทําพธิ อี ญั เชญิ ผเี มง็ มาลง เพ่อื ขอใชช้ ่วย
ปกปกั ษร์ กั ษา คุม้ ครองชาวบา้ นทเ่ี จบ็ ปว่ ย และจดั หาดนตรเี พอ่ื เพมิ่ ความสนุกสนาน

อย่างไรกต็ าม คนล้านนามคี วามเช่อื ในการเลย้ี งผเี ป็นพธิ กี รรมทส่ี ําคญั แมว้ ่าการดําเนิน
ชวี ติ ของจะราบรน่ื ไมป่ ระสบปญั หาใด แต่กย็ งั ไม่ลมื บรรพบุรุษทเ่ี คยช่วยเหลอื ใหม้ ชี วี ติ ทป่ี กตสิ ุขมา
ตงั้ แต่รนุ่ ปู่ยา่ ยงั คงพบเรอื น เลก็ ๆ หลงั เก่าตงั้ อย่กู ลางหมบู่ า้ นเสมอ หรอื เรยี กว่า “หอเจา้ ทป่ี ระจํา
หมู่บ้าน” เม่ือเวลาเดินทางไปยังหมู่บ้านต่าง ๆ ในชนบท ความเช่ือดังกล่าวจึงส่งผลให้
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และพธิ กี รรมต่าง ๆ ของชาวเหนือ เช่น ผู้เฒ่าผูแ้ ก่ชาวเหนือ (พ่ออุ๊ย-
แมอ่ ุ๊ย) เมอ่ื ไปวดั ฟงั ธรรมกจ็ ะประกอบพธิ เี ลย้ี งผี คอื จดั หาอาหารคาว-หวานเซ่น สงั เวยผปี ยู่ า่ ดว้ ย
แม้ปจั จุบนั ในเขตตวั เมอื งของภาคเหนือจะมกี ารนับถอื ผที ่อี าจเปล่ยี นแปลงและเหลอื น้อยลง แต่
อยา่ งไรกต็ ามชาวบา้ นในชนบทยงั คงมกี ารปฏบิ ตั กิ นั อยู่

ประเพณีของภาคเหนือ

ประเพณขี องภาคเหนือ เกดิ จากการผสมผสานการดําเนินชวี ติ และศาสนาพุทธความเช่อื
เรอ่ื งการนบั ถอื ผี สง่ ผลทาํ ใหม้ ปี ระเพณที เ่ี ป็นเอกลกั ษณ์ของประเพณที จ่ี ะแตกต่างกนั ไปตามฤดกู าล
ทงั้ น้ี ภาคเหนือจะมีงานประเพณีในรอบปีแทบทุกเดือน จงึ ขอยกตัวอย่างประเพณีภาคเหนือ
บางสว่ นมานําเสนอดงั น้ี

สงกรานต์งานประเพณี ถอื เป็นช่วงแรกของการเรม่ิ ต้นปี๋ใหม่เมอื ง หรอื สงกรานต์งาน
ประเพณี โดยแบง่ ออกเป็น

วนั ท่ี ๑๓ เมษายน หรือวนั สงั ขารล่อง ถอื เป็นวนั ส้นิ สุดของปี โดยจะมกี ารยงิ ปืน ยงิ
สะโพก และจดุ ประทดั ตงั้ แต่ก่อนสว่างเพ่อื ขบั ไล่สง่ิ ไม่ดี วนั น้ีตอ้ งเก็บกวาดบา้ นเรอื น และ ทาํ ความ
สะอาดวดั

วนั ท่ี ๑๔ เมษายน หรือวนั เนา ตอนเชา้ จะมกี ารจดั เตรยี มอาหาร และเคร่อื งไทยทาน
สําหรบั งานบุญในวนั รุ่งขน้ึ ตอนบ่ายจะไปขนทรายจากแม่น้ําเพ่อื นําไปก่อเจดยี ์ทรายในวดั เป็น
การทดแทนทรายทเ่ี หยยี บตดิ เทา้ ออกจากวดั ตลอดทงั้ ปี

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๔๐๘ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

วนั ที่ ๑๕ เมษายน หรือวนั พญาวนั เป็นวนั เรม่ิ ศกั ราชใหม่ มกี ารทําบุญถวายขนั ขา้ ว
ถวายตุง ไมค้ า้ํ โพธทิ ์ ว่ี ดั สรงน้ําพระพทุ ธรปู พระธาตุและรดน้ําดาํ หวั ขอพรจากผใู้ หญ่ทเ่ี คารพนบั ถอื

วนั ท่ี ๑๖-๑๗ เมษายน หรอื วนั ปากปี และวนั ปากเดือน เป็นวนั ทาํ พธิ ที างไสยศาสตร์
สะเดาะเคราะห์ และบูชาสง่ิ ศกั ดสิ ์ ทิ ธติ ์ ่างๆ ทงั้ น้ี ชาวลา้ นนามคี วามเช่อื ว่า การทําพธิ สี บื ชะตาจะ
ช่วยต่ออายุใหต้ น เอง ญาตพิ น่ี ้อง และบ้านเมอื งให้ยนื ยาว ทําใหเ้ กดิ ความเจรญิ รุ่งเรอื งและความ
เป็นสริ มิ งคล โดยแบ่งการสบื ชะตาแบ่งออกเป็น ๓ ประเภท คอื การสบื ชะตาคน, การสบื ชะตาบา้ น
และการสบื ชะตาเมอื ง

แห่นางแมว ระหว่างเดอื นพฤษภาคมถงึ สงิ หาคม เป็นชว่ งของการเพาะปลกู หากปีใดฝน
แลง้ ไม่มนี ้ํา จะทําใหน้ าขา้ วเสยี หาย ชาวบา้ นจงึ พง่ึ พาสง่ิ เหนือธรรมชาติ เช่น ทําพธิ ขี อฝนโดยการ
แหน่ างแมว โดยมคี วามเช่อื กนั วา่ หากกระทาํ เช่นนัน้ แลว้ จะชว่ ยใหฝ้ นตก

ประเพณีปอยน้อย/บวชลกู แกว้ /แหล่ส่างลองเป็นประเพณบี วช หรอื การบรรพชาของชาว
เหนือ นิยมจดั ภายในเดอื นกุมภาพนั ธ์ มนี าคม หรอื เมษายน ตอนช่วงเชา้ ซง่ึ เก็บเก่ยี วพชื ผลเสรจ็
แลว้ ในพธิ บี วชจะมกี ารจดั งานเฉลมิ ฉลองอยา่ งยงิ่ ใหญ่ มกี ารแหง่ ลกู แกว้ หรอื ผบู้ วชทจ่ี ะแต่งตวั อยา่ ง
สวยงามเลยี นแบบเจา้ ชายสทิ ธตั ถะ เพราะถอื คตนิ ิยมว่าเจา้ ชายสทิ ธตั ถะไดเ้ สดจ็ ออกบวชจนตรัสรู้
และนิยมให้ลูกแก้วขม่ี า้ ขช่ี ้าง หรอื ขค่ี อคน เปรยี บเหมอื นมา้ กณั ฐกะมา้ ทรงของเจา้ ชายสทิ ธตั ถะ
ปจั จบุ นั ประเพณบี วชลกู แกว้ ทม่ี ชี อ่ื เสยี ง คอื ประเพณบี วชลกู แกว้ ทจ่ี งั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน

ประเพณีปอยหลวง หรอื งานบญุ ปอยหลวง เป็นเอกลกั ษณ์ของชาวลา้ นนาซง่ึ เป็นผลดตี ่อ
สภาพทางสงั คม ถอื วา่ เป็นการใหช้ าวบา้ นไดม้ าทาํ บุญร่วมกนั รว่ มกนั จดั งานทําใหเ้ กดิ ความสามคั คี
ในการทํางาน งานทาํ บุญปอยหลวงยงั เป็นการรวมญาตพิ น่ี ้องทอ่ี ย่ตู ่างถน่ิ ไดม้ โี อกาสทําบุญรว่ มกนั
และมกี ารสบื ทอดประเพณที เ่ี คยปฏบิ ตั กิ นั มาครงั้ แต่บรรพชนไมใ่ หส้ ญู หายไปจากสงั คม

ช่วงเวลาจดั งานเรมิ่ จากเดอื น ๕ จนถึงเดอื น ๗ เหนือ (ตรงกบั เดอื นกุมภาพนั ธ์ ถึง
เดอื นเมษายนหรอื เดอื นพฤษภาคมของทกุ ปี)ระยะเวลา ๓-๗ วนั

ประเพณีย่ีเป็ ง (วนั เพญ็ เดอื นย่)ี หรอื งานลอยกระทง โดยจะมงี าน “ตามผางผะต้ปิ ” (จุด
ประทปี ) ซง่ึ ชาวภาคเหนอื ตอนล่างจะเรยี กประเพณนี ้วี ่า “พธิ จี องเปรยี ง” หรอื “ลอยโขมด” เป็นงานท่ี
ขน้ึ ชอ่ื ทจ่ี งั หวดั สุโขทยั

ประเพณีลอยกระทงสายหรอื ประทปี พนั ดวง ท่จี งั หวดั ตาก ในเทศกาลเดยี วกนั ด้วยใน
เดอื น ๓ หรอื ประมาณเดอื นธนั วาคม มปี ระเพณีตงั้ ธรรมหลวง (เทศน์มหาชาต)ิ และทอดผา้ ปา่ ใน
ธนั วาคมจะมกี ารเกย่ี ว “ขา้ วดอ” (คอื ขา้ วสุกก่อนขา้ วปี) พอถงึ ขา้ งแรมจงึ จะมกี ารเกย่ี ว “ขา้ วปี”

ประเพณีลอยโคม ชาวล้านนาจงั หวดั เชยี งใหม่ ทม่ี คี วามเช่อื ในการปล่อย โคมลอยซ่งึ ทํา
ดว้ ยกระดาษสาตดิ บนโครงไมไ้ ผ่แลว้ จุดตะเกยี งไฟตรงกลาง เพ่อื ใหไ้ อความรอ้ นพาโคมลอยขน้ึ ไป
ในอากาศเป็นการปล่อยเคราะหป์ ลอ่ ยโศกและเรอ่ื งรา้ ยๆ ต่างๆ ใหไ้ ปพน้ จากตวั

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๔๐๙ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ประเพณีตานตุง ในภาษาถ่ินล้านนา ตุง หมายถึง “ธง” จุดประสงค์ของการทําตุงใน
ลา้ นนากค็ อื การทาํ ถวายเป็นพุทธบชู า ชาวลา้ นนาถอื ว่าเป็นการทําบุญอุทศิ ใหแ้ ก่ผทู้ ล่ี ่วงลบั ไปแลว้
หรอื ถวายเพ่อื เป็นปจั จยั ส่งกุศลใหแ้ ก่ตนไปในชาตหิ น้า ด้วยความเช่อื ท่วี ่า เม่อื ตายไปแลว้ ก็จะได้
เกาะยดึ ชายตุงขน้ึ สวรรคพ์ น้ จากขมุ นรก วนั ทถ่ี วายตุงนนั้ นิยมกระทาํ ในวนั พญาวนั ซง่ึ เป็นวนั สุดทา้ ย
ของเทศกาลสงกรานต์

ประเพณีกรวยสลาก หรอื ตานก๋วยสลาก เป็นประเพณขี องชาวพุทธทม่ี กี ารทําบุญใหท้ าน
รบั พรจากพระ จะทาํ ใหเ้ กดิ สริ มิ งคลแก่ตนและอุทศิ ส่วนกุศลใหแ้ ก่ผลู้ ่วงลบั ไปแลว้ เป็นการระลกึ ถงึ
บญุ คุณของผมู้ พี ระคุณ และเป็นการแสดงออกถงึ ความสามคั คขี องคนในชมุ ชน

ประเพณีขึน้ ขนั ดอกอินทขิล บชู าเสาหลกั เมอื งเชยี งใหม่

ประเพณีงานประเพณีนบพระเล่นเพลง ในแผ่นดนิ พระเจา้ ลไิ ท วดั พระแก้ว อุทยาน
ประวตั ศิ าสตรก์ ําแพงเพชร

ประเพณีงานประเพณีแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้าโพ เพ่อื เป็นการเคารพสกั การะเจา้ พ่อ-
เจา้ แมป่ ากน้ําโพ

ประเพณีลอยกระทงสาย เพ่อื บชู าแม่คงคา ขอขมาทไ่ี ดท้ ง้ิ สง่ิ ปฏกิ ูลลงในน้ําและอธษิ ฐาน
บชู ารอยพระพุทธบาท

ประเพณีแล้อปุ๊ ๊ ะดะก่า เป็นการเตรยี มอาหารเพ่อื นําไปถวาย (ทําบุญ) ขา้ วพระพุทธในวนั
พระของชาวไทยใหญ่

ประเพณีทอดผ้าป่ าแถว เป็นวนั ท่พี ุทธศาสนิกชนจะได้ถวายเคร่อื งนุ่งห่มและไทยธรรม
เป็นเคร่อื งบูชาแด่พระสงฆก์ ่อนจะทําพธิ ลี อยกระทงบูชาพระพุทธบาทตามคตคิ วามเช่อื แต่โบราณ
กระทาํ ในวนั ขน้ึ ๑๕ ค่าํ เดอื น ๑๒ (วนั ลอยกระทง)

ประเพณีขึน้ ธาตเุ ดือนเก้า ประมาณเดอื นมถิ ุนายน (หรอื ปลายเดอื นพฤษภาคม) เพ่อื บูชา
พระบรมสารรี กิ ธาตุแหง่ องคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พุทธเจา้

ประเพณีแข่งเรือยาว จงั หวดั น่าน

ประเพณีเวียนเทียนกลางน้า วดั ตโิ ลกอาราม จงั หวดั พะเยา

ประเพณีลอยกระทงสาย ไหลประทปี พนั ดวง จงั หวดั ตาก

ประเพณีทานหลวั ผิงไฟ คอื ประเพณีการถวายฟืนแก่พระสงฆ์เพ่อื ใช้จุดไฟในช่วงฤดู
หนาว จะกระทาํ ในเดอื น ๔ เหนือหรอื ตรงกบั เดอื นมกราคม

ประเพณีอู้สาว คําว่า “อู้” เป็นภาษาไทยภาคเหนือแปลว่า “พุดกนั คุยกนั สนทนากนั
สนทนากนั ” ดงั นนั้ “อสู้ าว” กค็ อื พดู กบั สาว คุยกบั สาว หรอื แอ่วสาวการอู้สาวเป็นการพดคุยกนั เป็น
ทาํ นองหรอื เป็นกวโี วหาร

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๔๑๐ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

นอกจากงานเทศกาลประจาํ ทอ้ งถนิ่ แล้ว ยงั มปี ระเพณคี วามเช่ือดงั้ เดมิ ของชนชาตไิ ทย
เผา่ ต่างๆ ในพน้ื ท่ี เช่น ไทยยวน ไทยลอ้ื ไทยใหญ่ ไทยพวน ลวั ะ และพวกแมง ไดแ้ ก่ ประเพณกี นิ
วอของชาวไทยภเู ขาเผ่าลซี อ ประเพณบี ุญกําฟ้าของชาวไทยพวนหรอื ไทยโขง่

เพลงพืน้ บา้ นในภาคเหนือ

วฒั นธรรมเพลงพ้นื บ้านท้องถ่ินในของภาคเหนือ เน้นความเพลงท่มี คี วามสนุกสนาน
สามารถใชร้ อ้ งเล่นไดท้ ุกโอกาส ไม่จํากดั ฤดู ไม่จํากดั เทศกาล ส่วนใหญ่นิยมใช้รอ้ งเพลงเพ่อื ผ่อน
คลายอารมณ์ และการพกั ผ่อนหย่อนใจ โดยลกั ษณะการขบั รอ้ งและท่วงทํานองจะ อ่อนโยน ฟงั ดู
เนิบนาบนุ่มนวล สอดคล้องเคร่อื งดนตรหี ลกั ไดแ้ ก่ ป่ี ซงึ สะล้อ เป็นต้น นอกจากน้ียงั สามารถจดั
ประเภทของเพลงพน้ื บา้ นของภาคเหนอื ได้ ๔ ประเภท ดงั น้ี

เพลงซอ คอื การรอ้ งเพลงร้องโต้ตอบกนั ระหว่างชายหญงิ เพ่อื เก้ยี วพาราสกี นั โดยมกี าร
บรรเลงป่ี สะลอ้ และซงึ เคลา้ คลอไปดว้ ย

เพลงค่าว ซง่ึ เป็นบทขบั รอ้ งทม่ี ที าํ นองสงู ต่าํ ไพเราะ

เพลงจอ๊ ย คลา้ ยการขบั ลํานํา โดยมผี ู้ร้องหลายคน เป็นการนําบทประพนั ธ์ของภาคเหนือ
นํามาขบั ร้องเป็นทํานองสนั้ ๆ โดยเน้ือหาเป็นการระบายความในใจ แสดงอารมณ์ความรกั ความ
เงยี บเหงา ทงั้ น้ี มผี ขู้ บั รอ้ งเพยี งคน เดยี ว โดยจะใชด้ นตรบี รรเลงหรอื ไม่กไ็ ด้ ยกตวั อย่างเช่น จอ๊ ย
ใหก้ บั คนรกั รคู้ นในใจ จ๊อยประชนั กนั ระหว่างเพ่อื นฝงู และจ๊อยเพ่อื อวยพรในโอกาสต่างๆ หรอื จ๊อย
อําลา

เพลงเดก็ มลี กั ษณะคลา้ ยกบั เพลงเดก็ ของภาคอ่นื ๆ คอื เพลงกล่อมเดก็ เพลงปลอบเดก็ และ
เพลงท่เี ด็กใช้ร้องเล่นกนั ได้แก่ เพลงกล่อมลูก หรอื เพลงฮ่อื ลูก และเพลงสิกจุ่ง-จา (สกิ จุ่ง-จา
หมายถงึ เล่นชงิ ชา้ ) ซง่ึ การสกิ จุ่งจาเป็นการละเล่นของภาคเหนือ จะผูเ้ ล่นมกี ค่ี นก็ได้ โดยชงิ ชา้ ทํา
ดว้ ยเชอื กเส้นเดยี วสอดเขา้ ไปในรกู ระบอกไมซ้ าง แลว้ ผูกปลายเชอื กทงั้ สองไว้กบั ตน้ ไมห้ รอื ใต้ถุน
บา้ น

ส่วนวธิ เี ล่น คอื แกว่งชงิ ช้าไปมาใหส้ ูงมาก ๆ บทรอ้ งประกอบผู้เล่นจะรอ้ งตามจงั หวะท่ี
ชงิ ชา้ แกว่งไกวไปมาดงั น้ี

“สกิ จุ่งจา อีหล้าจุ่งจ๊อย ขน้ึ ดอยน้อย ขน้ึ ดอยหลวง เก็บผกั ขข้ี วง ใส่ซา้ ทงั ลุ่ม เกบ็ ฝกั กุ่ม
ใส่ซา้ ทงั้ สน เจา้ นายตน มาปะคนหน่ึง ตตี ่งึ ตงึ ห้อื อย่าสาวฟงั ควกั ขด้ี งั หอ้ื อยา่ สาวจบู แปงตูบน้อย
หอ้ื อย่าสาวนอน ขผ้ี องขอน หอ้ื อยา่ สาวไหว้ รอ้ ยดอกไม้ หอ้ื อย่าสาวเหน็บ จกั เขบ็ ขบหู ปหู นีบขา้ ง
ชา้ งไลแ่ ทง แมงแกงขบเขย้ี ว เงย้ี วไล่แทง ตกขมุ แมงดนิ ตฆี อ้ งโมง่ ๆ”

นอกจากน้ี มเี พลงกล่อมลูกทภ่ี าคเหนือใชใ้ นการกล่อมลกู หรอื เดก็ จะขน้ึ ต้นดว้ ยคําว่า “สิ
กจุ้งจาโหน” แล้วยงั มกั จะข้นึ ต้นด้วย คําว่า “อ่ือจา” เป็นส่วนใหญ่ จงึ เรยี กเพลงกล่อมเด็กน้ีว่า
เพลงอ่อื ลกู ทาํ นอง และลลี าอ่อื ลกู จะเป็นไปชา้ ๆ ดว้ ยน้ําเสยี งทุม้ เยน็ ตามถ้อยคําทค่ี ดั สรรมา เพ่อื สงั่

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๔๑๑ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

สอน และพรรณาถงึ ความรกั ความห่วงใยลูกน้อย กระทงั่ คําขู่ คําปลอบ หากไม่ยอมนอนหลบั ซง่ึ
เพลงกล่อมเดก็ ภาคเหนือสะทอ้ นใหเ้ หน็ สภาพความเป็นอยู่ สงิ่ แวดล้อม และวฒั นธรรมต่างๆ ของ
คนในภาคเหนอื ตงั้ แต่อดตี จนปจั จบุ นั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี

นิทานพืน้ บา้ น

นิทานของภาคของแต่ละภาคมักเต็มไปด้วยสาระ คติสอนใจ พร้อมความสนุกสนาน
เพลดิ เพลนิ อาจมคี วามแตกต่างกนั ไปตามแต่ลกั ษณะสําคญั ของภูมภิ าค ส่วนนิทานพ้นื บ้านจาก
ภาคเหนือมกั เป็นตํานานของสถานทต่ี ่างๆ หรอื ความเป็นมาและสาเหตุของสถานท่ีเหล่านนั้ เล่าสบื
ต่อกนั มาช้านาน เพ่อื ใหเ้ กดิ ความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ และไดส้ าระทเ่ี ป็นคตสิ อนใจ อาทิ ความดี
ความกตญั ํู ความซ่อื สตั ย์ รวมถงึ ยงั สะท้อนให้เหน็ ถงึ สภาพชวี ติ ความเป็นอยู่ของคนในท้องถน่ิ
ภาคเหนอื อกี ดว้ ย

ยกตวั อยา่ งนิทานพน้ื บา้ นภาคเหนือ ไดแ้ ก่

เรอ่ื ง ลานนางคอย จงั หวดั แพร่

เรอ่ื ง เมอื งลบั แล จงั หวดั อุตรดติ ถ์

เรอ่ื ง เซย่ี งเมย่ี งค่าํ พญา
เรอ่ื ง ป๋ เู ซด็ ค่าํ ลวั ะ

เรอ่ื ง ดนตรธี รรมชาติ

เรอ่ื ง เชยี งดาว

เรอ่ื ง อา้ ยกอ้ งขจ้ี ุ๊

เรอ่ื ง ผาวง่ิ ชู้

เรอ่ื ง ควายลุงคาํ

เรอ่ื ง ยา่ ผนั คอเหนยี ง

เครื่องดนตรีพืน้ บา้ น

สะล้อ หรือทะล้อ เป็นเคร่อื งสายบรรเลง ด้วยการสี ใช้คัน ชักอิสระ ตัวสะล้อท่ีเป็น
แหล่งกําเนดิ เสยี งทาํ ดว้ ยกะลามะพรา้ ว

ซึง เป็นเคร่อื งสายชนิดหน่ึง ใช้บรรเลงดว้ ยการดดี ทําดว้ ยไมส้ กั หรอื ไมเ้ น้ือแขง็ วงสะลอ้
ซอ ซงึ

ขล่ยุ มลี กั ษณะเชน่ เดยี วกบั ขลยุ่ ของภาคกลาง

ปี่ เป็นป่ีลน้ิ เดยี ว ทต่ี วั ลน้ิ ทาํ ดว้ ย โลหะเหมอื นลน้ิ แคน ตวั ป่ีทาํ ดว้ ยไมซ้ าง

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๔๑๒ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ป่ี แน มลี กั ษณะคลายป่ีไฉน หรอื ป่ีชวา แต่มี ขนาดใหญ่กว่า เป็นป่ีประเภท ลน้ิ ค่ทู ําดว้ ยไม้
พณิ เป๊ียะ หรอื พณิ เพยี ะ หรอื บางทกี เ็ รยี กวา่ เพยี ะ หรอื เป๊ียะ กะโหลกทาํ ดว้ ยกะลามะพรา้ ว

กลองเต่งถิ้ง เป็นกลองสองหน้า ทาํ ดว้ ยไมเ้ น้อื แขง็ เช่น ไมแ้ ดง หรอื ไม้ เน้อื อ่อน

ตะหลดปด หรอื มะหลดปด เป็นกลองสองหน้า ขนาดยาวประมาณ ๑๐๐ เซนตเิ มตร

กลองต่ึงโนง เป็นกลองทม่ี ขี นาดใหญ่ทส่ี ดุ ตวั กลองจะยาว มากขนาด ๓-๔ เมตร

กลองสะบดั ชัยโบราณ เดิมใช้ตียามออกศึกสงคราม เพ่อื เป็นสิรมิ งคล และเป็นขวญั
กําลงั ใจใหแ้ ก่เหล่าทหารหาญในการต่อ สูใ้ หไ้ ดช้ ยั ชนะ ซง่ึ ปจั จบุ นั พบเหน็ ในขบวนแห่หรอื งานแสดง
ศลิ ปะพ้นื บ้านในระยะหลงั โดยทวั่ ไป ลลี าในการตมี ลี กั ษณะโลดโผนเรา้ ใจมกี ารใชอ้ วยั วะหรอื ส่วน
ต่างๆ ของร่างกาย เช่น ศอก เข่า ศรี ษะ ประกอบในการตกี ลองดว้ ย ทําให้การแสดงการตกี ลอง
สะบดั ชยั เป็นทป่ี ระทบั ใจของผทู้ ไ่ี ดช้ ม

การแสดงพนื้ เมอื งภาคเหนือ

โอกาสทแ่ี สดงนิยม โชวใ์ นงานพระราชพธิ ี หรอื วนั สาํ คญั ทางศาสนา ตอ้ นรบั แขกบา้ นแขก
เมอื ง งานมงคล และงานร่นื เรงิ ทวั่ ไป ในท่นี ้ีจะแสดงตามความเหมาะสมตามสถานการณ์ ได้แก่
ฟ้อนภไู ท ฟ้อนเทยี น, ฟ้อนเลบ็ หรอื ฟ้อนเมอื ง, ฟ้อนดาบ, ฟ้อนเงย้ี ว, ฟ้อนลาวแพน, ฟ้อนรกั ,
ฟ้อนดวงเดอื น, ฟ้อนดวงดอกไม,้ ฟ้อนมาลยั , ฟ้อนไต, ฟ้อนโยคถี วายไฟ, ระบําชาวเขา, ราํ ลาว
กระทบไม,้ ราํ กลองสะบดั ชยั ๖๔

จะเหน็ ไดว้ า่ ภาคเหนอื ของประเทศไทยนนั้ ประกอบดว้ ยผทู้ ค่ี นหลากหลายชาตพิ นั ธุ์ จงึ ทํา
ให้มภี าษาถ่ินท่ีแตกต่างกัน แต่มสี ่งิ ท่คี ล้ายคลงึ กัน คือความเคารพบรรพบุรุษท่ีล่วงลบั ไปแล้ว
ก่อใหเ้ กิดรากเหงา้ ขนบธรรมเนียม ประเพณี พธิ กี รรม มาถงึ ปจั จุบนั ซ่งึ ชาวเหนือจะมปี ระเพณีท่ี
สอดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ แบง่ สรรตามฤดูกาล แมแ้ ตกต่างกนั กลบั มสี ายใยแห่งชุมชนรอ้ ยรัดผคู้ นใหแ้ น่น
แฟ้นถอื เป็นเสน่หช์ วนใหผ้ คู้ นหลงรกั “ดินแดนล้านนา”

๗.๗ ภมู ิปัญญาแบบวฒั นธรรมไทยภาคใต้ (Southern Thai tradition)

วฒั นธรรมภาคใตภ้ ูมปิ ระเทศของภาคใตม้ เี อกลกั ษณ์เฉพาะ คอื มชี ายฝงั่ ประกบเทอื กเขา
สงู ทอ่ี ยตู่ รงกลาง ซ่งึ ไม่มภี ูมภิ าคอ่นื ๆ ภูมปิ ระเทศเป็นหลกั จงึ เป็นเทอื กเขาและชายฝงั่ เป็นทร่ี าบจะ
มอี ย่เู ป็นแนวแคบๆ แถบชายฝงั่ ทะเล และสองฝงั่ ลําน้ํา การตงั้ ถน่ิ ฐานจะอย่บู รเิ วณชายฝงั่ ทะเลทงั้
ด้านตะวนั ออกและตะวนั ตก จากลกั ษณะทาง ภูมศิ าสตร์ของภาคใต้ ทําให้มคี นท่ตี ่างภาษาต่าง
วฒั นธรรมอยา่ งหลากหลายเดนิ ทางเขา้ มาภาคใตม้ ที งั้ ชาว พุทธ ชาวมสุ ลมิ ต่างเชอ้ื ชาตกิ นั เช่น คน
ไทย คนจนี และผทู้ ม่ี เี ชอ้ื สายมาเลย์ รวมทงั้ ชาวเมอื ง เช่น ชาวเล อาศยั อย่กู นั วฒั นธรรมภาคใต้จงึ

๖๔ คณาจารย์ มจร., เทศกาลและพิธีกรรมพระพทุ ธศาสนา, หน้า ๒๐๕-๒๑๕.

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๔๑๓ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

มรี ูปแบบอนั เป็นเอกลกั ษณ์ท่แี ตกต่างกนั ในแต่ละพ้นื ท่ี ดงั นัน้ ภาคใต้จงึ เป็นสถานท่ที ่องเท่ยี วท่ี
น่าสนใจเพราะมีภูมิศาสตร์ท่ีงดงาม มีชายฝงั้ ทะเลและมีวัฒนธรรมหรือการดํารงชีวิต ท่ีเป็น
เอกลกั ษณ์

วฒั นธรรมท่ีเก่ียวข้องกบั ประเพณีและพิธีกรรม๖๕

ประเพณีชกั พระ เป็นประเพณีทอ้ งถนิ่ ในภาคใต้ตอนกลาง เป็นประเพณีท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั
ความศรทั ธาในพระพุทธศาสนา และวถิ ชี วี ติ ชาวใต้ทม่ี คี วามผูกพนั กบั น้ํา ประเพณีชกั พระหรอื ลาก
พระจดั ข้นึ ในช่วงออกพรรษาโดยเฉพาะในวันแรม ๑ ค่ํา เดือน ๑๑ ด้วยความเช่ือว่าเป็นวันท่ี
พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ กลบั จากสวรรคช์ นั้ ดาว ดงึ ลงมายงั โลกมนุษย์ จงึ มกี ารจดั งานเพ่อื แสดงความยนิ ดี
ประชาชนจงึ อญั เชญิ พระพุทธองคข์ น้ึ ประทบั บนบุษบกท่จี ดั เตรยี มไว้ แล้วแห่แหนไปยงั ทป่ี ระทบั
ส่วนใหญ่จะเป็นการจดั ขบวนทางเรอื แต่บรเิ วณใดท่ี หา่ งไกลแมน่ ้ํากจ็ ะจดั พธิ ที างบก

ประเพณีชกั พระ ประกอบด้วยขบวนเรอื ท่ตี กแต่งอย่างงดงาม บน เรอื ท่มี พี ระพุทธรูป
ประทบั อย่บู นบุษบกเรยี กว่า “เรอื ประทาน หรอื เรอื พนมพระ” ทห่ี วั เรอื มสี ายเชอื กยาวผูกสําหรบั
ลาก เรอื พนมพระนิยม ทําเป็นตวั นาค และบนเรอื ยงั มพี ระสงฆ์นัง่ มาด้วยพธิ จี ะเรมิ่ ตงั้ แต่เช้า มดื
โดยมกี ารจดั ทําสลากและนิมนตพ์ ระวดั ต่างๆ มาชกั ผา้ ป่าทห่ี น้า บา้ นทส่ี ลากระบุ หลงั จากถวายพุ่ม
ผา้ ป่าแล้ว พระผใู้ หญ่ทไ่ี ดร้ บั การ เคารพนับถอื จะทําพธิ ชี กั พระ ดว้ ยการจบั ปลายเชอื กทอ่ี ย่หู วั เรอื
จาก นนั้ กจ็ ะปล่อยใหเ้ รอื ของชาวบา้ นเขา้ ลากจูง ดว้ ยเช่อื ว่าจะไดบ้ ุญมาก เรอื จะถูกชกั ลากไปชา้ ๆ
ตลอดเสน้ ทาง พรอ้ มกบั การตกี ลองประโคม เพ่อื ใหช้ าวบา้ นรวู้ ่าเรอื พนมพระกําลงั ผ่านมา ชาวบา้ น
สองฝงั่ แม่น้ํา จะออกมาตกั บาตรเรยี กว่า “ตักบาตรเทโว” เม่อื เรอื จอดยงั ท่ที ่กี ําหนดไว้แล้ว จะ
อญั เชญิ พระพุทธรปู ขน้ึ ประดษิ ฐานบนโรงพธิ สี งฆ์ เพ่อื ทาํ การสมโภชในวนั รุ่งขน้ึ วนั สุดทา้ ยจะทาํ พธิ ี
อญั เชญิ พระพทุ ธรปู ขน้ึ เรอื กลบั ส่วู ดั หลงั เสรจ็ พธิ ที างศาสนาแลว้ กม็ งี านร่นื เรงิ ของชาวบา้ น คอื “การ
แข่งเรอื ยาว” ประเพณชี กั พระทม่ี ชี ่อื เสยี ง คอื ทจ่ี งั หวดั สุราษฎรธ์ านี ทม่ี แี ม่น้ําตาปีใหค้ วามชุ่มฉ่ําแก่
ชาวบา้ นมาตงั้ แต่อดตี

เม่อื ถึงเช้าตรู่ของวนั แรม ๑ ค่ํา เดอื น ๑๑ จะอาราธนาพระพุทธรูป ข้นึ ประดิษฐานบน
บุษบกเหนอื เรอื พระ นมิ นตพ์ ระภกิ ษุในวดั นนั้ ทงั้ หมดขน้ึ นงั่ ประจาํ เรอื พรอ้ มทงั้ อุบาสกและศษิ ยว์ ดั
ทจ่ี ะตดิ ตาม และประจําเครอ่ื งประโคมอนั มโี พน (กลองเพล) ฆอ้ ง โหม่ง ฉ่ิงฉาบ แลว้ ชาวบา้ นกจ็ ะ
ช่วยกนั ลากเรอื พระออกจากวดั (ภกิ ษุทจ่ี ะรว่ มไปดว้ ย ตอ้ งรบั ฉนั ภตั ตาหารเชา้ ใหเ้ รยี บรอ้ ยเสยี ก่อน)
ถ้าเป็นลากพระทางน้ํา กจ็ ะใชเ้ รอื พายลาก ถ้าเป็นการลากพระทางบก ก็จะใชค้ นเดนิ ลาก แล้วแต่
กรณี ขณะทล่ี ากเรอื พระไป ใครจะมาร่วมแขวนต้มบูชาพระ หรอื ร่วมลากตอนไหนก็ได้ เกอื บทุก
ทอ้ งถนิ่ กาํ หนดใหม้ จี ดุ นดั หมาย เพอ่ื ใหบ้ รรดาเรอื พระทงั้ หมดในละแวกใกลเ้ คยี ง ไปชุมนุมในทเ่ี ดยี ว
กันในเวลาก่อนพระฉันเพล ให้พุทธศาสนิกชนได้มโี อกาส "แขวนต้ม" และถวายภตั ตาหารแก่
พระภกิ ษุสาม เณรไดท้ วั่ ทกุ วดั หรอื มากทส่ี ดุ เท่าทจ่ี ะทาํ ได้ โอกาสน้ีจงึ ก่อใหเ้ กดิ การประกวดประชนั

๖๕ คณาจารย์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , เทศกาลและพิธีกรรมพระพทุ ธศาสนา, หน้า ๑๙๗-๒๐๕.

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๔๑๔ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

กันข้นึ โดยปรยิ าย เช่น การประกวดเรอื พระ การแข่งขนั เรอื พาย การเล่นเรอื โต้แก้จํากัด การ
ประกวดเรอื เพรยี วประเภทต่างๆ เช่น มฝี ีพายมากทส่ี ุด แต่งตวั สวยงามทส่ี ดุ หรอื ตลกขบขนั หรอื มี
ความคดิ รเิ รม่ิ ดมี ี การแข่งขนั ตี โพนประเภทตดี งั ตที น ตีท่าพลกิ แพลงลลี าการตสี วยงาม เป็นต้น
และบางทกี ม็ กี จิ กรรมแปลกๆ เช่น กฬี าซดั ต้ม การประกวดเรอื พระ สมยั ก่อนมกั ใหร้ างวลั เป็นของ
ท่จี ําเป็นสําหรบั วดั เช่น น้ํามนั ก๊าด กา น้ํา ถ้วยชาม สบง จวี ร เสนาสนะสงฆ์ แต่ปจั จุบนั รางวลั
มกั จะใหเ้ ป็น เงนิ สด

สําหรบั ในท้องถน่ิ จงั หวดั ปตั ตานี การชกั พระทางบก ตามท่ผี ู้เฒ่า ผู้แก่เล่าให้ฟงั ว่า วดั
สวุ รรณากร (วดั บอ่ ทอง) วดั โมลนี มิ ติ ร (วดั หรงั่ ) วดั หน้าเกตุ วดั มะกรดู วดั ปรุ าณประดษิ ฐ์ (วดั บ)ู วดั
มะเด่อื งทอง (กาโผะ) วดั สมุทรวารี (ป่าโทะ) วดั โรงวาส และวดั ใกลเ้ คยี งในอําเภอ หนองจกิ อําเภอ
โคกโพธิ ์ จงั หวดั ปตั ตานี และอําเภอเทพา อําเภอจะ นะ อําเภอนาทวี จงั หวดั สงขลา ไดช้ กั ลากพระ
วนั แรม ๑ ค่าํ เดอื น ๑๑ ไปตามเสน้ ทางส่หู น้าทว่ี ่าการอําเภอโคกโพธิ ์ เป็นจดุ หมาย ปลายทาง และ
มกี ารเฉลมิ ฉลองกนั อยา่ งสนุกสนาน มมี หรสพใหช้ ม ตลอดทงั้ คนื มกี ารประกวดเรอื พระ รุง่ เชา้ จะมี
การทาํ บุญเลย้ี งพระ ตกชว่ งบ่ายชกั ชวนกนั ลากพระกลบั วดั ปจั จุบนั ประเพณีชกั พระอําเภอโคกโพธิ ์
มกี ารสมโภชและการเฉลมิ ฉลองกนั เป็นเวลา ๗ วนั ) คนื ซง่ึ เป็นประเพณีทภ่ี าคภมู ใิ จของชาว ไทย
พุทธ ส่วนการชกั พระทางน้ํา ทุกวดั ต้องมกี ารสรา้ งพระเรอื ครวั เรอื พายหญงิ เรอื พายชายตกแต่ง
ประดบั ประดาอย่างสวยงาม และจะมีการลากพระล่วงไปตามลําน้ํายามู สู่บา้ นท่าทราย ใต้ต้นไทร
ใหญ่ กง่ิ ไพศาล รมิ น้ํายามู รวมหม่เู ทยี บเรอื พระสมโภชตกั บาตร เลย้ี งพระเสรจ็ แลว้ มกี ารแขง่ ขนั
เรอื พายหญงิ เรอื พายชาย ไล่สาดน้ํากนั เก้ยี วพาราสี รอ้ งเพลงขบั กล่อมตามประ เพณนี ิยมทอ้ งถน่ิ
จนพลบค่าํ ประเพณลี ากพระไดป้ รบั เปลย่ี นเตมิ แต่ง ต่างออกไปจากเดมิ หลายอยา่ ง เช่น นิยมใชเ้ รอื
หางยาวแทนเรอื เพรยี ว เพราะจากเรอื ขนาดใหญ่ทําเรอื พระไดย้ ากขน้ึ มกี ารใช้ รถยนตม์ าดดั แปลง
แทนล้อเล่อื น มกี ารตกแต่งบุษบกหรอื "นมพระ"ด้วยวสั ดุสมยั ใหม่ เช่น โฟม กระดาษ พลาสติก
หลงั คาซอ้ นกนั เป็น จตุรมขุ กม็ ี บางวดั มกี ารนําเอากลองยาวมาประกอบขบวนแห่

สรปุ สาระสาคญั วฒั นธรรมและประเพณีท้องถิ่นภาคใต้

๑. ประเพณีชกั พระ ทอดผา้ ป่า หรอื ประเพณีลากพระ ช่วงเวลา วนั ลากพระ จะทํากนั ใน
วนั ออกพรรษา คอื วนั แรม ๑ ค่ํา เดอื น ๑๑ โดยตกลงนัดหมายลากพระไปยงั จุดศูนยร์ วม วนั รงุ่ ขน้ึ
แรม ๒ ค่าํ เดอื น ๑๑ จงึ ลากพระกลบั วดั

ประเพณชี กั พระ ทอดผา้ ปา่ หรอื ประเพณลี ากพระ จงั หวดั นครศรธี รรมราช

ความสาํ คญั ประเพณชี กั พระหรอื ลากพระนนั้ เป็นประเพณีทอ้ งถน่ิ ของชาวใต้ ทไ่ี ดม้ กี ารสบื
ทอดกันมาตัง้ แต่สมยั ศรวี ิชยั โดยสันนิษฐานว่าได้เกิดมีข้นึ ครงั้ แรกในประเทศอินเดีย ซ่ึงเป็น
ประเพณคี วามเชอ่ื ของพราหมณ์ศาสนิกชนและพุทธศาสนิกชน มพี ุทธตํานานเล่าขานสบื ทอดกนั มา
ว่า หลงั จากทพ่ี ระพุทธเจา้ ทรงไดท้ รงกระทาํ ยมกปาฏหิ ารยิ ป์ ราบเดยี รถยี ์ ณ ปา่ มะมว่ ง กรงุ สาวตั ถี
และไดเ้ สดจ็ ไปทรงจําพรรษา ณ ดาวดงึ ส์ เพ่อื ทรงโปรดพระพุทธมารดา จนพระพุทธมารดาไดท้ รง

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๔๑๕ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ส้นิ พระชนมล์ ง จงึ ทรงได้เสดจ็ กลบั มายงั โลกมนุษย์ เม่อื พระอนิ ทรท์ รงทราบจงึ ไดน้ ิมติ บนั ไดนาค
บนั ไดแกว้ และบนั ไดเงนิ ทอดลงมาจากสรวงสวรรค์ เม่อื พุทธศาสนิกชนไดท้ ราบจงึ พรอ้ มใจกนั มา
เฝ้ารบั เสดจ็ ทห่ี น้าประตูนครสงั กสั สะ ในตอนเชา้ ของวนั แรม ๑ ค่าํ เดอื น ๑๑ พรอ้ มกบั ไดจ้ ดั เตรยี ม
ภตั ตาหารเพอ่ื ถวายแดพ่ ระพทุ ธองค์

พิธีกรรม

๑. การแต่งนม คาํ ว่า “นมพระ” หมายถงึ พนมพระเป็นพาหนะทใ่ี ชบ้ รรทุกพระลาก นิยม
ทาํ ๒ แบบ คอื ลากพระทางบก เรยี กว่า นมพระ ลากพระทางน้ํา เรยี กว่า 'เรอื พระ' นมพระสรา้ ง
เป็นรา้ นมา้ มไี มส้ องทอ่ นรองรบั ขา้ งลา่ ง ทาํ เป็นรปู พญานาค มลี อ้ ๔ ลอ้ อยใู่ ตต้ วั พญานาค รา้ นมา้ ใช้
ไมไ้ ผ่สานทาํ ฝาผนงั ตกแต่งลวดลายระบายสสี วย รอบๆ ประดบั ดว้ ยผา้ แพรสี ธงรว้ิ ธงสามชาย ธง
ราว ธงยนื ห้อยระยาง ประดบั ต้นกลว้ ย ต้นอ้อย ทางมะพรา้ ว ดอกไมส้ ดทําอุบะหอ้ ยระยา้ มตี ม้ ห่อ
ด้วยใบพ้อแขวนหน้านมพระ ตวั พญานาคประดบั กระจกแวววาวสสี วย ข้างๆ นมพระแขวนโพน
กลอง ระฆงั ฆ้อง ด้านหลงั นมพระวางเก้าอ้ี เป็นท่นี ัง่ ของพระสงฆ์ ยอดนมอย่บู นสุดของนมพระ
ไดร้ บั การแต่งอยา่ งบรรจงดแู ลเป็นพเิ ศษ เพราะความสงา่ ไดส้ ดั ส่วนของนมพระขน้ึ อยกู่ บั ยอดนม

๒. การอญั เชิญพระลากขึ้นประดิษฐานบนนมพระ

พระลาก คอื พระพุทธรปู ยนื แต่ท่นี ิยมคอื พระพุทธรปู ปางอุ้มบาตร เม่อื ถงึ วนั ขน้ึ ๑๕ ค่ํา
เดือน ๑๑ พุทธบรษิ ัทจะสรงน้ําพระลากเปล่ยี นจวี ร แล้วอญั เชิญข้นึ ประดษิ ฐานบนนมพระ แล้ว
พระสงฆจ์ ะเทศนาเร่อื งการเสดจ็ ไปดาวดงึ สข์ องพระพุทธเจา้ ตอนเชา้ มดื ในวนั แรม ๑ ค่าํ เดอื น ๑๑
ชาวบ้านจะมาตกั บาตรหน้านมพระ เรยี กว่า ตกั บาตรหน้าล้อ เสร็จแล้วจงึ อัญเชิญพระลากข้นึ
ประดษิ ฐานบนนมพระ ในตอนน้บี างวดั จะทาํ พธิ ที างไสยศาสตรเ์ พ่อื ใหก้ ารลากพระราบรน่ื ปลอดภยั

๓. การลากพระ

ใช้เชอื กแบ่งผูกเป็น ๒ สาย เป็นสายผูห้ ญิงและสายผู้ชาย โดยใช้โพน (ปืด) ฆอ้ ง ระฆงั
เป็นเครอ่ื งตใี หจ้ งั หวะเรา้ ใจในการลากพระ คนลากจะเบยี ดเสยี ดกนั สนุกสนานและประสานเสยี งรอ้ ง
บทลากพระเพอ่ื ผ่อนแรง ตวั อยา่ ง บทรอ้ งทใ่ี ชล้ ากพระสรอ้ ย : อส้ี าระพา เฮโล เฮโล ไอ้ไหรกลมกลม
หวั นมสาวสาว ไอไ้ หรยาวยาว สาวสาวชอบใจ

ประเพณีชกั พระ ทอดผา้ ป่ า หรอื ประเพณีลากพระ จงั หวดั นครศรีธรรมราช

สาระประเพณลี ากพระ เป็นการแสดงออกถงึ ความพรอ้ มเพรยี ง สามคั คพี รอ้ มใจกนั ในการ
ทาํ บุญทาํ ทาน จงึ ใหส้ าระและความสาํ คญั ดงั น้ี

๑. ชาวบา้ นเช่อื ว่า อานิสงสใ์ นการลากพระ จะทําใหฝ้ นตกตามฤดกู าล เกดิ คตคิ วามเช่อื ว่า
“เม่อื พระหลบหลงั ฝนจะตกหนัก” นมพระจงึ สรา้ งสญั ลกั ษณ์พญานาค เพราะเช่อื ว่าใหน้ ้ํา การลาก
พระจงึ สมั พนั ธเ์ กย่ี วขอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ ของคนในสงั คมเกษตร

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๔๑๖ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๒. เป็นประเพณีทป่ี ฏบิ ตั ติ ามความเช่อื ว่า ใครไดล้ ากพระทุกปี จะไดบ้ ุญมาก ส่งผลใหพ้ บ
ความสําเรจ็ ในชวี ติ ดงั นนั้ เม่อื นมพระลากผ่านหน้าบา้ นของใคร คนทอ่ี ย่ใู นบา้ นจะออกมาช่วยลาก
พระ และคนบา้ นอ่นื จะมารบั ทอดลากพระต่ออยา่ งไมข่ าดสาย

๓. เกดิ แรงบนั ดาลใจ แต่งบทรอ้ ยกรองสําหรบั ขบั รอ้ งในขณะทช่ี ่วยกนั ลากพระ ซง่ึ มกั จะ
เป็นบทกลอนสนั้ ๆ ตลก ขบขนั และโตต้ อบกนั ได้ฝึกทงั้ ปญั ญาและปฏภิ าณไหวพรบิ

เรือพระ คือรถหรือล้อเล่ือนท่ีประดบั ตกแต่งให้เป็นรูปเรอื แล้ววางบุษบก ซ่ึงภาษา

พน้ื เมอื งของภาคใต้เรยี กว่า “นม” หรือ “นมพระ” ยอดบษุ บก เรียกว่า “ยอดนม” ใชส้ ําหรบั
อาราธนาพระพุทธรูปขน้ึ ประดษิ ฐานแลว้ ลากในวนั ออกพรรษา ลากพระทางน้ํา เรยี กว่า “เรือพระ
น้า” ส่วนลากพระทางบก เรยี กว่า “เรือพระบก” สมยั ก่อนจะทาํ เป็นรปู เรอื ใหค้ ลา้ ยเรอื จรงิ ๆ และ
ต้องทําให้มนี ้ําหนักน้อยทส่ี ุด จงึ ใช้ไมไ้ ผ่สานมาตกแต่งส่วนทเ่ี ป็นแคมเรอื และหวั ท้ายเรอื คงทําให้
แน่นหนา ทางดา้ นหวั และทา้ ยทาํ งอนคลา้ ยหวั และทา้ ยเรอื แลว้ ตกแต่งเป็นรูปพญานาค ใชก้ ระดาษ
สเี งนิ สที องทาํ เป็นเกลด็ นาค กลางลําตวั พญานาคทําเป็นรา้ นสงู ราว ๑.๕๐ เมตร เรยี กว่า 'รา้ นมา้ '
สว่ นทส่ี าํ คญั ทส่ี ดุ คอื บุษบก ซง่ึ แต่ละทจ่ี ะมเี ทคนิคการออกแบบบุษบก มกี ารประดษิ ประดอยอยา่ ง
มาก หลงั คาบุษบกนยิ มทาํ เป็นรปู จตุรมขุ ตกแต่งดว้ ยหางหงส์ ช่อฟ้า ใบระกา และทุกครอบครวั ต้อง
เตรยี ม 'แทงตม้ ' เตรยี มหาในกระพอ้ และขา้ วสารขา้ วเหนียวเพอ่ื นําไปทาํ ขนมตม้ “แขวนเรอื พร”'

วฒั นธรรมท่ีเกี่ยวข้องกบั อาหาร อาหารพน้ื บา้ นภาคใตม้ รี สชาตโิ ดด เด่นเป็นเอกลกั ษณ์
เฉพาะสบื เน่ืองจากดนิ แดนภาคใตเ้ คยเป็นศูนยก์ ลางการเดนิ เรอื ค้าขายของพ่อคา้ จากอินเดยี จนี
และชวาในอดตี ทําให้วฒั นธรรมของชาวต่างชาติโดย เฉพาะอนิ เดยี ใต้ซ่งึ เป็นต้นตํารบั ใน การใช้
เครอ่ื งเทศปรงุ อาหารไดเ้ ขา้ มามอี ทิ ธพิ ลอยา่ งมาก อาหารพน้ื บา้ นภาคใต้ทวั่ ไป มลี กั ษณะผสมผสาน
ระหวา่ ง อาหารไทยพน้ื บา้ นกบั อาหารอนิ เดยี ใต้ เช่น น้ํา

บูดู ซ่งึ ได้มาจากการหมกั ปลาทะเลสดผสมกบั เมด็ เกลอื และมคี วามคล้ายคลงึ กบั อาหาร
มาเลเซยี อาหาร ของภาคใตจ้ งึ มรี สเผด็ มากกว่าภาคอ่นื ๆ และดว้ ยสภาพภูมศิ าสตรอ์ ย่ตู ดิ ทะเลทงั้
สองดา้ น มอี าหารทะเล อุดมสมบรู ณ์ แต่สภาพอากาศรอ้ นชน้ื ฝนตกตลอดปี อาหารประเภทแกงและ
เครอ่ื งจม้ิ จงึ มรี สจดั ชว่ ยใหร้ า่ ง กายอบอุ่นป้องกนั การเจบ็ ปว่ ยไดอ้ กี ดว้ ย

การกนิ ลกั ษณะเด่นของการรบั ประทานอาหารของชาวภาคใต้ คอื มผี กั สารพดั ชนิด เป็น
ผกั จม้ิ หรอื ผกั แกลม้ ในการรบั ประทาน อาหารทุกมอ้ื ภาษาทอ้ งถนิ่ เรยี กว่า “ผกั เหนาะ” ความนิยม
ในการรบั ประทานผกั แกลม้ อาหารของชาวใต้ เป็นผลมาจากการท่ี ภาคใต้มพี ชื ผกั ชนิดต่างๆ มาก
และหาไดง้ ่าย คนใตน้ ิยมรบั ประ ทานอาหารเผด็ จงึ ต้องมผี กั แกลม้ เพ่อื ช่วยบรรเทาความเผด็ และ
เพ่อื ชูรสอาหาร อาหารทอ้ งถนิ่ ยงั นิยมใส่ขมน้ิ ในอาหาร นิยมรบั ประทาน “ขนมจนี ” รองจากขา้ ว ใส่
เคยหรอื กะปิเป็น เคร่อื งปรุงรสอาหาร ชาวไทยมุสลมิ นิยมรบั ประทานน้ําบูดู ซง่ึ เป็นน้ําทห่ี มกั จาก
ปลา แล้วนํามาเค่ยี วปรุงรสให้ออกเค็มๆ หวานๆ นับเป็นอาหารท่ขี าดไม่ได้ของชาวไทยมุสลิม
อาหารปกั ษ์ใต้แมจ้ ะเป็นอาหารทอ่ี ร่อย น่าล้มิ ลอง แต่สง่ิ หน่ึงทป่ี ระทบั ใจผูค้ นคอื ความเผด็ รอ้ นของ

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๔๑๗ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

รส ชาตอิ าหารผู้คนในภาคใต้นิยมรสอาหารท่เี ผด็ จดั เคม็ เปร้ยี ว แต่ไม่นิยมรสหวาน รสเผด็ ของ
อาหารปกั ษ์ ใต้มาจากพรกิ ขห้ี นูสด พรกิ ข้หี นูแห้งและพรกิ ไทย ส่วนรสเค็มได้จากกะปิ เกลอื รส
เปรย้ี ว ไดจ้ ากสม้ แขก น้ํา สม้ ลกู โหนด ตะลงิ ปลงิ ระกํา มะนาว มะขามเปียก และมะขามสด เป็นตน้

เน่ืองจากอาหารภาคใต้มรี สจดั อาหารหลายๆ อยา่ งจงึ มผี กั รบั ประทานควบค่ไู ปด้วยเพ่อื
ลดความเผ็ด ร้อนลงซ่งึ คนภาคใต้ เรยี กว่า ผกั เหนาะ หรอื บางจงั หวดั อาจเรยี กว่า ผกั เกรด็ ผกั
เหนาะของภาคใต้มหี ลาย อย่าง บางอย่างก็เป็นผกั ชนิดเดยี วกับภาคกลาง เช่น มะเขอื เปราะ
ถวั่ ฝกั ยาว ถวั่ พู ฯลฯ แต่กม็ ผี กั อกี หลาย อย่างทร่ี จู้ กั กนั เฉพาะคนภาคใตเ้ ท่านนั้ การเสริ ฟ์ ผกั เหนาะ
กบั อาหารปกั ษใ์ ต้ ชนดิ ของผกั จะคลา้ ยๆ กนั หรอื อาจเป็นผกั ทผ่ี รู้ บั ประทานชอบกไ็ ด๖้ ๖

สรปุ ท้ายบท

วฒั นธรรมไทย มคี วามหมายครอบคลุมถงึ ทกุ สงิ่ ทกุ อย่างอนั เป็นแบบแผนในความคดิ และ
การกระทําท่แี สดงออกถึงวิถชี วี ติ ของมนุษยใ์ นสงั คมของกลุ่มใดกลุ่มหน่ึง หรอื สงั คมใดสงั คมหน่ึง
มนุษยไ์ ดค้ ดิ สรา้ งระเบยี บกฎเกณฑว์ ธิ กี ารในการปฏบิ ตั ิ การจดั ระเบยี บตลอดจนความเช่อื ความ
นยิ ม ความรู้ และเทคโนโลยตี ่างๆ ในการควบคมุ และใชป้ ระโยชน์จากธรรมชาติ

วฒั นธรรมเป็นเคร่อื งวัดและเคร่อื งกําหนดความเจริญหรอื ความเส่อื มของสงั คม และ
ขณะเดยี วกนั วฒั นธรรมยงั กําหนดชวี ติ ความเป็นอย่ขู องประชาชนในสงั คม ดงั นัน้ วฒั นธรรมจงึ มี
อทิ ธพิ ลต่อความเป็นอยขู่ องประชาชน และต่อความเจรญิ กา้ วหน้าของประเทศชาตมิ าก

ความสาํ คญั ของวฒั นธรรมไทยอาจสรุปไดด้ งั น้ี

๑) วฒั นธรรมเป็นเคร่อื งสรา้ งระเบยี บแก่สงั คมมนุษย์ วฒั นธรรมไทยเป็นเคร่อื งกําหนด
พฤติกรรมของสมาชิกในสังคมไทย ให้มีระเบียบแบบแผนท่ีชัดเจนรวมถึงผลของการแสดง
พฤตกิ รรมตลอดจนถงึ การสรา้ งแบบแผนของความคดิ ความเช่อื และค่านิยมของสมาชกิ ให้อย่ใู น
รปู แบบเดยี วกนั

๒) วฒั นธรรมทําให้เกดิ ความสามคั คคี วามเป็นอนั หน่ึงอนั เดยี วกนั สงั คมท่มี วี ฒั นธรรม
เดยี วกนั ยอ่ มจะมคี วามรสู้ กึ ผกู พนั เดยี วกนั เกดิ ความเป็นปึกแผ่น จงรกั ภกั ดแี ละอุทศิ ตนใหก้ บั สงั คม
ทาํ ใหส้ งั คมอยรู่ อด

๓) วฒั นธรรมเป็นตวั กําหนดรปู แบบของสถาบนั เช่น รปู แบบของครอบครวั จะเหน็ ได้ว่า
ลกั ษณะของครอบครวั แต่ละสงั คมต่างกนั ไป ทงั้ น้เี น่อื งจากวฒั นธรรมในสงั คมเป็นตวั กําหนดรปู แบบ
เชน่ วฒั นธรรมไทยกาํ หนดเป็นแบบสามภี รรยาเดยี ว ในอกี สงั คมหน่ึงกําหนดว่าชายอาจมภี รรยาได้
หลายคน หรอื หญงิ อาจมสี ามไี ดห้ ลายคน ความสมั พนั ธท์ างเพศก่อนแต่งงานเป็นสงิ่ ทด่ี หี รอื เป็นเรอ่ื ง
ขดั ต่อศลี ธรรม

๖๖ คณาจารย์ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , เทศกาลและพิธีกรรมพระพทุ ธศาสนา, หน้า ๒๐๕-๒๑๕.

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๔๑๘ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๔) วฒั นธรรมเป็นเคร่อื งมอื ช่วยแก้ปญั หา และสนองความต้องการของมนุษย์ มนุษยไ์ ม่
สามารถดํารงชีวิตภายใต้ส่ิงแวดล้อมได้อย่างสมบูรณ์ ดังนัน้ มนุษย์ต้องแสวงหาความรู้จาก
ประสบการณ์ท่ตี นได้รบั การประดษิ ฐ์คิดค้นวิธกี ารใช้ทรพั ยากรนัน้ ให้เกิดประโยชน์ต่อชีวติ และ
ถ่ายทอดจากสมาชกิ รนุ่ หน่งึ ไปสสู่ มาชกิ รนุ่ ต่อไปไดโ้ ดยวฒั นธรรมของสงั คม

๕) วฒั นธรรมชว่ ยใหป้ ระเทศชาตเิ จรญิ กา้ วหน้า หากสงั คมใดมวี ฒั นธรรมทด่ี งี ามเหมาะสม
เชน่ ความมรี ะเบยี บวนิ ยั ขยนั ประหยดั อดทน การเหน็ ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตวั เป็นตน้
สงั คมนนั้ ยอ่ มจะเจรญิ กา้ วหน้าได้อยา่ งรวดเรว็

๖) วฒั นธรรมเป็นเครอ่ื งแสดงเอกลกั ษณ์ของชาติ คาํ ว่าเอกลกั ษณ์ หมายถงึ ลกั ษณะพเิ ศษ
หรือลกั ษณะเด่นของบุคคลหรอื สงั คม ท่ีแสดงว่าสงั คมหน่ึงแตกต่างไปจากอีกสงั คมหน่ึง เช่น
วฒั นธรรมการพบปะกนั ในสงั คมไทย จะมกี ารยกมอื ไหวก้ นั แต่ในสงั คมญป่ี นุ่ ใชก้ ารคาํ นบั กนั เป็นตน้

พธิ กี รรมตามความเช่อื ในแต่ละพน้ื ท่ขี องจงั หวดั ต่างๆ จะมหี ลากหลาย โดยแบ่งออกได้
ดงั น้ี

ภาคเหนือ : มพี ธิ กี รรมต่างๆ เช่น พธิ บี วงสรวงเจา้ พ่อปลาบกึ พธิ บี วชต้นไมข้ องจงั หวดั

เชยี งราย พธิ ดี ําหวั ของเชยี งใหม่ พธิ ถี วายสลากภตั ของสุโขทยั พธิ โี กนจุกของตาก พธิ กี ิ๋นสลากภตั
ของน่าน พธิ ถี อนตนี เสาเฮอื นของแพร่ พธิ เี ลย้ี งผขี องลําพูน พธิ บี ชู าขนั ตงั้ ของลาํ ปาง พธิ แี ฮนโก่จ่า
ของแม่ฮ่องสอน พธิ บี วงสรวงดวงพระวญิ ญาณสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชของเพชรบรู ณ์ พธิ สี รง
น้ําพระสงฆ/์ ห่มผา้ เจดยี พ์ ระบรมธาตุ/พธิ กี วนกระยาสารทของกําแพงเพชร ฯลฯ

ภาคกลาง : กจ็ ะมพี ธิ ตี ่างๆ เช่น พธิ รี าํ เจา้ “ไหวเ้ จา้ พ่อหนุ่ม” นนทบุรี พธิ บี วงสรวงศาล

เจา้ พ่อหลกั เมอื งกาญจนบุรี พธิ กี องขา้ วบวงสรวงชลบุรี พธิ ลี ูกโกศเพชรบุรี พธิ ไี หวน้ างสงกรานต์
ราชบุรี พธิ บี วงสรวงพนั ทา้ ยนรสงิ หส์ มุทรสาคร พธิ ไี หว้พระใหญ่ชาวกะเหรย่ี งอุทยั ธานี พธิ ไี หว้
พระแข สุพรรณบุรี พธิ เี ซ่นผแี ต่งงานตราด พธิ ที ําบุญกลางบ้านปทุมธานี พธิ บี วชของชาวมอญ
สมทุ รสงคราม พธิ บี ายศรพี ระของนครนายก พธิ ไี หวแ้ มย่ า่ นาง ระยอง ฯลฯ

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ : นครราชสมี าพธิ ขี อขมาววั ควาย/พธิ เี รยี กขวญั ขา้ ว เลยพธิ ี
สมโภชนมสั การพระธาตุศรสี องรกั ขอนแก่นพธิ ลี ําผฟี ้า หนองคายพธิ เี ลย้ี งผปี ู่ตา สกลนครพธิ เี ชญิ
วญิ ญาณผู้ตายคนื เรอื นชาวโซ่ง นครพนมพธิ แี สกเต้นสาก สุรนิ ทรพ์ ธิ เี ซ่นสรวงเทวดาด้วยปะตว็ ล
อุดรธานี พิธีทําบุญเล้ียงผีบ้าน มหาสารคามพิธีเซ่ียงข้อง หนองบวั ลําภูพิธีบวงสรวงดวงพระ
วญิ ญาณสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช กาฬสนิ ธุพ์ ธิ บี ายศรสี ขู่ วญั ฯลฯ

ภาคใต้ : นราธวิ าสพธิ สี ระหวั บะดนั ปตั ตานีพธิ ลี าซงั -โต๊ะชุมพุก พงั งาพธิ โี กยห่านภเู ก็ต
พธิ ลี อยเรอื ชาวเล ตรงั พธิ ที าํ เคราะหบ์ า้ น ยะลาพธิ สี วดอุบาทวฟ์ ้า ระนองพธิ สี วดกลางบา้ นสงขลาพธิ ี
สมโภชและสรงน้ําเจา้ แม่หย่หู วั หรอื พธิ ตี ายายย่าน ชุมพรพธิ สี วดมาลยั (ยกั มาลยั ) นครศรธี รรมราช
พธิ แี ห่ผา้ ขน้ึ ธาตุ/พธิ กี วนขา้ วยาค/ู พธิ ที าํ ขวญั เดก็

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๔๑๙ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ทน่ี ํามากล่าวน้เี ป็นตวั อยา่ งของประเพณี พธิ กี รรม และความเช่อื เพยี งบางส่วนเท่านนั้ และ
นอกจากน้ี ในเร่ืองโชคลางก็เป็นอีกความเช่ือหน่ึงท่ีสังคมไทยยังยึดถืออยู่ โดยเช่ือว่าเป็ น
เคร่อื งหมายบอกเหตุรา้ ย เหตุดี ประเดน็ แรก โชคลางนัน้ สงั คมไทยยดึ ถอื และมคี วามเช่อื มาเป็น
เวลาชา้ นานแลว้ กระทงั่ กลายเป็นการตอ้ งปฏบิ ตั แิ ละงดเวน้ การปฏบิ ตั ิ ตวั อย่างเช่นกล่าวว่าถา้ จง้ิ จก
รอ้ งก่อนจะออกจากบา้ น มกี ารแปลความหมายไวต้ ่างๆ นานา ว่าการจะไปทาํ ภารกจิ ทต่ี ั้งเป้าหมาย
ไว้จะเป็นอย่างนัน้ อย่างน้ี หรอื ออกเดนิ ทางจากบา้ นเจอสตั ว์เล้อื ยคลานก็ถอื เป็นโชคลางบอกเหตุ
อย่างนัน้ อย่างน้ีตามความเช่ือของแต่ละชุมชน ความเช่อื และยดึ ถือโชคลางดงั กล่าวยงั มอี ยู่ใน
สงั คมไทย โดยท่สี ภาพสงั คมปจั จบุ นั คนในสงั คมกําลงั ตกอยู่ในสภาวะอ่อนแอทางจติ ขาดทพ่ี ง่ึ ทจ่ี ะ
สรา้ งความแขง็ แกรง่ ทางใจ เสย่ี งต่อการถูกชกั นําให้เช่อื ในสงิ่ ทไ่ี ม่ใช่หลกั ธรรมคาํ สอนทางศาสนาท่ี
ถูกตอ้ งแทจ้ รงิ จากพวกมจิ ฉาชพี

บทท่ี ๘

ภมู ิปัญญาไทยว่าด้วยสภุ าษิตและคาพงั เพย

ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

น.ธ.เอก, ป.ธ.๔, พธ.บ., M.A., Ph.D.(Buddhist Studies)

๘.๑ บทนา

ภาษาถือว่าเป็นวฒั นธรรมวดั การพฒั นาคนได้อย่างหน่ึง มนุษย์เรมิ่ แรกส่อื สารกันด้วย
ภาษากาย ตามเคร่อื งไมเ้ คร่อื งมอื เท่าท่จี ะหาได้จะเหน็ ว่าใช้ไม้ ใช้หนิ ลบั ขดี ไวต้ ามผนังถ้ําเป็นรูป
สตั ว์ รปู คน วาดภาพของสตั วข์ องคนทก่ี ําลงั ทํางาน ทําการล่าสตั ว์ ทําเกษตรกรรม ผเู้ ขยี นเคยตงั้
ขอ้ สงั เกตว่าการแบ่งยคุ ประวตั ศิ าสตรเ์ ป็นยุคหนิ บ้าง ยคุ เหลก็ บา้ งนนั้ เขาใชอ้ ะไรเป็นเกณฑใ์ นการ
ตงั้ ชอ่ื ยคุ เหล่าน้ี แลว้ มาไดข้ อ้ สรปุ ว่าเขาแบ่งชอ่ื ยคุ ตามการใชอ้ ุปกรณ์ดํารงชพี นนั่ คอื การทช่ี ่อื ยุคหนิ
นัน้ ก็เพราะใชห้ นิ เป็นอุปกรณ์ทําเกษตรกรรม เช่นจอบ เสยี ม มดี พรา้ พลวั่ ผลาญ วธิ ใี ช้กค็ อื นํา
ก้อนหนิ ขนาดใดขนาดหน่ึงท่คี ดิ ว่าจะเป็นมดี ไดแ้ ลว้ ไปลบั ไปฝนให้มคี มแลว้ นํามาตดั หญ้า ถางป่า
สบั เน้ือสบั ลาบ ยุคต่อมาเป็นยุคเหล็ก ก็เพราะคนนําเหลก็ มาดดั เป็นเคร่อื งมอื เกษตรกรรม มมี ดี
สอบ เสยี ม เป็นต้น ภาษาก็เช่นเดยี วกนั มนุษยพ์ ฒั นาจากวสั ดุธรรมชาติมาเป็นดนิ สอดํา ต่อมา
เป็นปากกา เป็นพมิ พด์ ดี จนกระทงั่ ว่าเป็นคอมพวิ เตอรใ์ นทส่ี ดุ

คาํ ว่าภาษานัน้ ประกอบดว้ ยภาษาพูดและอกั ษรชนิดชาตพิ นั ธุต์ ่างๆ ท่ใี ช้ส่อื ความหมาย
กนั ในปจั จบุ นั ยงิ่ ไปกวา่ นนั้ ยงั รวมไปถงึ ภาษาดี ภาษาไมด่ ี ภาษาพดู ภาษาเขยี น ภาษาธรรม ภาษา
คน แยกย่อยไปเป็นภาษาพระ ภาษาชาวบา้ น นอกจากภาษาท่เี ป็นภาษาแล้วยงั บอกไปถงึ กริ ยิ า
อาการทห่ี ยาบ ทอ่ี ่อนโยน ทป่ี า่ เถ่อื นหรอื พฒั นามกี ารศกึ ษาแลว้ อกี ดว้ ย ดงั ภาษติ โบราณว่า

“กิริยาส่อภาษา วาจาส่อตระกลู ” (หรอื สําเนียงส่อภาษา กริ ยิ าส่อสกุล) คําว่ากริ ยิ าส่อ
ภาษา ในท่นี ้ีหมายถึงว่าความเป็นประสปี ระสา การรูก้ าลเทศะ การรูก้ ฎรู้เกณฑข์ องสงั คม การมี
มารยาทางสงั คมนนั่ เอง แต่ถา้ ทาํ อะไรไมเ่ ขา้ ทา่ ไมม่ มี ารยาท ไมร่ ทู้ ต่ี ่ําทส่ี ูง ไมม่ สี งั คม คนมกั จะด่า
กนั วา่ ทาํ อยา่ งน้ภี าษาอะไร คาํ ว่าวาจาคอื คาํ พดู ทห่ี ยาบ พูดจาเขา้ พระเขา้ นาง พดู จามรี ะดบั ชนั้ ทาง
สงั คม กจ็ ะแสดงถงึ วา่ เขาคนนนั้ มตี ระกูลดี คอื ไดร้ บั การอบรมมาดี สอนมาดี เป็นมนุษยท์ พ่ี ฒั นาแลว้

“จงทาํ ดแี ต่อยา่ เดน่ จะเป็นภยั ไมม่ ใี ครอยากเหน็ เราเด่นเกนิ ”๑ เป็นคําทค่ี วรคดิ เพ่อื วางจติ
และการวางตนเองใหเ้ หมาะสมขณะทาํ งานร่วมกนั คนใดท่มี จี ติ ใจอจิ ฉาจะมองหาความดขี องคนอ่นื
ไดย้ าก เมอ่ื คนอ่นื ไดด้ แี ลว้ ตนเองรสู้ กึ เดอื ดรอ้ นเพราะใจไม่ยนิ ดชี ่นื ชมคนอ่นื ดงั นนั้ การทํางานกบั
คนอ่นื ควรรจู้ กั ประสาน ทาํ งานดว้ ยความปรารถนาดี เฉลย่ี หรอื มอบความดใี หค้ นอ่นื บา้ ง ถ้าเรายดึ

๑ หลวงวจิ ติ รวาทการ อา้ งใน ลาํ จวน อาจารยี า, คติธรรม คาคม คาพงั เพย, (นนทบรุ ี : ทวพี มิ พด์ ,ี ๒๕๕๕), หน้า ก.

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยว่าดว้ ยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๒๑ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

หลกั ว่างานคอื เคร่อื งพฒั นาจติ ใจไปดว้ ยแลว้ เราจะรจู้ กั การทํางานเพ่อื ลดตวั ตน ซ่งึ ทํายากแต่มคี ่า
ควรทาํ ในสงั คมปจั จบุ นั จะเหน็ ว่าคนทาํ ดบี างทเี หน่อื ยใจ เพราะถกู มองวา่ ทาํ งานเอาหน้า อยากเด่น
อยากดี คนทาํ งานจงึ ต้องยดึ หลกั ทําดเี พ่อื ดที าํ เพ่อื ให้มใิ ช่เพ่อื เอาแล้วจติ ผู้คดิ จะไม่ยอมเป็นสุขและ
เบาใจ เวลาทํางานจะเตม็ ท่ี ดที ส่ี ุด เมอื เหน็ ว่าดแี ลว้ จงึ ปล่อยดี จะไม่ทําใหเ้ ราอวดดี ถอื ดี หลงดยี ดึ
ความดี คดิ ว่างานนนั้ เป็นของตวั เรา เราเก่งถ้าไมม่ เี รางานจะไม่สําเรจ็ อย่างน้ี คดิ อย่างน้ี จติ ใจเบ่ง
พองโต แทนทจ่ี ะเลก็ ลง เพยี งแค่ไดท้ ําความดี เราไดค้ วามอม่ิ เอบิ ใจ สุขใจแลว้ คตชิ วี ติ ในการทาํ งาน
ทค่ี วรยดึ ถอื ปฏบิ ตั เิ พ่อื พฒั นาใจตน คือทํางานอย่ายดึ ในความดขี องตน จงเช่อื ในความดแี ลว้ ลงมอื
ทาํ ความดไี ม่มใี ครเหน็ ใจเราเป็นสุขเพราะเราเหน็ เอง เราเพมิ่ คุณค่าใหต้ นเอง ความดนี ัน้ ใครทํา
คนนนั้ ยอ่ มได้ อาหารเรากนิ เอง เรากอ็ ม่ิ เอง สงิ่ ใดทค่ี ดิ ว่าดี ทาํ ทนั ที วนั น้ีดพี รุ่งน้ีย่อมดี ดว้ ยเหตุผล
ว่าปจั จุบนั เราทําดไี วแ้ ล้ว ปลูกพชื พนั ธ์ดี ปลูกความดไี ว้ในจติ ใจตนแลว้ ย่อมไดผ้ ลดแี น่นอน ด้วย
ความเช่อื มนั่ และปญั ญาทค่ี ดิ ได้

ปญั หาวา่ ภาษาของไทยเราน่ี มหี ลายสาํ เนียงจรงิ ๆ ภาคเหนือกส็ าํ เนียงหน่ึง ภาษาอสี านก็
สําเนียงหน่ึง ภาษาใต้ก็สําเนียงหน่ึง คําๆ เดยี วกนั น้ีก็ยงั พูดกนั ดว้ ยสําเนียงต่างกนั ไป เช่น คําว่า
“พูด” ภาษาคนกลางว่าพูด ภาษาคนภาคเหนือว่า “อู้” ภาษาคนภาคอสี านว่า “เว้า” ภาษาภาคใตว้ ่า
“แหล”้ ถามว่าทาํ ไมจงึ ต่างๆ กนั เช่นน้ี กเ็ พราะสภาพแวดล้อมธรรมชาตมิ ดี นิ ฟ้า อากาศ เป็นต้นมี
อิทธพิ ลอย่างสูงต่อการดํารงชวี ติ มผี ลไปยงั การส่อื สารทางภาษากนั จะเห็นได้ว่า คนในทวีป
แอฟรกิ าผวิ ดําขนั้ สหี มกึ เพราะอย่ใู นภูมปิ ระเทศรอ้ นจดั คนในทวปี เอเซยี ตอนเหนือ เช่นรสั เซยี
ผวิ ขาวจดั เพราะภูมปิ ระเทศท่มี อี ากาศหนาว ไม่ต้องไปมองถึงไกลเอาในประเทศไทยของเราน่ี
แหละ

จะเหน็ ไดว้ ่าคนไทยภาคเหนอื จรงิ เช่นคนจงั หวดั เชยี งใหม่ เชยี งราย ผวิ จะขาว ภาคอสี าน
คนมกั จะผวิ สนี ้ําตาล ส่วนคนภาคใต้ผวิ มกั จะคล้าํ ดาํ มากกว่าคนภาคอ่นื ๆ เพราะภูมปิ ระเทศมเี พยี ง
ฤดคู อื ฤดรู อ้ นกบั ฤดฝู น ไมม่ ฤี ดหู นาวทจ่ี ะใหค้ นผวิ ขาว ดงั นนั้ ดว้ ยเหตุตรรกะเดยี วกนั น้ี สาํ เนียงพูด
ของคนแต่ละภาคจงึ ต่างกนั ไป แต่ในส่วนทว่ี ่า จะนิยมเป็นสุภาษติ เป็นคํากลอนหรอื ไมน่ ัน้ กส็ ุดแท้
แต่สมยั ถา้ เป็นสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาโบราณรชั กาลแผ่นดนิ สมเดจ็ พระนารายณ์กถ็ อื ว่าเป็นยุคทองแห่ง
กวกี ว็ ่าได้ ทงั้ น้ีเพราะสมเดจ็ พระโหราธบิ ดี ผแู้ ต่งหนังสอื จนิ ดามณฉี บบั แรกของไทย ว่าแลว้ ต้นไม้
หล่นไมไ่ กลตน้ ศรปี ราชญ์ โอรสพระโหราธบิ ดกี เ็ ป็นนกั กวที อ่ี มตะมาถงึ ยุคปจั จุบนั แมแ้ ต่ผ่านมาแลว้
เกอื บพนั ปี จะว่าแต่จะแต่งบทกลอนลงในคมั ภรี เ์ ลย แมแ้ ต่ทกั ทายกบั ยามเฝ้าวงั กย็ งั พดู กนั เป็นบท
กลอน รายละเอียดซง่ึ กล่าวต่อไป ดงั นัน้ ในปจั จุบนั ก็จะเห็นไดว้ ่าเป็นคําคมบ้าง คําสุภาษติ บ้าง
บา้ งกแ็ ต่งบทกลอนดว้ ยสาํ เนยี งในทอ้ งถน่ิ นนั้ ๆ

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยวา่ ดว้ ยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๒๒ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๘.๒ ความสนุ ทรียข์ องภาษา

ขน้ึ ช่อื ว่าความสุนทรยี ะ หรอื ศาสตรว์ ่าดว้ ยความงาม หลายคนมองกห็ ลายความงาม ถ้ามี
รอ้ ยคนมองก็มรี อ้ ยความงาม หากเราตงั้ ปญั หา
ถ า ม ว่ า ใ จ คุ ณ มีอุ ด ม ค ติ ใ น ค ว า ม ง า ม อ ย่ า ง ไ ร
คําตอบท่ีได้บางคําตอบอาจจะเป็นว่าผมชอบ
ทิวทัศน์ตามเชิงเขาในยามเย็น เพราะตอนน้ี
อากาศเยน็ ตะวนั ใกลล้ บั ขอบฟ้า มแี สงทองปะทะ
กลบี เมฆ บางส่วนแสงจา้ แต่บางส่วนถูกเมฆฝน
บงั ไว้ ทําให้เกิดความต่างสสี รา้ งอารมณ์สุนทรยี ์

ใหผ้ มมาก ชอบบรรยากาศทส่ี ุด น่กี าํ ลงั อธบิ ายความงามตามธรรมชาติ อกี คนหน่ึงอาจจะตอบว่าผม
ชอบศลิ ปะแบบไทยๆ ชอบปฏมิ ากรรมในพระราชวงั รวมทงั้ วดั วาอารามต่างๆ ไม่ว่าตอนเชา้ ตอน
เยน็ ผมเดนิ ทางไปทาํ งานจะผ่านวดั หลายแห่ง อนั ดบั แรกมองเขา้ ไปในวดั จะเหน็ หลงั คาพระอุโบสถ
ออกสที อง เมอ่ื มองเขา้ ไปมมุ นนั้ บา้ ง ทศิ น้ีบา้ ง จะเหน็ ช่อฟ้าใบระกาหางหงสช์ ูคอชะเงอ้ ตระหง่านอยู่
ดูเหมอื นว่ากําลงั จอ้ งมองเราอยู่ เกดิ ความสะทอ้ นเขา้ มาในใจว่าอจั ฉรยิ ภาพของมนุษยน์ ้ีทําไดอ้ ย่าง
น่าอศั จรรยใ์ จจรงิ ๆ น่เี ป็นความงามจากสงิ่ ประดษิ ฐ์

ความงามเป็นคําแทนความชอบใจ อะไรกต็ ามทเ่ี ราชอบ นัน่ จะงาม และคาํ ว่างามน้ี มคี ํา
ไวพจน์อย่หู ลายคํา เช่นว่า ดี สวย ไพเราะ เป็ นเกียรติประวตั ิแก่สถาบนั และองค์กร คําทใ่ี ช้
เรยี กแทนสง่ิ ทพ่ี งึ พอใจเหลา่ น้มี ลี กั ษณะและใชก้ รณใี ด มตี ่อไปน้ี

คาํ วา่ ดี เป็นคาํ สรปุ เรยี กการยอมรบั เช่นยอมรบั ในรปู รา่ งหน้าตาทม่ี สี ดั ส่วนของหญงิ ของ
ชาย มองเหน็ แต่ไกลแมไ้ ม่รวู้ ่าเป็นใครแต่เขา้ ตา ภาษาตลาดว่า เตะตาบา้ ง สะดุดตาบ้าง หรอื บา้ ง
ครงั้ หน่งึ เราเหน็ คนเดนิ ไป เราเหน็ ดา้ นหลงั เขา รสู้ กึ วา่ ดดู ี แต่งตวั สสี นั เขา้ ท่า ไวผ้ มน่าดู รปู ทรงสม
ส่วนทงั้ ๆ ท่ยี งั ไม่เหน็ ใบหน้า น่ีแสดงว่า จติ เราเปิดรบั และยอมรบั แลว้ ในเบ้อื งต้น ภายหลงั ได้เห็น
หน้าก็ทําให้เปิดใจรบั จนเป็นท่นี ่าพอใจเพมิ่ ข้นึ เม่อื ได้คุยเร่อื งงานเร่อื งการแล้วก็ราบร่นื มกี าร
ปรบั เปลย่ี นทศั นคตเิ ขา้ หากนั ถ้อยทถี ้อยอาศยั กนั แถมมคี วามรสู้ กึ เกรงใจลกึ ๆ อย่ใู นใจ มคี วาม
ระมดั ระวงั ในคาํ พดู น้ําเสยี งสาํ เนียงต้องใหต้ ้องใจอย่เู สมอ มคี วามรสู้ กึ อยเู่ สมอว่าเขามคี ุณค่า มเี ดช
มศี รใี นตวั หากมกี ารร่วมงานร่วมการกันก็ไปด้วย โอกาสท่ีจะขดั หู ขดั ตา และขดั ใจทําให้งาน
ล้มเหลวก็มนี ้อยหรอื ไม่มเี ลย ประเดน็ ท่เี ก่ียวข้องกนั เร่อื งน้ีพระพุทธเจ้าตรสั ไว้ในหวั ขอ้ ธรรมว่า
สมบตั ิ (Accomplishment) คอื ความเพยี บพร้อม ความสมบูรณ์แห่งองค์ประกอบต่างๆ เป็นส่วน
สง่ เสรมิ มสี ่วนช่วยกนั ใหห้ น้าทง่ี านเป็นไปดว้ ยความราบร่นื เหมอื นรถวง่ิ บนถนนลาดยาง ซง่ึ ต่างกบั
วงิ่ บนถนนลกู รงั รถยอ่ มเตน้ กระตุก ถ่วงความเรว็ องคแ์ ห่งสมบตั ทิ ต่ี รงกบั เร่อื งน้ีโดยตรงคอื อุปธิ
สมบตั ิ ซ่งึ หมายถึงสมบตั ิแห่งรูปร่างท่ดี ี มองในระยะสนั้ หมายถึงความมสี ุขภาพดี ในระยะยาว
หมายถงึ มรี า่ งกายสงา่ งาม บุคลกิ ภาพดี สมสว่ น เป็นแบบแห่งรา่ งกายทม่ี มี าตรฐาน

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยวา่ ดว้ ยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๒๓ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

คําว่า ไพเราะ เป็นคําสรุปเรยี กสง่ิ ท่เี ราชอบ เป็นส่ิงท่ดี ขี องการได้ยนิ แมส้ ง่ิ ท่ดี อี ่นื ๆ ก็

เรยี ก ซ่งึ จะได้กล่าวต่อไป จุดเน้นของคําน้ีคอื ความไพเราะซ่งึ เป็นอารมณ์ของหู ความไพเราะท่ี
ตอ้ งการจะมาจากคาพดู บ้าง เสียงดนตรีบ้าง เสียงท่ีเกิดจากธรรมชาติบ้าง คําพูดทไ่ี พเราะ คอื

คําท่ไี ด้ยนิ แล้วพอใจ มคี วามรู้สกึ เป็นบวก เปิดใจรบั เกดิ ความรสู้ กึ ตอบสนองเร่อื งท่เี ขาเสนอมา
ความงามดา้ นคาํ พดู จะเป็นตวั บ่งชถ้ี งึ คนพูดและคนฟงั ดว้ ย คนทพ่ี ูดแลว้ ทาํ ใหค้ นฟงั พอใจกแ็ สดงว่า
มคี วามเขา้ ใจพดู อาจจะพดู โดยนิสยั ทพ่ี ูดดเี สมอ หรอื ล่วงรอู้ ารมณ์และจรติ ของคนฟงั นนั้ ไดอ้ ยา่ งดี

การมองโลก มองคนว่าตามหลกั สุนทรยี ศาสตรแ์ ล้ว กเ็ ป็นหลกั การแห่งการมองโลก

ของมนุษยใ์ หอ้ อกมาในแงด่ ี เป็นการมองโลกเชงิ บวก สรา้ งอารมณ์กบั ทุกอย่างทป่ี ระสบพบเหน็ ดว้ ย
ความท่งึ แสดงความน่าอศั จรรยใ์ จกบั อจั ฉรยิ ภาพของพรรพบุรุษทส่ี รา้ งสงิ่ ท่ีเหลอื เช่อื อย่างน้ีได้
อย่างไร ตวั อย่างเคร่อื งบนิ โดยสาร ซง่ึ มเี คร่อื งยนต์ทไ่ี รจ้ ติ ดูโดยผวิ เผนิ แล้วก็ไม่มอี ะไร ปีกก็ไม่
เหมอื นปีกนก ภายในกเ็ ป็นโพรง แต่บนิ ได้ แถมยงั บรรทุกคนไดเ้ ทย่ี วละ ๓๐๐-๓๕๐ คน รบั น้ําหนกั

ไดเ้ ป็นตนั ๆ อย่างน้ี เม่อื เราคดิ อย่างน้ีจะทําให้แสวงหาคําตอบไปเร่อื ยๆ อย่กู บั โลกน้ีอย่างไม่แห้ง

เหย่ี วไม่ซงั กะตายในชวี ติ หรอื อาจจะทําใจสรา้ งความน่าท่งึ กบั เคร่อื งโทรศพั ท์มอื ถอื ว่าเคร่อื งมอื ท่ี
เลก็ เพยี งน้ี แต่บรรจโุ ปรแกรมมากมาย มโี ปรแกรมคดิ เลข สมุดโทรศพั ท์ ตงั้ เวลา สามารถดูหนงั ฟงั

เพลง ถ่ายวดี โี อกไ็ ด้ ฯลฯ นับเป็นโลกแห่งเทคโนโลยที ่เี หลอื เช่อื เราคดิ เสยี ว่าอยากมชี วี ติ อยู่ไป
นานๆ หา้ รอ้ ยปี เพอ่ื ดโู ลกแห่งทม่ี หศั จรรยใ์ บน้ใี หเ้ ตม็ ท่ี

สรปุ ว่าสนุ ทรยี ศาสตรช์ ่วยใหเ้ รามวี ชิ าการดาํ เนินชวี ติ อยา่ งไมแ่ หง้ แลง้ มคี วามสุขสดช่นื มี

ชวี ติ ชวี ากระฉับกระเฉง (Vitality) มหี น้าท่เี ป็นศาสตรแ์ ห่งการมองโลกในแง่ดี ดงั บทประพนั ธ์ของ

พระธรรมโกศาจารย์ (ชอบ อนุจาร)ี ว่า

“แรกมองคนใหเ้ หน็ เป็นกลางก่อน อยา่ รบี รอ้ นเอาดรี า้ ยใส่ใหเ้ ขา

เขาดชี วั่ ช่างปะไรไมใ่ ชเ่ รา อยา่ ดเู บาผดิ ระบอบไมช่ อบธรรม

จะชอบจะชงั ใครใหป้ ระจกั ษ์ อยา่ ทกึ ทกั ตชิ มไมค่ มขาํ
ควรชอบงานชงั งานการทท่ี าํ คนสงู ต่าํ ชวั่ ดอี ยทู่ ง่ี าน๒

ประโยชน์และคณุ ค่าของสภุ าษิต

๑. ด้านภาษา เป็นถ้อยคําคลอ้ งจอง สมั ผสั นอกสมั ผสั ในกะทดั รดั ไม่มศี พั ท์สูง น่าอ่าน
งา่ ยต่อการเขา้ ใจและจดจาํ

๒. ด้านสงั คม เป็นแนวในการดําเนินชวี ติ มาชา้ นาน เพราะสุภาษิตน้ีใหค้ ตทิ งั้ ในทางโลก
และทางธรรม เป็นหลกั ฐานในสงั คมไทยมาชา้ นานและภาษติ บางอย่างเรากย็ ดึ ถอื กนั มาจนทุกวนั น้ี

๒ รวมวรรกรรมรอ้ ยกรองของพระพิมล (ชอบ อนุจารเี ถร) ราชบณั ฑติ อา้ งใน พระมหาทวี ฐานวโร, พทุ ธปรชั ญาเถร
วาท ๒, (พษิ ณุโลก : รตั นสุวรรณ การพมิ พ,์ ๒๕๔๙), หน้า ๘๗.

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยวา่ ดว้ ยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๒๔ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๓. ด้านค่านิยมทางสงั คม เช่นแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความรกั ในอรรถรส มวี ฒั นธรรมทางภาษา
แสดงเอกลกั ษณ์ของชาตขิ องตน

๘.๓ สภุ าษิตที่เกิดขึน้ ในสมยั กรงุ สโุ ขทยั

สภุ าษิตพระรว่ ง

ท่านผู้รู้ได้แก่พระวรเวทยพ์ ิสฐิ พระสารสาส์นพลขนั ธ์และนายฉันทชิ ย์ กระแสสินธุ์ แม้
พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เช่อื แน่วา่ สภุ าษติ น้แี ต่งขน้ึ ในสมยั พ่อขนุ รามคาํ แหงมหาราช
และสมเดจ็ พระมหาธรรมราชาลไิ ท เป็นวรรณคดเี ล่มแรกท่แี ต่งเป็นคําประพนั ธป์ ระเภทร่ายโบราณ
แบบรา่ ยสุภาพ คอื จบดว้ ยโคลงสส่ี ุภาพและมโี คลงกระทูล้ งทา้ ยตอบจบอกี ๑ บทบางทเี รยี กว่ารา่ ย
ลขิ ติ เพราะว่ามรี า่ ยแลว้ มโี คลงตอนจบ ๑ บท เป็นภาษติ ไทยแท้ มที งั้ หมด ๑๕๘ บท แสดงว่าเป็น
ภาษติ ไทยเก่าแก่ท่ตี ดิ ปากคนไทยสบื มาโดยมจี ุดประสงคข์ องผูแ้ ต่งขน้ึ เพ่อื สอนประชาชนและสรา้ ง
วฒั นธรรม สรา้ งอุดมการณ์ของคนไทย ดงั ในสุภาษติ ตอนหน่ึงว่าเป็นอนุสาสนกถา สอนคณานรชน
ทวั่ ธราดลพงึ เพยี ร เรยี นอํารุงผดุงอาตม์ นัน่ คอื เป็นคําสอนคนท่ยี งั ใจให้ระลกึ ทวั่ ทงั้ ปฐพดี ล เพ่อื
พฒั นาตน เพ่อื การเรยี นรขู้ องตน นนั่ เอง

สุ ภ า ษิ ต ท่ีมีอิ ท ธิพ ล ต่ อ ก วียุ ค ห ลัง ทํ า ใ ห้ ก วีรุ่ น ห ลั ง ใ ช้ นํ า ไ ป อ้ า ง ใ น ว ร ร ณ ค ดีเ ร่ือ ง
ต่าง เช่น มหาเวสสนั ดรชาดก เพลงยาวถวายโอวาท และขนุ ชา้ งขนุ แผน เป็นตน้

ตามท่กี ล่าวนํามาขา้ งตน้ นัน้ เป็นการชใ้ี หเ้ หน็ ว่าสุภาษติ นนั้ ใหอ้ รรถรสเป็นสุนทรยี ์ เพราะ
ทาํ ใหร้ น่ื หู สบายใจ ทาํ ใหจ้ ติ อยากรว่ มสรา้ ง รว่ มคดิ จนกระทงั่ ว่าสมยั โบราณนนั้ ชาวบา้ นคุยกนั เป็น
สุภาษติ ดงั นัน้ สุภาษิตเก่าแก่โบราณของไทย มเี น้ือเร่อื งมุ่งเน้นครอบคลุมหลกั ควรปฏบิ ตั ใิ นดา้ น
ต่างๆ เช่น การผูกไมตรี การคบคน การวางตวั การหาวชิ าความรู้ การรจู้ กั รกั ษาตวั รอด โดยแบ่ง
ตามเน้อื หาของสภุ าษติ ๓ ดงั น้ี

สภุ าษิตว่าด้วยการผกู ไมตรี

……….ปลกู ไมตรอี ยา่ รรู้ า้ ง สรา้ งกุศลอยา่ รโู้ รย

อยา่ โดยคาํ คนพลอด เขน็ เรอื ทอดขา้ งถนน ……

………….อยา่ เบยี ดเสยี ดแก่มติ ร

ทผ่ี ดิ ชว่ ยเตอื นตอบ ทช่ี อบชว่ ยยกยอ

อยา่ ขอของรกั มติ ร …………….

……………. เมตตาตอบต่อมติ ร คดิ แลว้ จงึ เจรจา

อยา่ นินทาผอู้ ่นื อยา่ ต่นื ยกยอตน …………….

๓ สภุ าษิตพระร่วง และสภุ าษิตอิศรญาณ, (กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จาํ กดั , ๒๕๔๒), หน้า ๑-๘.

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยวา่ ดว้ ยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๒๕ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

……………. คนจนอยา่ ดถู กู ปลกู ไมตรที วั่ ชน
ตระกูลตนจงคาํ นบั อยา่ จบั ลน้ิ แก่คน …………….
สภุ าษิตว่าด้วยการคบคน
…….คบพาลอยา่ พาลผดิ อยา่ ผกู มติ รไมตรี
เมอ่ื พาทพี งึ ตอบ จงนบนอบผใู้ หญ่ ……
………….ภายในอยา่ นําออก ภายนอกอยา่ นําเขา้
อาสาเจา้ จนตวั ตาย อาสานายจงพอแรง………
………….อยา่ รริ ะรา่ นแก่ความ ประพฤตติ ามบรุ พรบอบ
เอาแต่ชอบเสยี ผดิ อยา่ ประกอบกจิ เป็นพาล………….

………….อยา่ ใชค้ นบงั บด ทดแทนคณุ ทา่ นเมอ่ื ยาก
ฝากของรกั จงพอใจ เฝ้าทา้ วไทอยา่ ทรนง………….

สภุ าษิตว่าด้วยการวางตวั
………….อยา่ อวดหาญแก่เพอ่ื น เขา้ เถ่อื นอยา่ ลมื พรา้
หน้าศกึ อยา่ นอนใจ ไปเรอื นท่านอยา่ นงั่ นาน………….
………….การเรอื นตนเรง่ คดิ อยา่ นงั่ ชดิ ผใู้ หญ่
อยา่ ใฝส่ งู ใหพ้ น้ ศกั ดิ ์ทร่ี กั อยา่ ดถู ูก………….
………….เป็นคนอยา่ ทาํ ใหญ่ ขา้ คนไพรอ่ ยา่ ไฟฟุน
คบขนุ นางอยา่ โหด โทษตนผดิ ราํ พงึ ………….
…………อยา่ คะนึงถงึ โทษท่าน หว่านพชื จกั เอาผล
เลย้ี งคนจกั กนิ แรง อยา่ ขดั แยง้ ผใู้ หญ่…………
………….ผเู้ ฒา่ สงั่ จงจาํ ความ ทข่ี วากหนามอยา่ เสยี เกอื ก
ทาํ รวั้ เรอื กไวก้ บั ตน คนรกั อยา่ วางใจ ………….
………….ทม่ี ภี ยั พงึ หลกี ปลกี ตนไปโดยด่วน
ไดส้ ่วนอยา่ มกั มาก อยา่ มปี ากวา่ คน………….
………….พบศตั รปู ากปราศรยั ความในอยา่ ไขเขา
อยา่ มวั เมาเนืองนิจ คดิ ตรองตรกึ ทกุ เมอ่ื ………….
………….ของแพงอยา่ มกั กนิ อยา่ ยนิ คาํ คนโลภ
โอบออ้ มเอาใจคน อยา่ ยลเหตุแต่ใกล้………….
…………เครอ่ื งสรรพยทุ ธอยา่ วางจติ คดิ ทกุ ขใ์ นสงสาร

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยว่าด้วยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๒๖ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

อยา่ ทาํ การทผ่ี ดิ คดิ ขวนขวายทช่ี อบ…………
…………ยลเยย่ี งไก่นกกระทา พาลกู หลานหากนิ
ระบอื ระบลิ อยา่ ฟงั คาํ การกระทาํ อยา่ ดว่ นได…้ ………
สภุ าษิตว่าด้วยการหาวิชาความรู้
…………อยา่ เคล่อื นคลาดคลาถอ้ ย เมอ่ื น้อยใหเ้ รยี นวชิ า

ใหห้ าสนิ เมอ่ื ใหญ่ อยา่ ใฝเ่ อาทรพั ยท์ า่ น…………
…………คดิ ขา้ งหน้าอยา่ เบา อยา่ ถอื เอาตน้ื กวา่ ลกึ
เมอ่ื เขา้ ศกึ ระวงั ตน เป็นคนเรยี นความร…ู้ ………

บณั เจดิ จาํ แนกแจง้ พสิ ดาร ความเอย
ฑติ ยบุ ลบรรหาร เหตุไว้
พระ ป่ินนคั ราสถาน อุดรสขุ ไทยนา
รว่ ง ราชรามน้ไี ด้ กลา่ วถอ้ ยคาํ สอน
สภุ าษิตว่าด้วยการรกั ษาตวั รอด
…………อยา่ ใฝต่ นใหเ้ กนิ เดนิ ทางอยา่ เดนิ เปลย่ี ว
น้ําเชย่ี วอยา่ ขวางเรอื ทซ่ี ุ่มเสอื จงประหยดั …………
…………จงเรง่ ระมดั ฟืนไฟ ตนเป็นไทอยา่ คบทาส
อยา่ ประมาททา่ นผดู้ ี มสี นิ อยา่ อวดมงั่ ม…ี ………
…………ทท่ี บั จงมไี ฟ ทไ่ี ปจงมเี พ่อื น
ทางแถวเถ่อื นไคลคลา ครบู าสอนอยา่ โกรธ…………
…………ท่านไทอ้ ยา่ หมายโทษ คนโหดใหเ้ อน็ ดู
ยอครยู อต่อหน้า ยอขา้ เมอ่ื แลว้ กจิ …………
…………ยอมติ รเมอ่ื ลบั หลงั ลกู เมยี ยงั อยา่ สรรเสรญิ
เยยี วสะเทนิ จะอดสู อยา่ ชงั ครชู งั มติ ร…………
…………อยา่ ปองภยั ต่อทา้ ว อยา่ มกั หา้ วพลนั แตก
อยา่ เขา้ แบกงาชา้ ง อยา่ ออกกา้ งขนุ นาง…………
…………อยา่ รกั เหากวา่ ผม อยา่ รกั ลมกว่าน้ํา
อยา่ รกั ถ้าํ กวา่ เรอื น อยา่ รกั เดอื นกวา่ ตะวนั …………

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยว่าดว้ ยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๒๗ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๘.๔ สภุ าษิตในสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยา

คนทุกร่นุ มกั พูดกนั จนตดิ ปากในปจั จุบนั ว่า “อยุธยาไม่ส้ินคนดี” คอื แมก้ รุงศรอี ยุธยาอยู่
ในสภาพบ้านแตกสาแหรกขาด หมดสภาพท่จี ะปฏิสังขรณ์ข้นึ มาใหม่ได้ ชวี ิตความเป็นอยู่ของ
ชาวกรงุ ศรอี ยธุ ยา เมอ่ื วา่ งศกึ สงครามมานานนบั ศตวรรษแลว้ ผคู้ นกม็ คี วามเป็นอยอู่ ยา่ งสนุกร่นื เรงิ
แต่กถ็ งึ แก่กาลแตกดบั อยา่ งไมค่ าดฝนั ดงั ปรากฏในเพลงยาวรบพมา่ พระราชนิพนธ์ กรมพระราชวงั
บวรมหาสุรสงิ หนาท ซง่ึ มอี ยวู่ ่า

“ไมเ่ หน็ เชน่ ว่าจะเป็นถงึ เพยี งน้ี มายบั เยนิ อปั รยี ศ์ รศี กั ดคิ ์ ลาย
.......... มาวนิ าศสน้ิ สุดสญู หาย

สารพดั ยอ่ ยยบั กลบั กลาย อนั ตรายไปทวั่ พน้ื ปฐพี

ทงั้ พธิ ปี ีเดอื นคนื วนั สารพนั จะมอี ยอู่ ตั รา
ฤดใู ดไดเ้ ลน่ เกษมสขุ แสนสนุกทวั่ เมอื งหรรษา”

แผ่นกรงุ ศรอี ยุธยาในสมยั สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช ถอื ได้ว่าเป็นยุคสมยั ท่บี า้ นเมอื งมี
แต่ความสงบสุขร่มเยน็ ปราศจากการรุกรานจากศตั รูภายนอก ไม่มศี กึ สงครามกบั พม่า ประชาชน
อยู่ดกี ินดี มกี ารติดต่อทําการค้ากบั ชาวต่างประเทศ แม้แต่ชาวตะวนั ตก เช่น องั กฤษ ฝรงั่ เศส
ฮอลนั ดาฯลฯ ก็เข้ามาทําการค้า ถึงกบั มขี ุนนางเป็นชาวต่างประเทศในสมยั นัน้ หลายท่าน เม่อื
บา้ นเมอื งสงบสุขร่มเยน็ กท็ ําใหป้ ระชาชนส่วนใหญ่เกดิ อารมณ์สุนทรยี ์ ดว้ ยนิสยั ดงั้ เดมิ ของคนไทย
เรานัน้ มกั จะเป็นระเภท “เจ้าบทเจ้ากลอน” คอื ชอบรอ้ งราํ ทําเพลง พูดจาคล้องจองกนั ในสมยั น้ี
คนส่วนใหญ่สนใจในวรรณคดี มบี ทโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน เกดิ ขน้ึ มากมาย ถอื ได้ว่า “เป็ นยุค
ทองของวรรณคดี” เลยทเี ดยี ว ยง่ิ ไปกว่านนั้ หนงั สอื เล่มแรกของไทยถอื กนั วา่ จินดามณี

นักกวแี ละบทกวศี รอี ยุธยาท่อี มตะคอื ศรปี ราชญ์ โอรสพระโหราธบิ ดี ถือว่าเป็นกวรี าช
สํานักรชั สมยั สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช ท่านศรปี ราชญ์เรยี กไดห้ ายเป็นบทกลอน แมแ้ ต่คุยกนั
ธรรมดาก็ยงั เป็นบทกลอน ดงั บทกลอนตอนหน่ึงท่ตี อบคําถามยามรกั ษาวงั สมเดจ็ พระนารายณ์
ภายหลงั ทร่ี บั พระราชทานแหวน ว่า

ยามถาม - แหวนน้ที า่ นได้ แต่ใดมา

ศรปี ราชญต์ อบ - เจา้ พภิ พโลกา ทา่ นให้

ยามถาม - (ท่าน) ทาํ ชอบสง่ิ ใดนา วานบอก

ศรปี ราชญต์ อบ - เราแต่งโคลงถวายไท้ ทา่ นใหร้ างวลั

ศรปี ราชญน์ นั้ แมจ้ ะถกู เนรเทศจากกรงุ ศรอี ยธุ ยา ไปอยใู่ นวงั ของพระยานคร แต่กไ็ ม่ไดถ้ ูก
ปลดจากตําแหน่ง หรอื ลดศกั ดนิ าให้ลงไปเป็นไพร่อย่างนักโทษทวั่ ไป ศรปี ราชญร์ บั ราชการอย่กู บั
เจา้ พระยานครฯ ไดน้ านหลายเดอื น ซง่ึ เจา้ พระยานครฯ กโ็ ปรดปรานศรปี ราชญไ์ ม่น้อย ด้วยการท่ี
เป็นคนฉลาด มคี วามรคู้ วามสามารถหลายอย่าง เป็นทป่ี รกึ ษาในขอ้ ราชการต่างๆไดอ้ ย่างดี เม่อื อยู่

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยวา่ ด้วยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๒๘ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

สุขสบาย นิสยั เจา้ ชู้ปากเสยี บวกกบั อารมณ์กวนี ักรกั ก็ชกั พาให้ศรปี ราชญ์ต้องโทษถงึ กบั ประหาร

ชวี ติ ดว้ ยเหตุทไ่ี ปเกย้ี วพาราณสกี บั นางสนมของคนโปรดของเจา้ พระยานคร ฯ ณ ในลานประหารท่ี

เป็นเนินดนิ ปนทราย ก่อนทเ่ี พชฌฆาตจะลงดาบ ศรปี ราชญไ์ ดใ้ ชห้ วั แม่เทา้ เขยี นบทโคลงสส่ี ุภาพลง

บนพน้ื ทราย มคี วามว่า

“ธรณนี ่นี ้ี เป็นพยาน

เรากศ็ ษิ ยม์ อี าจารย์ หน่งึ บา้ ง

เราผดิ ท่านประหาร เราชอบ

แต่เราบ่ผดิ ทา่ นมลา้ ง ดาบน้ี คนื สนอง”

ยงั ไม่หมดเรื่องศรีปราชญ์ มปี ระการทน่ี ่าสนใจคอื ว่าศรปี ราชญ์นัน้ เม่อื อายุ ๗ ขวบ ได้

เขา้ มาในหอ้ งพระในบา้ นของตน (นยั วา่ จะเขา้ มาหาผเู้ ป็นบดิ า) กเ็ หลอื บไปเหน็ แผ่นกระดานชนวนท่ี
มโี คลงกลอนแต่งเอาไว้ ๒ บาทของพระนารายณ์ คงเป็นด้วยความซุกซนบวกกบั ความเฉลยี ว
ฉลาดของเจา้ ศรี กเ็ ลยเอาดนิ สอพองเขยี นโคลงอกี ๒ บาท ต่อจากองคส์ มเดจ็ พระนารายณ์ ดงั น้ี

อนั ใดยา้ํ แกม้ แม่ หมองหมาย

ยงุ เหลอื บฤารน้ิ พราย ลอบกล้าํ

ศรปี ราชญแ์ ต่งต่อไปว่า

ผวิ ชนแต่กราย ยงั ยาก

ใครจกั อาจใหช้ ้าํ ชอกเน้อื เรยี มสงวน

กลอนน้ีต้องไขสกั หน่อย ๒ บทแรกว่า อนั ใดย้ําแก้มแม่ หมองหมาย ยุงเหลอื บฤาร้นิ
พราย ลอบกล้ํา คอื สง่ิ ใดๆ ไม่ว่ารอยเป้ือน เขม่า ฝ่นุ ละอองจะมาทาํ ใหแ้ ก้มเธอหมดสวย แมแ้ ต่ยุง
เหลอื บ รน้ิ จะมาลอบกดั เป็นไม่ได้เลย อกี ๒ บทคอื ผวิ ชนแต่กราย ยงั ยาก ใครจกั อาจใหช้ ้ํา ชอก
เน้อื รมิ สงวน หมายถงึ ว่า อยา่ ว่าแต่อะไรอ่นื เลยจะใหเ้ ธอชอกช้าํ แมเ้ ดนิ ผ่านกย็ งั ไม่ไดเ้ ดย่ี วกลน่ิ ตดิ
จะกล่าวไปใยถงึ จะแตะตอ้ งเน้อื หนงั ทส่ี งวนของเธอเล่า วา่ อยา่ งนนั้

โคลงโลกนิติ วรรณกรรมทองสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยา

โคลงโลกนิติ เป็นวรรณกรรมประเภทคําสอน ในลกั ษณะของโคลงสุภาษติ คําว่า โลกนิติ
(อ่านว่า โลก-กะ-นดิ ) แปลว่า ระเบยี บแบบแผนแห่งโลก เน้ือหาในโคลงโลกนิตจิ งึ ม่งุ แสดงความจรงิ
ของโลกและสจั ธรรมของชวี ติ เพ่อื ให้ผู้อ่านได้รเู้ ท่าทนั ต่อโลก และเขา้ ใจในความเป็นไปของชวี ติ
พรอ้ มเป็นแมแ่ บบเพอ่ื ใหผ้ อู้ ่านไดด้ าํ เนินชวี ติ ไปในทางทถ่ี ูกตอ้ งดงี ามสบื ไป

โคลงโลกนิตมิ คี วามไพเราะเหมาะสมทงั้ ดา้ นรูปแบบและเน้ือหาปรชั ญาสาระ ครบคุณค่า
ทางวรรณกรรม ทําให้เป็นท่แี พร่หลายในหมู่คนทวั่ ไป บางท่านกล่าวยกย่องโคลงโลกนิติว่าเป็น
อมตะวรรณกรรมคําสอน หรอื ยอดสุภาษิตอมตะ โคลงโลกนิติน้ีเช่อื กนั ว่ามมี าตงั้ แต่ครงั้ กรุงศรี
อยธุ ยา โดยนกั ปราชญใ์ นสมยั นนั้ ไดค้ ดั เลอื กหาคาถาสุภาษติ ภาษาบาลแี ละภาษาสนั สกฤตทป่ี รากฏ

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยว่าดว้ ยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๒๙ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ในคัมภีร์ต่างๆ เช่น คัมภีร์โลกนิติ, คมั ภีร์ธรรมนีติ, คัมภีร์ราชนีติ, หิโตปเทศ, ธรรมบท และ
พระไตรปิฎก เป็นตน้ มาถอดความแลว้ เรยี บเรยี งแต่งเป็นโคลงโลกนิต๔ิ

เนื้อเรื่องในโคลงโลกนิ ติ

โคลงโลกนิติ ประกอบดว้ ยตวั โคลง และคาํ อา้ งองิ ทา้ ยโคลงอยู่ ๒ ช่อื คอื ถา้ เป็นโคลง

สํานวนเก่า จะเขยี นว่าสํานวนเก่า ถ้าโคลงพระนิพนธข์ องสมเดจ็ ฯ กรมพระยาเดชาดศิ ร
(จารกึ วดั พระเชตุพนฯ) จะเขยี นว่า สมเดจ็ ฯ กรมพระยาเดชาดศิ ร ดงั โคลงชุดท่ี ๑๗๐ วา่

“รสหวานในโลกน้ี มสี าม

หญงิ รปู บรสิ ทุ ธงิ ์ าม อกี ออ้ ย

สมเสพรสกลกาม เยาวโยค
หวานไปป่ า่ นรสถอ้ ย กลา่ วเกลย้ี งไมตร”ี

(สานาวนเก่า)

“หวานใดในโลกน้ี มสี าม สงิ่ นา

หวานหน่งึ คอื รสกาม อกี ออ้ ย

หวานอ่นื หมน่ื แสนทราม สารพดั หวานเอย
หวานไปป่ า่ นรสถอ้ ย กลา่ วเกลย้ี งคาํ หวาน”

(กรมพระยาเดชาดิศร)

ปลารา้ พนั ห่อดว้ ย ใบคา

ใบกเ็ หมน็ คาวปลา คละคลงุ้
คอื คนหมไู่ ปหา คบเพ่อื น พาลนา
ไดแ้ ต่รายรา้ ยฟุ้ง เฟ่ืองใหเ้ สยี พงศ์
กฤษณา
ใบพอ้ พนั หอ่ หุม้ เพรสิ ดว้ ย
นกั ปราชญ์
หอมระรวยรสพา ดุจไมก้ ลน่ิ หอม
เรงิ ใจ
คอื คนเสพเสน่หา สระจอ้ ย
ความสขุ ซาบฤามว้ ย

รนู้ ้อยวา่ มากรู้
กลกบเกดิ อยใู่ น

๔ ดูรายละเอยี ดใน กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ประชุมโคลงโลกนิ ติ, (กรุงเทพมหานคร : องคก์ ารคา้ คุรุสภา,
๒๕๔๕).

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยวา่ ด้วยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๓๐ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ไปเ่ หน็ ชะเลไกล กลางสมทุ ร
ชมว่าน้ําบ่อน้อย มากลา้ํ ลกึ เหลอื
เขาเชยี ว
รกั กนั อยขู่ อบฟ้า รว่ มหอ้ ง
เสมออยหู่ อแห่งเดยี ว ตาต่อ กนั นา
ชงั กนั บ่แลเหลยี ว ปา่ ไมม้ าบงั
เหมอื นขอบฟ้ามาป้อง ชลธาร
ชาตเิ ชอ้ื
กา้ นบวั บอกลกึ ตน้ื ควรทราบ
มรรยาทสอ่ สนั ดาน บอกรา้ ยแสลงดนิ
โฉดฉลาดเพราะคาํ ขาน เขาหนงั
หยอ่ มหญา้ เหย่ี วแหง้ เรอ้ื อยไู่ ซร้
ขารรา่ ง
โคควายวายชพี ได้ แต่รา้ ยกลบั ดี
เป็นสง่ิ เป็นอนั ยงั ฯลฯ
คนเดด็ ดบั สญู สงั -

เป็นช่อื เป็นเสยี งได้

๘.๕ สภุ าษิตในสมยั กรงุ ธนบรุ ี

ในสมยั กรุงธนบุรนี ้ีไม่พบว่ามวี รรณกรรมชนิดทเ่ี ป็นสุภาษติ แต่มวี รรณคดสี ําคญั และบท
พระราชนิพนธข์ องพระเจา้ ตากสนิ ทงั้ น้เี น่อื งจากว่าสมยั กรุงธนบุรี ดาํ รงการเป็นกรุงอยใู่ นระยะเวลา
เพยี ง ๑๕ ปี แถมยงั เตม็ ไปดว้ ยสงครามนนั้ ย่อมทจ่ี ะหาวรรณกรรมทเ่ี ป็นเร่อื งเป็นชน้ิ เป็นอนั ไดโ้ ดย
ยาก แต่กม็ วี รรณคดที เ่ี กดิ ในสมยั น้ี ๒-๓ เรอ่ื งคอื ลลิ ติ เพชรมงกุฎ ของหลวงสรชติ (หน) ซง่ึ ต่อมาใน
ต้นกรุงรตั นโกสนิ ทร์ ไดเ้ ป็นเจา้ พระยาพระคลัง โคลงยอพระเกยี รตพิ ระเจา้ กรุงธนบุรี ของนายสวน
มหาดเลก็ คําฉันทก์ ฤษณาสอนน้องของพระภกิ ษุอนิ เมอื งนครศรธี รรมราช วรรณคดที ส่ี ําคญั ทค่ี วร
นํามากล่าว คอื บทละครเรอ่ื งรามเกยี รติ ์ อกี เร่อื งหน่ึงคอื “ลกั ษณะบุญ” อนั เป็นพระราชนิพนธข์ อง
สมเดจ็ พระเจา้ กรงุ ธนบรุ ี

บทพระราชนิพนธ์ (เก่ยี วกบั การกู้ชาติ ศาสนาจากปลายกรุงศรอี ยธุ ยา) ท่จี ารกึ ไวใ้ นศาล
พระเจ้าตากสินมหาราช วัดอรุณราชวราราม ถือเป็นเคร่ืองแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
พระพุทธศาสนากบั พระมหากษตั รยิ ท์ ต่ี อ้ งมอี ยคู่ กู่ นั ไป คอื

“อนั ตวั พ่อชอ่ื วา่ พระยาตาก ทนทกุ ขย์ ากกูช้ าตศิ าสนา

ถวายแผ่นดนิ ใหเ้ ป็นพทุ ธบชู า แด่ศาสนาสมณะพทุ ธโคดม

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยวา่ ดว้ ยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๓๑ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ใหย้ นื ยงคงถว้ นหา้ พนั ปี สมณะพราหมณ์ชปี ฏบิ ตั ใิ หพ้ อสม
เจรญิ สมถะวปิ สั สนาพอ่ ชน่ื ชม
คดิ ถงึ พอ่ พอ่ อยคู่ กู่ บั เจา้ ถวายบงั คมรอยบาทพระศาสดา
พุทธศาสตรอ์ ยยู่ งค่อู งคก์ ษตั รา
ชาตขิ องเราคงอยคู่ พู่ ระศาสนา
พระศาสดาฝากไวใ้ หค้ กู่ นั ”๕

๘.๖ สภุ าษิตสมยั ในกรงุ รตั นโกสินทร์

วรรณกรรมสมยั รชั กาลที่ ๑ ที่เด่นๆ คือ

ตงั้ ใจจะอุปถมั ภก ยอยกพระพทุ ธศาสนา
จะป้องกนั ขอบขณั ฑสมี า รกั ษาประชาชนและมนตร๖ี (พระราชนิพนธน์ ิราศท่าดนิ แดง)

วรรณกรรมสมยั รชั กาลท่ี ๓ ที่เด่นๆ คือ

“ดว้ ยก่อนเก่าเหล่าลกู ตระกลู ปราชญ์ ทงั้ เชอ้ื ชาตชิ นผดู้ มี ยี ศศกั ดิ ์

ยอ่ มหดั ฝึกศกึ ษาขา้ งอาลกั ษณ์ ลว้ นรหู้ ลกั พากยพ์ จน์กลบทกลอน

ทุกวนั น้มี แี ต่พาลสนั ดานหยาบ ประพฤตบิ าปไปเสยี สน้ิ แผ่นดนิ กระฉ่อน

จะหาปราชญเ์ จยี นจะขาดพระนคร จงึ ขอพรพทุ ธาไตรยาคุณ

อนั กุลบุตรจะสบื สายไปภายหน้า จงปรชี าแชม่ ชน่ื ทุกหมน่ื ขุน

ใหฝ้ กั ใฝใ่ นกุศลผลบญุ อยา่ มวั มนุ่ ฝิ่นฝาสุราบาน

พงึ สอ้ งเสพสปั บุรษุ สจุ รติ รชู้ วั่ ชอบประกอบกจิ เป็นแก่นสาร

สดบั เรอ่ื งเรอื งปญั ญาปรชี าชาญ สภุ าษติ พศิ ดารหมนั่ อ่านเขยี น”

วรรณกรรมสมยั รชั กาลที่ ๕ ที่เด่นๆ คือ
“เหน็ หน้าอยเู่ มอ่ื เชา้ สายตาย
สายอยสู่ ุขสบาย บา่ ยมว้ ย
บ่ายสดชน่ื รน่ื กาย เยน็ ดบั ชพี แฮ
เยน็ อยหู่ ยอกลกู ดว้ ย ค่าํ มว้ ยอาสญั

๕ อา้ งจาก พระราชวรมนุ ี (ประยรู ธมฺมจติ ฺโต) และคณะ, อนุทินธรรมะ : ธรรมะสาหรบั ๔๖๕ วนั , (กรุงเทพมหานคร :
สาํ นกั พมิ พ์ มลู นิธพิ ุทธธรรม, ๒๕๓๙), หน้า ๒๑๖.

๖ เรอ่ื งเดยี วกนั , หน้า ๕๘.

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยว่าด้วยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๓๒ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

“ความรเู้ ปรยี บคดู่ ว้ ย กาํ ลงั กายเฮย
ศาสตรพ์ รอ้ ง
สุจรติ คอื เกราะบงั อาวธุ
ปญั ญาประดจุ ดงั อาจแกลว้ กลางสนาม”
คุมสตติ ่างโลหป์ ้อง

วรรณกรรมสมยั รชั กาลที่ ๖ ท่ีเด่นๆ คือ

ความรกั เหมอื นโรคา กําบงั ตาใหม้ ดื มน

ไมย่ นิ และไมย่ ล อุปสรรคะใดใด

ความรกั เหมอื นโคถกึ กําลงั คกึ ผวิ ขงั ไว้

กโ็ ลดจากคอกไป มยิ อมอยู่ ณ ทข่ี งั

“เมอื งใดไมม่ ที หารหาญ เมอื งนนั้ ไมน่ านเป็นขา้

เมอื งใดไรจ้ อมพารา เมอื งนนั้ ไมช่ า้ อบั จน

เมอื งใดไมม่ พี าณชิ เลศิ เมอื งนนั้ ยอ่ มเกดิ ขดั สน

เมอื งใดไรศ้ ลิ ปะโสภณ เมอื งนนั้ ไมพ่ น้ เสอ่ื มทราม

เมอื งใดไมม่ กี วแี กว้ เมอื งนนั้ ไมแ่ คลว้ คนหยาม

เมอื งใดไรน้ ารงี าม เมอื งนนั้ หมดความภมู ใิ จ

เมอื งใดไมม่ ดี นตรเี ลศิ เมอื งนนั้ ไมเ่ พรดิ พสิ มยั

เมอื งใดไรธ้ รรมอาํ ไพ เมอื งนนั้ บรรลยั แน่นอน”

“เสอื พี เพราะปา่ ปก และปา่ รกเพระเสอื ยงั

ดนิ เยน็ เพราะหญา้ บงั และหญา้ ยงั เพระดนิ ด”ี

มหากวีศรีกรงุ รตั นโกสินทร์

สุนทรภู่เกิดเม่อื วันจนั ทร์ เดือนแปด ข้นึ หน่ึงค่ํา ปีมะเมีย วันท่ี ๒๘ มถิ ุนายน พ.ศ.
๒๓๒๙ บดิ าช่อื ขนุ ศรสี งั หาร (พลบั ) มารดาช่อื ชอ้ ย เกดิ ทบ่ี า้ นใกลก้ ําแพงวงั หลงั คลองบางกอกน้อย
ไดร้ บั พระราชทานบรรดาศกั ดเิ ์ ป็น “พระสุนทรโวหาร” ถงึ แก่อนิจกรรม พ.ศ. ๒๓๙๘ รวมอายุได้
๖๙ ปี

ตามประวตั ใิ นช่วงปี พ.ศ. ๒๓๕๐-๒๓๕๙ ก่อนเขา้ รบั ราชการ ไม่ชดั แจง้ แต่เช่อื ว่าท่าน
หนคี วามเศรา้ ออกไป เพชรบรุ ี ทําไรท่ าํ นาอย่กู บั หมอ่ มบุญนาคในพระราชวงั หลงั ดงั ความตอนหน่ึง
ในนิราศ เมอื งเพชร ทท่ี ่านยอ้ นราํ ลกึ ความหลงั สมยั เป็นหนุ่มวา่

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยว่าดว้ ยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๓๓ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

“ถงึ ตน้ ตาลบา้ นคุณหมอ่ มบุญนาค เมอ่ื ยามยากจนมาไดอ้ าศยั

มารดาเจา้ คราวพระวงั หลงั ครรไล มาทําไรท่ าํ นา ท่านการญุ ”

รบั ราชการครงั้ ท่ี ๒ อายุ ๓๐–๓๘ ปี พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั ทรง

เป็นมหากวเี อกและทรงสนพระทยั เรอ่ื งการละครเป็นอยา่ งยง่ิ ในรชั สมยั ของ พระองค์ ไดก้ วดขนั การ
ฝึกหดั วธิ รี าํ จนได้ท่ี เป็นแบบอย่างของละครราํ มาตราบทุกวนั น้ี พระองค์ยงั ทรงพระราชนิพนธบ์ ท
ละคร ขน้ึ ใหม่อกี ถงึ ๗ เร่อื ง มเี ร่อื งอเิ หนาและเร่อื งรามเกยี รติ ์ เป็นต้น มบี ทกลอนหน่ึงในทํานอง
บ่นด้วยความน้อยใจในกิจการหน่ึง จะโดยตงั้ ใจหรอื ไม่ตงั้ ใจ เพยี งคดิ ได้ด้วยเฉพาะหน้าตรงนัน้ ก็
ตาม สุนทรภู่ก็ได้ทําการไม่เป็นท่พี อพระราชหฤทยั ประกอบกบั ความอาลยั เสียใจหนักหนาใน
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั สุนทรภู่ จงึ ลาออกจากราชการ และตงั้ ใจบวชเพ่อื สนอง
พระมหากรณุ าธคิ ุณ สุนทรภ่ไู ดเ้ ผยความในใจน้ี ในตอนหน่งึ ของนริ าศภเู ขาทอง ว่า

“จะสรา้ งพรตอุตส่าหส์ ่งบญุ ถวาย
ประพฤตฝิ า่ ยสมถะทงั้ วสา

เป็นสงิ่ ของฉลองคณุ มลุ กิ า

ขอเป็นขา้ เคยี งพระบาททกุ ชาตไิ ป”

วรรณกรรมประเภทนิราศสนุ ทรภู่

๑. นิราศเมอื งแกลง
๒. นิราศพระบาท
๓. นิราศภเู ขาทอง
๔. นริ าศเมอื งสุพรรณ (โคลง)
๕. นริ าศวดั เจา้ ฟ้าฯ
๖. นริ าศอเิ หนา
๗. นิราศพระแท่นดงรงั

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยวา่ ด้วยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๓๔ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๘. นริ าศพระประธม
๙. นิราศเมอื งเพชร
วรรณกรรมประเภทนิ ทาน

๑. เรอ่ื งโคบตุ ร แต่งในราวรชั กาลท่ี ๑
๒. เรอ่ื งพระอภยั มณี แต่งในราวรชั กาลท่ี ๒- ๓
๓. เรอ่ื งพระไชยสุรยิ า แต่งในราวรชั กาลท่ี ๓
๔. เรอ่ื งลกั ษณวงศ์ (มสี าํ นวนผอู้ ่นื แต่งต่อ และไมท่ ราบเวลาแต่ง)
๕. เรอ่ื งสงิ หไตรภพ แต่งในราวรชั กาลท่ี ๒
วรรณกรรมประเภทสภุ าษิต

๑. สวสั ดริ กั ษา แต่งระหว่าง พ.ศ. ๒ ๓ ๔ ๖-
๒. เพลงยาวถวายโอวาท แต่งระหว่าง พ.ศ. ๒ ๓ ๗ ๓
๓. สภุ าษติ สอนหญงิ แต่งระหว่าง พ.ศ. ๒ ๓ ๘ ๐- ๒ ๓ ๘ ๓
วรรณกรรมประเภทบทละคร

๑. เรอ่ื งอภยั ณุราช
วรรณกรรมประเภทบทเสภา

๑. เรอ่ื งขนุ ชา้ งขนุ แผนตอนกาํ เนิดพลายงาม แต่งในรชั กาลท่ี ๒
๒. เรอ่ื งพระราชพงศาวดาร แต่งในรชั กาลท่ี ๔
วรรณกรรมประเภทบทเห่กล่อม

๑. เห่เรอ่ื งจบั ระบาํ
๒. เหเ่ รอ่ื งกากี
๓. เห่เรอ่ื งพระอภยั มณี
๔. เหเ่ รอ่ื งโคบุตร
รวมวรรณกรรมของสนุ ทรภู่ ทงั้ หมด ๒ ๔ เรอ่ื งดงั กลา่ วมาน้ี

๘.๗ สภุ าษิตภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

คําคม คําสุภาษติ หรอื คาํ ปรศิ นาท่คี นภาคอ่นื ๆ ไม่ค่อยไดย้ นิ นอกจากคนภาคอสี านคอื คํา
ว่า “ผญา” ซ่งึ หมายถึง ปญั ญา ปรชั ญา ความฉลาด ปญั ญา ปรชั ญา หรอื ผญา เป็นกลุ่มภาษา
เดยี วกนั ลา้ ยคลงึ กนั ใกลเ้ คยี งกนั ใชแ้ ทนกนั ได้ คอื ความรู้ ไหวพรบิ สตปิ ญั ญา ความเฉลยี ว ฉลาด
ปราชญเ์ ปร่อื ง หรอื บางท่านบอกว่า ผญา มาจากปญั ญา โดยเอา ป เป็น ผ ซง่ึ ผญาคําน้ี คนอสี าน

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยว่าดว้ ยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๓๕ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ใชเ้ ป็นคาํ คม เป็นสุภาษติ สาํ หรบั สงั่ สอนลกู หลานใหป้ ระพฤตติ นอย่ใู นรอ่ งในรอย ไมอ่ อกนอกล่นู อก
ทาง ไมเ่ ป็นคนประพฤตนิ อกคอก

ผญาเป็นลกั ษณะแห่งความคดิ ทแ่ี สดงออกมาทางคาํ พดู ซง่ึ อาจ จะมสี มั ผสั หรอื ไมก่ ็
ไดผ้ ญา คอื คาํ คม สุภาษติ หรอื คาํ พดู ทเ่ี ป็นปรศิ นา คอื ฟงั แลว้ ตอ้ งนํามาคดิ มาวเิ คราะหเ์ พอ่ื คน้ หา
คาํ ตอบทเ่ี ป็นจรงิ และชดั เจนวา่ หมายถงึ อะไรผญา ผญาป็นการพดู ทต่ี อ้ งใชไ้ หวพรบิ สตปิ ญั ญา มี
เชาวน์ มอี ารมณ์คมคาย พดู สนั้ แต่กนิ ใจความมากการพดู ผญาเป็นการพดู ทก่ี นิ ใจ การพดู คุยดว้ ย
คารมคมคาย ทาํ ใหผ้ ฟู้ งั ไดท้ งั้ ความรแู้ ละความคดิ สตปิ ญั ญา ความสนุกเพลดิ เพลนิ ยง่ิ ไปกว่านัน้ ยงั
ทาํ ใหเ้ กดิ ความรกั ดว้ ย จงึ ทาํ ใหห้ นุ่มสาวสมยั ก่อน นิยมพดู ผญากนั มาก และการโตต้ อบเชงิ ปญั ญา
ทท่ี าํ ใหแ้ ต่ละฝา่ ยเฟ้นหาคําตอบ เพอ่ื เอาชนะกนั นัน้ จงึ ก่อใหเ้ กดิ ความซาบซง้ึ ลา้ํ ลกึ สามารถผกู มดั
จติ ใจของหนุ่มสาวไมน่ ้อย ดงั นนั้ ผญา จงึ เป็นเมอื งมนตข์ ลงั ทต่ี รงึ จติ ใจหนุ่มสาวใหแ้ นบแน่นลกึ ซง้ึ
ลงไป

ประเภทของผญา

๑. ประเภทคากลอน เช่น

“ใจประสงคส์ รา้ งกลางดง กะวา่ ทง่ ใจขค้ี รา้ นกลางบา้ น กะวา่ ดง”
แปล ถา้ ใจสู้ (ขยนั ) อยกู่ ลางปา่ ดงกเ็ หมอื นกลางท่งุ ถา้ เกยี จครา้ นแมอ้ ยู่

กลางหมบู่ า้ นกเ็ หมอื นในกลางปา่

ความตายน้แี ขวนคอทกุ บาดยา่ ง

ไผกแ็ ขวนออ้ นตอ้ นเสมอดา้ มดงั เดยี ว
แปล ความตาย ตดิ ตามเหมอื นเงาตามตวั ไม่มผี ใู้ ดหลุดพน้

“ไผผเู้ ฮยี นฮาํ่ ฮู้ วชิ าปราชญท์ างใด

กใ็ หม้ ใี จจด เผงิ่ วชิ าทตี่ นฮ”ู้

แปล เรยี นรใู้ หเ้ ชย่ี วชาญเป็นวชิ าเลย้ี งตวั

๒. ผญาเก้ียวพาราสีทวั่ ไป

“เวา้ ชตู้ ่างบา้ นปานฝากไขไ่ ว้ นํากา ฝากปลาไวน้ ําแมว
ฝากแหลวไวน้ ําไก่น้อย ฝากกอ้ ยไวน้ ําหมาขเ้ี ฮอ้ื น มนั สมิ า้ มเมอื่ ใด”

แปลว่า มคี นรกั ต่างบา้ นกเ็ หมอื นฝากไขไ่ วก้ บั กา ฝากปลาไวก้ บั แมว ฝากเหยย่ี วไวก้ บั ไก่
ฝากลาบกอ้ ยไวก้ บั หมา ไมร่ มู้ นั จะงาบเมอ่ื ไร

“นกเขาตพู้ รากค่กู ะยงั ขนั กาเวาวอนพรากฮงั กะยงั ฮอ้ ง

“น้องพรากอา้ ยคาํ เดยี วบเ่ อน้ิ สงั่ คนั บ่เอน้ิ สงั่ ใกลข้ อใหเ้ อน้ิ สงั่ ไกล”

แปลวา่ นกพรากค่พู รากรงั ยงั รอ้ งเพรยี กหา แต่น้องจากพไ่ี ปไมม่ แี มค้ าํ ร่าํ ไร

“คนั บแ่ น่บ่ยงิ บ่จรงิ อยา่ เวา้

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยวา่ ดว้ ยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๓๖ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

บเ่ อาบ่วา่ รบั ฟ้าผา่ ห่าตํากะได้ ใจนนั้ เทยี่ งชนั ”
แปลว่า ไม่แม่นไม่ยงิ ไม่จรงิ ไม่พูด ไม่อยากไดไ้ ม่ขอ ใหฟ้ ้าผ่าก็ไดใ้ จพ่นี ้ีมนั่ คง (รกั น้อง
จรงิ ๆ)

“ฮกั เมยี โต ใหฮ้ กั ลุงตา ฮกั นาโต ใหฮ้ กั พ่อบา้ น” แปล รกั เมยี แลว้ ใหร้ กั ถงึ ลุงถงึ ตา ถงึ นา
ถงึ บา้ นดว้ ย

๓. ผญาปัญหาภาษิต

กําขด้ี กี ว่ากาํ ตด หาํ หดดกี ว่าโคยเสยี ก

บเ่ ป็นนายอยา่ เวา้ การเมอื ง บ่ไดต้ ดใส่ผา้ เหลอื งอยา่ เวา้ การวดั
สนุกในเมอื งฟ้ามแี ต่แดดกบั ฝน สนุกในเมอื งคนมแี ต่กนิ กบั ส้ี

บ่ไดน้ ้องชาตนิ ้สี หิ นีไปบวชเป็นสงฆ์ ท่องสกิ ขาอยกู่ ุฏนิ อนแลง้

เอาใหห้ วั โคยแหง้ เถงิ ยามแลงตกั น้ําจมุ่ ใหส้ ่มุ อยเู่ รอ่ื ยความแหง้ บใ่ หม้ ี

๔. ผญาเกี่ยวกบั ศาสนา – ศีลธรรม

“หญงิ ฮปู ฮา้ ย ครองวดั ผางาม

ชายฮปู ทราม วชิ าพาฮุง่

มศี ลี ทล่ี ะ เป็นพระทใ่ี จ
คนดจี กั่ ถกึ ฟ้อง ฆอ้ งดตี จี งั่ ดงั

ครนั เจา้ กนิ เน้อื แลว้ กะใหห้ ่วงคุณหมา แด่เน้อ

บาดหา่ โจรมนั มา สเิ พงิ่ หมาดาํ น้อย อยเู่ ดอ้ ”

“ใจประสงคต์ งั้ ฟงั ธรรมพระเจา้ เทศน์

บไ่ ดโ้ ยกเยกยา้ ย เสมอชา้ งเขอ่ื นโขลง ดอกนา”

“ใจประสงคส์ รา้ ง ศลี ธรรมเฮยี นฮอบ

พอปานไดห้ น่วยแกว้ แยงแลว้ เปิดบเ่ ป็น เจา้ เอย”

“คนเฮาน้ี คอื กนั ทงั้ โลก

เกดิ แลว้ กลบั ต่าวปลน้ิ ตายเมย้ี นค่ซู คู่ น

ชอ่ื วา่ แนวความฮู้ ศลี ธรรมพระเจา้ ใหญ่

ครนั แมน่ เฮยี นไดแ้ ลว้ สเิ ป็นแกว้ แก่นมโน

ศาสนาสองพนั หา้ กรายมามนั ต่าง

สงั ฆะเจา้ วนั มอ้ื บถ่ กึ กนั ”

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยวา่ ดว้ ยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๓๗ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๕. ผญาเกี่ยวกบั การถ่อมตน การรจู้ กั ประมาณตน

“ครนั้ เจา้ ไดข้ ช่ี า้ ง อยา่ ลมื หมหู่ มหู มา

ห่าขโมยมาเฮอื น สเิ ห่าหอนใหม้ นั ยา่ น

บดั หา่ กวางฟางเตน้ ตามทางสไิ ดไ้ ล่

บดั หา่ ไดต้ ่อนชน้ิ ยงั สไิ ดอ้ ่าวคุณ”

“ครนั้ เจา้ ไดข้ ช่ี า้ ง อยา่ ลมื หมงู่ วั ควาย

มนั หากคณู คนทาง ต่างดคี นก้าํ

ชา้ งหากดยี ามเขา้ สงครามไดข้ ่ี

ดเี มอ่ื เขา้ เขตหอ้ ง นครกวา้ งอาจอง

ครนั้ เจา้ ไดก้ นิ ชน้ิ อยา่ ลมื แหงคุณหมา
ขโมยบซ่ อบลกั คอบหมานอนเฝ้า

อยา่ ไดล้ มื คณุ เจา้ แมวอดี าํ โตเกดิ ก่อน

เถงิ ใหญ่หนูบย่ า้ํ ปางนนั้ คอบแมว นนั้ แหลว้ ”

“ครนั้ เจา้ ไดข้ ม่ี า้ อยา่ กงั้ หม่ แฮแถม

ยา้ นเจา้ เภทฟ์ งั ตก ถอื ตอตาํ ตอ้ ง”

๘.๘ สภุ าษิตภาคใต้

ถา้ พดู ถงึ สุภาษติ ภาคใตม้ กั จะหายากอย่เู อามาก แต่ถา้ ถามว่าการละเล่นพน้ื บา้ นภาคใต้ท่ี
มชี อ่ื คอื อะไรละก็ บอกไดว้ ่าคอื องั กะลุง (Angklung) องั กะลุง เป็นเครอ่ื งดนตรไี ทยชนิดหน่ึง ทําจาก
ไม้ เล่นดว้ ยการเขย่าใหเ้ กดิ เสยี ง นับเป็นเครอ่ื งดนตรปี ระเภทตี มที ่มี าจากประเทศอนิ โดนีเซยี ใน
ภาษาอนิ โดนีเซยี เรยี กว่าองั คะลุง หรอื องั กลุง (Angklung) อุปกรณ์ดนตรกี ็ประกอบด้วย เคร่อื ง
ประกอบจงั หวะ ไดแ้ ก่ ฉ่ิง, ฉาบเลก็ , กรบั , โหม่ง, กลองแขก นอกจากน้ีมกั มเี คร่อื งตกแต่งเพ่อื เพมิ่
ความสวยงาม เช่น ธงชาติ, หางนกยงู เป็นต้น ต่อไปน้ีคอื ตวั อย่างสุภาษิตภาคใต้ ตามทพ่ี บใน
หนงั สอื ปรชั ญาไทยทเ่ี ขยี นโดยมหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง๗ คอื

ไก่ตวั ไหนต๊าก ตวั นนั้ แหละไข่

๗ วธิ าน สุชวี คุปต์ และคณะ, ปรชั ญาไทย, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพมิ พ์มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง, ๒๕๔๗), หน้า
๑๔๓-๑๔๕.

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยวา่ ด้วยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๓๘ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

หมายความว่า ไก่ทไ่ี ข่จะรอ้ งต๊ากๆ ความหมายคอื คนทท่ี ําความผดิ จะรอ้ นตวั ทาํ นองกนิ
ปนู รอ้ นทอ้ ง ววั สนั หลงั หวะ ทาํ นองนนั้

 ยงิ่ หยดุ ยงิ่ ไกล ยงิ่ ไปยงิ่ แค่

หมายความว่า การทํางานถ้าหยุดบ่อยกใ็ ช้เวลานานวนั แต่ถ้าทาํ ไปเร่อื ยๆ เดยี๋ วเดยี วก็
เสรจ็ ทาํ นองนนั้

 กนิ ขา้ วบดมาก่อน

หมายความว่า ผใู้ หญ่ผ่านโลก มปี ระสบการณ์ชวี ติ มามาก ย่อมรดู้ วี ่าควรหลบควรหลกี รู้
ว่ารอ้ นหรอื เยน็ เวลาใด ทาํ นองว่าเป็นผใู้ หญ่อาบน้ํารอ้ นมาก่อน

 กนิ ขา้ วเยน็ เป็นพระยา กนิ ขา้ วรอ้ นนอนกบั หมา

หมายความว่าทําสง่ิ ใดๆ ใจเยน็ ด้วยความพินิจพเิ คราะห์ งานนัน้ ย่อมผดิ พลาดได้ยาก
งานประสบผลสําเรจ็ ไดร้ บั การยกย่องนับถอื ดงั พระยา แต่ใจร้อน หุนหนั พลนั แล่น งานมคี วาม
ผดิ พลาดมาก แถมงานแลว้ ปญั หาตามมาเป็นฝงู ซา้ํ ทะเลาะกนั เสยี เพ่อื นไปหมด

 นอนสงู ใหน้ อนควาํ่ นอนตํา่ ใหน้ อนหงาย
หมายความว่าเม่อื ได้ดี มตี ําแหน่งสูงก็อย่าทําหยงิ่ จองหอง อย่าลมื ตวั รบั ฟงั ความของ
ผู้น้อย เหน็ ความสําคญั ทุกคน เหลยี วหลงั ทุกครงั่ ทม่ี คี นทกั แมแ้ ต่จง้ิ จกทกั แต่คนท่นี อนต่ํา ต้อง
หงายคอยรบั ฟงั และปฏบิ ตั ติ ามคาํ สงั่ เจา้ นายทุกเมอ่ื

 ขา้ งในไฟครอก ขา้ งนอกวนั ทา

หมายความว่าคนท่ไี ม่มคี วามซ่อื สตั ย์ ปากกบั ใจไม่ตรงกนั ต่อหน้ายกย่อง ลบั หลงั ตงั้
นินทา ไวใ้ จไมไ่ ด้

 กวางเขา้ ไร่ ไปทาํ รวั้ ทนี่ า
หมายความวา่ ทาํ งานไมถ่ ูกจงั หวะ ใชไ้ วว้ านไมถ่ กู ผถู้ ูกคน แกป้ ญั หาไมถ่ กู คน ไปไม่ถูก
ท่ี ทาํ ไมถ่ กู วธิ ี

 แก่หมากแก่พรา้ ว เฒา่ ลอกอ

หมายความวา่ แก่ดว้ ยวยั แต่มธี รรม เหมอื นมะพรา้ วหา้ วยง่ิ แก่ยงิ่ มนั แต่ถา้ ไรธ้ รรม กไ็ ร้
ประโยชน์ แก่เปลา่ ๆ

 ตนื่ สายใหส้ รา้ งสวนพรา้ ว ตนื่ เชา้ ใหส้ รา้ งสวนยาง
หมายความว่า คนทจ่ี ะเจรญิ เตบิ โตขน้ึ นนั้ เพราะ ไดท้ าํ งานทเ่ี หมาะกบั นิสยั

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยว่าดว้ ยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๓๙ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๘.๙ สภุ าษิตภาคเหนือ

ความจรงิ แลว้ ความหมายสุภาษิตกเ็ หมอื นกบั สุภาษติ ภาคต่างๆ ของประเทศไทยน้ีแหละ

แต่ท่จี ะแตกต่างกนั ก็คอื สําเนียงภาษา ภาคเหนือก็มสี ําเนียงภาคเหนือเป็นของตนเอง ภาคใต้ก็มี

สาํ เนียงใตเ้ ป็นของตนเอง ต่อไปน้คี อื ตวั อยา่ งของสภุ าษติ ภาคเหนือ คอื

“กาก๊ึดบด่ ี ขายสะลีนอนสาด

กากึ๊ดสลาด ขายสาดนอนสะลี”

ถอดเป็นสาํ เนยี งภาคกลางไดว้ ่า

“ความคดิ ไมด่ ี ขายสาํ ลนี อนเสอ่ื
ความคดิ ฉลาด ขายสาดนอนสาํ ล”ี ๘

“สบิ ปี๋อาบน้ําบ่หนาว ซาวปี๋หยอกสาวบอ่ กอ้ ย

สามสบิ ปี๋ บห่ น่ายสงสาร สส่ี บิ ปี๋เยย้ี ะการ เหมอื นฟ้าฝา่

หา้ สบิ ปี๋ สาวน้อยดา่ บผ่ ดิ ใจ๋ หกสบิ ปี๋ ไอเหมอื นฟานโขก

เจด็ สบิ ปี๋ มะโหกเตม็ ตวั แปดสบิ ปี๋ ไค่หวั เหมอื นให้

เกา้ สบิ ปี๋ ไขก้ ต็ ายบ่ไขก้ ต็ าย”๙

“ของกนิ่ บก่ ๋ฮิ เู้ น่า ของเก่าบเ่ ลา่ ฮลู้ มื ”

หมายความว่า ของทไ่ี มก่ นิ จะเน่า ของเก่าไมเ่ ลา่ กล็ มื

“เงนิ อยใู่ ตน้ ้ํา คาํ อยใู่ ตด้ น๋ิ ”

หมายความว่าเงนิ อยลู่ กึ คอื หายาก คาํ คอื ทองคาํ อยใู่ ตด้ นิ ต้องขดุ คน้ ดงั เหมอื งแรจ่ งึ จะไดม้ า

ทาํ นองว่าเงนิ ทองหายาก ดงั นนั้ ตอ้ งรคู้ ุณคา่ ของมนั

“อกู้ บั คนใบ้ เหมอื นผ่าไมต้ ๋าํ ต๋า อกู้ บั คนผญา เหมอื นผา่ ไมโ้ ล่งขอ้ ”

หมายความว่าพูดกบั คนทเ่ี ข้าใจยาก ไม่มมี ารยาท ไม่มวี ชิ า ย่อมลําบากธรรมดา แต่ถ้า
พดู กบั คนปญั ญามกี ารศกึ ษา กย็ อ่ มลงคอ ถกู คอ เขา้ ใจงา่ ยดว้ ยดี นนั่ แล

คาํ อ่นื ๆ ทไ่ี ดย้ นิ บ่อยๆ คอื เป้ิล หมายถงึ เพ่อื น คําว่าป้ี หมายถงึ พ่ี คําว่าอู้ หมายถงึ พดู คาํ

วา่ ป๊ิกบา้ น หมายถงึ กลบั บา้ น คาํ วา่ ละอ่อน หมายถงึ เดก็ ทย่ี งั อ่อน ตวั แดงๆ อย่ใู นออ้ มกอด คําว่าฮอ้ื

หมายถงึ ให้ คาํ วา่ บ่อฮอ้ื หมายถงึ ไมใ่ ห้ นนั่ เอง

สาํ นวน สุภาษติ คาํ พงั เพยนนั้ ดเู ผนิ ๆจะคลา้ ยกนั มากจนแยกกนั แทบไม่ออก ซง่ึ ในความ
เป็นจรงิ แลว้ ทงั้ ๓ คํามคี วามแตกต่างกนั อยู่ โดยท่สี ํานวนไทยจะเป็นการพูดเชงิ เปรยี บเทยี บและ

มกั จะไมแ่ ปลความหมายตรงๆ เช่น กนิ น้ําใตศ้ อก ส่วนสุภาษิตจะเป็นเชงิ สงั่ สอนหรอื ใหข้ อ้ คดิ เช่น

๘ ผศ.ชาํ นะ พาซอ่ื , ปรชั ญาไทย, (กรุเทพมหานคร : โรงพมิ พม์ หาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๕), หน้า ๑๗๗.
๙ เรอ่ื งเดยี วกนั , หน้า ๑๙๙-๒๐๐.

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยว่าดว้ ยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๔๐ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

หวั ล้านไดห้ วี วานรไดแ้ ก้ว และสุดทา้ ยคําพงั เพย จะเป็นลกั ษณะของการเปรยี บเทยี บของสองสงิ่
เช่น กว่าถวั่ จะสุกงากไ็ หม้ เป็นตน้

๘.๑๐ สานวนไทย สภุ าษิต และคาพงั เพย หมวด ก-อ

สาํ นวนไทย สภุ าษติ ไทย และคาํ พงั เพย มปี รากฏมากมาย แต่ทน่ี ิยมใชก้ นั มดี งั น้ี
สานวน สภุ าษิต คาพงั เพย หมวด ก.๑๐

กรุงศรอี ยุธยาไม่ส้นิ คนดี หมายถงึ เม่อื ถงึ คราวบ้านเมอื งนัน้ ๆ ถงึ คราวยากลําบาก กย็ งั
เหลอื คนดมี คี วามสามารถมาชว่ ยกอบกสู้ ถานการณ์ช่วยเหลอื ใหผ้ ่านพน้ ไปได้ ทม่ี าของสาํ นวน คาด
ว่าน่าจะมาจากสมยั กรุงศรอี ยุธยาจรงิ ๆ เน่ืองจากปรากฏหลกั ฐานในสภาพขุนช้างขุนแผนดว้ ยว่า
จรงิ ๆ เน่อื งจากปรากฏหลกั ฐานในสภาพขนุ ชา้ งขนุ แผนดว้ ย

กล้งิ ครกข้นึ ภูเขา นัน้ หมายถึง เร่อื งท่กี ําลงั จะทํานัน้ จะทําให้สําเรจ็ นัน้ ทําได้ยากลําบาก
ตอ้ งใชค้ วามพยายามและความสามารถอยา่ งมาก เปรยี บเสมอื นการกลง้ิ ครกขน้ึ ภเู ขา

กว่าถวั่ จะสุกงาก็ไหม้ หมายถงึ ลกั ษณะของการทํางานทม่ี คี วามรรี อลงั เลใจ ทําให้แก้ไข
ปญั หาไดไ้ มท่ นั ทว่ งที เมอ่ื ไดอ้ ยา่ งหน่ึงแลว้ แต่กลบั ตอ้ งเสยี อกี อยา่ งหน่งึ ไป

กําข้ดี กี ว่ากําตด หมายถงึ การทค่ี นๆ นนั้ จะเลอื กสงิ่ ทม่ี มี ลู ค่าหรอื คุณค่าน้อยกว่า แต่ว่าจะ
ไดแ้ น่ๆ ดกี ว่าการเลอื กสง่ิ ท่มี คี ุณค่าหรอื มูลค่าสูงกว่า แต่ยงั มคี วามไม่แน่นอนในการไดม้ าของสง่ิ
นนั้ ๆ หรอื สอ่ื อกี ความหมายหน่งึ คอื ไดอ้ ะไรมาบา้ งแน่ๆ ดกี วา่ ความหวงั สงู

กนิ ทลี่ บั ขบั ทแี่ จง้ หมายถงึ การได้ประโยชน์กนั ในทล่ี บั ไม่มใี ครรู้ แต่ต่อมามกี ารขดั ขอ้ งกนั
จงึ นําเรอ่ื งทเ่ี คยทาํ นนั้ มาเปิดเผยใหห้ ลายๆ คนรบั รู้ มกั ใชใ้ นเชงิ ชสู้ าว ทม่ี าของสาํ นวน เปรยี บเปรย
ไดก้ บั การกนิ อาหารในทส่ี ่วนตวั ไม่มใี ครเหน็ แต่เม่อื เวลาถ่ายกลบั ถ่ายในทม่ี คี นเหน็ มากมายซง่ึ เป็น
การทาํ ทไ่ี มด่ ี

กนิ น้ําใต้ศอก หมายถงึ มคี วามหมายไปในทางท่วี ่าถึงจะได้อะไรสกั อย่างก็ไม่เทยี มหน้า
หรอื ไม่เสมอหน้าเขา เช่น หญงิ ทไ่ี ด้สามแี ต่ต้องตกไปอย่ใู นตําแหน่งเมยี น้อย ก็เรยี กว่า "กนิ น้ําใต้
ศอกเขา" หรอื เป็นของมอื สอง

กนิ อยกู่ บั ปาก อยากอยกู่ บั ทอ้ ง หมายถงึ ตวั เองรเู้ อง ทาํ เอง ว่าทาํ อะไรอยู่

กนิ บนเรอื น ขร้ี ดหลงั คา หมายถงึ ไมร่ จู้ กั บุญคณุ คน เนรคุณ

เก็บเบ้ยี ใต้ถุนร้าน หมายถงึ เก็บเล็กผสมน้อย โน่นบ้างน่ีบ้าง จนสําเรจ็ เป็นรูปเป็นร่าง
ขน้ึ มา

เกบ็ เลก็ ผสมน้อย หมายถงึ เกบ็ ไวท้ ลี ะเลก็ ละน้อย

๑๐ พพิ กั ษ์ สายณั ห,์ สภุ าษิต คาพงั เพย, (กรุงเทพมหานคร : สาํ นกั พมิ พเ์ สรมิ วทิ ย,์ ๒๕๕๙), หน้า ๔๕-๔๘.

บทท่ี ๘ “ภมู ิปัญญาไทยว่าด้วยสภุ าษิตและคาพงั เผย” หน้า ๔๔๑ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

เกบ็ หอมรอมรบิ หมายถงึ เกบ็ รวบรวมไวท้ ลี ะเลก็ ละน้อย
เกลยี ดตวั กนิ ไข่ เกลยี ดปลาไหลกนิ น้ําแกง หมายถงึ เกลยี ดตวั เขาแต่อยากได้ผลประโยชน์
จากเขา
แกว่งเทา้ หาเส้ยี น หมายถงึ คนทเ่ี ขา้ ไปยงุ่ เรอ่ื งของคนอ่นื ทงั้ ๆ ทไ่ี มจ่ าํ เป็น จนทําใหต้ วั เอง
นนั้ เดอื นรอ้ น
เกลอื เป็นหนอน หมายถงึ ญาตมิ ติ ร สามภี รรยา บุตรธดิ า เพ่อื นร่วมงาน หรอื คนในบ้าน
คดิ คดทรยศ ไสเ้ ป็นหนอน กว็ ่า
เกลอื จม้ิ เกลอื หมายถงึ ไมย่ อมเสยี เปรยี บกนั แกเ้ ผด็ ใหส้ าสมกนั
เกยี่ วแฝกมงุ ปา่ หมายถงึ ทาํ อะไรเกนิ กาํ ลงั ความสามารถของตวั
แกงจดื จงึ รคู้ ณุ เกลอื หมายถงึ จะรคู้ ่าของบางสง่ิ กต็ ่อเมอ่ื เดอื ดรอ้ น
แกว่งเทา้ หาเส้ยี น หมายถงึ ขา้ ไปยงุ่ กบั เรอ่ื งของผอู้ ่นื จนเกดิ เป็นเรอ่ื งกลบั มาทต่ี วั เอง
แกะดาํ หมายถงึ คนทท่ี าํ อะไรผดิ เพอ่ื นผดิ ฝงู ในกลุ่มนนั้ ๆ (ใชใ้ นทางไมด่ )ี
ใกลเ้ กลอื กนิ ด่าง หมายถงึ มองขา้ มของดที อ่ี ยู่ใกล้ตวั ซ่งึ จะเป็นประโยชน์แก่ตน กลบั ไป
แสวงหาสงิ่ อ่นื ทด่ี อ้ ยกวา่
ไก่เเก่เเมป่ ลาช่อน หมายถงึ หญงิ คอ่ นขา้ งมอี ายุ มมี ารยาและเล่หเ์ หลย่ี มมาก
ไก่เหน็ ตนี งู งเู หน็ นมไก่ หมายถงึ ต่างฝา่ ยต่างรคู้ วามลบั ของกนั และกนั
ไก่ไดพ้ ลอย หมายถงึ ไดส้ งิ่ ทม่ี คี ่าแต่ไมร่ คู้ ุณคา่ จงึ ไมเ่ กดิ ประโยชน์แต่อยา่ งใด
ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง หมายถงึ ความสวยงามเกดิ ขน้ึ ไดจ้ ากการปรงุ แต่ง
ไก่รองบ่อน หมายถงึ ผทู้ อ่ี ยใู่ นฐานะตวั สาํ รอง ซง่ึ จะเรยี กมาใชเ้ มอ่ื ไรกไ็ ด้
ไก่อ่อน หมายถงึ อ่อนหดั ยงั ไมช่ าํ นาญ
กงเกวยี นกาํ เกวยี น หมายถงึ เวรสนองเวร กรรมสนองกรรม ทาํ อยา่ งไรยอ่ มไดอ้ ยา่ งนนั้
กบเกดิ ใตบ้ วั บาน หมายถงึ อยใู่ กลส้ งิ่ ทด่ี งี าม แต่ไมร่ จู้ กั คุณค่า
กบเลอื กนาย หมายถงึ ผทู้ ต่ี อ้ งการเปลย่ี นผบู้ งั คบั บญั ชาเรอ่ื ยๆ
กบในกะลาครอบ หมายถงึ ผมู้ คี วามรแู้ ละประสบการณ์น้อย แต่สาํ คญั ตนวา่ มคี วามรมู้ าก
กรวดน้ําควาํ่ ขนั หมายถงึ ตดั ขาดไมข่ อเกย่ี วขอ้ งดว้ ย
กระจอกงอกงอ่ ย หมายถงึ ยากจนเขญ็ ใจ
กระดงั งาลนไฟ หมายถงึ หญงิ ทเ่ี คยผ่านผชู้ ายมาแลว้ ย่อมรจู้ กั ชนั้ เชงิ ดกี ว่าผหู้ ญงิ ทย่ี งั ไม่
เคยแต่งงาน
กระดไี่ ดน้ ้ํา หมายถงึ อาการแสดงความดใี จ หรอื ต่นื เตน้ จนตวั สนั่
กระดกู ขดั มนั หมายถงึ ขเ้ี หนียวมากอยา่ งไมย่ อมใหอ้ ะไรแก่ใครง่ายๆ


Click to View FlipBook Version