The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย Buddhism and Thai Culture

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย Buddhism and Thai Culture

พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย Buddhism and Thai Culture

Keywords: พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย,Buddhism and Thai Culture

บทท่ี ๖ “อิทธิพลแนวคิดพระพทุ ธศาสนาที่มีต่อภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๒๙๒ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

พอจง้ิ จกทกั ขวางไมห่ า่ งที่

เงอ้ื มถอดใจไมก่ ลา้ ตี

เคราะหด์ แี ลว้ มงึ จงึ รอดตวั ”
หรอื เมื่อขนุ เพชรอาบน้าแต่งตวั เพ่ือจะไปจบั ขนุ แผน เมยี เดินมาส่งหน้าบ้านแลเหน็

“เมยี ยกมอื ไหวแ้ ลไปดู

ไมเ่ หน็ หวั ผวั อย่แู ค่บา่

ตกใจวงิ่ ไปแลว้ โสกา
พ่อฟงั เมยี ว่าอยา่ เพอ้ ไป

เดนิ มาเมอื่ ตะก้ไี มม่ หี วั
ตวั เมยี น้เี หน็ เป็นขอ้ ใหญ่”๕๓

นอกจากนนั้ แลว้ กเ็ ป็นการเชอ่ื การบอกเหตุของหนูรอ้ ง เสยี งการอ้ ง หรอื ตุ๊กแกรอ้ ง ฯลฯ
กล่าวโดยสรุปการถือโชคลาง๕๔ หมายถงึ การเช่อื ถอื และการปฏบิ ตั ิทไ่ี ม่มเี หตุผลหรอื มี
เหตุผลในอดีต แต่ในปจั จุบันไม่มีเพราะสถานการณ์ได้เปล่ียนแปลงไป การถือโชคลางมี
ความสมั พนั ธใ์ กล้ชดิ กบั ไสยศาสตรเ์ พราะเป้นความเช่อื และการปฏบิ ตั เิ ก่ยี วกบั อํานาจลกึ ลบั อะไร
บางอยา่ งเหมอื นกนั ต่างกนั แต่เพยี งว่าการถอื โชคลางส่วนมากเป้นความเช่อื ถอื และปฏบิ ตั สิ บื ๆ กนั
มาในชุมชนหน่ึงๆ โดยมีสมาชิกของชุมชนแต่ละคนนัน้ เองเป็นผู้ควบคุมกันและกัน ไม่มี
ผเู้ ชย่ี วชาญพเิ ศษคอยทาํ หน้าทแ่ี บบหมอไสยศาสตร์
การถือโชคลางมี ๒ แบบคือแบบที่เป็ นข้อห้าม (tabu) และแบบข้อบงั คบั ให้ทา
(obligatory acts)

๑. การถือข้อห้าม (Tabu)

การถือข้อห้าม หมายถึงการงดเว้นไม่กระทําหรอื ไม่แตะต้องไม่เขา้ ใกล้อะไรบางอย่าง
เพราะเชอ่ื วา้ ขนื กระทาํ ผกู้ ระทาํ จะไดร้ บั โทษหรอื ผลเสยี อะไรบางอย่าง อนั เน่ืองมาจากพลงั ลกึ ลบั
ทแ่ี ฝงอยใู่ นสงิ่ นนั้ ๆ ขอ้ หา้ มเหลา่ นนั้ บางอยา่ งกพ็ อจะมองเหน็ ว่ามเี หตุมผี ลอย่บู า้ งแต่บางอย่างก็มอ
ไมเ่ หน็ เหตุผลใดๆ ขอ้ หา้ มทไ่ี ม่มเี หตุผล ถ้าขนื ทําเขา้ จะเกดิ เสนียดจญั ไรทช่ี าวลา้ นนาไทยเรยี กว่า
“ขดึ ” หรอื ทางภาคอสี านเรยี กว่า “ขะลา” หรือ “ขึดขวาง” โปรดสงั เกตขอ้ ห้ามแบบตาบขู องชาว
ลา้ นนาไทย ดงั ต่อไปน้ี

เก่ียวกบั การสร้างบา้ นเรอื น

-ไมค่ วรสรา้ งบา้ นเรอื นในทว่ี ดั รา้ ง หรอื สรา้ งค่อมพระธาตุเจดยี ์

-ไมค่ วรถมบ่อน้ําแลว้ สรา้ งบา้ นเรอื นครอ่ ม

๕๓ ราชบณั ฑติ ยสถาน, พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน, พ.ศ. ๒๕๒๕, หน้า ๗๒๘.
๕๔ เฉลมิ จนั ปฐมพงศ์ กบั คนอ่นื ๆ, ประวตั ิศาสตรส์ งั คมไทย, (นนทบุรี : เสถยี รไทย, ๒๕๒๐), หน้า ๔๗๑-๔๗๕.

บทท่ี ๖ “อิทธิพลแนวคิดพระพทุ ธศาสนาท่ีมีต่อภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๒๙๓ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

-ไมค่ วรขดุ ตอไมใ้ หญ่ และรอ้ื จอมปลวกแลว้ สรา้ งบา้ นครอ่ ม

-ไมค่ วรสรา้ งบา้ นเรอื นครอ่ มหนองน้ําทแ่ี หง้ แลว้
-ไมค่ วรรอ้ื เรอื นสองหลงั มาปลกู เป้ฯหลงั เดยี ว
-ไมค่ วรรอ้ื เรอื นใหญ่มาปลกู เป้นกระท่อม

-ไมค่ วรเอาไมฤ้ ดฝู นกลางพรรษาสรา้ งบา้ นเรอื น

-ไม่ควรสร้างบ้านเรอื นด้วยไมท้ ่เี กดิ ในบรเิ วณจอมปลวกหรอื เหนือจอมปลวก ไมจ้ มดนิ
ไมล้ ม้ คา้ ง (ลม้ ไมถ่ งึ ดนิ ) ไมต้ กลงจากฝงั่ น้ํา ไมฟ้ ้าผา่ ไมต้ ายยนื ตน้ ไมต้ ายครง่ึ ซกี ไมเ้ ป็นโพรง ไม้
เป็นงา่ มหางปลา ไมเ้ ครอื เถาวลั ยข์ น้ึ มาก ไมท้ ม่ี เี ทวดาอารกั ษ์และไมห้ ลกั เมอื ง

-ไมล้ อ้ เกวยี นทห่ี กั แลว้ ไมค่ วรนํามารองเชงิ บนั ไดเหยยี บขน้ึ หรอื ทาํ เป็นตงั่ รองนงั่

-เรอื นทร่ี อ้ื ไวเ้ กนิ ๖ เดอื น ไมค่ วรนํามาปลกู อกี

-ไมค่ วรนําไมจ้ ากเรอื นหลงั หน่งึ ไปใส่อกี หลงั หน่งึ

-ไมค่ วรเอาไมจ้ ากเรอื นหลายหลงั มารวมเป็นหลงั เดยี วกนั เรอื นเช่นนนั้ เรยี กว่า แกงแกขดึ

-เรอื นไมร้ ้อื แต่เปล่ยี นผ่า เปล่ยี นช่อื เปล่ยี นเคร่อื งบน เปล่ียนเคร่อื งลุ่ม ไม้ดี เรยี กว่า
เรอื นลอกคราบ

-เรอื นท่าวลกุ คอื เรอื นทร่ี อ้ื วนั นนั้ ปลกู วนั นนั้ ไมด่ ี

-รอ้ื เรอื นไมร่ อ้ื ชานแลว้ ปลกู เรอื นรว่ มชานไมด่ ี

-เรอื นหลงั เก่าไมร่ อ้ื แลว้ สรา้ งต่อออกไปไมด่ ี เรยี กว่าสบื เรอื น

-ปลกู เรอื นสองหลงั มปี ระตตู รงกนั ไมดี

-ปลกู เรอื นมี ๔ ประตู ไมด่ ี เรยี กว่าอบายทงั้ ๔

-ปลกู เรอื นมหี น้าต่าง ๙ บาน ไมด่ ี เรยี กว่าทวารทงั้ ๙

ข้อห้ามทวั่ ๆ ไป

๑. เวลาเหน็ ดาวตกหา้ มทกั
๒. หา้ มทกั สตั วท์ ต่ี าย
๓. ถา้ มเี สยี งจง้ิ จกทกั ทป่ี ระตบู า้ น หา้ มออกไปทาํ ธุระนอกบา้ น
๔. หา้ มมใิ หแ้ หงหอยและเต่าเผามาเลย้ี งกนั จกั ขดั ใจกนั ทหี ลงั
๕. หา้ มนงั่ คาบนั ได จะทาํ ใหอ้ อกลกู ยาก
๖. หา้ มหวผี มตอนกลางคนื เป็นการทอนอายพุ ่อแม่
๗. หา้ มลา้ งมอื ซอ้ นมอื จะเกลยี ดกนั ในภายหน้า
๘. หา้ มสวมเสอ้ื กลบั หน้าเป็นหลงั
๙. หา้ มตดั เลบ็ ตอนกลางคนื
๑๐. หา้ มใหเ้ ขม็ หรอื มดี แก่กนั ถา้ ใหต้ อ้ งเอาเงนิ แลก

บทท่ี ๖ “อิทธิพลแนวคิดพระพทุ ธศาสนาท่ีมีต่อภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๒๙๔ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๑๑.หา้ มเคย้ี วอาหารทเี ดยี ว ๒ ขา้ งแกม้
๑๒. หา้ มกวาดบา้ นตอนกลางคอื
๑๓.หา้ มนอนใตข้ อ่ื บา้ น
๑๔.หา้ มนอนหนั ศรี ษะไปทางทศิ เหนอื
๑๕.หา้ มดา่ หมู หมา กา ไก่ ลม แดด และฝน
๑๖. หา้ มผวิ ปากในเวลากลางคนื
๑๗. หา้ มฆา่ หมู ๕ เลบ็ และควายเผอื ก
๑๘.หา้ มกนิ ปลาดกุ เผอื ก
๑๙.หา้ มเอาศพผ่านประตูเชยี งใหม่
๒๐.ผ่าฟืนบนเรอื นไมด้ ี
๒๑. ตาํ น้ําพรกิ จนครกแตกไมด่ ี
๒๒. กนิ ขา้ วอมิ่ แลว้ ลกุ ขน้ึ พรอ้ มกนั ไมด่ ี
๒๓. ลบั มดี ตอนกลางคนื ไมด่ ี
๒๔. สอยตะเขบ็ เสอ้ื คาตวั ไมด่ ๕ี ๕

๒. ข้อบงั คบั ให้ทา

มกี จิ กรรมบางอยา่ งท่ีคนจะต้องกระทาํ เพ่อื คามเป็นสริ มิ งคลและเพ่อื แก้ “ขึด” ทเ่ี กดิ จาก
การละเมดิ ขอ้ ห้ามต่างๆ แลว้ กจิ กรรมเหล่าน้ีบางอยา่ งกพ็ อจะมเี หตุผลอยู่บา้ ง แต่บางอย่างกไ็ ม่มี
เหตุผล ตวั อยา่ งเชน่

-คนตกตน้ ไมต้ าย ชา้ งแทงตาย เสอื กดั งขู บตาย ควายขวดิ ตาย ตายแต่อย่ใู นทอ้ งไมร่ ู้
วา่ เป็นหญงิ หรอื ชาย ควรอาบน้ําใหห้ มดจดเสยี ก่อนแลว้ ไปนิมนตเ์ อาพระภกิ ษุหรอื สามเณรมาปลง
กรรมฐานเสยี ก่อนแลว้ จงึ เอาเขา้ บา้ นได้

-ก่อนเผาศพ ควรลา้ งหน้าศพดว้ ยน้ํามะพรา้ ว

-เวลายกศพลงเรอื นใหต้ หี มอ้ น้ําหรอื ยกหมอ้ ขา้ วขวา้ งใหแ้ ตก

-เมอ่ื เอาศพออกจากบา้ นแลว้ ใหข้ ดี หนทาง

-เมอ่ื นําศพผ่านสแ่ี ยกใหห้ ามศพวนตรงทส่ี แ่ี ยกนนั้ แลว้ พดู ว่า อยา่ ไปทางนนั้ อยา่ ไปทางน้ี
ฉนั จะพาไปทางทถ่ี ูก

-ก่อนเผาศพควรหามศพรอบกองฟอน ๓ รอบ

-ควรเอาเงนิ (เหรยี ญ) ใส่ปากศพ
-ควรเอาฝ้ายผกู คอ ตนี และมอื ศพ

-เมอ่ื เอาศพลงเรอื นแลว้ ชกั ฟากปเู รอื นออก ๓ กบี และเอาไปเผาดว้ ย

๕๕ แสง จนั ทรง์ าม, ศาสนศาสตร,์ (กรงุ เทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานิช, ๒๕๔๕), หน้า ๒๔๗.

บทท่ี ๖ “อิทธิพลแนวคิดพระพทุ ธศาสนาที่มีต่อภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๒๙๕ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

-เอาศพลงเรอื นแลว้ ตอ้ งเอาน้ําลา้ งฟากเรอื น

-เวลาตงั้ ศพไวใ้ นเรอื นตอ้ งจดุ ไฟไวข้ า้ งหวั ศพ

-ปลวกขน้ึ เสาเรอื นใหเ้ อาขา้ วเปลอื กขา้ วสารบชู า จะไดล้ าภ

-ผง้ึ มาจบั มาจอดบา้ นเรอื น ใหบ้ ชู าดว้ ยขา้ วและดอกไมแ้ ดงจกั ไดล้ าภ

-ถา้ แมงบงุ้ ขน้ึ เรอื นใหบ้ ชู าดว้ ยดอกไมข้ าว และดอกไมแ้ ดงสาวจกั มาสแู่ ล

-ไก่ไขล่ กู เดยี วแลว้ ไมไ่ ขอ่ กี ใหเ้ อาไปไวท้ ว่ี ดั

-เวลานุ่งผา้ ซนิ่ ใหพ้ นั ไปทางดา้ นซา้ ย

-เวลารบั ประทานอาหารให้ปิดประตู หน้าต่างให้เรยี บร้อยเพ่อื ความปลอดภยั เพราะใน
เวลารบั ประทานอาหารเครอ่ื งรางของขลงั จะอ่อนกําลงั ลง ทาํ ใหศ้ ตั รทู าํ รา้ ยไดง้ า่ ย

-เวลากนิ ขา้ วใหผ้ ใู้ หญ่ลงมอื ก่อน
-เวลาฟนั หกั ใหโ้ ยนขน้ึ หลงั คา

-เวลาจะไปไหนใหฝ้ ากลกู ไวก้ บั แมพ่ ระธรณี

เหตผุ ลกบั ข้อห้ามแบบขึด
ขอ้ ห้ามบางอย่างก็ฟงั ดูไม่มเี หตุผลอะไรเช่นข้อห้ามว่า “วนั พุธห้ามตัด วนั พฤหสั ฯ
ห้ามสระ (ผม)” ไมท่ ราบวา่ ทาํ ไมจงึ หา้ มตดั ผมอดตี กาลนานมาแลว้ มพี ระราชาองคห์ น่ึงใหน้ ายช่าง
กลั บกมาตดั ผมในวนั พุธ บงั เอิญนายช่างกลั บกได้รบั สนิ จ้างรางวลั จากพวกขบถให้ปลงพระชนม์
พระราชา เขาจงึ ถอื โอกาสตอนนัน้ ปลงพระชนมพ์ ระราชา เสยี การสน้ิ พระชนมข์ องพระราชาคงจะ
เป็นข่าววะเทอื นขวญั คนไม่น้อย และตามกฎแห่งการประเทยี บความคดิ ดงั กล่าวแลว้ คนสมยั โน้นจงึ
เอาการสน้ิ พระชนมข์ องพระราชาไปเป็นคกู่ บั วนั พธุ กเ็ ลยถอื สบื กนั มาว่าวนั พุธเป็นวนั ทไ่ี มเ่ หมาะสม
สาํ หรบั การตดั ผม คนจงึ ไมต่ ดั ผมวนั พธุ กนั สบื มา รา้ นตดั ผมตอ้ งปิดรา้ นในวนั พุธจนกระทงั่ บดั น้ี

แต่ขอ้ หา้ มบางอยา่ งกพ็ อจะมเี หตุผลอยบู่ า้ ง เช่นอแี รง้ จบั หลงั คาเรอื นถอื เหน็ ลางรา้ ย ตอ้ ง
รบั ทําพธิ สี ะเดาะเคราะห์ ทงั้ น้ีเพราะว่าอแี รง้ เป็นสตั ว์ทก่ี นิ สตั วต์ าย สตั วอ์ าจจะตายด้วยโรคตดิ ต่อ
รา้ ยแรงบางอย่างอย่ใู นบรเิ วณนัน้ ซ่งึ คนยงั มองไม่เหน็ แต่แรง้ มนั เหน็ เพราะอย่สู ูงกว่าคนและตา
ดกี ว่าคน เม่อื มนั กนิ ซากสตั ว์ตายแล้วก็มาจบั พกั ผ่อนชวั่ คราวบนหลงั คาบ้านเรอื นท่อี ย่ใู กล้เคยี ง
เพราะในบรเิ วณนนั้ อาจจะไม่มตี ้นไมใ้ หญ่ทแ่ี รง้ พอจะอาศยั จบั ได้ ปรากฏว่าหลงั จากแรง้ จบั หลงั คา
เรอื นแลว้ ไม่นานเชอ้ื โรครา้ ยจากซากสตั ว์ตายก็ระบาดไปถงึ คนพอดที ําให้คนตายเป็นจํานวนมาก
และทุกครงั้ ท่มี อี ีแร้งจบั หลงั คาเรอื นเหตุร้ายเช่นนัน้ ก็เกดิ ข้ึน คนจงึ จดจํากนั สบื มาว่าถ้าอีแร้งจบั
หลงั คาเรอื นจะเกดิ เหตุรา้ ยในหมบู่ า้ น ถา้ เป็นความจรงิ ตามน้คี วามเช่อื ถอื เรอ่ื งอแี รง้ จบั หลงั คาเรอื นก็
อาจมเี หตุผลอยู่ แต่เน่ืองจากคนสมยั โบราณยงั ขาดความรยู้ งั ไม่เหน็ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างอแี รง้ กบั
โรครา้ ยและสตั วต์ าย ยงั ไมเ่ ขา้ ใจการตดิ เชอ้ื โรคจากมนุษย์ จงึ มองการจบั หลงั คาเรอื นของอแี รง้ เป็น
เรอ่ื งของการถอื โชคลางไป

บทท่ี ๖ “อิทธิพลแนวคิดพระพทุ ธศาสนาที่มีต่อภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๒๙๖ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๖.๗.๖ ภมู ิปัญญาไทยมลี กั ษณะเกี่ยวกบั ศาสนาและประเพณี

ภูมปิ ญั ญาด้านสาขาศาสนาและประเพณี หมายถึงความสามารถประยุกต์และปรบั ใช้
หลกั ธรรมคําสอนทางศาสนา ความเช่อื และประเพณีดงั้ เดมิ ทม่ี คี ุณค่าให้เหมาะสมต่อการประพฤติ
ปฏบิ ตั ิ ใหบ้ งั เกดิ ผลดตี ่อบุคคลและสง่ิ แวดลอ้ ม เช่น การถ่ายทอดหลกั ธรรมทางศาสนา การบวชป่า
ประเพณตี ่างๆ เช่น บวชพราหมณ์ เป็นตน้

ภมู ิปัญญาไทยในด้านความเช่ือทางศาสนา

ภมู ปิ ญั ญาไทยในดา้ นความเช่อื ทางศาสนา เป็นความ ความสามารถปรบั ปรุง ประยกุ ตค์ ํา
สอนทางศาสนาใชก้ บั วถิ ชี วี ติ ไดอ้ ย่างเหมาะสม คนไทยยอมรบั นับถอื ศาสนาพุทธเป็นส่วนใหญ่ โดย
นําหลกั ธรรมคําสอนทางศาสนามาปรบั ใชใ้ นวถิ ชี วี ติ ได้อย่างเหมาะสม ทําใหค้ นไทยเป็นผอู้ ่อนน้อม
ถ่อมตน เออ้ื เฟ้ือเผ่อื แผ่ ประนปี ระนอม รกั สงบ ใจเยน็ มคี วามอดทนใหอ้ ภยั แก่ผสู้ ํานึกผดิ ดํารงชวี ติ
อยา่ งเรยี บงา่ ยปกตสิ ุข

ความเช่ือ คอื การยอมรบั อนั เกดิ อยใู่ นจติ สาํ นึกของมนุษย์ ต่อพลงั อํานาจเหนือ ธรรมชาติ
ความเช่อื เป็นธรรมชาติ ทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั มนุษยท์ ุกรปู ทุกนาม สง่ิ ทม่ี นุษยไ์ ด้ สมั ผสั ทางใดทางหน่ึงจาก
อายตนะทงั้ ๖ (ตา หู จมกู ลน้ิ กาย ใจ ) เป็นต้นเหตุของ ความเช่อื อนั เป็นสญั ญเจตนา เมอ่ื เกดิ การ
เพาะบ่มความเช่ือโดยอาศัยสิ่งแวดล้อมท่ีได้สัมผัสเป็นประจํา เป็นเคร่ืองช่วยให้ความเช่ือ
เจรญิ เตบิ โต จงึ เกดิ รูปเกดิ สญั ลกั ษณ์อยา่ งใดอย่างหน่ึง จงึ เกดิ ความเช่อื ในรูปแบบความเช่อื ทเ่ี ป็น
รปู ธรรม และความเช่อื ทเ่ี ป็นนามธรรม

ความเชอ่ื ทางพทุ ธศาสนา เช่น ความเชอ่ื เรอ่ื งกฏแห่งกรรม ทาํ ดไี ดด้ ที าํ ชวั่ ไดช้ วั่ ความเช่อื
บาป บุญคุณโทษ ความเช่อื เร่อื งชาตภิ พ ความเช่อื เร่อื งนรกสวรรค์ เป็นต้น โดยมีการผสมผสาน
ความเช่อื แบบศาสนาพราหมณ์รวมอยู่ดว้ ย เช่น ความเช่อื เร่อื งเทพเทวดา พระอินทร์ พระพรหม
ทา้ วจตุโลกบาลผรู้ กั ษาทศิ ทงั้ ส่ี เป็นตน้ ซง่ึ เหน็ ไดจ้ ากเม่อื มกี ารประกอบพธิ กี รรมใด ๆ กต็ ามเมอ่ื มี
การกล่าวถงึ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆแ์ ลว้ มกั จะมกี ล่าวถงึ เทพเทวดาต่างๆ ดว้ ย

ตวั อย่างภมู ิปัญญาไทยกบั ความเชื่อทางศาสนา มดี งั น้ี

ความเชื่อเก่ียวกบั ตานานบงั้ ไฟพญานาค

ภาพพญาคนั คาก จงั หวดั ยโสธร

บทท่ี ๖ “อิทธิพลแนวคิดพระพทุ ธศาสนาที่มีต่อภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๒๙๗ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ครงั้ เม่อื พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ป็น พญาคนั คาก ไดจ้ ุตอิ ย่ใู นครรภ์ของพระนางสดี า
เม่อื เติบใหญ่ได้บําเพ็ญเพียรภาวนา จนพระอินทร์ชุบร่างให้เป็นชายหนุ่มรูปงาม พระอินทร์ได้
ประธานนางอุดรกุรตุ ทวปี เป็นคคู่ รอง พญาคนั คาก และนางอุดรกุรตุ ทวปี ไดศ้ กึ ษาธรรม และเทศนา
สอนมนุษยแ์ ละสรรพสตั วท์ งั้ หลายอยเู่ ป็นประจาํ

มนุษยแ์ ละสรรพสตั วท์ งั้ หลายครนั้ ไดฟ้ งั ธรรมจากพระโพธสิ ตั วค์ นั คากกเ็ กดิ ความเล่อื มใส
จนลมื ถวายเคร่อื งบดั พลี พญาแถน ซ่งึ เป็นเทพเจา้ ผู้ก่อกําเนิดเผ่าพนั ธุ์และบนั ดาลน้ําฝนแก่โลก
มนุษย์

พญาแถนครนั้ ไม่ไดร้ บั เคร่อื งบดั พลจี ากมนุษยแ์ ละสรรพสตั ว์ รวมทงั้ เทวดาท่เี คยเขา้ เฝ้า
เป็นประจาํ ไปฟงั ธรรมกบั พญาคนั คากจนหมดสน้ิ จงึ บงั เกดิ ความโกรธแคน้ ยงิ่ นกั

พญาแถนโกรธแคน้ ทเ่ี หล่ามนุษยแ์ ละสรรพสตั ว์หนั ไปบูชาพญาคนั คาก จงึ สาปแช่งเหล่า
มวลมนุษยไ์ ม่ใหม้ ฝี นตกเป็นเวลาเจด็ ปี เจด็ เดอื น เจด็ วนั ทาํ ใหเ้ กดิ ความแหง้ แลง้ ไปทุกหย่อมหญ้า
เหลา่ มวลมนุษยจ์ งึ ไดเ้ ขา้ เฝ้าพระโพธสิ ตั วท์ ลู ถามและขอความช่วยเหลอื

พญาคนั คาก รดู้ ว้ ยญาณจงึ บอกมนุษยว์ ่า เพราะพวกเจา้ ไมบ่ ชู าพญาแถน ท่านจงึ พโิ รธ จงึ
บนั ดาลมใิ หม้ ฝี นตกลงมา ความแหง้ แลง้ มมี าเจด็ ปี พญานาคผี ูเ้ ป็นใหญ่ในเมอื งบาดาลทเ่ี ขา้ เฝ้าพระ
โพธสิ ตั วค์ นั คากอยขู่ ณะนนั้ ไดร้ บั ฟงั จงึ ยกทพั บุกสวรรคโ์ ดยไมฟ่ งั คําทดั ทานของพระโพธสิ ตั วค์ นั คาก

แต่พญานาคพี ่ายแพก้ ลบั มาและบาดเจบ็ สาหสั ดว้ ยต้องอาวุธของพญาแถน พระโพธสิ ตั ว์
คนั คากเกดิ ความสงสารดว้ ยเหน็ ว่าพญานาคที าํ ไปดว้ ยตอ้ งการขจดั ความทุกขใ์ หเ้ หล่ามวลมนุษย์ จงึ
ไดใ้ หพ้ รแก่พญานาคแี ละเหล่าบรวิ าร “ขอใหบ้ าดแผลเจา้ ทงั้ กายใหห้ ายขาด กลายเป็นลวดลายงาม
ดงั่ เกลด็ มณแี กว้ หงอนจงใสเพรศิ แพรว้ เป็นสเี งนิ ยวง ความเจบ็ ปวดทงั้ ปวงจงเหอื ดหายไปจากเจา้
อนั ว่าตวั เจา้ นัน้ ต่อแต่น้ีใหศ้ รชี ่นื เป็นตวั แทนความเยน็ ในเวนิ แก้ว…แท้นอ” (คดั ลอกจากบทการ
แสดง ปรบั บางคาํ ใหเ้ ป็นภาษากลาง)

นบั จากนนั้ เป็นตน้ มาพระพญานาคไี ดป้ วารณาตนเป็นขา้ ช่วงใชพ้ ระโพธสิ ตั วไ์ ปทุกๆ ชาติ
แต่ความแหง้ แลง้ ยงั คงอยกู่ บั เหล่ามวลมนุษย์ พระโพธสิ ตั ว์คนั คากจงึ ไดว้ างแผนบุกสวรรค์ โดยให้
พญาปลวกก่อจอมปลวกสู่เมอื งสวรรค์ พญาแมงงอด แมงเงาเจา้ แห่งพษิ (แมงป่องชา้ ง) ให้จําแลง
เกาะตดิ เสอ้ื ผา้ พญาแถน พญานาคใี หจ้ าํ แลงเป็นตะขาบน้อยซ่อนอย่ใู นเกอื กพญาแถน เมอ่ื องคพ์ ระ
โพธสิ ตั วค์ นั คากใหส้ ญั ญาณจงึ ไดก้ ดั ต่อยปล่อยพษิ

พญาแถนพ่าย…รอ้ งบอกให้พระโพธสิ ตั วค์ นั คากปล่อยตนเสยี แต่พระโพธสิ ตั วค์ นั คากก
ลบั บอกว่าขอเพยี งพญาแถนผเู้ ป็นใหญ่ใหพ้ รสามประการ กจ็ ะมทิ าํ ประการใด

หน่งึ …ใหฝ้ นตกลงมาตามฤดกู าล เหล่ามวลมนุษยจ์ ะจดุ บงั้ ไฟบวงสรวงพญาแถน

สอง…แมว้ า่ ฝนตกลงมาดงั่ ใจมาดแลว้ ใหใ้ นท่งุ นามเี สยี งกบเขยี ดรอ้ ง

สาม…เมอ่ื ถงึ ฤดเู กบ็ เก่ยี วขา้ วขน้ึ เลา้ (ยงุ้ ขา้ ว) ตวั ขา้ พญาคนั คากจะส่งเสยี งว่าวสนู ใหพ้ ่อ
ฟงั เป็นสญั ญาณว่า ปีนนั้ ขา้ วอุดมสมบรู ณ์

บทท่ี ๖ “อิทธิพลแนวคิดพระพทุ ธศาสนาท่ีมีต่อภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๒๙๘ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

พญาแถนได้ฟงั คําขอพรสามประการ(ความจรงิ แล้วสําหรบั ความคดิ ผมเองเป็นการขอ
ประการเดยี ว และมกี ารบวงสรวงบชู า พญาแถนคงเหน็ ว่าคุ้ม) จงึ ไดใ้ หพ้ รตามปรารถนา นับเน่ือง
จากนนั้ มากลางเดอื นหกของทุกๆ ปี ชาวอสี านจะรว่ มกนั ทาํ บงั้ ไฟแห่ไปรอบๆ หม่บู า้ นแลว้ จุดบูชา
พญาแถน

ครงั้ เม่อื พระสมั มาสมั พุทธเจา้ ได้ตรสั รู้ พระองค์ได้เสดจ็ เผยแพร่ศาสนาไปทวั่ ชมพูทวปี
พญานาคีผู้เฝ้าติดตามเร่อื งราวพระองค์ บงั เกิดความเล่ือมใสและศรทั ธายง่ิ นัก รู้ด้วยญาณว่า
พระองคค์ อื พญาคนั คากมาจตุ ิ จงึ จาํ แลงกายเป็นบรุ ษุ ขอบวชเป็นสาวก ตงั้ ใจปฏบิ ตั ธิ รรมตามคาํ สอน
ของพระพุทธองค์

ค่าํ คนื หน่งึ พญานาคเี ผลอหลบั ไหลคนื รา่ งเดมิ ทาํ ใหเ้ หล่าภกิ ษุทร่ี ่วมบําเพญ็ เพยี รทงั้ หลาย
ต่นื ตระหนก ครงั้ เม่อื พระพุทธองค์ทรงทราบเร่อื งจงึ ขอให้พญานาคลี าสิกขา เน่ืองจากนาคเป็น
เดรจั ฉานจะบวชเป็นภกิ ษุมไิ ด้

พญานาคียอมตามคําขอพระพุทธองค์ แต่ขอว่ากุลบุตรทัง้ หลายทัง้ ปวงท่ีจะบวชใน
พระพุทธศาสนาใหเ้ รยี กขานว่า “นาค”ี เพ่อื เป็นศกั ดศิ ์ รขี องพญานาคก่อนแลว้ ค่อยเขา้ โบสถ์ จากนัน้
เป็นตน้ มาจงึ ไดเ้ รยี กขานกุลบุตรทงั้ หลายทจ่ี ะบวชว่า “พอ่ นาค”

ต่อมาเมอ่ื ครงั้ พระพุทธองคไ์ ดเ้ สดจ็ ไปแสดงธรรมและจาํ พรรษาบนสวรรคช์ นั้ ดาวดงึ ส์ เพ่อื
โปรดพุทธมารดาและเหล่าเทวดา กระทงั่ ครบกําหนดวนั ออกพรรษา พญานาคี นาคเทวี พรอ้ มทงั้
เหล่าบรวิ ารจดั ทาํ เคร่อื งบชู าและพ่นบงั้ ไฟถวาย ขณะทพ่ี ระสมั มาสมั พุทธเจา้ เสดจ็ ลงจากสวรรคช์ นั้
ดาวดงึ ส์

นับเน่ืองจากนัน้ ทุกวนั ขน้ึ ๑๕ ค่ําเดอื น ๑๑ จงึ ได้มปี รากฏการณ์ประหลาดลูกไฟสแี ดง
พวยพุ่งข้นึ จากลําน้ําโขงสู่ท้องฟ้า ปรากฏมาให้เหน็ ตราบเท่าทุกวนั น้ี ทุกคนเรยี กขานว่า “บงั้ ไฟ
พญานาค”

ความเชื่อเก่ียวกบั การบวช

ตามประเพณีชายอายุ ๒๐ ปีบรบิ ูรณ์ ถอื ว่าเป็นอายุทค่ี รบบวช พ่อ แม่ ทุกคนจดั พธิ บี วช
ให้ ชาวบ้านศรทั ธาการบวชมาก เพราะถอื ว่าการบวชไดก้ ุศลแรง มคี วาม เช่อื ว่าบวชลูกได้ ๓ คน
พ่อแม่ไม่ต้องตกนรก และถอื ว่าการบวชเตม็ พรรษา ซง่ึ หมายถงึ การบวชตงั้ เขา้ พรรษาย่อมไดบ้ ุญ
กุศลมากกว่าระยะเวลาสนั้ ๗ วนั ๑๕ วนั หรอื ๓๐ วนั เพราะถอื ว่าในระหว่างเขา้ พรรษา พระบวช
ใหมจ่ ะไดเ้ รยี นพระธรรมวนิ ยั และไดบ้ าํ เพญ็ ภาวนามากกวา่ บวชระยะสนั้

การบวชนนั้ ผชู้ ายสมยั น้อี าจไมศ่ รทั ธา แต่กไ็ มม่ ผี ใู้ ดขดั ขอ้ งทจ่ี ะบวชใหพ้ ่อแม่ เพราะถอื ว่า
เป็นการทดแทนพระคุณ และการบวชจะทาํ ให้เป็นคนท่สี มบูรณ์ เรยี กว่าเป็น “บณั ฑิต หรือ ฑิต”
ส่วนผทู้ ย่ี งั ไมไ่ ดบ้ วชเรยี นเรยี กวา่ เป็น “คนดิบ”

บทท่ี ๖ “อิทธิพลแนวคิดพระพทุ ธศาสนาที่มีต่อภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๒๙๙ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

คา่ นยิ มของชาวบา้ นในการบวชพระแต่เดมิ นนั้ ชายทบ่ี วชเรยี นแลว้ จะมสี ถานสงู กว่าผทู้ ย่ี งั
ไม่ได้บวชเรยี น การกระทําท่สี นับสนุนค่านิยมน้ีได้แก่ การแต่งงาน การเลอื กคู่ครอง บดิ า มารดา
ฝา่ ยหญงิ จะพจิ ารณาเลอื กผทู้ บ่ี วชเรยี นก่อน

ก่อนบวช เจา้ ภาพ หรอื บดิ า มารดา ผทู้ จ่ี ะบวชอาจจะดฤู กษ์ยามวนั ดี ทงั้ จะตอ้ งนิมนตพ์ ระ
อุปชั ฌาย์ และพระคสู่ วดไวล้ ว่ งหน้า

การจดั งานแบ่งออกเป็น ๒-๓ วนั แลว้ แต่เจา้ ภาพจะเหน็ สมควร วนั แรกเรยี กว่าวนั สุกดบิ
เป็นวนั เตรยี มอาหารคาว หวาน และเคร่อื งใช้ต่างๆ ใหพ้ รอ้ ม ตอนเยน็ จะรบั นาค (ผู้ทจ่ี ะบวช) ซ่งึ
ปลงผมมาจากวดั แลว้ เพ่อื ทําพธิ ที ําขวญั นาค วนั รงุ่ ขน้ึ เป็น วนั ทําพธิ อี ุปสมบท ถ้าหากจดั งาน ๒ วนั
จะทําพธิ อี ุปสมบทในตอนเชา้ และทําพธิ ี ฉลองพระทบ่ี วชใหมใ่ นตอนเพลเป็นเสรจ็ พธิ ี แต่ถา้ จดั งาน
๓ วนั จะมพี ธิ ฉี ลองพระ บวชใหม่ บางบา้ นมพี ธิ สี วดมนตเ์ ยน็ อกี ดว้ ย

พิธีทาขวญั นาค

การทําขวญั นาคเป็นความเช่อื ตามลทั ธพิ ราหมณ์ พธิ นี ้ีเขา้ มาเก่ียวขอ้ งกบั พุทธศาสนา
หลงั จากพระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ปรนิ พิ านไปแลว้ จดุ ประสงคข์ องการทํา ขวญั นาคกเ็ พ่อื ทจ่ี ะใหผ้ อู้ ุปสมบท
มสี มาธแิ ละทําจติ ใจใหส้ ะอาด ยดึ มนั่ ในพระพุทธศาสนาอย่างมนั่ คง ทงั้ ยงั เป็นการเตอื นใหผ้ จู้ ะบวช
ระลกึ ถงึ คุณบดิ ามารดาทช่ี บุ เลย้ี งตนมา

วสั ดทุ ่ีใช้ในการประกอบพิธี

๑. เทยี น ๑๑ เล่ม แยกเป็นเทยี นสําหรบั ทําน้ํามนต์ ๑ เล่ม เทยี นชยั ปกั อยู่ยอดบายศรี ๑
เล่ม เขยี นสาํ หรบั ใชเ้ วยี นเทยี น แว่นเวยี นเทยี นใช้ ๓ อนั ใชเ้ ทยี นแวน่ ละ ๓ เลม่ (รวม ๙ เล่ม)

๒. บายศรี ๓ ชนั้ หรอื ๕ ชนั้

๓. ไมข้ นาบบายศรี ๓ อนั

๔. ใบตองหมุ้ บายศรี ๓ ยอด

๕. ผา้ สาํ หรบั หม่ บายศรี

๖. ไขต่ น้ ๑ ฟอง วางไวบ้ นยอดบายศรี (หลงั พธิ มี กั ใหห้ ญงิ มคี รรภร์ บั ประทานเช่อื ว่าน่าจะ
ทาํ ใหค้ ลอดลกู ไดง้ า่ ย)

๗. ขนมตม้ ขาว ขนมตม้ เเดง

๘. เครอ่ื งสงั เวยเป็นขนมตม้ ต่างๆ วางตามชนั้ บายศรี

๙. มะพรา้ วอ่อน ๑ ผล

๑๐. กลว้ ย ๑ หวี

๑๑. พลู ๗ ใบ

๑๒. ขนั ใส่ขา้ วสาร
๑๓. เครอ่ื งกระแจะจนั ทน์ (แป้งหอม น้ํามนั หอม สาํ หรบั ไวเ้ จมิ นาค)

บทท่ี ๖ “อิทธิพลแนวคิดพระพทุ ธศาสนาท่ีมีต่อภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๓๐๐ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ก่อนเรม่ิ พธิ ตี ้องนําเครอ่ื งอฐั บรขิ ารทงั้ หมดมาวางเรยี งไว้หน้าบายศรี ผทู้ ําพธิ แี ต่งตวั แบบ
พราหมณ์ คอื นุ่งขาวห่มขาว เรมิ่ พธิ ผี ปู้ ระกอบพธิ จี ะสวดนะโม ๓ จบ แลว้ กล่าวอญั เชญิ เทพยดามา
เป็นสกั ขพี ยาน กล่าวนามนาคแลว้ กล่าวคําปฏิสนธิ ให้นาคระลกึ ถงึ คุณบดิ ามารดา หลงั จากนัน้ จะ
เป็นการสอนนาคใหร้ จู้ กั เพศบรรพชติ กลา่ วเสรจ็ รดน้ํามนตแ์ ลว้ เปิดบายศรี ผปู้ ระกอบพธิ เี อาผา้ มว้ น
ใบตอง ระหว่างนนั้ จะมกี าร รอ้ งเพลงนางนาค ผปู้ ระกอบพธิ จี ะมอบผ้ามว้ นใบตองใหน้ าค นาคส่งให้
บดิ า มารดานําไปเก็บไว้ในเรอื น ถอื เป็นมง่ิ ขวญั กล่าวกนั ว่ามงิ่ ขวญั อยู่ท่ยี อดตอง หลงั จากเปิด
บายศรแี ลว้ ผทู้ าํ พธิ จี ะจดุ เทยี น ๙ เลม่ ทาํ พธิ ที กั ษณิ าวรรตรอบบายศรี ๓ รอบ เม่อื เวยี นเทยี นเสรจ็
แลว้ ผปู้ ระกอบพธิ นี ําไข่ กลว้ ย ขนมต้มขาว ขนมตม้ แดง ใส่ลงไปในมะพรา้ วอ่อน แลว้ ป้อนนาค ๓
ชอ้ น นําแป้ง เครอ่ื ง หอม พลู ใสร่ วมกนั เจมิ ทห่ี น้านาคเพอ่ื เป็นสริ มิ งคล เป็นอนั เสรจ็ พธิ ี

ตอนเชา้ จะมขี บวนแห่นาคไปวดั และเวยี นทกั ษณิ าวรรตรอบโบสถ์ ๓ รอบ เสรจ็ แลว้ นาค
จะตอ้ งสกั การะเสมาดว้ ยดอกไม้ ธปู เทยี น เป็นการขอขมาและแสดงความเคารพแลว้ จงึ เขา้ โบสถไ์ ด้

ต่อจากนนั้ นาคจะเขา้ ไปสกั การะพระอุปชั ฌายแ์ ละขอบรรพชาเป็นเณรก่อนแลว้ จงึ กล่าวคาํ
ขออุปสมบทด้วยคําภาษาบาลี พระคู่จะถามข้อข้องใจต่างๆ เก่ียวกับ ตัวนาค เช่น เป็นหน้ีผู้ใด
หรอื ไม่ เป็นโรคตดิ ต่อหรอื ไม่ เป็นต้น หลงั จากนนั้ จะให้นาคไปครองผ้ากาสาวพสั ตร์ รบั ศลี ๒๒๗
ขอ้ ซง่ึ แสดงว่าเป็นพระภกิ ษุโดยสมบรู ณ์แลว้

ปริศนาธรรมเกี่ยวกบั พิธีการบวช

การแห่งรอบโบสถ์ ๓ รอบ กค็ อื ใหร้ ะลกึ ถงึ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ แบบเดยี วกนั กบั
เวยี นเทยี น เหตุผลน้ีคงได้รบั อทิ ธพิ ลมาจากความเช่อื ของชนชาวอนิ เดยี ท่เี ขาถอื กนั ว่าการเดนิ
เวยี นประทกั ษณิ (เวยี นขวา) นนั้ เป็นการแสดงความเคารพอยา่ งสงู สุด

แต่มเี หตุผลอกี ประการหน่ึง ทล่ี กึ ซง้ึ เขา้ ไปอกี นนั้ กค็ อื การเวยี นรอบโบสถฺ์เป็นอุบายสอน
ใหเ้ หน็ ว่า......ชวี ติ คนเราล้วนเวยี นตายเวยี นเกดิ ในสงสารวฎั ฎฺ์ คอื ในกามภพ รปู ภพ และอรปู ภพ
การวนเวยี นแบบน้ี หลกี หนีไดย้ ากดว้ ยอํานาจของกเิ ลส กรรม วบิ าก แต่สาํ หรบั ผบู้ วชหรอื พอนาค
พอเดนิ เวยี นครบ ๓ รอบ แลว้ เดนิ เขา้ ส่โู บสถ์ กส็ อนใหเ้ หน็ ว่า ไดค้ น้ พบทางสว่างทไ่ี มต่ อ้ งวนเวยี น
อกี แลว้ ทางสายใหม่ ท่เี ป็นเส้นทางพ้นทุกข์ คอื การเขา้ หาพระธรรมมุมมองน้ี ดูดแี ละทําให้เกดิ
ปญั ญามากทส่ี ุด

เหตใุ ดนาคจึงต้องวนั ทาเสมา

เมอ่ื แห่รอบโบสถค์ รบ ๓ รอบแลว้ ลําดบั พธิ ตี ่อไป คอื นาคจะต้องไปกราบวนั ทาเสมาหรอื
ขอขมาเขตเสมา ซงึ่ เป็นเขตแดนต่อระหว่างพุทธอาณาจกั รกบั ราชอาณาจกั ร เป็นการแสดงความ
เคารพต่อสถานทแ่ี ละพระสงฆท์ ป่ี ระชมุ กนั ในโบสถ์

ความหมายอกี ประการ คอื การใหผ้ บู้ วชไม่ว่าจะร่าํ รวย เป็นลกู ท่าน หลายเธอมาจากไหน
แสดงการอ่อนน้อม ยอมรบั ผดิ เป็นอุบายในการลดความเย่อหยงิ่ จองหอง ลดทฎิ ฐมิ านะ กลา้ ปฎิ
ญาณตน ขอขมาในความผดิ ทงั้ หลาย

บทท่ี ๖ “อิทธิพลแนวคิดพระพทุ ธศาสนาท่ีมีต่อภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๓๐๑ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

เหตใุ ดจึงห้ามเหยียบธรณีประตู

ประเพณีอย่างหน่ึงท่เี หน็ กนั จนชนิ ตา เวลาไปงานบวช คอื การทพ่ี ่อของนาค และแม่ของ
นาคจะช่วยกนั จูงมอื นาคข้ามธรณีปะตูและมเี พ่อื นๆ คอยอุ้มชูให้ลอยตวั ข้ามธรณีประตูเขา้ มาใน
โบสถ์

ความเช่อื ในเรอ่ื งน้ี โบราณถอื กนั วา่ ถา้ นาคหรอื ผบู้ วชเหยยี บธรณปี ระตู จะทาํ ใหต้ อนเป็น
พระศลี ไม่บรสิ ุทธิ ์ ด่างพรอ้ ย มวั หมอง ย่อหย่อนต่อการบวช หรอื ไม่กแ็ หกพรรษา (ลาสกิ ขากลาง
พรรษา)

เหตุผลท่เี ป็นรูปธรรมก็คอื การเหยยี บธรณีประตูจะทําให้ รกั ทองหรอื ชาดท่ที ําไว้ ชํารุด-
เสยี หาย เพราะโบสถ์หลายๆ วดั โดยเฉพาะวดั หลวง ธรณีประตูจะมกี ารลงรกั ปิดทอง หรอื ทาชาด
ไวใ้ หส้ วยงาม ถา้ นาคและผมู้ ารว่ มงานเหยยี บย่าํ กนั ทุกคน คงทาํ ใหเ้ กดิ การชาํ รดุ เสยี หายได้

เหตุผลอ่ืนๆ ยงั มอี ีกมากมาย เช่น เกรงว่านาคจะสะดุดธรณีประตูจนเกดิ อุบตั ิเหตุ ไม่
สามารถบวชได้ และธรณีประตูโบสถ์นนั้ เช่อื กนั ว่าเป็นจุดทม่ี นี ายทวารบาล หรอื เทวดารกั ษาต้อง
แสดงความเคารพ

แต่เหตุผลในทางธรรม ทเ่ี ป็นอุบายสอนใจคอื การทผ่ี บู้ วชสามารถขา้ มพน้ จากโลก ขา้ มพน้
จากอํานาจกเิ ลส เขา้ สู่พุทธอาณาจกั ร เขา้ สู่ร่มผา้ กาสาวพตั ร์ ได้เกดิ ใหม่ในเพศสมณะ เป็นเคร่อื ง
สอนใจใหค้ นเรา ฝึกฝนตวั เราใหอ้ ยเู่ หนอื กเิ ลสในใจ

เหตใุ ดจึงต้องให้นาคเอามือแตะขอบประตโู บสถด์ ้านบนสดุ

ในขณะท่นี าคกําลงั จะกา้ วขา้ มพน้ ธรณีประตูนนั้ บรรดาญาตพิ น่ี ้องและเพ่อื นๆ จะบอกให้
นาค ชมู อื ใหส้ ุดไปแตะขอบประตโู บสถ์ดา้ นบน ทงั้ น้บี รรดาเพ่อื นๆ และผรู้ ว่ มงานต่างกจ็ ะช่วยกนั อุ้ม
ชใู หน้ าคเออ้ื มใหถ้ งึ ขอบประตู

ความเช่อื ในเร่อื งน้ี ว่ากนั ว่า ถ้านาคแตะขอบประตูโบสถ์ด้านบนได้ จะทําให้ร่ําเรยี นได้
สงู สุด แตกฉานในพระธรรมวนิ ยั ต่อไปจะไดเ้ ป็นสมภารเจา้ วดั

ส่วนเหตุผลท่เี ป็นรูปธรรมนัน้ ก็คอื ว่าประตูโบสถ์บางแห่งไม่สูงมากนัก การอุ้มนาคเข้า
โบสถอ์ าจทาํ ใหศ้ รี ษะของนาคไปชนขอบประตู ทาํ ใหไ้ ดร้ บั บาดเจบ็ จนทาํ ใหไ้ มส่ ามารถบวชได้

เหตุผลในทางธรรมะ ยงั ไม่ชดั เจน แต่ไดร้ บั การอธบิ ายจากท่านผรู้ มู้ าว่า เป็นการปฏญิ าณ
หรอื แสดงใหเ้ หน็ วา่ นาคจะบวชและตงั้ ใจปฏบิ ตั ใิ หไ้ ดบ้ ญุ สงู สดุ

อกี เหตุผลหน่ึงก็คอื การไปสูพ้ ระนิพพานเหมอื นจะไกลสุดมอื เอ้อื มถงึ การเป็นจะไปใหถ้ งึ
ต้องไดแ้ รงหนุนจากคนรอบขา้ งบ่งบอกว่า การไปสู่ทส่ี งู เราอาจไปคนเดยี วไมไ่ ด้ เก่งคนเดยี วไปไม่
รอด ตอ้ งอาศยั พวกพอ้ งเพ่อื นฝงู เจา้ นาย คอยสนบั สนุน ชว่ ยเหลอื

ดอกบวั ของนาคทว่ี นั ทาเสมาเชอ่ื ว่า ทาํ ใหค้ ลอดงา่ ย ดอกบวั ทน่ี าคพนมไวใ้ นมอื ตงั้ แต่ตอน
แห่รอบโบสถ์ จนถงึ ขณะวนั ทาเสมา เมอ่ื นาควางดอกบวั ลงทเ่ี สมาโบสถจ์ ะมผี คู้ นทม่ี าร่วมงานพากนั

บทท่ี ๖ “อิทธิพลแนวคิดพระพทุ ธศาสนาท่ีมีต่อภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๓๐๒ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

แย่งดอกบวั นัน้ ไปให้ คนท่ที ้องใกล้คลอดต้มน้ําด่มื ด้วยความเช่อื ว่า น้ําดอกบวั ของนาคจะทําให้
คลอดงา่ ย

จริงๆ ดอกบัวเป็นสมุนไพรหรือยาบํารุงครรภ์อยู่แล้ว ไม่จําเป็นต้องเป็นของนาค
คุณสมบตั โิ ดยธรรมชาติก็ดอี ย่แู ล้ว แต่ความเช่อื ทว่ี ่าทําใหค้ ลอดลูกง่ายนนั้ คงเพราะ นาคเป็นผู้ว่า
งา่ ย พ่อแมอ่ ยากใหบ้ วชกบ็ วช งานบวชกส็ าํ เรจ็ ไดโ้ ดยง่าย เป็นงานทใ่ี ครไดข้ า่ วกอ็ ยากมาช่วยอย่าง
เตม็ ใจ ถา้ ไดน้ ้ํามาตม้ น้ําดม่ื กนิ จะทาํ ใหค้ ลอดงา่ ยและเดก็ ทเี กดิ มามปี ญั ญา ว่านอนสอนงา่ ย

ความเชอ่ื และวฒั นธรรมเลก็ ๆ น้อยๆ ทเ่ี ราพบเหน็ ในงานบวช ลว้ นแฝงความหมายทล่ี กึ ซง้ึ
และเป็นความหมายท่ีสอนใจเราได้ดี มิใช่เป็นเพียงพิธีกรรม ท่ีทําๆกันไป แบบงมงายหรอื ไร้
ความหมาย แต่แสดงถึงภูมปิ ญั ญาในการสอนธรรมะของคนโบราณได้อย่างลุ่มลกึ และมเี หตุมผี ล
เมอ่ื คราวใดทเ่ี ราไดไ้ ปงานบวชครงั้ ต่อไป

๖.๘ อิทธิพลแนวคิดของพระพทุ ธศาสนาท่ีมีต่อภมู ิปัญญา

ศาสนาและวฒั นธรรมเป็นสถาบนั ทางสงั คมทส่ี ําคญั ซ่งึ มอี ทิ ธพิ ลในการกําหนดความเช่อื
ค่านิยม และพฤตกิ รรมอนั เป็นแบบวถิ ชี วี ติ ของบุคคลในสงั คม สงั คมไทยเป็นสงั คมท่ชี นส่วนใหญ่
หรอื เกือบทงั้ หมดนับถอื ศาสนาพุทธมาโดยตลอด เป็นสงั คมทม่ี วี ฒั นธรรมท่เี ป็นเอกลกั ษณ์ของ
ตนเอง และมคี วามสบื เน่ืองต่อกนั มานบั แต่อดตี ลกั ษณะเช่นน้ีจงึ ทาํ ใหพ้ ุทธศาสนา และวฒั นธรรม
ไทยมบี ทบาททส่ี าํ คญั มาก และไดก้ ลายเป็นสถาบนั ทางสงั คมทเ่ี ป็นหลกั ของสงั คมไทยในปจั จบุ นั

อิทธิพลทางศาสนาและวฒั นธรรมเม่อื กล่าวโดยสรปุ สามารถแยกประเภทได้ดงั นี้

๖.๘.๑ อิทธิพลพทุ ธศาสนา : วฒั นธรรมไทยด้านการเมือง

อทิ ธพิ ลของศาสนาพุทธได้มสี ่วนสมั พนั ธ์กบั การใชอ้ ํานาจทางการเมอื งของรฐั ได้แก่ คติ
ความคดิ ทางการเมอื งของผู้ปกครอง (กษัตรยิ ์) แบบธรรมราชา ในทางปฏบิ ตั ิศาสนาพุทธจงึ มี
บทบาทและอิทธิพลสําคัญในการสร้างและจรรโลงความชอบธรรมทางการเมือง ( Political
legitimacy) ของชนชนั้ ผปู้ กครอง ส่วนในดา้ นวฒั นธรรมนัน้ ววิ ฒั นาการทางการเมอื งการปกครอง
ของไทยในอดตี ไดช้ ใ้ี หเ้ หน็ ว่าทศั นคติ ความเช่อื ค่านิยม และพฤตกิ รรมของบุคคลในส่วนทเ่ี ก่ยี วกบั
การเมอื ง หรอื ทเ่ี รยี กว่า วฒั นธรรมทางการเมอื ง (political culture) นัน้ เป็นหน้าทแ่ี ละกจิ กรรม
โดยตรงของชนชนั้ นํา (elite) ในสงั คมเท่านนั้ จงึ ทาํ ใหม้ รดกทางวฒั นธรรมทางการเมอื งของคนไทย
มลี กั ษณะของการยอมรบั ในอํานาจของผปู้ กครอง ซง่ึ เรยี กว่า “วฒั นธรรมทางการเมอื งแบบไพรฟ่ ้า”
(subject political culture) แต่เมอื งสงั คมไทยเรมิ่ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากความคดิ ทางการเมอื งแบบ
ประชาธปิ ไตยของตะวนั ตกตงั้ แต่สมยั รชั กาลท่ี ๕ เป็นต้นมาได้มผี ลทําให้วฒั นธรรมทางการเมอื ง
แบบตะวนั ตกแพร่หลายเรอ่ื ยมา จนนําไปส่กู ารเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ หลงั จากนนั้
เป็นต้นมา วฒั นธรรมทางการเมอื งแบบมสี ่วนร่วม (participant political culture) ไดเ้ กดิ ขน้ึ อกี
กระแสหน่ึงยงิ่ ไปกว่านนั้ อทิ ธพิ ลทางความคดิ และเทคโนโลยใี นดา้ นต่างๆ ของตะวนั ตกไดร้ บั การ

บทท่ี ๖ “อิทธิพลแนวคิดพระพทุ ธศาสนาท่ีมีต่อภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๓๐๓ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ถ่ายทอดไปสสู่ ามญั ชนยง่ิ ขน้ึ ในรปู ของการศกึ ษา และกระบวนการถ่ายทอดทางวฒั นธรรมดา้ นอ่นื ๆ
เช่น ผ่านทางส่อื มวลชน เป็นต้น ไดม้ ผี ลทําใหว้ ฒั นธรรมการเมอื งของคนไทยส่วนใหญ่มลี กั ษณะ
ผสมผสานระหว่างวฒั นธรรมทางการเมอื งแบบไพรฟ่ ้า (ยอมรบั อํานาจ) กบั วฒั นธรรมทางการเมอื ง
แบบประชาธปิ ไตย ซง่ึ ในทางปฏบิ ตั ปิ รากฏวา่ วฒั นธรรมทางการเมอื งทงั้ สองน้ีมลี กั ษณะขดั กนั และ
คนไทยจะมรี ะดบั ของวฒั นธรรมทางการเมอื งแบบอํานาจนิยมสูงกว่าแบบประชาธปิ ไตย ประกอบ
กบั การทก่ี ารเมอื งการปกครองไทยภายหลงั พ.ศ. ๒๔๗๕ มกั จะตกอยใู่ นอํานาจของทหารดว้ ยแลว้
จงึ ทาํ ใหค้ นไทยส่วนใหญ่มคี วามสนใจทางการเมอื งน้อย ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากการใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตงั้ น้อยแต่
ละครงั้ ทงั้ น้อี าจสบื เน่อื งจากปราศจากประสบการณ์ การมสี ่วนรว่ มทางการเมอื งแบบต่อเน่อื ง

นอกจากน้อี ทิ ธพิ ลทางดา้ นคาํ สอนของศาสนาพุทธทเ่ี กย่ี วกบั กฎแห่งกรรม ทาํ ดไี ดด้ ี ทาํ ชวั่
ไดช้ วั่ หรอื หลกั การของพุทธศาสนาทว่ี ่า “ละเวน้ ความชวั่ ทาแต่ความดี ทาจติ ใจใหผ้ ่องใส”๕๖ กไ็ ดม้ ี
อทิ ธพิ ลในการกาํ หนดความเชอ่ื ค่านยิ ม และโลกทศั น์ของคนไทยอย่ไู ม่น้อยในแง่ทว่ี ่าทาํ ใหค้ นไทย
มรี ะดบั ความอดกลนั้ และอดทนต่อการเผชญิ กบั ความทกุ ขย์ ากและปญั หาต่างๆ ไดส้ ูง เพราะเช่อื ว่า
วนั ขา้ งหน้าหรอื ชาตหิ น้าคงจะดขี น้ึ โดยวนั น้ีหรอื ชาตนิ ้ีทต่ี ้องทุกขย์ ากกเ็ พราะผลกรรมทไ่ี มด่ ใี นชาติ
ก่อน สว่ นในดา้ นวฒั นธรรมความเช่อื แบบดงั้ เดมิ ในแงข่ องความเชอ่ื ในสงิ่ ลกึ ลบั ภตู ผปี ีศาจ วญิ ญาณ
กย็ งั คงมอี ทิ ธพิ ลในการกําหนดรปู แบบและลกั ษณะของวฒั นธรรมทางการเมอื งของไทยใหเ้ ป็นแบบ
ดงั้ เดมิ อกี ดว้ ย

มรดกตกทอดจากจากอดตี ท่เี ก่ยี วกบั อิทธพิ ลพุทธศาสนาและวฒั นธรรมแบบดงั้ เดมิ จงึ
สามารถเข้ากันได้เป็นอย่างดีกับกระบวนการทางการเมอื ง ท่ีเป็นอยู่ของสังคมการเมอื งไทย
กล่าวคอื การมวี ฒั นธรรมทางการเมอื งแบบไพร่ฟ้า ทําใหค้ นไทยมลี กั ษณะของการยอมรบั อํานาจ
แฝงอยู่ จงึ มสี ่วนทําให้การเมอื งการปกครองของไทยไม่สามารถพฒั นาไปสู่การเมอื งการปกครอง
แบบประชาธปิ ไตยทแ่ี ทจ้ รงิ ได้

๖.๘.๒ อิทธิพลพทุ ธศาสนา : วฒั นธรรมไทยด้านประเพณี

เร่อื งของประเพณีต่างๆ มใี นทุกชาตทิ ุกภาษา ส่วนลกั ษณะจะแตกต่างไปประการใดก็
แล้วแต่ลกั ษณะหรอื สภาพของแต่ละท้องถน่ิ หรอื แต่ละสงั คม เช่น ประเพณีไทยกบั จนี ต่างกันใน
หลายๆ ด้าน ตัง้ แต่เร่อื งกิริยา มารยาท การเลือกคู่ หมนั้ หมาย แต่งงาน ตาย เป็นต้น ส่วน
สงั คมไทยนัน้ จะเป็นการสบื เน่ืองมาจากการนับถอื พุทธศาสนากจ็ ะมอี ทิ ธพิ ลดา้ นพุทธศาสนาเขา้ มา
เกย่ี วขอ้ งดว้ ย เชน่ ประเพณกี ารบวช เขา้ พรรษา ออกพรรษา สงกรานต์ ลอยกระทง เทศน์มหาชาติ
เป็นตน้

ประเพณี คอื ระเบยี บแบบแผนในการปฏบิ ตั ทิ ่ีเหน็ ว่าดกี ว่าถูกต้องกว่า หรอื เป็นทย่ี อมรบั
ของคนส่วนใหญ่ในสงั คม และมกี ารปฏิบตั ิสบื ต่อๆ กนั มา เช่น การเกดิ การตาย การหมนั้ หมาย
สมรส บวช ปลกู บา้ นใหม่ ขน้ึ บา้ นใหม่ เป็นตน้ ประเภทของประเพณนี นั้ มี ๔ ประเภท ไดแ้ ก่

๕๖ ข.ุ ธ. (ไทย) ๒๕/๑๘๓/๙๐.

บทท่ี ๖ “อิทธิพลแนวคิดพระพทุ ธศาสนาท่ีมีต่อภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๓๐๔ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ประเพณีปรมั ปรา หมายถึงประเพณีท่เี ก่าก่อน ราชบณั ฑติ ยสถาน ให้ความหมายว่า
สบื ๆ กนั มา เก่าก่อน มมี านาน เช่น นิยายปรมั ปราต่างๆ อาทิ โรบนิ ฮูดแห่งปา่ เชอรว์ ูดทช่ี ่วยคนจน
ของฝรงั ่

จารตี ประเพณี หรือ กฎศีลธรรม (Mores) หมายถงึ ประเพณที ม่ี ศี ลี ธรรมเขา้ มารว่ มดว้ ย
จงึ เป็นกฎท่มี คี วามสําคญั ต่อสวสั ดภิ าพของสังคมสังคมบงั คบั ให้ปฏบิ ตั ิตาม เป็นเร่อื งความผิด
ความถกู ความนยิ มทย่ี ดึ ถอื และถ่ายทอดสบื ต่อกนั มา เช่น การเล่นชู้ ถอื ว่าประพฤตชิ วั่ ไม่เหมาะสม
ผดิ ศลี ธรรม เป็นตน้

ขนบประเพณี (Institution) หมายถงึ ระเบยี บ แบบแผน ท่สี งั คมตงั้ ข้นึ กําหนดไว้ให้
ปฏบิ ตั ริ ่วมกนั ทงั้ ทางตรง และทางอ้อม ทางตรง ได้แก่ ประเพณีท่มี กี ารกําหนดเป็นระเบยี บแบบ
แผนในการปฏิบตั ิอย่างชัดแจ้งว่าบุคคลต้องปฏิบตั ิอย่างไร เข่น การไหว้ครู การศึกษาเล่าเรยี น
ศาสนา เป็นต้น โดยอ้อม ก็คอื ประเพณีทร่ี กู้ นั โดยทวั่ ไป โดยไม่ไดว้ างระเบยี บไวแ้ น่นอน แต่ปฏบิ ตั ิ
ได้ เพราะมกี ารบอกเล่าสบื ต่อกนั มา หรอื จากการทผ่ี ใู้ หญ่หรอื บุคคลอ่นื ปฏบิ ตั ิ เช่น แห่นางแมว การ
จดุ บอ้ งไฟของภาคอสี าน เป็นตน้

ธรรมเนียมประเพณี (Convention) หมายถงึ ประเพณีเก่ยี วกบั เร่อื งธรรมดา ๆ ไม่มี
ระเบยี บแบบแผนเหมอื นขนบธรรมเนียมประเพณี หรอื มคี วามผดิ ความถูกเหมอื นจารตี ประเพณี
ดงั นัน้ ธรรมเนียมประเพณีไมป่ ฏบิ ตั ติ ามกไ็ ม่ผดิ หรอื มโี ทษ เป็นแต่เพยี งคนส่วนใหญ่ปฏบิ ตั กิ นั และ
เราก็ปฏบิ ตั ติ าม แต่อาจจะไม่เหมอื นกบั อกี หลายสงั คมเป็นเพยี งธรรมเนียมของสงั คมนนั้ ๆ ปฏบิ ตั ิ
กนั เช่น ไทยใชช้ อ้ นสอ้ มในการรบั ประทานอาหาร ฝรงั่ ใชม้ ดี กบั สอ้ ม เป็นตน้

ฉะนัน้ พระพุทธศาสนาจงึ มอี ทิ ธพิ ลต่อวฒั นธรรมประเพณีไทยเป็นอยา่ งมากตงั้ แต่เกดิ ถงึ
ตายทเี ดยี ว เพราะพุทธศาสนาเป็นศาสนาทค่ี กู่ บั ชาตไิ ทยมาแต่ยาวนานจงึ ทาํ ใหเ้ กดิ ประเพณีหลายๆ
ประการในสงั คมทม่ี พี ธิ กี รรมทางพุทธศาสนามาเกย่ี วขอ้ งดว้ ย

๖.๘.๓ อิทธิพลพทุ ธศาสนา : วฒั นธรรมไทยด้านจิตใจ

พระพุทธศาสนามบี ทบาทต่อสงั คมเศรษฐกจิ และการเมอื งมาโดยตลอด ในขณะเดยี วกนั ก็
ไดร้ บั ผลกระทบจากสภาพสงั คมท่ีเปล่ยี นแปลดว้ ยเช่นกนั กล่าวคอื พุทธศาสนาเป็นสถาบนั สงั คมท่ี
เออ้ื อํานวยใหส้ งั คมดาํ รงอยอู่ ยา่ งเป็นปึกแผ่นมนั่ คงมาตงั้ แต่อดตี ถงึ ปจั จบุ นั ในทํานองเดยี วกนั สงั คม
ได้อุปถมั ภ์และส่งเสรมิ ใหศ้ าสนามคี วามเจรญิ และเป็นท่ยี อมรบั นับถอื อย่างกว้างขวาง มวี ดั และ
พระสงฆท์ าํ หน้าสนบั สนุนการเมอื ง เศรษฐกจิ วฒั นธรรมและค่านิยม ใหต้ อบสนองวตั ถุประสงคข์ อง
สงั คมและให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชน ดงั ท่สี มบูรณ์ สุขสําราญ ได้กล่าวว่า วดั ได้ทําหน้าท่ตี ่อ
สงั คมไทยในดา้ นต่างๆ ต่อไปน้ี

วดั เป็นสถานศึกษา ซง่ึ ชาวบา้ นส่งลกู หลานมารบั การฝึกอบรมทางศลี ธรรม หรอื มารบั ใช้
พระ เป็นการเล่าเรยี นวชิ าความรตู้ ่างๆ ทางออ้ มจากระไดท้ กุ เวลาและโอกาส

บทท่ี ๖ “อิทธิพลแนวคิดพระพทุ ธศาสนาท่ีมีต่อภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๓๐๕ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

วดั เป็ นสถานสงเคราะห์ เป็นท่พี กั ของคนเดนิ ทางและสําหรบั คนยากจนได้มาอย่อู าศยั
เป็นทป่ี รกึ ษาแก้ปญั หาชวี ติ ครอบครวั และความทุกขต์ ่างๆ และช่วยไกล่เกล่ยี ขอ้ พพิ าทของชาวบ้า
รวมทงั้ ชว่ ยรกั ษาผเู้ จบ็ ปว่ ยตามความรขู้ องพระในขณะนนั้

วดั เป็นศนู ยก์ ลางของชุมชน ทช่ี าวบา้ นมาพบประสงั สรรคท์ ํากจิ กรรมและพธิ กี รรมต่างๆ
รวมทงั้ ชาวบา้ นจะหาความบนั เทงิ ในงานเทศกาลและการมหรสพต่างๆ ทว่ี ดั ได้

จงึ กล่าวไดว้ ่า วดั เป็นศูนยล์ างซ่งึ รวมจติ ใจประชาชนในดา้ นความเคารพเช่อื ถอื และการ
รว่ มมอื ซง่ึ กนั และกนั นบั ตงั้ แต่พระมหากษตั รยิ จ์ นถงึ คนธรรมดาสามญั โดยมพี ระสงฆท์ ําหน้าทแ่ี ละ
มบี ทบาทสําคญั นอกจากน้ีพุทธศาสนาเป็นเคร่อื งยดึ เหน่ียวจติ ใจทําให้มคี วามสามคั คี สามารถ
รวมตวั เป็นสงั คมทม่ี คี วามมนั่ คง เป็นระเบยี บเรยี บร้อยและมคี วามเป็นปึกแผ่นได้จนตราบเท่าทุก
วนั น้ี

๖.๘.๔ อิทธิพลพทุ ธศาสนา : วฒั นธรรมไทยด้านภาษา

คนไทยคุย้ เคยกบั ภาษาสนั สกฤตก่อนภาษาบาลี ทงั้ น้ีเพราะภาษาสนั สกฤตเขา้ มาส่สู งั คม
ของคนไทยพรอ้ มพุทธศาสนามหายาน ตงั้ แต่สมยั อาณาจกั รน่านเจา้ ราว พ.ศ. ๖๐๐๕๗ ครนั้ พ.ศ.
๑๗๘๒ คนไทยยดึ สุโขทยั ไดแ้ ละเกดิ ความเล่อื มใสในศาสนาพทุ ธฝา่ ยหนิ ยานซง่ึ ใชภ้ าษาบาลี ดงั นัน้
ภาษาบาลจี งึ แพรห่ ลายเขา้ มาในสงั คมและขยายกวา้ งยง่ิ กว่าภาษาสนั สกฤต อยา่ งไรกต็ ามคนไทยก็
ยกย่องว่า ทงั้ ภาษาบาลี และภาษาสนั สกฤตเป็นภาษาชนั้ สูง มคี วามศกั ดสิ ์ ทิ ธิ ์ สมบูรณ์แบบและ
แสดงภมู ปิ ญั ญาอนั สงู ส่ง เพราะเป็นภาษาของพระพุทธศาสนา ดงั นัน้ จงึ ไดม้ อี ทิ ธพิ ลในภาษาไทยใน
เวลาต่อมาและจนถงึ ปจั จุบนั กล่าวคอื มกี ารยมื ภาษาบาลี – สนั สกฤตมาใช้ในภาษาไทย จาก
หลกั ฐานทางขอ้ เขยี นในศลิ าจารกึ และวรรณคดเี ก่าๆ ของไทย ตงั้ แต่สมยั สุโขทยั จนถงึ สมยั อยธุ ยา
ตอนปลายพบว่า การยมื คาํ บาลี – สนั สกฤตเป็นไปอยา่ งไม่เคร่งครดั ทงั้ น้ีเพราะมกี ารเขยี นรปู คําลกั
ลนั่ กนั จะเป็นรปู บาลกี ไ็ ม่ใช่ รปู สนั สกฤตกไ็ ม่เชงิ คําลกั ลนั่ เช่นน้ีพบจาํ นวนมากในการยมื คําสมยั เก่า
ก่อนของคนไทย เช่น ไตรภมู กิ ถา (ทถ่ี ูกควรใชเ้ ตภมู กิ ถา) สาคมติ ร (ทถ่ี ูกคอื สาขามคิ , สาขา = กง่ิ
ไม้ + มคิ =กวาง, เน้ือ = กวางบนกงิ่ ไม้ คอื ลงิ ) สุชมั บดี (ทถ่ี ูกคอื สุชาดาบดี = สามขี องนางสุชาดา
คอื พระอนิ ทร)์ เป็นตน้

ดงั กล่าวขา้ งตน้ วา่ ภาษาบาล–ี สนั สกฤต เป็นภาษาทบ่ี นั ทกึ จารกึ คมั ภรี ท์ างพระพุทธศาสนา
จงึ ทําให้มอี ทิ ธพิ ลต่อภาษาไทยอย่างมากมาย จะเห็นไดใ้ นหลาย ๆ แห่งทภ่ี าษาบาลี– สนั สกฤต
ปะปนอย่ใู นภาษาไทยทงั้ ภาษาเขยี นและภาษาพูด ซ่งึ จะแทรกอย่ใู นทวั่ ๆ ไป เช่น คําศพั ทท์ อ่ี อก
เสียงง่ายๆ สะดวก ๆ เช่น ขนั ติ ชิวหา ศิลป เกษียณ แพทย์ สิงขร มารดา สีกา เคารพ ฯลฯ
โดยเฉพาะช่ือของคนไทยนิยมใช้ภาษาบาลี เช่น เชษฐา วิทยา เป็นต้น จึงกล่าวได้ว่า
พระพุทธศาสนามอี ทิ ธพิ ลต่อวฒั นธรรมไทยดา้ นภาษาอยา่ งยง่ิ อกี ดา้ นหน่งึ

๕๗ ศ.ดร.สทิ ธา พนิ ิจภวู ดล, ความรทู้ วั่ ไปทางวรรณกรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร : ดวงกมล, ๒๕๓๗), หน้า ๑๓๐.

บทท่ี ๖ “อิทธิพลแนวคิดพระพทุ ธศาสนาที่มีต่อภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๓๐๖ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๖.๘.๕ อิทธิพลพทุ ธศาสนา : วฒั นธรรมไทยด้านการศึกษา

จากประวตั ิศาสตร์ชาติไทย จะเหน็ ได้ว่าการศึกษาเรมิ่ ข้นึ ท่วี ดั ซ่งึ เป็นศาสนสถานของ
พระพุทธศาสนา มพี ระสงฆ์เป็นครูสอน สอนหลกั ธรรมของพุทธศาสนา หลกั ปฏบิ ตั ิตนในการ
ดาํ รงชวี ติ ประจาํ วนั โดยเฉพาะหลกั เบญจศลี ซง่ึ ถอื ว่าเป็นคุณธรรมเบอ้ื งต้นทท่ี าํ ใหม้ นุษยจ์ ะไม่ต้อง
เบยี ดเบยี นกนั อยกู่ นั อยา่ งสนั ตสิ ุข สอนกริ ยิ ามารยาท การศกึ ษาในสมยั สุโขทยั จะเป็นการศกึ ษาทม่ี ี
วตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ศกึ ษาศาสนาเป็นสว่ นใหญ่จะเหน็ ไดจ้ ากวรรณคดที ส่ี าํ คญั ของไทย เช่น ไตรภูมพิ ระ
ร่วง ลลิ ติ พระลอ สมุทรโฆษคําฉันท์ กําสรวลศรปี ราชญ์ เป็นต้น ในสมยั อยุธยาก็เรยี นหนังสอื เพ่อื
การศึกษาพระพุทธศาสนาเช่นกัน จะเห็นได้จากการนําใบลานใช้สําหรับจารึกตําราทาง
พระพุทธศาสนาทําให้การเรยี นพระพุทธศาสนาขยายตวั ได้อย่างรวดเรว็ ทําใหค้ นไทยมคี ุณธรรม
จรยิ ธรรม มศี ลี ธรรมอนั ดี เป็นเหตุใหส้ งั คมอยเู่ ยน็ เป็นสุข มคี วามรกั สามคั คกี นั มนี ้ําใจใหก้ นั และกนั
เพราะหลกั ธรรมแห่งพระพุทธศาสนาคอยหล่อหลอมจติ ใจใหอ้ ่อนน้อมถ่อมตน ยม้ิ แยม้ แจ่มใส จน
ประเทศไทยไดร้ บั สมยานามว่า “สยามเมอื งยิ้ม”

แมใ้ นยคุ ปจั จุบนั กย็ งั ต้องใหท้ ุกสถานศกึ ษาจดั ใหม้ กี ารเรยี นการสอนวชิ าพระพุทธศาสนา
สปั ดาหล์ ะ ๒ ชวั่ โมง เพ่อื ใหเ้ ยาวชนไดม้ คี ุณธรรม จรยิ ธรรม เป็นบุคคลทพ่ี งึ ประสงคข์ องสงั คม โดย
พระเดชพระคุณพระเทพโสภณ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั เป็นประธาน
ในการจดั ทาํ หลกั สตู รรายวชิ าพระพุทธศาสนาทส่ี อนในโรงเรยี น (สถานศกึ ษา)

๖.๘.๖ อิทธิพลพทุ ธศาสนา : วฒั นธรรมไทยด้านสถาปัตยกรรม

สถาปตั ยกรรมไทย ซ่ึงมีลักษณะเด่นในด้านคตินิยมเก่ียวกับการก่อสร้าง ได้แก่
สถาปตั ยกรรมเก่ยี วกบั พระพุทธศาสนา และการปกครอง และสถาปตั ยกรรมท่มี รี ูปลกั ษณะแบบ
ประเพณี ซง่ึ พอจะแยกกล่าวไดด้ งั น้ี

สถาปตั ยกรรมเก่ียวกับพระพุทธศาสนาและการปกครอง สถาปตั ยกรรมเก่ียวข้องกับ
พระพุทธศาสนา เพราะเป็นทย่ี อมรบั นับถอื ของไทยมาตงั้ แต่บรรพบุรษุ เช่น โบสถ์ วหิ าร ศาลาการ
เปรยี ญ และการก่อสรา้ งพระธาตุเจดยี ต์ ่างๆ ตามคตคิ วามเช่อื ทางศาสนา และคลค่ี ลายมาเป็นคติ
นยิ มเกย่ี วกบั การเมอื งการปกครอง

สถาปตั ยกรรมท่มี รี ูปลกั ษณะแบบประเพณี หลงั พุทธศตวรรษท่ี ๑๙สถาปตั ยกรรมใน
ประเทศไทยได้เรม่ิ คลค่ี ลายเกดิ เป็นลกั ษณะเฉพาะท่มี ีลกั ษณะพเิ ศษเกอื บจะเหมอื นกนั ทุกๆ ภาค
คอื เน้นลกั ษณะเฉพาะซ่งึ ถือว่าสมยั หลงั พ.ศ. ๑๘๙๓ เป็นช่วงเวลาท่นี ํามาเอารูปแบบลกั ษณะ
หลายๆ ถน่ิ หลายๆ ทอ้ งทม่ี ารวมกนั

สถาปตั ยกรรม หลงั พ.ศ. ๑๘๙๓ มลี กั ษณะทางสถาปตั ยกรรมท่มี เี อกภาพเป็นตวั ของ
ตวั เอง เป็นประเพณีนิยมท่กี ่อสรา้ งตามๆ กนั มาจนกลายเป็นคตนิ ิยม เช่น วงั และวดั เท่านัน้ ท่ี
หลงั คาประดบั ดว้ ยช่อฟ้าใบระกาได้ แมว้ ่าบางยุคบางสมยั สถาปตั ยกรรมไมน่ ิยมสรา้ งช่อฟ้าใบระกา
แต่กเ็ ป็นคตคิ วามนิยมอยู่เพยี งสมยั เดยี วแล้วกเ็ ลกิ ราไปแต่ยงั คงรูปแบบชนิดท่มี ชี ่อฟ้าใบระกาและ
เน้นทางด้านหน้ามากกว่าทางด้านขา้ ง ลกั ษณะเช่นน้ีได้แก่ โบสถ์ และวหิ าร การสรา้ งสถูปเจดยี ์

บทท่ี ๖ “อิทธิพลแนวคิดพระพทุ ธศาสนาที่มีต่อภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๓๐๗ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

หรอื มณฑปกจ็ ะมรี ปู แบบสถาปตั ยกรรมของมนั เอง ทด่ี แู ลว้ รไู้ ดท้ นั ที เชน่ เจดยี จ์ ะตอ้ งมรี ปู ลกั ษณะท่ี
เป็นทรงกรวย มยี อดแหลม หรอื เจดยี ช์ นิดทรงกรวยเหลย่ี มย่อมมุ ฯลฯ นัน่ คอื สถาปตั ยกรรมทเ่ี กดิ
กบั วดั และ วงั

จงึ นับว่าพระพุทธศาสนามอี ทิ ธพิ ลต่อการก่อสรา้ งของสงั คมไทยเป็นอย่างมาก ไม่ว่าดา้ น
จิตใจ ด้านประเพณี ด้านพิธีกรรม ด้านวรรณคดี ด้านภาษา ด้านการศึกษา ตลอดถึงด้าน
สถาปตั ยกรรมการก่อสร้าง จนทําให้เกิดเป็นวัฒนธรรมท่ีคนไทยทุกคนได้รบั รู้ได้เห็น และเป็น
เอกลกั ษณ์ของไทยในทส่ี ุด เม่อื ชาวต่างชาตนิ ึกถงึ ประเทศไทยมกั จะนึกถงึ วดั ความสวยงาม ของ
โบสถ์ วหิ าร พระราชวงั เป็นต้น จงึ นับว่าพระพุทธศาสนามอี ทิ ธพิ ลต่อสงั คมและวฒั นธรรมไทยใน
ทกุ ๆ ดา้ นอยา่ งแทจ้ รงิ

สรปุ ท้ายบท

ภูมปิ ญั ญาไทย ก็คอื ความรคู้ วามสามารถท่คี นไทยถ่ายทอดจากคนรุ่นหน่ึงมาสู่คนอกี รุ่น
หน่งึ ทมี ผี ลทด่ี ี งดงาม มคี ณุ คา่ มปี ระโยชน์ ความเช่อื ทางศาสนา คอื การเช่อื ในเทพเทวดา หรอื พระ
ผเู้ ป็นเจา้ ต่างๆ เช่อื ในเรอ่ื งชาตภิ พ รวบถงึ คาํ สอนในศาสนา บาปบุญคุณโทษ รวบแลว้ ภูมปิ ญั ญา
กบั ความเช่อื ทางศาสนา กพ็ อสรุปไดว้ ่าเป็นสง่ิ ทถ่ี ่ายทอดเร่อื งราวเก่ยี วความเช่อื เร่อื งเทพเทวดาสงิ่
ศกั ดสิ ์ ทิ ธ์ ชาตภิ พทผ่ี ่านมา โดยถ่ายทอดจากบรรพบุรษุ มาถงึ คนรุ่นปจั จุบนั ดงั ตวั อย่างทข่ี า้ พเจา้ ได้
ยกมานนั้ เป็นเรอ่ื งเกย่ี วกบั อดตี ชาตขิ องพญานาคตนหน่ึงท่อี ยากบวชแต่มไิ ดบ้ วชจงึ เป็นเหตุและได้
มกี ารใชค้ ําว่า “พ่อนาค” ใหก้ บั บุคคลทก่ี ําลงั จะบวชดว้ ย หรอื จะเป็นการทพ่ี ญานาคต่างรวมใจกนั
สรรเสรญิ พระพุทธเจา้ หลงั จากเสดจ็ ลงจากดาวดงึ สโ์ ดยการพ่นลกู ไฟ หรอื ทเ่ี ราๆ เรยี กกนั ว่า “บงั้ ไฟ
พญานาค” น่ีกพ็ อสรปุ เร่อื งราวเก่ยี วภูมปิ ญั ญาไทยกบั ความเช่อื ทางศาสนาและประเพณีวฒั นธรรม
นอกจากน้ีแล้วยงั มีภูมิปญั ญาท่ีได้รับอิทธิพลทางด้านพุทธศาสนา เช่น อิทธิพลพุทธศาสนา
วฒั นธรรมไทยดา้ นจติ ใจ ดา้ นภาษา ดา้ นการศกึ ษาและดา้ นสถาปตั ยกรรมทส่ี อดแทรกอย่ใู นวถิ กี าร
ดาํ เนนิ ชวี ติ ของสงั คมไทย

บทที่ ๗

ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน

ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ
น.ธ.เอก, ป.ธ.๔, พธ.บ., M.A., Ph.D.(Buddhist Studies)

๗.๑ ความนา

มนุษยไ์ ม่อาจจะอยเู่ พยี งลําพงั คนเดยี วได้ จาํ เป็นต้องอย่รู วมกลุ่มกนั เพ่อื ทจ่ี ะพง่ึ พาอาศยั
และช่วยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั ครนั้ เม่อื มนุษยม์ าอยู่รวมกนั เป็นจํานวนมากแล้ว ก็ต้องมขี อ้ กําหนด
กฎเกณฑ์ เพ่อื ใหอ้ ยรู่ ว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งผาสุก และไดร้ บั การพฒั นาจนกลายเป็นกฎหมายในทส่ี ุด ขณะท่ี
อกี ดา้ นเป็น ระเบยี บแบบแผนการปฏบิ ตั ทิ ส่ี งั คมยอมรบั ว่าดีว่าถูกต้อง โดยไม่ไดเ้ ป็นการบงั คบั แต่
เป็นการสมคั รใจ ทําและยอมรบั ปฏบิ ตั กิ นั เร่อื ยมา นัน่ คอื สง่ิ ทเ่ี รยี กว่า วฒั นธรรมซง่ึ มนุษยไ์ ด้สรา้ ง
วฒั นธรรม ขน้ึ เพอ่ื ประโยชน์ในการดาํ รงชวี ติ และการอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คม

ดงั นนั้ “วฒั นธรรม” จงึ เป็นแบบแผนประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ และไดแ้ สดงออกซง่ึ ความรสู้ กึ นึกคดิ
ในสถานการณ์ต่างๆ ทส่ี มาชกิ ในสงั คมสามารถเขา้ ใจและซาบซง้ึ ร่วมกนั โดยเม่อื กล่าวจาํ เพาะลงไป
ในเน้อื หาทเ่ี ป็นเฉพาะแต่วฒั นธรรมพน้ื บา้ น กจ็ ะไดอ้ งิ กบั ความหมายของวฒั นธรรมในภาพรวม แม้
วฒั นธรรมพ้นื บา้ นจะเป็นเร่อื งของกลุ่มชนหน่ึงๆ แต่ก็อาจไดร้ บั การยอมรบั และนิยมปฏบิ ตั ิจากคน
ทวั่ ไป ไมเ่ ฉพาะกล่มุ กไ็ ด้

ประเทศไทยมวี ฒั นธรรมและประเพณตี ่างๆ ทป่ี ฏบิ ตั สิ บื ทอดกนั มาแต่โบราณ เช่นพธิ กี รรม
ทางศาสนาพุทธ ซง่ึ เป็นพธิ กี รรมท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั ศาสนาพราหมณ์อย่างแยกแยะไม่ได้ ผู้นําในการ
ประกอบพธิ กี รรมต่างๆ ของทอ้ งถนิ่ ตามภาคต่างๆ ของประเทศ ส่วนใหญ่จะเป็นผทู้ ช่ี ุมชนใหค้ วาม
นับถือเม่อื มกี ารจดั พธิ ีดงั กล่าวข้นึ คนในชุมชนท่มี าร่วมพิธีจะเกิดความรกั ความสามคั คมี คี วาม
เอ้อื เฟ้ือเผ่อื แผ่ช่วยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั เป็นการสรา้ งความเจรญิ รุ่งเรอื งและสรา้ งความเป็นปึกแผ่น
แก่ชุมนุมอย่างดยี งิ่ ปจั จุบนั วฒั นธรรมและประเพณีแบบโบราณกําลงั เลอื นหายไป ซ่งึ คนสมยั ใหม่
มกั จะละเลย แมจ้ ะมกี ารนํามาปฏบิ ตั อิ ย่บู ้าง แต่ยงั ขาดความรคู้ วามเขา้ ใจขนั้ ตอนในเร่อื งพธิ กี รรม
ต่างๆ จงึ ทาํ ใหม้ กี ารปฏบิ ตั อิ ยา่ งไมถ่ กู ตอ้ ง ขาดความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย หากหน่วยงาน หรอื ส่วน
ราชการท่มี หี น้าทด่ี ูแลรบั ผดิ ชอบไม่เผยแพร่ความรทู้ ถ่ี ูกต้อง อาจทําใหว้ ฒั นธรรมและประเพณีท่ดี ี
งามมคี วามเส่อื มถอยไปเร่อื ยๆ จนในทส่ี ุดจะเลอื นหายไปตามกาลเวลาวฒั นธรรมประเพณีทด่ี งี าม
ซ่งึ เป็นเอกลกั ษณ์ของท้องถ่ินนัน้ ถือว่าเป็นสิ่งสําคญั ท่จี ะต้องรวบรวมให้เป็นหน่ึงเดียว เพราะ
พธิ กี รรมเป็นเรอ่ื งหลกั ทต่ี อ้ งเรยี นรแู้ ละเขา้ ใจโดยถ่องแท้

พธิ กี รรมตามพจนานุกรมฯ ใหค้ วามหมายไวว้ ่า “พธิ กี รรม” หมายถงึ การบชู า แบบอย่าง
หรอื แบบแผนต่างๆ ทป่ี ฏบิ ตั ใิ นทางศาสนา

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๐๙ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

พธิ กี รรม คอื การกระทาํ ทค่ี นเราสมมตขิ น้ึ เป็นขนั้ เป็นตอน มรี ะเบยี บวธิ ี เพอ่ื ใหเ้ ป็นส่อื หรอื
หนทางท่จี ะนํามาซ่งึ ความสําเรจ็ ในสงิ่ ท่คี าดหวงั ไว้ ซ่งึ ทําให้เกิดความสบายใจและมกี ําลงั ใจท่จี ะ
ดาํ เนินชวี ติ ต่อไป เช่น พธิ กี รรมทางพระพุทธศาสนา หรอื อกี นยั หน่ึง พธิ กี รรม หมายถงึ พฤตกิ รรม
ท่มี นุษย์พ่งึ ปฏบิ ตั ติ ่อความเช่อื ทางศาสนาของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นศาสนาใดๆ ก็ตามต่างก็มกี าร
ปฏบิ ตั ติ ่อศาสนาของตน ตามความเชอ่ื และความศรทั ธาของตนเองในแต่ละศาสนา จงึ ก่อใหเ้ กดิ เป็น
“พธิ กี รรม” ทางศาสนาดว้ ยความเช่อื และความศรทั ธา๑

ประเพณตี ามพจนานุกรมภาษาไทยฉบบั บณั ฑติ ยสถาน ไดก้ ําหนดความหมายประเพณีไว้
ว่า ขนบธรรมเนียมแบบแผน ซ่งึ สามารถแยกคําต่างๆ ออกได้เป็นขนบ มคี วามหมายว่า ระเบยี บ
แบบอย่าง ธรรมเนียมมคี วามหมายว่า ทน่ี ิยมใช้กนั มา และเม่อื นํามารวมกนั แล้วกม็ คี วามหมายว่า
ความประพฤตทิ ค่ี นส่วนใหญ่ยดึ ถอื เป็นแบบแผนและได้ทําการปฏบิ ตั สิ บื ต่อกนั มาจนเป็นต้นแบบท่ี
จะใหค้ นรนุ่ ต่อๆ ไปไดป้ ระพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามกนั ต่อไป หรอื อกี นัยหน่ึง ประเพณี หมายถงึ ระเบยี บแบบ
แผนทก่ี ําหนดพฤตกิ รรมในสถานการณ์ต่างๆ ทค่ี นในสงั คมยดึ ถอื ปฏบิ ตั สิ บื กนั มา ถ้าคนใดพธิ กี รรม
และประเพณีในสงั คมนัน้ ๆ ฝ่าฝืนมกั ถูกตําหนิจากสงั คม ลกั ษณะประเพณีในสงั คมระดบั ประเทศ
ชาติ มที งั้ ประสมกลมกลนื เป็นอย่างเดยี วกนั และมผี ดิ แผกกนั ไปบา้ งตามความนิยมเฉพาะทอ้ งถนิ่
ประเพณลี ว้ นไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากสงิ่ แวดลอ้ มภายนอกทเ่ี ขา้ ส่สู งั คม รบั เอาแบบปฏบิ ตั ทิ ห่ี ลากหลาย
เขา้ มาผสมผสานในการดําเนินชวี ติ ประเพณีจงึ เรยี กได้ว่าเป็นวถิ ีแห่งการดําเนินชวี ติ ของสงั คม
โดยเฉพาะศาสนา ซง่ึ มอี ทิ ธพิ ลต่อประเพณีไทยมากทส่ี ุด วดั วาอารามต่างๆ ในประเทศไทยสะทอ้ น
ให้เห็นถงึ อิทธพิ ลของพุทธศาสนาทม่ี ตี ่อสังคมไทย และชใ้ี หเ้ หน็ ว่าชาวไทยใหค้ วามสําคญั ในการ
บาํ รงุ พทุ ธศาสนา ดว้ ยศลิ ปกรรมทง่ี ดงามเพ่อื ใชใ้ นพธิ กี รรมทางศาสนาตงั้ แต่โบราณกาล ไดแ้ ก่

๑. จารีตประเพณี หมายถึง สิ่งซ่งึ สงั คมใดสงั คมหน่ึงยดึ ถือและปฏิบตั ิสืบกนั มาอย่าง
ต่อเน่ืองและมนั่ คง ผู้ใดฝ่าฝืนถอื ว่าเป็นผดิ เป็นชวั่ จะต้องถูกตําหนิหรอื ไดร้ บั การลงโทษจากคนใน
สงั คมนนั้ เช่น ลกู หลานตอ้ งเลย้ี งดพู ่อแมเ่ มอ่ื ท่านแก่เฒา่ ถา้ ใครไมเ่ ลย้ี งดถู อื ว่าเป็นคนเนรคุณหรอื ลูก
อกตญั ํู

๒. ขนบประเพณี หมายถงึ ระเบยี บแบบแผนทส่ี งั คมไดก้ ําหนดไวแ้ ลว้ ปฏบิ ตั สิ บื ต่อกนั มา

ทงั้ โดยทางตรงและทางอ้อม ทางตรง ได้แก่ ประเพณีท่มี กี ารกําหนดเป็นระเบยี บแบบแผนในการ
ปฏบิ ตั อิ ย่างชดั แจ้งว่าบุคคลต้องปฏบิ ตั ิอย่างไร ทางอ้อม ได้แก่ ประเพณีท่รี กู้ นั โดยทวั่ ๆ ไป โดย
ไม่ได้วางระเบยี บไว้แน่นอน แต่ปฏบิ ตั ไิ ปตามคําบอกเล่า เช่น ประเพณีเก่ยี วกบั การเกิด การตาย
การแต่งงาน ซง่ึ เป็นประเพณีเก่ยี วกบั ชวี ติ หรอื ประเพณีเก่ยี วกบั เทศกาล ตรุษ สารท การขน้ึ บา้ น
ใหม่

๑ คณาจารย์ มจร., เทศกาลและพิธีกรรมทางพระพทุ ธศาสนา, พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๒, (กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พม์ หาจุฬาลง
กรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๔), หน้า ๓-๕.

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๓๑๐ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๓. ธรรมเนียมประเพณี หมายถงึ ประเพณเี กย่ี วกบั เรอ่ื งธรรมดาสามญั ทท่ี ุกคนควรทาํ ไม่

มรี ะเบยี บแบบแผนเหมอื นขนบประเพณี หรอื ความผดิ ถูกเหมอื นจารตี ประเพณี เป็นแนวทางทท่ี ุก
คนปฏบิ ตั กิ นั ทวั่ ไปจนเกดิ ความเคยชนิ และไมร่ สู้ กึ เป็นภาระหน้าท่ี เพราะเป็นสง่ิ ทม่ี มี านานและใชก้ นั
อย่างแพร่หลาย ธรรมเนียมประเพณีเป็นเร่อื งทท่ี ุกคนควรทํา ผฝู้ ่าฝืนหรอื ทําผดิ ก็ไมถ่ อื ว่าเป็นเรอ่ื ง
สาํ คญั แต่อาจถกู ตําหนิวา่ เป็นคนไมไ่ ดร้ บั การศกึ ษา ไมม่ มี ารยาท ไมร่ จู้ กั กาลเทศะ๒

สรุป พธิ กี รรมและประเพณีจดั เป็นจารตี ประเพณี คอื แนวทางปฏบิ ตั สิ บื ทอดกนั มานับว่า
เป็นสมบัติท่ีทรงคุณค่าอย่างย่ิง จําเป็นต้องมีผู้ท่ีมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติให้รู้ถึง
ขนบธรรมเนียมประเพณีอย่างชดั เจน โดยเผยแพร่ความรแู้ ก่เยาวชนและองค์กรภาครฐั ทุกส่วนให้
สามารถนําไปปฏบิ ตั ิเองได้ หมายความว่า ทําให้เป็นรูปธรรมอย่างชดั เจน เกิดความชํานาญและ
แนะนําผอู้ ่นื ได้ ทส่ี าํ คญั คอื การปฏบิ ตั ใิ หเ้ ป็นมาตรฐานเดยี วกนั เพ่อื ใหเ้ ยาวชน ประชาชนในทอ้ งถนิ่
มคี วามรูใ้ นการทําพธิ อี ย่างถูกต้องและเกิดประโยชน์ในเชงิ วชิ าการเป็นการรกั ษาเอกลกั ษณ์ของ
ทอ้ งถนิ่ ทม่ี คี วามหลากหลายใหค้ งอยอู่ ยา่ งยงั่ ยนื ส่งผลใหส้ งั คมไทยมจี ารตี ขนบธรรมเนียมประเพณี
ทด่ี งี ามโครงการดงั กล่าวทก่ี รมการศาสนาจดั ขน้ึ จงึ เป็นการสนบั สนุนการอนุรกั ษ์วฒั นธรรมประเพณี
ของชาตใิ หด้ าํ รงอยสู่ บื ไป ทน่ี อกเหนือภารกจิ หลกั สาํ คญั ยงิ่ คอื การรบั สนองงานพระราชพธิ ี งานพระ
ราชกุศลและงานรฐั พิธตี ามหมายรบั สงั่ ทงั้ ในส่วนกลางและส่วนภูมภิ าค รวมถงึ ปฏบิ ตั งิ านด้านศา
สนพธิ ตี ามทก่ี ระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานต่างๆ ขอความรว่ มมอื ซง่ึ จะเก่ยี วขอ้ งโดยตรงต่อ
พนั ธกจิ กระทรวงวฒั นธรรม คอื การทาํ นุบํารุงศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรมของชาติ สนองงานของสถาบนั
ชาตศิ าสนา และพระมหากษตั รยิ ์ ใหม้ กี ารสบื ทอดและพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื พธิ กี รรมและประเพณี

๗.๒ ความหมายของภมู ิปัญญาวฒั นธรรมท้องถิ่น

คําว่า “ท้องถ่ิน” หมายถงึ พน้ื ทแ่ี ละขอบเขตทช่ี ุมชน หม่บู า้ น เมอื ง มกี ารปะทะสรรคก์ นั
ทางดา้ นสงั คม เศรษฐกจิ และวฒั นธรรม จนปรากฏรปู แบบทางวฒั นธรรมทเ่ี หมอื นกนั และแตกต่าง
กนั ไปจากชมุ ชน หมบู่ า้ น และเมอื ง ในทอ้ งถน่ิ อ่นื

“ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน” มกั เกดิ จากการสะสมเรยี นรมู้ าเป็นระยะเวลานาน มนั เช่อื มโยงกนั
ไปหมด ไม่แยกจากกนั เป็นวชิ าอย่างทเ่ี ราเรยี ก ภูมปิ ญั ญาชาวบา้ นต่างจากองคค์ วามรตู้ รงทเ่ี รามี
หนงั สอื ทฤษฎคี วามรมู้ ากมายมาอา้ งองิ ได้ ภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ น มขี นั้ ตอน ๓ อยา่ ง คอื ปรยิ ตั สิ ทั ธรรม
ปฏบิ ตั สิ ทั ธรรม และปฏเิ วธสทั ธรรม๓

๒ เรอ่ื งเดยี วกนั , หน้า ๑๓-๑๔.
๓ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต), พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม, พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๓๖, (กรงุ เทพมหานคร
: สาํ นกั พมิ พผ์ ลธิ มั ม,์ ๒๕๕๙), หน้า ๑๐๕.

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๓๑๑ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ภมู ิปัญญาชาวบ้าน หมายถงึ ความรขู้ องชาวบา้ น ซง่ึ เรยี นรมู้ าจากปู่ ยา่ ตา ยาย ญาตพิ ่ี
น้อง และความเฉลยี วฉลาดของแต่ละคน หรอื ผู้มคี วามรู้ในหมู่บ้านในท้องถ่ินต่างๆ ภูมปิ ญั ญา
ชาวบา้ นเป็นเรอ่ื งการทํามาหากนิ เช่น การจบั ปลา การจบั สตั ว์ การปลูกพชื การเลย้ี งสตั ว์ การทอ
ผา้ การทาํ เครอ่ื งมอื การเกษตร ภมู ปิ ญั ญาเหลา่ น้ีเป็นความรคู้ วามสามารถทบ่ี รรพบุรุษไดส้ รา้ งสรรค์
และถ่ายทอดมาใหเ้ รา มวี ธิ กี ารหลายอย่างทท่ี ําให้ความรเู้ หล่าน้ีเกดิ ประโยชน์แก่สงั คมปจั จบุ นั คอื
การอนุรกั ษ์ คอื การบาํ รงุ รกั ษาสงิ่ ทด่ี งี ามไวเ้ ช่น ประเพณตี ่างๆ หตั ถกรรม และคุณค่าหรอื การปฏบิ ตั ิ
ตนเพอ่ื ความสมั พนั ธอ์ นั ดกี บั คนและสง่ิ แวดลอ้ ม การฟ้ืนฟู คอื การรอ้ื ฟ้ืนสงิ่ ทด่ี งี ามทห่ี ายไป เลกิ ไป
หรอื กําลงั จะเลกิ ใหก้ ลบั มาเป็นประโยชน์ เช่นการรอ้ื ฟ้ืนดนตรไี ทย การประยุกต์ คอื การปรบั หรอื
การผสมผสานความรเู้ ก่ากบั ความรใู้ หมเ่ ขา้ ดว้ ยกนั ใหเ้ หมาะสมกบั สมยั ใหม่ เช่น การใชย้ าสมุนไพร
ในโรงพยาบาล ประสานกบั การรกั ษาสมยั ใหม่ การทําพธิ บี วชต้นไม้ เพ่อื ให้เกดิ สํานึกการอนุรกั ษ์
ธรรมชาติ รกั ษาป่ามากยง่ิ ขน้ึ การประยุกต์ประเพณีการทําบุญขา้ วเปลอื กท่วี ดั มาเป็นการสรา้ ง
ธนาคารขา้ ว เพ่อื ช่วยเหลอื ผทู้ ข่ี าดแคลน และการสรา้ งใหม่ คอื การคน้ คดิ ใหมท่ ่สี มั พนั ธก์ บั ความรู้
ดงั้ เดมิ เช่น การประดษิ ฐ์โปงลาง การคดิ โครงการพฒั นาเพ่อื แก้ไขปญั หาของชุมชน โดยอาศัย
คุณค่าความเออ้ื อาทรทช่ี าวบา้ นเคยมตี ่อกนั มาหารปู แบบใหม่ เชน่ การสรา้ งธนาคารขา้ ว ธนาคารโค
กระบอื การรวมกลุม่ แมบ่ า้ น เยาวชน เพ่อื ทาํ กจิ กรรมกนั อยา่ งมรี ะบบมากยงิ่ ขน้ึ

ภูมปิ ญั ญาเป็นความรูท้ ป่ี ระกอบไปดว้ ยคุณธรรม ซง่ึ สอดคล้องกบั วถิ ชี วี ติ ดงั้ เดมิ นัน้ ชวี ติ
ของชาวบา้ นไมไ่ ดแ้ บง่ แยกเป็นส่วนๆ หากแต่ทกุ อย่างมคี วามสมั พนั ธก์ นั ทาํ มาหากนิ การร่วมกนั ใน
ชมุ ชน การปฏบิ ตั ศิ าสนา พธิ กี รรมและประเพณี

ความรเู้ ป็นคุณธรรม เม่อื ผคู้ นใช้ความรนู้ ัน้ เพ่อื สรา้ งความสมั พนั ธท์ ่ดี รี ะหว่าง คนกบั คน
คนกบั ธรรมชาติ และคนกบั สง่ิ เหนือธรรมชาติ ความรู้เหล่าน้ีเก่ียวขอ้ งกับการดําเนินชีวติ เป็น
แนวทาง หลกั เกณฑ์ วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ เ่ี กย่ี วกบั ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสมาชกิ ของครอบครวั ความสมั พนั ธ์
กบั คนอ่นื ความสมั พนั ธก์ บั ผลู้ ว่ งลบั ไปแลว้ กบั สง่ิ ศกั ดสิ ์ ทิ ธิ ์และกบั ธรรมชาติ

ความรเู้ ร่อื งทํามาหากนิ มอี ย่มู าก เช่นการทําไร่ทํานา การปลูกพชื การเล้ยี งสตั ว์ การจบั
ปลา จบั สตั ว์ การผา้ ทงั้ ผา้ ฝ้ายและผา้ ไหม ซง่ึ มลี วดลายทส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความเช่อื และความคดิ
ของชาวบ้าน การทําเคร่อื งปนั้ ดนิ เผา การแกะสลกั ไม้และหิน ซ่ึงจะพบได้จากโบราณสถานใน
พพิ ธิ ภณั ฑต์ ่างๆ วฒั นธรรมพน้ื บา้ นในแต่ละแหง่ ยอ่ มมที งั้ การปฏบิ ตั ทิ ค่ี ลา้ ยคลงึ กนั และแตกต่างกนั
ออกไป ในแต่ละทอ้ งถน่ิ ขน้ึ อย่กู บั บรบิ ทของชุมชน อาทิ ภมู อิ ากาศ ภมู ปิ ระเทศ ทศั นคติ ความเช่อื
ลกั ษณะการประกอบอาชพี เช่น เป็นชุมชนเกษตรกรรม เป็นชุมชนประมง เป็นต้น และยงั ขน้ึ อยกู่ บั
การเปิดรบั อารยธรรมและความเจรญิ ของกลุ่มชนอ่นื เขา้ มาผสมผสาน ระหว่างวฒั นธรรม แต่ถงึ แม้
การไหล่บ่าของวัฒนธรรมภายนอกจะถาโถมเข้ามาอย่างรุนแรง จนทําให้วัฒนธรรมพ้ืนบ้าน
บางอยา่ งกลนื หายไปกบั กระแสดงั กล่าว แต่กย็ งั เหลอื อกี มากทธ่ี าํ รงไวซ้ ง่ึ วฒั นธรรมทด่ี งี าม ของกลุ่ม
ตนได้ และวฒั นธรรมพน้ื บา้ นของไทย กเ็ ป็นอกี ตวั อยา่ งทส่ี ะทอ้ นภาพการ เปลย่ี นแปลงดงั กล่าว

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๑๒ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

จากความจรงิ ทว่ี ่า วฒั นธรรมยอ่ มเปลย่ี นแปลงตามเง่อื นไขเวลา เมอ่ื มกี ารคดิ คน้ หรอื พบ
สง่ิ ใหม่ๆ ท่ใี ช้แก้ปญั หาและตอบสนองความต้องการของสงั คมได้ วฒั นธรรมบางอย่างอาจเลกิ ใช้
ดงั นนั้ การจะรกั ษาวฒั นธรรมเดมิ ไวต้ อ้ งปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลง หรอื พฒั นาวฒั นธรรมนนั้ ใหเ้ หมาะสม
มีประสิทธิภาพตามยุคสมยั วฒั นธรรมพ้ืนบ้านอยู่ภายใต้ความจริงน้ีด้วย ดังนัน้ จะเห็นความ
เปลย่ี นแปลงเกดิ ขน้ึ ซง่ึ กต็ อ้ งเปลย่ี นแปลงควบคกู่ บั การอนุรกั ษ์คุณค่าเดมิ ไวด้ ว้ ย

ในดา้ นความสําคญั ของวฒั นธรรมพ้นื บ้าน คงมใิ ช่เพยี งภาพสะท้อนความเจรญิ งอกงาม
เทา่ นนั้ แต่ยงั เสมอื นเป็นครทู ช่ี ว่ ยใหม้ นุษยเ์ ขา้ ใจสภาพชวี ติ ดยี ง่ิ ขน้ึ อกี ทงั้ ยงั เป็นกรงลอ้ มใหช้ วี ติ อยู่
ในขอบเขตทน่ี ิยมกนั วา่ ดี และถกู ตอ้ ง เพราะวฒั นธรรมเกดิ ขน้ึ สอดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ ความรสู้ กึ นึกคดิ
ทศั นคตคิ วามเช่อื ค่านิยม และระเบยี บแบบแผนอ่นื ๆ ดงั นนั้ จงึ จาํ เป็นอยา่ งยง่ิ ทม่ี นุษย์ หรอื คนใน
ชุมชนนัน้ จะต้องเรยี นรู้วฒั นธรรมของตนเอง เพ่อื ให้เขา้ ใจถึงชวี ติ รกั ษาคุณค่าความดงี ามนัน้ ไว้
ก่อให้เกิดความภาคภูมใิ จและเผยแพร่สู่สงั คมอ่นื ในขณะเดยี วกนั ก็ต้องพฒั นาให้เจรญิ งอกงาม
ถ่ายทอดอยา่ งต่อเน่อื งกนั ไปในอนาคต

โดยสรุปความหมายของวฒั นธรรมพ้นื บ้าน คอื วถิ ีปฏบิ ตั ิและการดําเนินชวี ติ ของคนใน
ชมุ ชน หรอื ทอ้ งถน่ิ นนั้ ๆ ซง่ึ มที งั้ ความเหมอื นและความแตกต่างกนั ไปในแต่ละทอ้ งถน่ิ โดยในความ
ต่างนนั้ เราเรยี กว่าความเป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั และไดย้ ดึ ถอื ปฏบิ ตั แิ ละถ่ายทอด สบื ต่อกนั มา ทัง้ น้ี
การสบื ทอดนนั้ อาจคงไวซ้ ง่ึ ระเบยี บแบบแผนเดมิ หรอื อาจจะมกี ารปรบั เปลย่ี น เพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกบั
บรบิ ทของชุมชนและวงั คมในแต่ละยคุ สมยั ดงั นนั้ วฒั นธรรมและประเพณีของทอ้ งถนิ่ แต่ละแห่งอาจ
มรี ูปแบบแตกต่างกนั ไปตามสภาพทางภูมศิ าสตร์ ทรพั ยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อม ซ่งึ เรา
พอจะสรปุ ลกั ษณะสาํ คญั ของวฒั นธรรมและประเพณที อ้ งถน่ิ ของไทยไดด้ งั น้ี

๗.๓ ความเป็นมาเก่ียวกบั พิธีกรรมและความเช่ือ

พธิ กี รรมและความเช่อื มคี วามเป็นมาและเรม่ิ ต้นอยา่ งไร พธิ กี รรมและความเช่อื ต่างๆ ถ้า
สงั เกตให้ดี จะมปี รากฏให้พบเหน็ ในชีวติ ประจําวนั มากมาย ตงั้ แต่เช้าตรู่เรม่ิ ต้นวนั ใหม่ของการ
ดาํ เนนิ ชวี ติ ของคนในสงั คมแต่ละวนั ซง่ึ พธิ กี รรมและความเชอ่ื ทไ่ี ดป้ ฏบิ ตั กิ นั อยนู่ นั้ เราท่านอาจทราบ
หรอื ไมส่ ามารถจะทราบไดว้ ่ามคี วามเป็นมาอยา่ งไร ทําไมจงึ ต้องมแี ละจุดเรมิ่ ต้นแหล่งทม่ี าพธิ กี รรม
และประเพณีหรอื แหล่งกําเนิดใด แต่นักมานุษยวทิ ยาและนักสงั คมศาสตร์ ท่านไดใ้ ห้ความสนใจ
ศกึ ษา คน้ ควา้ เพ่อื หาเหตุผลสนบั สนุนแนวคดิ ไวห้ ลายทา่ น เชน่ อแี วน พรทิ ชารท์ กล่าวถงึ ความเช่อื
ท่ีสามารถโยงใยไปถึงพิธีกรรมท่ีเกิดข้นึ ไว้อย่างน่าสนใจว่า “มนุษย์สมั พนั ธ์กับธรรมชาติและ
ปรากฏการณ์หลายอย่างเกิดข้นึ มผี ลกระทบต่อชีวติ ทมี่ นุษยไ์ ม่สามารถหาคาตอบหรอื อธบิ ายได้
เป็นเหตุใหม้ นุษยเ์ กรงกลวั และเคารพธรรมชาติ เมอื่ ต้องการความปลอดภยั ในชวี ติ จงึ เกดิ การอ้อน

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๑๓ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

วอน รอ้ งขอ และการเซ่นสงั เวยดว้ ยวธิ กี ารต่างๆ ตามแต่มนุษยใ์ นชุมชนนัน้ ๆ จะคดิ คน้ เมอื่ ประสบ
ผลกก็ ลายเป็นความเชอื่ เป็นพธิ กี รรมทยี่ ดึ ถอื ปฏบิ ตั สิ บื ต่อกนั มา”๔

ถ้าหากนําแนวคิดดังกล่าวมาพิจารณา ก็น่าจะมีความเป็นไปได้ดังตัวอย่างของ
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาตทิ เ่ี กดิ ขน้ึ เช่น ฟ้าแลบ ฟ้ารอ้ ง ฟ้าผ่า มผี ลทาํ ใหบ้ า้ นเรอื น ตน้ ไมห้ กั โค่น
ไม่สามารถหาคําตอบได้ น่ีกเ็ ป็นอยา่ งหน่ึง และอกี ตวั อย่างหน่ึงคนในชุมชนเกดิ ลม้ ตายจาํ นวนมาก
เขาไมส่ ามารถคน้ หาคาํ ตอบได้ กต็ อ้ งกล่าวโทษธรรมชาติ เกดิ ความเกรงกลวั ธรรมชาติ กลวั ในสง่ิ ท่ี
มองไมเ่ หน็ และไมส่ ามารถคน้ พบคาํ ตอบ และกม็ อี กี ตวั อยา่ งอกี หลากหลาย เช่น ขณะทฝ่ี นตกมนุษย์
เข้าไปอาศัยหลบฝนอยู่ใต้ต้นไม้ แต่ด้วยความบังเอิญต้นไม้นั้นต้นสูงอยู่ กลางท่ีโล่ง ในทาง
วทิ ยาศาสตรส์ ่วนทส่ี งู ของต้นไมแ้ ละความเปียกชน้ื ของพน้ื ดนิ กเ็ ป็นส่อื ไฟฟ้าอยา่ งดี เกดิ ฟ้าผ่าลงมา
ผทู้ ห่ี ลบอยใู่ ตต้ ้นไมถ้ งึ เสยี ชวี ติ ผไู้ มร่ กู้ พ็ ยายามหาคําตอบโดยสรา้ งจนิ ตนาการใหเ้ กดิ เป็นความเช่อื
ว่า เป็นเพราะต้นไมน้ ัน้ มเี ทพเจา้ พทิ กั ษ์รกั ษาบนั ดาลใหเ้ กดิ มพี ลงั อํานาจทําลายชวี ติ มนุษย์ การท่ี
มนุษยค์ น้ หาคาํ ตอบไมไ่ ดจ้ งึ ตอ้ งสรา้ งสงิ่ หน่งึ ขน้ึ มาเพ่อื ต้องการให้ส่งผลทางดา้ นจติ ใจ คอื ความเช่อื
โดยมคี วามเช่อื ว่าสง่ิ เหล่านัน้ บนั ดาลให้เป็นอย่างนัน้ เป็นอย่างน้ี เม่อื เกดิ การเกรงกลวั ธรรมชาติ
มนุษยก์ ต็ อ้ งมกี ารออ้ นวอนรอ้ งขอธรรมชาติ โดยการเซ่นสงั เวยธรรมชาตเิ พ่อื ใหไ้ ดม้ าซง่ึ สง่ิ ทร่ี อ้ งขอ
แลว้ แต่จะสรา้ งจนิ ตนาการขน้ึ มา และกรรมวธิ เี ซ่นสงั เวยประกอบการรอ้ งขออ้อนวอนต่อธรรมชาติ
ตามแต่ชมุ ชนหรอื คนในสงั คมนนั้ จะคน้ คดิ กรรมวธิ ขี น้ึ มา เพ่อื ใชเ้ ป็นสง่ิ ปลอบประโลมยดึ เหน่ียวทาง
จติ ใจ นัน่ กค็ อื พธิ กี รรม และในความหมายของพธิ กี รรมนัน้ มนี ักวชิ าการไดใ้ หค้ วามหมายไว้อย่าง
หลากหลายแต่ ณ ทน่ี ้ขี อใหค้ าํ นยิ ามความเช่อื และพธิ กี รรม ดงั น้ี

ความเช่ือ คอื ความรสู้ กึ ทค่ี ลอ้ ยตาม หรอื เหน็ ดว้ ย หรอื เหน็ เป็นจรงิ เช่นนนั้ ดว้ ยความเช่อื
ของมนุษยส์ ่วนมากเกดิ จากความสมั พนั ธร์ ะหว่างมนุษยก์ บั ธรรมชาติ เม่อื สงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ นนั้ มผี ลต่อวถิ ี
ชวี ติ มนุษยท์ งั้ ใหค้ ุณประโยชน์และให้โทษ แลว้ มนุษยไ์ ม่สามารถค้นหาสาเหตุมาอธบิ ายได้หรอื ไม่
สามารถค้นพบคําตอบในสง่ิ ท่เี กดิ ขน้ึ จากธรรมชาติ ทําให้เกิดความหวาดกลวั ธรรมชาตพิ ยายาม
สรา้ งจนิ ตนาการเพอ่ื จะไดน้ ํามาเป็นเครอ่ื งยดึ เหน่ียวทางจติ ใจ ดว้ ยพฤตกิ รรมต่างๆ ขน้ึ อยกู่ บั ความ
เช่อื นนั้ ๆ โดยความเชอ่ื เหล่านนั้ ไดป้ ฏบิ ตั สิ บื ทอดกนั มาตงั้ แต่บรรพบุรษุ ถงึ รุ่นลกู หลาน

ความเช่ือเหล่านัน้ ถ้าหากมีนําไปปฏิบัติสืบทอดกันอย่างต่อเน่ืองและยาวนาน ก็จะ
กลายเป็นพธิ กี รรมตามความเช่อื และจะถูกนํามากล่าวอ้าง ในท่สี ุดจะค่อยๆ ปรบั เปล่ยี นไปเป็น
พธิ กี รรมประเพณี และธรรมเนียมปฏบิ ตั ทิ ห่ี ลากหลายจนถงึ ปจั จุบนั น้ีดงั นัน้ ความหมายของความ

๔ E.E. Evans-Pritchard., Witchcraft, Oracles and Magic among the Azande., (Oxpord : At the Clarendon
Press, ๑๙๓๗). pp. ๒-๕. อแี วนส์ พรทิ ชารด์ ลกู ศษิ ยข์ องมาลนี อฟสก้ี เขยี นหนังสอื เร่อื ง Witchcraft, Oracles and Magic among
the Azande (๑๙๓๗) อธบิ ายใหเ้ หน็ ความเชอ่ื และการปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั เวทมนต์ และการพยากรณ์ของเทพเจา้ ในสงั คมแอฟรกิ า ความ
เชอ่ื ดงั กล่าวมผี ลต่อการจดั ระเบยี บทางสงั คมของชาว Azande โดยเฉพาะเรอ่ื งการเจบ็ ปว่ ยและความตาย พรทิ ชารด์ ช้ใี ห้เหน็ ว่า
ความคดิ เรอ่ื งเวทมนต์ของชาว Azande นนั้ มรี ะเบยี บแบบแผนทช่ี ดั เจน การศกึ ษาดงั กล่าวน้ีทาํ ใหค้ นพ้นื เมอื งไมถ่ ูกกล่าวหาว่าเป็น
พวกงมงาย ไรเ้ หตุผล หากแต่มคี วามคดิ ในเชงิ สญั ลกั ษณ์ กาํ กบั ในการกระทาํ ต่างๆ

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๓๑๔ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

เช่อื น่าจะมคี วามหมายถงึ “สงิ่ ใดสงิ่ หน่ึงท่มี นุษยไ์ ดใ้ หก้ ารยอมรบั นบั ถอื ทงั้ ท่มี ใี หเ้ หน็ ปรากฏเป็น
ตวั เป็นตนมอี ย่จู รงิ หรอื ไม่ปรากฏเป็นตวั ตน และการยอมรบั นับถือน้ี อาจจะมหี ลกั ฐานท่สี ามารถ
พสิ ูจน์ได้หรอื อาจจะไม่มหี ลกั ฐานท่จี ะพสิ ูจน์ให้เห็นเป็นจรงิ เก่ยี วกบั สง่ิ นัน้ เลยก็ได้”ซ่งึ บรบิ ทของ
สงั คมไทยในทุกภาคส่วนมคี วามเช่อื ท่ีหลากหลาย อันเป็นท่มี าของความเช่ือและพิธีกรรมตาม
ประเพณี มธี รรมเนียมและรูปแบบการปฏิบตั ิท่แี ปลกและแตกต่างกันสามารถแบ่งออกได้เป็น
ประเภท ดงั น้ี

ประเภทแรก คอื ความเช่อื ทไ่ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลจากปรชั ญาทางพระพุทธศาสนา เป็นความเช่อื

ในเรอ่ื งของกฎแหง่ กรรม วา่ มนุษยเ์ ราเกดิ มาในภพภมู ทิ ด่ี บี า้ งไม่ดบี า้ ง เป็นไปตามกฎแห่งกรรมทท่ี ํา
ไวจ้ ติ ทไ่ี ดร้ บั การอบรมแลว้ ถ้าหากหมดสน้ิ กเิ ลสกย็ อ่ มนําไปเกดิ ในภพภูมทิ ป่ี ระณตี มคี วามสุขความ
เจรญิ ประเสรฐิ และสูงขน้ึ แต่ถา้ หากจติ ไมไ่ ดร้ บั การอบรม ปล่อยทง้ิ ไวต้ ามสภาพเดมิ ทเ่ี ป็นปล่อยให้
สกปรกเศรา้ หมองเพราะตกเป็นทาสของกเิ ลส

ประเภทที่สอง คอื ความเช่อื ทส่ี มั พนั ธก์ บั ธรรมชาติ และมผี ลต่อการดาํ เนินชวี ติ ของมนุษย์

เป็นความเช่อื ทส่ี บื ทอดกนั มาตงั้ แต่บรรพบุรุษทย่ี ดึ ถอื นํามาเก่ยี วโยงเขา้ กบั วถิ กี ารดาํ เนินชวี ติ เม่อื
มนุษยม์ คี วามเช่อื เกดิ ขน้ึ กต็ อ้ งกาํ หนดเป็นรปู แบบของพธิ กี รรมเกดิ ขน้ึ ตามมาการทค่ี วามเช่อื ของคน
แต่ละชุมชนมแี นวทางยดึ ถอื และปฏบิ ตั ทิ ่ีแปลก แตกต่างอาจจะคล้ายกนั หรอื เหมอื นกนั จากการ
กําหนดสรา้ งรูปแบบปฏบิ ตั ขิ น้ึ เป็นพธิ กี รรมตามความเช่อื ในวถิ ชี วี ติ ของตนเองภายในชุมชนสบื ต่อ
กนั มา โดยระยะแรกเรมิ่ อาจเกดิ ขน้ึ เพยี งในกลุ่มความเช่อื กลุ่มเลก็ ๆ ค่อยๆ กระจายไปส่คู นกลุ่มอ่นื
ในชุมชนอ่นื ๆ หรอื ต่างชุมชน ท่อี าจจะมคี วามเช่อื ท่เี ห็นคล้อยตามรบั เอาความเช่อื และแนวการ
ปฏบิ ตั ทิ างพธิ กี รรมนําไปใชใ้ นชุมชนของตน จงึ เกดิ การแพร่กระจายส่ชู ุมชนขยายวงกวา้ งจากชุมชน
สู่ชุมชน จากสงั คมในระดบั ท้องถน่ิ ไปสู่สงั คมในระดบั ชาติ และความเช่อื ท่ปี รากฏอย่ใู นสงั คมไทย
สามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มของความเช่อื ดงั น้ี

๑. ความเชื่อทางพระพุทธศาสนา เน่ืองจากคนไทยนับถือพระพุทธศาสนามาตงั้ แต่
บรรพบุรษุ ความเช่อื จงึ มงุ่ เน้นพระรตั นตรยั และหลกั ธรรมคาํ สอนทางพระพทุ ธศาสนา คอื

(๑) ความเชื่อเร่ืองกฎแห่งกรรม : ใครทํากรรมใดไว้ ผลกรรมนนั้ จะตามสนองซง่ึ มคี วาม
เชอ่ื ว่า ทาํ ดยี อ่ มไดด้ ี ทาํ ชวั่ ยอ่ มไดช้ วั่ ไมม่ ใี ครหลกี เลย่ี งได้ ดงั ตวั อยา่ งคาํ กลอนจากหนงั สอื ค่มู อื สอน
วชิ าภาษาไทย ประถมปีท่ี ๒ เลม่ ๒ ของกรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๒๑ ว่า

“อนั คณุ ความดที ม่ี ใี นตน นนั้ ช่วยนําผลเสรมิ ตนใหไ้ ดด้ ี

คนทท่ี าํ ชวั่ เมามวั ราคี นนั้ ไมม่ วี นั ทผ่ี ลดจี ะตอบแทน
จาํ ใส่ใจจาํ ใสใ่ จใหแ้ น่นแฟ้น ผลกรรมทดแทนทกุ ทางตลอดไป

ประดุจเงาประดจุ เงาของเราไซร้ อยแู่ ห่งใดลว้ นไปทกุ ถนิ่ ทาง”

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๓๑๕ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

(๒) ความเช่ือเรอื่ งตายแล้วเกิดใหม่ : สตั วโ์ ลกทงั้ หลายย่อมเวยี นว่ายตายเกดิ วฏั สงสาร
ตามผลแห่งกรรมของตน เป็นความเช่อื ตามหลกั คาํ สอนทางพระพุทธศาสนา ดงั ตวั อย่างทป่ี รากฏใน
พระสุตตนั ตปิฎก สงั ยตุ ตนิกาย นิทานวรรคว่า “ภกิ ษุทงั้ หลาย สงสารน้ีมเี บอ้ื งต้นและเบอ้ื งปลายรู้
ไม่ได้ ทส่ี ุดเบอ้ื งต้นทส่ี ุดเบอ้ื งปลายไม่ปรากฏแก่เหล่าสตั ว์ผถู้ ูกอวชิ ชากดี ขวาง ถูกตณั หาผูกไว้
วนเวยี นท่องเทย่ี วไป เปรยี บเหมอื นบุรษุ ตดั หญา้ ท่อนไม้ กง่ิ ไม้ ใบไม้ ในชมพทู วปี น้ีแลว้ รวมเป็น
กองเดยี วกนั ครนั้ รวมกนั แลว้ จงึ มดั มดั ละ ๔ น้ิว วางไว้” สมมติว่าน้ีเป็นมารดาของเรา น้ีเป็น
มารดาของมารดาของเรา มารดาของมารดาแห่งบุรุษนัน้ ไม่มที ่สี ้นิ สุด ส่วนหญ้า ท่อนไม้ กงิ่ ไม้
ใบไม้ ในชมพูทวปี น้ีพงึ หมดสน้ิ ไป ขอ้ นนั้ เพราะเหตุไร เพราะว่าสงสารน้ีมเี บอ้ื งต้นและเบอ้ื งปลายรู้
ไม่ได้ ทส่ี ุดเบ้อื งต้น ท่สี ุดเบ้อื งปลายไม่ปรากฏแก่เหล่าสตั วผ์ ู้ถูกอวชิ ชากดี ขวาง ถูกตณั หาผูกไว้
วนเวยี นทอ่ งเทย่ี วไป อุปมาน้ฉี นั ใด อุปไมยกฉ็ นั นนั้ เธอทงั้ หลายเสวยความทุกข์ ไดร้ บั ความลําบาก
ไดร้ บั ความพนิ าศเตม็ ปา่ ชา้ เป็นเวลายาวนานภกิ ษุทงั้ หลาย เพราะเหตุน้ีแหละจงึ ควรเบ่อื หน่าย ควร
คลายกาํ หนดั ควรเพ่อื หลุดพน้ จากสงั ขารทงั้ ปวง”๕

(๓) ความเชื่อเรื่องกฎแห่งธรรมชาติ : กย็ งั คงเป็นคาํ สอนตามหลกั ทางพระพุทธศาสนา
ทเ่ี รยี กวา่ หวั ใจของพระพทุ ธศาสนา หรอื คาถาของพระอสั สชิ ตอบคาํ ถาม พระสารบี ุตรปรพิ พาชกได้
ถามถงึ ใจความของพระพทุ ธศาสนาว่า มอี ยอู่ ยา่ งไรโดยยอ่ ทส่ี ุดว่า

“ธรรมเหล่าใด เกดิ แต่เหตุ พระตถาคตตรสั เหตุแห่งธรรมเหล่านัน้ และความดบั แห่งธรรม
เหล่านนั้ พระมหาสมณะมปี กตติ รสั อยา่ งน้ี”๖

เป็นปรากฏการณ์ทงั้ หลายในโลกน้ี ล้วนเป็นผลติ ผลของสงิ่ ทเ่ี ป็นเหตุเป็นความเล่อื นไหล
ไปไม่มหี ยดุ เพราะอํานาจธรรมชาติทม่ี ลี กั ษณะไม่หยุดปรุง สงิ่ ต่างๆ จงึ ปรงุ แต่งกนั ไมห่ ยุด ไม่มใี คร
จะไปหยดุ ธรรมชาตไิ ด้

(๔) ความเชื่อเร่ืองนรกสวรรค์ : เป็นความเช่อื ตามหลกั คําสอนทางพระพุทธศาสนาดงั
ปรากฏในสุตตนั ปิฎก ปญั จกนบิ าตร องั คตุ ตรนกิ ายวา่ “…ภกิ ษุทงั้ หลาย บุคคลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม
๕ อยา่ ง ยอ่ มขน้ึ สวรรคเ์ หมอื นถูกนําตวั ไปวางไว้ ธรรม ๕ อยา่ ง คอื ๑) ผเู้ วน้ จากการฆ่าสตั ว์ ๒) ผู้
เวน้ จากการลกั ทรพั ย์ ๓) ผูเ้ วน้ จากการประพฤตผิ ดิ ในกาม ๔) ผูเ้ ว้นจากการพูดปด ๕) ผู้เวน้ จาก
การตงั้ อย่ใู นความประมาทด้วยการด่มื น้ําเมา คอื สุราเมรยั ภกิ ษุทงั้ หลาย บุคคลผู้ประกอบด้วย
ธรรม ๕ อยา่ งเหล่านนั้ แล ยอ่ มดาํ รงอยสู่ วรรคเ์ หมอื นไดร้ บั อญั เชญิ ไปประดษิ ฐานไว”้ ๗

๒. ความเชื่อเกี่ยวกบั วิทยาคม เป็นความเช่อื เร่อื งสงิ่ ลกึ ลบั ทเ่ี หนือธรรมชาติ ไม่สามารถ
พสิ จู น์ทราบไดด้ ว้ ยเหตุผลทางวทิ ยาศาสตร์ แยกออกไดเ้ ป็น ๒ เรอ่ื ง คอื

๕ ส.ํ น.ิ (ไทย) ๑๖/๑๒๔/๒๑๕-๒๑๖.
๖ ว.ิ ม. (ไทย) ๔/๖๐/๗๓. คาํ ว่า “ธรรมท่ีเกิดแต่เหตุ” คอื ขนั ธ์ ๕ ไดแ้ ก่ตวั ทุกข์ คาํ ว่า “เหตุแห่งธรรม” คอื สมทุ ยั ความ
ดบั แห่งธรรมเหลา่ นนั้ คอื นโิ รธและมรรคมอี งค์ ๘ อา้ งใน ว.ิ อ.(บาล)ี ๓/๖๐/๓๐.
๗ องฺ.ปํฺจก. (ไทย) ๒๒/๑๗๘-๑๗๙/๒๙๖-๓๐๐. (ราชสตู ร, คหิ สิ ตู ร)

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๑๖ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

(๑) ความเช่ือเรื่องเวทมนตร์คาถา : เป็นจําพวกตวั อักษรหรืออกั ขระท่ผี ูกเป็น
ขอ้ ความถอื ว่ามอี าํ นาจลกึ ลบั แฝงเรน้ อยู่ เมอ่ื นําไปใชต้ ามทก่ี ําหนด เช่น นําไปบรกิ รรม เสกเปา่ หรอื
สวด เชอ่ื ว่าจะเกดิ ความศกั ดสิ ์ ทิ ธหิ ์ รอื เกดิ ความขลงั ปดั เป่าป้องกนั สงิ่ ชวั่ รา้ ย หรอื ดลบนั ดาลใหเ้ ป็น
ตามความตอ้ งการของผู้ใช้ เช่น คาถามหานิยมของหลวงปู่ หลวงตา หลวงพ่อ ฯลฯ ทค่ี นในสงั คม
ยอมรบั ปจั จบุ นั ความเช่อื ประเภทน้ีไดล้ ดน้อยลง ดว้ ยเหตุความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยเี ขา้ มาแทนท่ี
สาํ หรบั ในความเช่อื เรอ่ื งเวทมนตรค์ าถา วทิ ยาคม และสงิ่ ทม่ี อี าํ นาจลกึ ลบั ของมนุษยน์ นั้

สงิ่ ท่เี ป็นอํานาจลกึ ลบั ในตวั มนุษย์ตามความเช่อื และความรู้สกึ “เป็นการตอบสนอง
ความตอ้ งการของมนุษย์ เม่อื รสู้ กึ ตวั ว่าไมม่ นั่ คงและปลอดภยั จากสงิ่ ทเ่ี กดิ หรอื เหตุการณ์ทม่ี นุษยม์ ี
ความรแู้ ละความเข้าใจในสง่ิ นนั้ หรอื เหตุการณ์นนั้ น้อย จงึ ต้องแสวงหาสงิ่ ยดึ เหน่ียว เช่น เวทมนตร์
คาถา เพอ่ื เป็นกาํ ลงั ใจทจ่ี ะแกป้ ญั หาและเอาชนะอุปสรรคต่างๆ

(๒) ความเช่ือเร่ืองเครื่องลางของขลงั : เป็นความเช่ือในสิ่งท่ีเกิดข้นึ เองตาม
ธรรมชาติ ไมใ่ ชส่ งิ่ ทม่ี นุษยป์ ระดษิ ฐข์ น้ึ เช่อื วา่ สามารถป้องกนั อนั ตราย ยงิ แทง ฟนั ไม่เขา้ ตวั อยา่ ง
เชน่ เหลก็ ไหล เขย้ี วหมตู นั เขย้ี วเสอื ฯลฯ

๓. ความเชื่อเรื่องสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ ความเช่ือประเภทน้ีน่าจะเป็นส่ิงท่ีอยู่คู่กับคนไทย
สงั คมไทยมาแต่อดตี ในทุกชุมชน กระทงั่ ไม่สามารถแยกจากกนั ได้ บ้างก็ถือเป็นสง่ิ ประจําบ้าน
ประจําหม่บู ้าน ประจําเมอื งเกอื บจะทุกหมู่บ้าน ถอื ว่าเป็นของศกั ดสิ ์ ทิ ธคิ ์ ู่บ้านคู่เมอื งก็คงจะไม่ผดิ
ส่วนมากจะพบเห็นได้จากพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง รูปเหมือนพระสงฆ์ท่ีเคารพนับถือเป็น
เกจอิ าจารยข์ องชาวบา้ น หรอื อาจจะกล่าวรวมไปถงึ ศาลปตู่ า ศาลหลกั เมอื ง ศาลเจา้ พ่อ ศาลเจา้ แม่
ฯลฯ เหล่าน้ีเป็นสงิ่ ศกั ดสิ ์ ทิ ธทิ ์ ่ชี าวบ้านมคี วามเช่อื ร่วมกนั สร้างข้นึ เพ่อื สกั การบูชา เป็นเคร่อื งยดึ
เหน่ยี วทางจติ ใจ โดยเชอ่ื วา่ สามารถดลบนั ดาลใหใ้ นสง่ิ ทช่ี าวบา้ นต้องการได้ และในการทจ่ี ะไดใ้ นสงิ่
ทต่ี ้องการก็ต้องมรี ูปแบบของพธิ กี รรม ในการอ้อนวอน รอ้ งขอและการจดั สงิ่ ตอบแทนด้วยสง่ิ ของ
ต่างๆ ความเช่อื ในประเภทน้ียงั คงมปี รากฏให้เห็นในสงั คมไทยยุคปจั จุบนั เป็นบ่อเกิดของการ
หลอกลวงประชาชนโดยทุจรติ ชน หากประชาชนขาดภมู คิ ุม้ กนั ทางความเช่อื ทด่ี เี พยี งพอ

๔. ความเช่ือเรื่องผสี างเทวดา ผสี างเทวดา คนในสงั คมไทย หมายถงึ สงิ่ ลกึ ลบั ทม่ี องไม่
เห็นตวั ตน ถือว่ามอี ทิ ธฤิ ทธแิ ์ ละอํานาจเหนือมนุษย์ สามารถให้คุณและให้โทษก็ได้ โดยท่ชี ุมชน
ต่างๆ ไดม้ กี ารแบ่งแยกออกตามความเช่อื ว่า มผี ดี ี คอื ผที ่ใี หค้ ุณกบั มนุษย์ ได้แก่ จําพวกเทวดาผี
เรอื น ผปี ยู่ ่าตายาย ฯลฯ และผไี ม่ดหี รอื ผรี า้ ย คอื ผที ่ใี หโ้ ทษกบั มนุษย์ ทช่ี าวบา้ นเรยี กว่า ผปี อบ ผี
โขมด ผกี องกอย ฯลฯ

สงิ่ เหล่าน้ีทางวทิ ยาศาสตรย์ งั ไม่สามารถหาบทสรปุ ไดแ้ น่ชดั ว่ามจี รงิ หรอื ไม่ บางครงั้ ในสง่ิ
ทเ่ี กดิ ขน้ึ กม็ เี หตุอนั น่าเช่อื ถอื

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๓๑๗ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๕. ความเช่ือเร่ืองโหราศาสตร์ : หมายถึง วชิ าว่าด้วยการพยากรณ์โดยอาศัยดารา
ศาสตรเ์ ป็นหลกั ความเช่อื เช่นน้ีปรากฏแพร่หลายไปในทุกชนชนั้ ของสงั คมไทย จนกระทงั่ ถอื เป็น
ศาสตร์ สาขาหน่งึ ทม่ี กี ารเรยี นการสอน สบื ทอดอยา่ งเป็นทางการ และมกี ารยดึ ถอื เป็นอาชพี

พิธีกรรม หมายถึง พฤตกิ รรมท่มี นุษย์ถือปฏบิ ตั ติ ามความเช่อื ความศรทั ธาต่อศาสนา
ของตนในแต่ละศาสนาท่มี กี ารปฏบิ ตั ิสบื ทอดต่อกนั มากลายเป็นพธิ กี รรมทางศาสนา ท่ถี อื ว่าเป็น
กิจกรรมบูชาหรือการปฏิบัติพิธี ซ่ึงพิธีกรรมเหล่านั้นส่วนมากจะสัมพันธ์กับวิถีการดํารง
ชีวิตประจําวันมบี างพิธีกรรมไม่อาจนับได้ว่าเป็นพธิ กี รรมทางศาสนา เป็นความเช่อื ของคนใน
ทอ้ งถนิ่ ท่มี กั จะอ้างเร่อื งความเช่อื ท่ยี ดึ ถอื และปฏบิ ตั สิ บื ทอดกนั มา น่าจะมมี าแต่โบราณ สมยั ก่อน
พุทธกาลตงั้ แต่ยุคของศาสนาพราหมณ์ โดยท่ศี าสนาพราหมณ์นัน้ จะยดึ ถอื และปฏบิ ตั ติ ามคมั ภรี ์
พระเวทย์ ซง่ึ พระเวทยห์ รอื มนตราใชส้ าํ หรบั การสวดภาวนาในการทําพธิ กี รรมต่างๆ พระเวทยแ์ บ่ง
ออกเป็น ๓ ประการ เรยี กว่า “ไตรเภท” เป็นทมี่ าของ “คมั ภรี ไ์ ตรเภท” ซง่ึ ถอื ว่าไดร้ บั มาจากโอษฐ์
ของพระผู้เป็นเจ้า เป็นคมั ภีร์ท่ีว่าด้วยเร่อื งราวเก่ียวกับการเรยี กร้องส่ิงศักดสิ ์ ิทธแิ ์ ละวิญญาณ
ทงั้ หลายในการบูชาพระผู้เป็นเจ้า การบูชาด้วยเคร่อื งสกั การะประเภทน้ีเรยี กว่า “การบวงสรวง
เทวดา” เพ่อื ตอ้ งการเน้นใหเ้ กดิ อทิ ธปิ าฏหิ ารยิ ์ การดลบนั ดาลใหบ้ งั เกดิ สง่ิ ทด่ี ขี องการตงั้ จติ อธษิ ฐาน
ขอใหส้ มั ฤทธผิ ์ ลตามปรารถนา ต่อมาไดก้ ลายเป็นพธิ กี รรมยดึ ถอื สบื ทอดต่อๆ กนั มาจนถงึ ปจั จบุ นั น้ี

พิธีกรรมต่างๆ สามารถแยกประเภทออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ ๒ ประเภท คือ

๑. พิธีท่ีเก่ียวกบั ชีวิตประจาวนั ไดแ้ ก่ พธิ แี ต่งงาน พธิ ขี อขมา พธิ บี ายศรี พธิ ศี พพธิ เี ลย้ี ง
ผี ฯลฯ

๒. พิธีเก่ียวกบั ศาสนา ไดแ้ ก่ การทาํ บญุ บา้ น พธิ สี บิ สองเดอื น ฯลฯ

นอกจากพธิ กี รรมทจ่ี ดั เป็นประเภทใหญ่ๆ เหล่าน้ีแล้ว ยงั สามารถแบ่งเป็นประเภทยอ่ ยๆ
อกี ๑๐ ประเภท คอื

๑. พธิ กี รรมทป่ี ฏบิ ตั เิ ป็นประจาํ วนั อาทิ สวดมนต์ บําเพญ็ ภาวนา สรรเสริญ กราบไหวค้ รู
อาจารย์ หรอื เทพยดาหรอื สง่ิ ศกั ดสิ ์ ทิ ธปิ ์ ระจาํ สาํ นกั หรอื โบสถ์ ฯลฯ

๒. พธิ กี รรมทป่ี ฏบิ ตั เิ ป็นครงั้ คราว เป็นการกระทําในกรณที ส่ี ถานการณ์ยงั ไม่อํานวยหรอื
พธิ กี รรมท่กี ระทําเป็นปฐมฤกษ์ เช่นพธิ กี ารวางศิลาฤกษ์ พธิ กี ารบวงสรวงพระภูมเิ จ้าท่ี พธิ กี าร
อญั เชญิ สงิ่ ศกั ดสิ ์ ทิ ธมิ ์ าสถติ ชวั่ คราวแลว้ เชญิ กลบั ฯลฯ

๓. พธิ กี รรมทเ่ี กย่ี วกบั การชาํ ระลา้ งบาป เป็นพธิ กี รรมทม่ี เี กดิ ขน้ึ ในประเทศจนี และอนิ เดยี
วนั กระทําพธิ จี ะเป็นวนั ก่อนวนั เพญ็ และเดอื นแรมในแต่ละเดอื นและในช่วงก่อนกระทําพธิ กี รรมท่ี
สาํ คญั

๔. พธิ กี รรมทเ่ี กย่ี วกบั การเลย้ี ง ราชบณั ฑติ พราหมณ์ หรอื นกั ปราชญ์ ในวาระสําคญั ของ
ผปู้ ระสงคเ์ ป็นเจา้ ภาพ

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๑๘ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๕. พธิ กี รรมทเ่ี กย่ี วกบั ผทู้ ล่ี ว่ งลบั ไปแลว้

๖. พธิ กี รรมทเ่ี ก่ยี วกบั การเบกิ ปฐมฤกษ์ ดว้ ยการกระทําในฤกษ์งามยามดสี ําหรบั สถานท่ี
การทาํ งาน หรอื ของนนั้ อนั เป็นการแสดงถงึ การเรมิ่ ตน้

๗. พธิ กี รรมทเ่ี กย่ี วกบั ประเพณี เป็นพธิ ที ห่ี น่วยงานราชการ หรอื ประชาชนส่วนใหญ่เป็นผู้
กาํ หนดวนั โดยประชุมกนั เชน่ วนั พชื มงคล ประเพณที าํ ขวญั ขา้ ว ฯลฯ

๘. พธิ กี รรมเฉพาะบุคคล จะเป็นการกระทําในโอกาสอนั พงึ เกดิ ความปีติ เช่น การตงั้ ศาล
พระภมู เิ จา้ ท่ี โกนจกุ แต่งงาน ฯลฯ โดยมากมกั ถอื เอาวนั ฤกษด์ ี ซง่ึ ถูกโฉลกกบั ผเู้ ป็นเจา้ ของงานพธิ ี
นนั้ ๆ เพ่อื เสรมิ ขวญั และกําลงั ใจ

๙. พธิ กี รรมท่เี ก่ยี วกบั การออ้ นวอนพระเจา้ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเป็นสริ มิ งคลและสมหวงั เช่น
พธิ กี ารบนบานศาลกล่าว พธิ กี รรมบชู าเพอ่ื ขอบุตร ฯลฯ

๑๐. พธิ กี รรมทเ่ี ก่ยี วกบั การพลสี ุกรรม หรอื การบูชาครู หรอื งานพธิ ปี ระจาํ ปี จะกระทํากนั
เพยี งปีละหน่งึ ครงั้ เช่น พธิ ตี รยี มั พวาย พธิ พี ลสี ุกรรมของพรหมสถาน ฯลฯ โดยพธิ ตี รยี มั พวายเป็น
วนั ท่ีมหาเทพเสด็จสู่โลกมนุษย์และวันพลีสุกรรมเป็นวนั ข้นึ ปีใหม่ของไทยโบราณ ถ้าหากได้
พจิ ารณาวถิ กี ารดาํ เนนิ ชวี ติ ของคนในสงั คมไทย ตงั้ แต่อดตี ถงึ ปจั จบุ นั อยา่ งละเอยี ดแลว้ จะมปี รากฏ
ให้เหน็ อย่างประจกั ษ์ชดั ว่า สงั คมไทยแต่ละยุคสมยั นัน้ ความเช่อื พธิ กี รรมและประเพณีจะมสี ่วน
สมั พนั ธ์กนั ตลอดมา ดงั ปรากฏเป็นบทกลอน บทกวี และบทประพนั ธท์ บ่ี อกเล่าเรอ่ื ง ถ่ายทอดสง่ิ ท่ี
เกดิ ขน้ึ ในสงั คมยุคนัน้ ๆ ซง่ึ เป็นบ่งช้สี นับสนุนในเร่อื งท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั สงิ่ ท่คี นในสงั คมได้ยดึ ถอื และ
ปฏบิ ตั ิตามความเช่อื พธิ กี รรม และประเพณีของสงั คมไทยในอดตี ซง่ึ จะขอนํามาเล่าสู่กนั ฟงั โดย
นํามาจาก “นริ าศเดอื น” บางตอนทก่ี ล่าวถงึ งานประเพณไี ว้ ดงั น้ี

“...ร่าํ คะนึงถงึ นุชสุดวติ ก ถงึ เดอื นหกเขา้ แลว้ หนาเจา้ เอ๋ย

เขาแต่งงานปลกู หอขอกนั เชย เราจะเฉยอยกู่ เ็ หน็ ไมเ่ ป็นการณ์

เขาแรกนาแลว้ มานกั ขตั ฤกษ์ เอกิ เกรกิ โกนจกุ ทุกสถาน

ทก่ี าํ ดดั จดั แจงกนั แต่งงาน มงคลการตามเลห่ ป์ ระเพณ.ี ..”

“...เมอ่ื ถงึ วนั มเี ทศน์มหาชาติ ไดเ้ หน็ นาฏนุชนงคย์ อดสงสาร
สปั ปรุ ษุ คบั คงั่ ฟงั กุมาร ชชั วาลแจม่ แจง้ ดว้ ยแสงเทยี น
เทย่ี วเมยี งมองเลย้ี วลดั ฉวดั เฉวยี น
พฟ่ี งั ธรรมเทศน์จบไมพ่ บน้อง

ไมพ่ บพกั ตรเ์ ยาวมาลยใ์ นการเปรยี ญ กว็ นเวยี นมาบา้ นราํ คาญใจฯ...”

ทน่ี ํามากล่าวอ้างน้ี กเ็ พ่อื ตอ้ งการชใ้ี หเ้ หน็ ว่า พธิ กี รรมและความเช่อื นนั้ มมี าชา้ นานโดยมี
การยดึ ถือและปฏบิ ตั ิสบื ทอดต่อกนั มาจากยุคสู่ยุค ในบางพธิ กี รรมได้แปลงและเปล่ยี นกลายเป็น
ประเพณไี ปแลว้ จะมสี ่วนทแ่ี ปลกแตกต่างกนั ขน้ึ อยกู่ บั ลกั ษณะของทอ้ งถนิ่ เช่น ภาคกลาง ภาคใต้
ภาคตะวนั ออก ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ซง่ึ ในลกั ษณะของบางพธิ กี รรม บางความ

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๑๙ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

เช่อื และบางประเพณี อาจมคี วามเหมอื นและคล้ายกนั ขนั้ ตอนปฏบิ ตั บิ างขนั้ ตอนเหมอื นกนั บาง
ขนั้ ตอนก็ไม่เหมอื นกนั แต่ท่ตี ่างกนั อย่างเห็นได้ชดั เจนก็คอื ภาษาท่ใี ช้เรยี ก พธิ กี รรม ความเช่อื
ประเพณขี องแต่ละทอ้ งถนิ่ เท่านนั้ ดงั เช่น ภาษาทเ่ี รยี กเก่ยี วกบั การเทศน์มหาชาติ ภาคกลาง เรยี ก
เทศน์มหาชาติ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ งานทําบุญพระเวส โดยเฉพาะภาษาถนิ่ จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด
เรยี กช่อื ว่า ทําบุญผะเหวส ทงั้ สองงานเป็นเดยี วกนั คอื งานทําบุญพระเวสสนั ดร หรอื การเทศน์
มหาชาตนิ นั่ เอง ต่างกนั เฉพาะภาษาเรยี กตามลกั ษณะของทอ้ งถนิ่

สําหรบั ความเช่อื ทย่ี ดึ ถอื และปฏบิ ตั สิ บื ต่อกนั มาถึงปจั จุบนั น้ี ส่วนมากจะเป็นเร่อื งของ
ความเช่อื ทเ่ี กย่ี วกบั เรอ่ื งความเช่อื เฉพาะบุคคลดงั เดมิ ซง่ึ จะขอยกมาเป็นตวั อย่างทช่ี ดั เจน ยกบาง
ตอนทเ่ี กย่ี วขอ้ งมาจาก สวสั ดริ กั ษา คาํ กลอนสุนทรภู่ กลา่ วถงึ ความเช่อื เรอ่ื ง “การนุ่งผ้าสีตามวนั ”
นํามาประกอบเพอ่ื ความชดั เจน ดงั น้ี

“วนั อาทิตย์ สทิ ธโิ ชคโฉลกดี

เอาเครอ่ื งสีแดงทรงเป็นมงคล

เครอ่ื งวนั จนั ทร์ นนั้ ควรสีนวลขาว

จะยนื ยาวชนั ษาสถาผล
องั คาร มว่ งชว่ งงามสีครามปน

เป็นมงคลขตั ตยิ าเขา้ ราวี
เครอ่ื งวนั พธุ สุดดดี ว้ ยสีแสด

กบั เหลอื งแปดปนประดบั สลบั สี

วนั พฤหสั จดั เครอ่ื งเขียวเหลืองดี

วนั ศกุ ร์ สเี มฆหมอกออกสงคราม

วนั เสาร์ ทองคาจาํ ลา้ํ เลศิ

แสนประเสรฐิ เสย้ี นศกึ จะนกึ ขาม

ทงั้ พาชขี ข่ี บั ประดบั งาม

ใหต้ อ้ งตามสสี นั จงึ กนั ภยั ” ฯ

ความเชอ่ื โบราณในเรอ่ื งการปลกู สรา้ งบา้ นเรอื น เป็นเรอ่ื งเฉพาะบคุ คลทย่ี ดึ ถอื สบื ต่อกนั มา
“การปลกู เรอื นในวนั ต่างๆ” ดงั น้ี

“ปลกู เรอื น วนั อาทิตย์ ทุกขต์ ามตดิ ทุกวนั ไป

อุบาทวแ์ ละจญั ไร เกดิ แก่ตนพนั ทวี

ปลกู เรอื นใน วนั จนั ทร์ ลาภอนนั ตบ์ งั เกดิ มี

ผา้ ผอ่ นเงนิ ทองทวี แสนเปรมปรดี ใิ ์ นเคหา

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๓๒๐ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ปลกู เรอื น วนั องั คาร ไมท่ นั นานเกดิ พยาธิ

อคั นีไหมเ้ คหา ฉบิ หายมาส่ตู วั ตน

ปลกู เรอื นใน วนั พธุ บรสิ ทุ ธจิ ์ าํ เรญิ ผล

ลาภยศกม็ าดล ลว้ นแลว้ สง่ิ อนั ดดี ี

ปลกู เรอื น วนั พฤหสั สุขจาํ รสั สราญศรี

ลาภนานามี เป็นสุขนี นั้ หนักหนา

ปลกู เรอื นใน วนั ศกุ ร์ ดแี ละทกุ ขก์ ง่ึ อตั รา

เดยี๋ วสขุ เดยี๋ วทุกขน์ า ทงั้ ลาภาไมค่ อ่ ยมี

ปลกู เรอื นใน วนั เสาร์ อยา่ ดเู บาจงหน่ายหนี

ถา้ ทาํ ตํารามี ฉิบหายหนกั มาส่ตู น”

นอกจากน้ียงั มคี วามเช่อื ในเร่อื งโหราศาสตร์ นักโหราศาสตร์เช่อื ว่าเป็นวชิ าพยากรณ์
เกย่ี วกบั อํานาจของดวงดาวทโ่ี คจรรอบจกั รราศี สงิ่ ทพ่ี ยากรณ์ต่างๆ จะนําเร่อื งจกั รราศมี าโยงใยเขา้
กบั เร่อื งความเช่อื เร่อื งกฎแห่งกรรม ว่าเป็นกรรมเก่าแต่ชาตปิ างก่อนบา้ ง ดงั ทป่ี รากฏในวรรณคดี
ไทยแสดงใหเ้ หน็ วา่ ความเชอ่ื ทางดา้ นโหราศาสตรใ์ นอดตี นนั้ มคี วามเช่อื อยา่ งนนั้ จรงิ ๆ จะขอนํามา
เพยี งบางตอนทเ่ี กย่ี วกบั โหราศาสตรเ์ ป็นโคลงสส่ี ภุ าพ ดงั น้ี

“อน่งึ จนั ทรส์ บิ เอด็ แท้ แก่ลคั น์

พฤหสั สท่ี รงศกั ดิ ์ แชม่ ชอ้ ย

ศุกรส์ ามดงั น้จี กั เจรญิ ยงิ่ ยศแฮ

หากว่าชาตติ ่าํ ตอ้ ย ยกใหเ้ สมอพงศ”์

จะสงั เกตเหน็ ไดช้ ดั เจนว่าผูแ้ ต่งนําเอาเร่อื งความเช่ือมาแต่งเป็นโคลงส่สี ุภาพ บ่งบอกเล่า
เรอ่ื งการทาํ นายทายทกั หรอื การพยากรณ์ตามวชิ าโหราศาสตร์ ซง่ึ เกย่ี วขอ้ งกบั จกั รราศนี ําไปโยงยดึ
เขา้ กบั ความเชอ่ื เรอ่ื งกฎแห่งกรรม จะขอใหส้ งั เกตในโคลงสส่ี ภุ าพทจ่ี ะนํามาเป็นตวั อยา่ งต่อไปน้ี

“เสารเ์ พง่ เลง็ ลคั น์แลว้ อสุรา

ภุมเมษอษั ฎา ว่าไว้

จนั ทรส์ บิ เอด็ แก่รา หเู ล่า

อาภพั อปั ภาคยใ์ ห้ โทษแทป้ ระเหนิ หนิ ”

ฉะนนั้ เรอ่ื งความเช่อื ทางโหราศาสตรจ์ งึ เป็นเร่อื งทม่ี มี านานแลว้ นอกจากน้ียงั มคี วามเช่อื
ทางระบบมายาศาสตรท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ไสยศาสตร์ มาจากคาํ ว่าไสยและศาสตร์ พจนานุกรมอธบิ ายคาํ
วา่

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๒๑ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ไสย หมายถึง ลทั ธอิ นั เน่ืองด้วยเวทมนตร์ คาถาซ่งึ ได้มาจากศาสนาพราหมณ์ ดงั ท่ไี ด้
กล่าวไว้ในตอนต้น ไสยเวท ไสยศาสตร์ ท่กี ล่าวถึงน้ี เป็นความรใู้ นเบ้อื งต้นของศาสนาพราหมณ์
และคําว่า ไสยศาสตร์ เป็นตําราทางไสยศาสตรท์ ่กี ล่าวถงึ เร่อื งลกึ ลบั เก่ยี วกบั อทิ ธฤิ ทธปิ ์ าฏหิ ารยิ ์
เวทมนตร์ คาถา อํานาจจติ จงึ ได้กล่าวว่าไสยเวท ไสยศาสตร์ เป็นตําราลทั ธใิ นศาสนาพราหมณ์
โดยเล่มหน่ึงจะเป็นเร่อื งเก่ียวกบั เร่อื งเวทมนตร์ คาถา เร่อื งอํานาจจติ เร่อื งอิทธฤิ ทธปิ ์ าฏิหารยิ ์
สําหรบั ไตรเพทนัน้ ไม่ขอนํามากล่าว เพราะหากนํามากล่าวตอนน้ีจะกลายเป็นเร่อื งการศึกษา
เกย่ี วกบั ศาสนาพราหมณ์และต้องใช้เวลาทาํ ความเขา้ ใจค่อนขา้ งมาก จงึ ขอนํามากล่าวเฉพาะเรอ่ื ง
ไสยศาสตรแ์ ละความเช่อื ทางมายาศาสตร์ (Magico System) ทน่ี ํามาบอกเล่าน่ีกเ็ น่ืองมาจากชาติ
ตะวนั ตกและชาติ

ในซกี ตะวนั ออกจะมองคนละมุม แล้วคําว่า ไสย ความหมายเฉพาะว่า ลทั ธอิ นั เน่ืองด้วย
เวทมนตรค์ าถา วทิ ยาคม แต่วทิ ยาคมยงั มแี บ่งออกเป็น ๒ อย่าง คอื ไสยขาวกบั ไสยดํา ถา้ ศกึ ษา
คมั ภรี ์ ศาสนาพราหมณ์ในเร่อื งไสยเวทแลว้ จะพบในทนั ทวี ่าจะมไี สยขาวกบั ไสยดํา ไสยขาว หรอื
เรยี กมายกิ ขาว อนั น้ใี ชใ้ นทางทด่ี ี ใชใ้ นการทาํ พธิ อี อ้ นวอนขอเทพขอใหอ้ วยชยั ใหม้ พี ชื ผลปกติดๆี ท่ี
เกย่ี วกบั เรอ่ื งดๆี ทงั้ นนั้ อนั น้เี ขาเรยี กไสยขาว แต่ถา้ ไสยดําหรอื มายกิ ดําใชใ้ นทางชวั่ รา้ ย ทไ่ี ดก้ ล่าว
ในตอนเรม่ิ ต้น คําว่าศาสตร์ ความหมายคงทราบแล้วว่า คอื ตําราวชิ าวทิ ยาข้อบงั คบั ดงั นัน้ ไสย
ศาสตรก์ ค็ อื ตําราทางไสยศาสตรล์ กึ ลบั ทเ่ี ก่ยี วกบั คาถา มที ่มี าหลายอย่างแต่ท่มี าจรงิ ๆ คอื มาจาก
พน้ื ฐานของศาสนาพราหมณ์ เพราะฉะนนั้ จงึ ต้องขอนําความหมายหรอื ขอ้ มลู จากศาสนาพราหมณ์
มาขยายใหท้ ราบวา่

ไสยศาสตรม์ ี ๒ ชนิด คอื ไสยดา กบั ไสยขาว

โลกแห่งไสยคณุ

ไสยศาสตร์ เป็นศาสตรล์ ล้ี บั ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั เวทยม์ นต์คาถา เลขยนั ต์และปรากฏการณ์ทาง
จติ มอี ายยุ อ้ นไปตงั้ แต่สมยั ก่อนพุทธกาล และดาํ รงอย่คู ่โู ลกมาชา้ นาน แมโ้ ลกมนุษยจ์ ะกา้ วเขา้ ส่ยู คุ
Social Network มคี วามเจรญิ ทางเทคโนโลยกี า้ วลา้ํ ไปแค่ไหน แต่ในอกี ดา้ น ไสยศาสตรก์ ย็ งั คงดํารง
อยคู่ ่มู นุษยผ์ ตู้ อ้ งการหาสงิ่ ยดึ เหน่ยี วจติ ใจควบคไู่ ปเช่นกนั

โดยทวั่ ไป ไสยศาสตรแ์ ยกออกเป็น ๒ นิกาย คอื สายขาว (White System) เป็นวชิ าทใ่ี ช้
ในทางดี ช่วยเหลอื มนุษยใ์ หม้ คี วามสุขและปลอดภยั กบั สายดํา (Black System) เป็นวชิ าทใ่ี ช้
ในทางชวั่ ทาํ อนั ตรายแก่ผอู้ ่นื

อาถรรพเวทย์ : ท่มี าของไสยศาสตร์ก็คอื อาถรรพเวทย์ ซ่งึ เป็นเวทย์หน่ึงในศาสนา
พราหมณ์-ฮนิ ดู วชิ าของอาถรรพเวทยม์ ี ๘ ประเภท

๑. วิชาคงกระพนั ไสยศาสตรน์ นั้ แต่เดมิ ใชเ้ พ่อื การสรู้ บลว้ นๆ นกั รบโบราณเวลาออกศกึ
จะใส่เกราะหนัง เกราะเหลก็ แต่กไ็ ม่ได้มใี ส่ครบทุกคน คนท่ไี ม่มเี กราะกม็ กั ใชต้ วั ช่วยเป็นของขลงั

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๒๒ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

สว่ นมากจะลงยนั ต์ไปบนผวิ หนงั วชิ าคงกระพนั มี ๓ ระดบั คอื ฟนั ไม่เขา้ , หกั เห (ปืนยงิ ไมโ่ ดน และ
แคลว้ คลาด (มคี นมาดกั รอทารา้ ย แต่มสี งิ่ ดลใจใหไ้ มอ่ ยากไปตรงนนั้ )

๒. วิชาแสดงปาฏิหาริย์ เช่น กําบงั ตนด้วยการเสกใบไมท้ ดั หูขา้ ศึกมองไม่เหน็ ในชวั่
พรบิ ตา ไสยศาสตรเ์ ป็นวชิ ากํามะลอ (ชวั่ ครงั้ ชวั่ คราว) ทําใหร้ อดพ้นเฉพาะเหตุการณ์เฉพาะหน้า
เพอ่ื ใหร้ อดพน้ ในยามศกึ สงคราม

๓. วิชาประสาน ใชเ้ ม่อื ยามพลงั้ พลาด สมยั โบราณเวลาคนกระดูกหกั วธิ รี กั ษามอี ย่าง
เดยี วคอื ใชน้ ้ํามนตพ์ ่นใหก้ ระดกู ประสานกนั

๔. วิชาสะเดาะ ทงั้ สะเดาะกลอน กุญแจ โซ่ตรวน ฯลฯ

๕. วิชารกั ษาโรค คนโบราณเวลาป่วย เช่น งูสวดั จะหมอจะพ่นเหล้าขาวให้หาย เวลา
ปว่ ยกเ็ อาพระเครอ่ื งเน้อื ผงมาฝนแลว้ ผสมน้ําด่มื ช่วยใหท้ ุเลา ซง่ึ ถา้ มองในส่วนวทิ ยาศาสตร์ ในองค์
พระมสี มนุ ไพรหลายตวั ทช่ี ่วยลดไขบ้ รรเทาปวด อกี สว่ นหน่งึ เป็นเพราะการลงคาํ สงั่ คาถาลงไปใหม้ นั
เกดิ ผลแบบน้ี คาถาเป็นเหมอื นคาํ สงั่ สว่ นสงิ่ ทอ่ี ดั ลงไปคอื พลงั จติ

๖. วิชากระทายา่ ยี เป็นวชิ าทน่ี ่ากลวั มาก เป็นบทคาถาทห่ี วงแหนกนั นักหนา เป็นวชิ าท่ี
ทาํ ใหค้ นตาย บา้ ใบ้ พกิ าร ไดแ้ ก่วชิ าบดิ ไส้ หรอื เสกของแขง็ (เช่นตะป)ู เขา้ ทอ้ ง บางรายโดนหนกั
ถงึ ขนาดตะปเู ขา้ ไปแทรกอยใู่ นกระดกู เลยกย็ งั มี

๗. วิชาใช้ผีใช้พราย เป็นวชิ าทม่ี ที งั้ บวกและลบ เช่น เลย้ี งกุมารทอง ตามห้างรา้ นเลย้ี ง

เพอ่ื ชว่ ยใหค้ า้ ขายรงุ่ เรอื ง หรอื บางคนใชใ้ หต้ ามคุม้ ครองคนทร่ี กั รวมถงึ ใชเ้ รยี กจติ ใจในการทาํ เสน่ห์
(การทําเสน่ห์สําหรบั สายขาวคอื ใช้จติ ส่อื ถงึ จติ ใหค้ ดิ ถงึ กนั หรอื ทําให้เกดิ อารมณ์ทางเพศต่อกนั
โดยใหเ้ ป็นไปแบบธรรมชาติ ไมใ่ ชค่ รอบงาํ จติ เพราะนนั่ เป็นวธิ ขี องสายดาํ ) น่ีคอื ทางบวก แต่ถา้ ใช้
ทางลบ อาจใชก้ ุมารทองไปหลอกหลอน หรอื ทาํ ใหเ้ ดนิ พลงั้ พลาดจนตกตกึ ตาย

๘. วิชาทาเสน่ห์ ถอื เป็นวชิ าทฮ่ี ติ ทส่ี ดุ และไดร้ บั ความสนใจค่อนขา้ งจะสูงสุดมาแต่โบราณ

เป็นการทาํ ใหค้ นมเี สน่ห์ บารมี โภคทรพั ย์ โดยใชพ้ ลงั ในเรอ่ื งเมตตา เงนิ ทอง และโชคลาภ วชิ าน้ีถอื
ว่าเป็นเร่อื งท่ผี ูช้ ายอย่างเราน่าจะมคี วามรปู้ ระดบั ตวั ไว้บ้าง และเป็นสง่ิ ทเ่ี ราจะขยายความกนั มาก
เป็นพเิ ศษ

ซ่งึ วชิ าคุณไสยเหล่าน้ีก็นับได้ว่ามอี ทิ ธพิ ลต่อความเช่อื และวถิ กี ารดําเนินชีวติ ของคนใน
ทอ้ งถนิ่ นนั่ ๆ ตามความเชอ่ื ของคนไทยในแต่ละทอ้ งถนิ่ ฯลฯ

ต่อไปจะขอนํามากลา่ วเสรมิ เป็นความรใู้ หอ้ กี สกั เลก็ น้อย เพ่อื จะไดท้ ราบว่าเม่อื กล่าวถงึ คํา
ว่า ศาสตร์ ขอใหท้ ราบไวด้ ว้ ยวา่ ศาสตรม์ อี ยทู่ งั้ หมด ๑๘ ศาสตรใ์ นโลก

โดยท่ีศาสตรแ์ รก คอื ไตรเพทศาสตร์ จะเรมิ่ ด้วย ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท ไสยเวท
เป็นเรอ่ื งศาสนาพราหมณ์ทค่ี นส่วนมากรเู้ พยี งสามเวทเท่านนั้ แต่ในความเป็นจรงิ มอี กี หน่ึงเวทกค็ อื
ไสยเวท ดงั นนั้ ถา้ เรารตู้ อ้ งรใู้ หค้ รบถว้ น

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๓๒๓ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ศาสตรท์ ี่สอง คอื สรีระศาสตร์ วชิ าพจิ ารณาส่วนต่างๆ ของรา่ งกาย

ศาสตรท์ ี่สาม คอื สงั ขยาศาสตร์ ทเ่ี กย่ี วกบั วชิ าคาํ นวณ

ศาสตรท์ ี่สี่ คอื สมาธิศาสตร์ อนั น้เี ป็นเรอ่ื งของการทาํ สมาธิ การทาํ จติ ใจใหส้ งบ

ศาสตรท์ ี่ห้า คอื นิติศาสตร์ วา่ ดว้ ยวชิ ากฎหมาย

ศาสตรท์ ี่หก คอื วิเสสิกศาสตร์ เป็นวชิ าว่าด้วยการแยกประเภทและสงิ่ ของ ต้องแยก
ออกมาใหไ้ ดว้ ่า มนั ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง

ศาสตรท์ ่ีเจด็ คอื โชติยศาสตร์ เป็นวชิ าทาํ นายเหตุการณ์ทวั่ ไป
ศาสตรท์ ี่แปด คอื คนั ธพั พศาสตร์ วชิ าฟ้อนราํ และดนตรี

ศาสตรท์ ี่เก้า คอื ติกิจฉศาสตร์ เกย่ี วกบั วชิ าแพทย์

ศาสตรท์ ี่สิบ คอื ปรุ าณศาสตร์ วชิ าโบราณคดี

ศาสตรท์ ่ีสิบเอด็ คอื ศาสนศาสตร์ วชิ าการศาสนา

ศาสตร์ที่สิบสอง คือ โหราศาสตร์ เป็นคนละอย่างกับโชติยศาสตร์คล้ายๆ กันแต่
โหราศาสตรเ์ ป็นวชิ าการพยากรณ์โดยอาศยั ดาราศาสตรเ์ ป็นหลกั ในการศกึ ษา

ศาสตรท์ ่ีสิบสาม คอื มายาศาสตร์ วชิ ากล

ศาสตรท์ ่ีสิบสี่ คอื มลู เหตศุ าสตร์ วชิ าการคน้ หาสาเหตุ

ศาสตรท์ ี่สิบห้า คอื มนั ตศุ าสตร์ เป็นวชิ าการคดิ

ศาสตรท์ ่ีสิบหก คอื ยทุ ธศาสตร์ วชิ าการรบ

ศาสตรท์ ี่สิบเจด็ คอื ฉันทศาสตร์ วชิ าการแต่งกลอน ฉนั ท์ กาพย์
สุดท้ายศาสตรท์ ่ีสิบแปด คอื ลกั ษณศาสตร์ เป็นวชิ าท่วี ่าด้วยการดูลกั ษณะคนเป็น
ลกั ษณะอยา่ งนนั้ เป็นอยา่ งน้ี๘

พธิ กี รรมและความเช่อื ตามประเพณีในสงั คมไทย เน่ืองจากสงั คมไทยเป็นทร่ี วมของความ
หลากหลายทางชาตพิ นั ธุ์ และหลากหลายทางวฒั นธรรมประเพณีทแ่ี บ่งแยกออกไปเป็นพธิ กี รรม
ความเช่อื และประเพณีตามลกั ษณะของภูมปิ ระเทศ เช่น ความเช่อื พธิ กี รรม และประเพณีของคน
ในชุมชนภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ซง่ึ ไดก้ ลายเป็นประเพณีไทย
และประเพณีไทยนอกจากหมายความรวมถึงพธิ กี รรมและความเช่อื แล้ว ยงั รวมไปถงึ ธรรมเนียม
ประเพณี ขนบประเพณี และจารตี ประเพณี โดย

๘ ไวท้ ์ลนิ ินบุ๊คส,์ ลิมินทปัญหา ฉบบั ธรรมทาน, (กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั ซาเรน็ การพมิ พจ์ ํากดั , ๒๕๕๒), หน้า ๑๔-
๑๕.

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๒๔ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๑. จารีตประเพณี (Mores) คอื ประเพณีทต่ี ้องประพฤตเิ ป็นเร่อื งเกย่ี วกบั ศลี ธรรมและ
จรรยาของสงั คม ถอื กนั ว่ามคี ุณค่าต่อบุคคลในสงั คมนัน้ ๆ ประเพณีทส่ี งั คมยดึ ถอื ปฏบิ ตั มิ ศี ลี ธรรม
รวมอยดู่ ว้ ย ใครฝา่ ฝืนหรอื เฉยเมยถอื ว่าเป็นการละเมดิ กฎของสงั คม ผดิ ประเพณีของสงั คม ถอื เป็น
ความผดิ ความชวั่ มโี ทษ เชน่ ประเพณกี ารแต่งงาน เป็นตน้

๒. ขนบประเพณี (Institution) คอื สงิ่ ทส่ี งั คมยดึ ถอื เป็นบรรทดั ฐานในการปฏบิ ตั จิ นเป็น
ประเพณปี ระเพณที ว่ี างเป็นระเบยี บไว้ จะเป็นโดยตรงหรอื โดยออ้ มกต็ าม โดยตรง เช่น เขยี นเป็นกฎ
หรอื ระเบยี บใหก้ ระทาํ รว่ มกนั มขี อ้ อ้างองิ เป็นตวั บทกฎเกณฑ์ โดยออ้ มหรอื โดยปรยิ าย คอื รกู้ นั เอง
ถอื สบื ๆกนั มา คนในถนิ่ นนั้ ปฏบิ ตั กิ นั อยา่ งนนั้ ๆ เชน่ ประเพณที าํ บุญเลย้ี งพระของไทยเป็นตน้

๓. ธรรมเนียมประเพณี (Convention) คอื สง่ิ ท่สี งั คมยดึ ถือเป็นบรรทดั ฐานในการ
ปฏบิ ตั ิจนเป็นประเพณี เร่อื งเก่ยี วกบั ธรรมดาสามญั ของสามญั ชน ไม่ถือเอาผดิ เอาถูก ไม่มกี าร
ลงโทษ ปรบั ไหมเหมอื นจารตี ประเพณี ไมม่ รี ะเบยี บเครง่ ครดั เหมอื นขนบประเพณี ผทู้ าํ ผดิ ประเพณี
น้ีไม่ถือเป็นเร่อื งเสยี หายหรอื มโี ทษมากนัก เพยี งแต่ถือว่าผู้ผดิ ประเพณีเป็นผู้ไร้การศึกษา ขาด
คุณสมบตั ผิ ู้ดี เช่น การแต่งกายไม่ถูกกาลเทศะ การยนื การเดนิ การนัง่ การนอน อนั ไม่เหมาะสม
เป็นตน้

ประเพณี มผี ใู้ หค้ วามหมายไวม้ ากมาย ซง่ึ จะขอนํามาบอกเล่าใหท้ ุกท่าน ณ ทป่ี ระชุมแห่ง
น้ี เฉพาะเพยี งบางทา่ น พอสงั เขปดงั น้ี

พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ ไดใ้ หค้ วามหมายของคําว่า “ประเพณี”
ไว้ว่าหมายถงึ สง่ิ ทน่ี ิยมถอื ปฏบิ ตั สิ บื ๆ กนั มาจนเป็นแบบแผน ขนบธรรมเนียม หรอื จารตี ประเพณี
ซ่งึ ขนบธรรมเนียม ในท่ีน้ี มีความหมายว่า แบบอย่างท่ีนิยมกนั มา ส่วน จารีตประเพณี ก็คือ
ประเพณที น่ี ยิ มและประพฤตกิ นั สบื มา ถา้ ฝา่ ฝืนถอื ว่าเป็นผดิ เป็นชวั่

ประเพณี มคี วามหมายรวมถงึ “แบบของความเช่อื ความคดิ การกระทํา ค่านิยม ทศั นค
คติ ศลี ธรรม จารตี ระเบยี บ แบบแผน และวธิ กี ารกระทําต่างๆ ตลอดจนถงึ การประกอบอาชพี ใน
โอกาสต่างๆ ทก่ี ระทํามาตงั้ แต่อดตี ” ลกั ษณะทส่ี ําคญั ของประเพณคี อื เป็นสง่ิ ท่ปี ฏบิ ตั เิ ช่อื ถอื กนั มา
นานจนกลายเป็นแบบอย่างทางความคดิ หรอื การกระทําท่ไี ด้สบื กนั มา และยงั มอี ิทธพิ ลอยู่จนถึง
ปจั จบุ นั

ฉะนัน้ จะเห็นได้ว่าพธิ ีกรรมและความเช่ือ ถ้าหากเก่ียวเน่ืองกับศาสนาก็จะเป็นเร่อื ง
ภาพรวมของสงั คม แต่ถา้ หากเกย่ี วกบั วถิ ชี วี ติ ประจาํ วนั กจ็ ะเป็นเร่อื งราวของบุคคล โดยจะเรมิ่ ตงั้ แต่
การเกดิ การเขา้ สู่วยั รุ่น การเขา้ สู่วยั ผู้ใหญ่ การเขา้ สู่วยั ครองเรอื น และสุดท้ายก็คอื การเขา้ สู่บนั้
ปลายแห่งชวี ติ (การกา้ วเขา้ ส่คู วามตาย)

สาํ หรบั ประเพณีนัน้ เป็นเร่อื งของหม่คู ณะ เรมิ่ ตงั้ แต่การเกดิ แล้ว กก็ ารบวชๆ เสรจ็ แล้วก็
การทาํ ศพและการบวชในขนั้ ตอนเรม่ิ แรกยงั ไมเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ศาสนาและเป็นพธิ กี รรมทเ่ี ก่ยี วเน่ืองกนั
เม่อื มเี กดิ แลว้ กม็ ตี าย เป็นความจรงิ ของชวี ติ เป็นวิถชี วี ติ ของมนุษย์ เพ่อื ท่จี ะแสดงให้เหน็ ถงึ ความ

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๒๕ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

เช่อื ซง่ึ พธิ กี รรมตอนทอ่ี ย่กู บั ครอบครวั กจ็ ะมเี ร่อื งของไสยศาสตรเ์ ขา้ ไปเก่ยี วขอ้ งเสมอ ถ้าหากอยู่
ในระบบท่ใี หญ่กว่าครอบครวั ก็กลายเป็นพธิ กี รรมทางศาสนา โดยทงั้ สองเร่อื งมคี วามเก่ยี วข้องท่ี
คลา้ ยคลงึ กนั มาก เป็นใหค้ นในสังคมปจั จุบนั มคี วามเขา้ ใจทส่ี บั สน อาจนําไปยดึ ถอื และปฏบิ ตั ติ าม
แนวทางทผ่ี ดิ พลาดหรอื คลาดเคล่อื นแมเ้ พยี งน้อยนิด จะทําใหพ้ ธิ ที างศาสนากลายเป็นพธิ กี รรมทาง
ไสยศาสตรไ์ ปในทนั ที

ประเพณีเกิดจากความประพฤตหิ รอื การกระทําของใครคนหน่ึงหรอื หลายคน ซ่งึ เห็น
ประโยชน์และความจาํ เป็นตามทต่ี อ้ งการจากการกระทาํ เช่นนนั้ และเมอ่ื คนอ่นื เหน็ ดกี เ็ อาอย่าง ทํา
ตามเป็นแบบอย่างเดียวกัน และสืบต่อเป็นส่วนรวมมาช้านาน จนกลายเป็นส่วนสําคัญของ
วฒั นธรรมของชาตขิ น้ึ วฒั นธรรม คอื วถิ แี ห่งชวี ติ หรอื ความเป็นอย่ขู องคนในส่วนรวม อนั มคี วาม
เจรญิ งอกงามได้ ถา้ ผูเ้ ป็นเจา้ ของรจู้ กั รกั ษาและปรบั ปรุงแก้ไขใหเ้ หมาะสมกบั สงิ่ แวดลอ้ ม เหมาะกบั
ความเป็นไปของสมยั แต่ผทู้ จ่ี ะรจู้ กั แกไ้ ขและปรบั ปรุงของเก่าใหเ้ ขา้ กบั สมยั ไดด้ ี ท่านว่าตอ้ งเป็นผทู้ ่ี
มคี วามสามารถรเิ รมิ่ มคี วามคดิ จติ ใจทท่ี นั สมยั รจู้ กั ปรบั แกข้ องโบราณใหม้ คี วามแปลกใหม่ ซง่ึ การ
ปรบั ปรงุ แกไ้ ขน้ที าํ ได้ ๒ แบบ คอื

แบบแรก ปรบั ปรุงและแก้ไขเก่าใหเ้ ป็นใหม่ โดยยงั รกั ษาคตโิ บราณไว้ ไม่ใหส้ ูญไปแบบ
ทนั ทที นั ใด แต่ทําอย่างค่อยเป็นค่อยไป เช่น สมยั ก่อน คนมกั ทําบุญกบั พระและวดั เพราะเช่อื ว่าจะ
ไดบ้ ุญมาก แต่ปจั จบุ นั คนเรม่ิ ทาํ บุญในรปู แบบอ่นื ๆมากขน้ึ เช่น สรา้ งโรงเรยี นแทนโบสถ์วหิ าร หรอื
บรจิ าคทรพั ย์ สงิ่ ของใหแ้ ก่ผดู้ อ้ ยโอกาสในสงั คม ซง่ึ กย็ งั ไดช้ อ่ื ว่าทาํ บุญและไดอ้ านิสงสไ์ มแ่ พก้ นั

แบบสอง คอื ปรบั ปรุงและแก้ไขเก่าให้เป็นใหม่ โดยวธิ พี ลกิ หน้ามอื เป็นหลงั มอื คอื เลกิ
ของเก่ามาเป็นใหมเ่ ลย เชน่ การเลกิ ทาสในอเมรกิ า การสงั่ หา้ มกนิ หมากในสมยั ก่อน เป็นตน้

ทงั้ สองแบบน้ี ต่างกม็ ขี อ้ ดแี ละขอ้ เสยี ดว้ ยกนั ทงั้ นนั้ ทงั้ น้ี ขน้ึ อย่กู บั ลกั ษณะของสง่ิ ทจ่ี ะ
ปรบั ปรุงแก้ไข และเหตุท่ปี ระเพณีเกิดขน้ึ เพ่อื ประโยชน์แห่งความจําเป็นของสงั คมโดยส่วนรวม
ดงั นนั้ เมอ่ื บา้ นเมอื งเปลย่ี นแปลง ประเพณตี ่างๆซง่ึ เป็นยคุ สมยั นนั้ ๆ แต่โดยความจรงิ แลว้ ประเพณี
หลายอยา่ งทเ่ี ป็นของเดมิ แมจ้ ะหมดประโยชน์หรอื ความจาํ เป็น เพราะไม่รตู้ ้นสายปลายเหตุทม่ี า ก็
ยงั ปรากฏวา่ มกี ารประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามๆกนั อยู่ ทงั้ น้ี อาจจะเป็นเพราะว่าเกดิ ความเคยชนิ ทเ่ี คยทาํ มา
เช่นนนั้ หากไมท่ าํ กจ็ ะรสู้ กึ ไมส่ บายใจ กงั วลหรอื กลวั ว่าจะมเี หตุรา้ ยเกดิ ขน้ึ ดว้ ยเหตุน้ี ประเพณใี ดก็
ตามจะยนื ยง และสบื ทอดต่อเน่อื งกนั มาได้ ประเพณีนนั้ จะต้องตรงกบั มลู ฐานแห่งความต้องการของ
มนุษย์ หรอื เป็นประเพณีทไ่ี ด้แปรความหมายเดมิ ใหเ้ ขา้ กบั ยุคสมยั แลว้ ท่านว่า “ประเพณีนัน้ ตาย
ยาก” เพราะโดยปกติ หากไม่มเี หตุจาํ เป็นทจ่ี ะเลกิ หรอื เปลย่ี นแปลงแลว้ กไ็ มค่ ่อยมใี ครไปเลกิ หรอื
เปลย่ี นเป็นอนั ขาด ยกเวน้ ไวแ้ ต่จะเป็นประเพณีทล่ี ้าหลงั ถ่วงความเจรญิ หรอื เสยี หายต่อส่วนรวม
ประเพณนี นั้ กจ็ ะเลกิ และหมดไปเอง

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๓๒๖ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ประเพณีไทยแบง่ ออกได้เป็น ๒ ลกั ษณะ คือ

๑. ประเพณีส่วนบคุ ล ไดแ้ ก่ประเพณเี กย่ี วกบั การแต่งงาน ประเพณกี ารเกดิ ประเพณกี าร
ตาย ประเพณกี ารบวช ประเพณกี ารขน้ึ บา้ นใหม่ ประเพณที าํ บญุ อายุ เป็นตน้

๒. ประเพณีส่วนรวม ไดแ้ ก่ประเพณที างศาสนาต่างๆ เช่นประเพณีการทาํ บุญเขา้ พรรษา
ออกพรรษา ประเพณตี รุษ สารท ลอยกระทง ประเพณีเทศกาลสงกรานต์ และประเพณวี นั สําคุัั ญุ
ทางพระพุทธศาสนา เป็นตน้

ประเภทของประเพณี จดั แบ่งออกเป็นประเภทย่อยๆ ได้ดงั นี้

๑. ประเพณภี ายในครอบครวั
๒. ประเพณสี ว่ นรวมตามเทศกาล
๓. ประเพณเี กย่ี วกบั การแต่งกาย
๔. ประเพณเี กย่ี วกบั การอาชพี
๕. ประเพณเี กย่ี วกบั การละเลน่ ในงานนกั ขตั ฤกษ์
๖. ประเพณเี กย่ี วกบั การทาํ บญุ โดยในงานทาํ บุญน้ยี งั แบง่ แยกออกไปเป็นงานมงคล
กบั งานอวมงคล
๗. ประเพณเี กย่ี วกบั อาหารการกนิ

พิธีกรรมตามประเพณี

พธิ กี รรมตามประเพณที ่ถี อื ปฏบิ ตั ใิ นสงั คม เม่อื พจิ ารณาแนวทางการปฏบิ ตั แิ ล้วจะพบว่า
สามารถแบง่ แยกออกเป็น ๒ แนวทาง คอื

๑. พธิ กี รรมตามประเพณีทเ่ี ก่ยี วเน่ืองกบั วถิ ชี วี ติ ประจาํ วนั เป็นเรอ่ื งของบุคคลโดยเฉพาะ
เชน่ การเกดิ การเขา้ ส่วู ยั รนุ่ การเขา้ สวู่ ยั ผใู้ หญ่ การเขา้ ส่วู ยั ครองเรอื น และการตาย

๒. พธิ กี รรมตามประเพณีท่เี ก่ยี วเน่ืองกบั ศาสนา เป็นเร่ืองของสงั คมโดยรวม เช่นจารตี
ประเพณี ขนบประเพณี ธรรมเนยี มประเพณี รฐั พธิ ี และพระราชพธิ ี

พิธีกรรมตามประเพณีโบราณ

การเกดิ พธิ กี รรมตามประเพณีโบราณจะเรมิ่ ตงั้ แต่ ตงั้ ครรภ์ คลอด จดั การกบั เดก็ คลอด
การอยไู่ ฟ การฝงั รก แมซ่ อ้ื ทาํ ขวญั ๓ วนั ทาํ ขวญั เดอื น โกนผมไฟ พธิ ลี งอู่ ตงั้ ช่อื เดก็ เบกิ นม

การตาย พธิ กี รรมตามประเพณีโบราณทเ่ี ก่ยี วเน่ืองกบั การตาย เรมิ่ ต้นจากพธิ กี ารทําศพ
พธิ สี วดศพ พธิ นี ําศพไปวดั หรอื การเคล่อื นยา้ ยศพ พธิ กี ารเผาศพ ซง่ึ พธิ กี รรมทงั้ สองพธิ ขี า้ งตน้ น้ีจะ
เป็นเร่อื งทเ่ี ก่ยี วเน่ืองกบั บุคคลตงั้ แต่พธิ กี ารเกดิ ต่อเน่ืองไปจนกระทงั่ การตาย โดยทพ่ี ธิ กี รรมตาม
ประเพณโี บราณส่วนมากแลว้ มกั จะเกย่ี วเน่อื งกบั วถิ ชี วี ติ ของมนุษย์ พอสรปุ ไดด้ งั น้ี

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๒๗ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๑. การสรา้ งบา้ นปลูกเรอื น โดยแยกออกเป็นพธิ กี รรมเก่ยี วกบั เคร่อื งเรอื นและพธิ กี รรมท่ี
เกย่ี วกบั ปลกู เรอื น

๒. การแต่งงาน ซง่ึ จะแยกออกเป็นลกั ษณะวธิ แี ต่งงานและลาํ ดบั พธิ กี ารแต่งงาน

๓. การบรรพชา/อุปสมบท

๔. การทาํ บุญวนั เกดิ

๕. การทาํ บญุ อายุ

๖. การทาํ บุญขน้ึ บา้ นใหม่

๗. การทาํ บญุ บา้ น

ฯลฯ

นอกจากพิธีกรรมตามประเพณีดังกล่าวข้างต้นแล้ว การท่ีประชาชนชาวไทยนั้น
ประกอบด้วยหลากหลายชาตพิ นั ธุ์ พธิ กี รรมตามความเช่อื และประเพณีก็ย่อมมหี ลากหลายตามไป
ดว้ ยสามารถจดั แบ่งออกไปตามลกั ษณะของพน้ื ท่ี ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
และภาคใต้ ในทน่ี ้จี ะขอนํามาเป็นตวั อยา่ งของพธิ กี รรมตามความเชอ่ื ตามลกั ษณะภมู ภิ าค ดงั น้ี

ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั ประเพณีไทย

เอกลกั ษณ์ของประเพณไี ทย ได้แก่การผสมผสานทงั้ ลทั ธิ ผสี างเทวดา ศาสนาพราหมณ์
และศาสนาพุทธเขา้ ด้วยกนั เพ่อื ความสะดวกแก่การศึกษาและปฏบิ ตั ิ เราอาจแบ่งประเพณีต่างๆ
ออกเป็น ๓ ดา้ น ดงั น้ี

ประเพณีเก่ียวกบั ชีวิต เป็นประเพณีเก่ยี วกบั การส่งเสรมิ ความเป็นสริ มิ งคลแก่ชวี ติ ของ

ตนเอง ตงั้ แต่เกดิ จนตาย ทงั้ น้ีเพ่อื ทําให้เกดิ ความสุขทางจติ ใจ เป็นการสรา้ งบุญกุศลใหก้ บั ชวี ติ ใน
โอกาสต่างๆ เชน่ การเกดิ การตาย การบวช การแต่งงาน และการทาํ บุญในโอกาสต่างๆ เป็นตน้

๑) ประเพณีการเกดิ การเกดิ เป็นเร่อื งทส่ี งั คมไทยใหค้ วามสําคญั ส่วนจะมพี ธิ รี ตี องมาก
น้อยเพยี งไรกแ็ ลว้ แต่ความเช่อื ของแต่ละคน หรอื สงั คมทต่ี นอยรู่ ว่ มดว้ ย คนสมยั ก่อนทําพธิ ตี ่างๆ ก็
เพ่ือป้องกนั อนั ตรายท่ีอาจจะเกิดในระหว่างตงั้ ครรภ์ เพ่อื ให้สอดคล้องได้ง่าย แม่จะได้ไม่เป็น
อนั ตรายถงึ ตาย เพ่อื คุม้ ครองปกปกั ษ์รกั ษาทารกทค่ี ลอดใหอ้ อกมาโดยปลอดภยั เน่ืองจากในระยะน้ี
เดก็ มรี า่ งกายบอบบางอ่อนแอ ความตา้ นทานโรคต่าํ

แต่เดมิ มคี วามเชอ่ื วา่ การทาํ พธิ เี กดิ จะช่วยป้องกนั ปดั เปา่ ผรี า้ ยทจ่ี ะมาทําอนั ตรายแก่ทารก
และแมเ่ พราะวทิ ยาการต่างๆ ในสมยั นนั้ ยงั ไมเ่ จรญิ คนจงึ ไปเช่อื ในสง่ิ ลกึ ลบั เช่น เช่อื ว่าผบี นั ดาลให้
เป็นเช่นนัน้ ต่อมาเมอ่ื มนุษยเ์ จรญิ ขน้ึ พอจะเขา้ ใจถงึ ความ เป็นไปต่างๆ ความเช่อื ในเร่อื งผคี ่อยๆ
หมดไป แต่ชนบางพวกบางกลุ่มก็ยงั นิยมปฏบิ ตั ทิ ่เี ขาทํา เช่นนัน้ กเ็ พ่อื ความสบายใจหรอื เขาทําให้
เพราะทอ้ งถนิ่ ทเ่ี ขาอย่เู หน็ ว่าควรทาํ ไม่ทําจะเดอื ดรอ้ น แก่คนส่วนใหญ่ เขาจงึ ทําตามเพ่อื ไม่ไดผ้ ดิ
ประเพณี และดเู ป็นคนนอกรตี นอกรอยไป

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๓๒๘ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

พธิ กี ารเกดิ น้ีจงึ เป็นขอ้ หา้ มและขอ้ ควรปฏบิ ตั ขิ อง หญงิ ท่กี ําลงั จะเป็นแม่คน เรม่ิ ตงั้ ครรภ์
เจ็บท้อง พอหลังคลอด ก็ต้องมีพิธีตัดสายสะดืออาบน้ํา ฝงั รกเด็ก โดยเฉพาะในสมัยโบราณ
การแพทย์ยงั ไม่เจรญิ ก้าวหน้าอย่างปจั จุบนั อตั ราการตายของทารก แรกเกดิ อยู่ในระดบั สูง คน
สมยั ก่อนบางกล่มุ เช่อื ว่าผมี าเอาตวั เดก็ ไป พ่อแม่จงึ ตอ้ งทําบุญเดก็ เป็นระยะๆ ตามวยั เช่น ทําขวญั
โกนผมไฟ พธิ ลี งอู่ ตงั้ ช่อื ทาํ ขวญั เดก็ ปเู ปลเดก็ โกนจกุ (ถา้ ไวจ้ กุ )

๒) ประเพณกี ารบวช การบวชถอื เป็นสง่ิ ทช่ี ่วยอบรมสงั่ สอน ใหเ้ ป็นคนดี ตลอดจนเป็นการ
ทดแทนคุณพ่อแมท่ ใ่ี หก้ ําเนิดเพ่อื ใหพ้ ่อแม่เป็นสุข และตวั ผู้บวชเองกจ็ ะไดม้ โี อกาสศกึ ษาธรรมวนิ ัย
สวดมนตภ์ าวนาทาํ ใจใหส้ งบ เป็นตน้

การบวชจึงมี ๒ แบบ คือ ๑. บรรพชา (บวชเณร) เด็กชายท่ีจะบวชเป็นสามเณรได้
จะตอ้ งมอี ายตุ งั้ แต่ ๗ ปีขน้ึ ไป สมยั ก่อนการบวชเณรเป็นการฝากลกู ให้พระดูแลอบรมสงั่ สอน เพราะ
วดั เป็นเสมอื นโรงเรยี นหรอื สถานทส่ี อนคนใหเ้ ป็นคนดี แต่สมยั น้ีการบวชมกั เป็นการบวชเพ่อื แกบ้ น
บวชหน้าศพ บวชเพ่อื ศกึ ษาธรรมวนิ ัย ๒. การอุปสมบท (บวชพระ) ชายทจ่ี ะบวชไดต้ อ้ งมอี ายุครบ
๒๐ ปีบรบิ ูรณ์ การอุปสมบทเป็นประเพณีท่มี คี วามสําคญั มาก ทงั้ น้ีเพราะชายท่มี อี ายุครบ ๒๐ ปี
เป็นวยั ทเ่ี ขา้ เขตผใู้ หญ่ ซง่ึ จะตอ้ งมคี วามรบั ผดิ ชอบในชวี ติ ของตน ฉะนนั้ จงึ จาํ เป็นตอ้ งมคี วามรู้ และ
เขา้ ใจภาวะผนั แปรต่างๆ ทม่ี อี ยใู่ นชวี ติ พระพุทธศาสนาเป็นหลกั แห่งความจรงิ ในโลก เพราะสอนให้
มนุษย์รู้สาเหตุของความทุกขแ์ ละความสุข ช่วยให้มนุษยม์ สี ตสิ มั ปชญั ญะท่จี ะนําไปสู่ในทางท่ดี ที ่ี
ชอบ การอุปสมบทจงึ มคี วามสําคญั โดยเฉพาะต่อผูท้ ่จี ะเป็นหลกั ของครอบครวั แมว้ ่าในปจั จุบนั น้ี
สงั คมเปลย่ี นแปลงไป วดั ไม่ได้เป็นศูนยก์ ลางของการศกึ ษาดงั แต่ก่อน เพราะมสี ถาบนั การศกึ ษา
อยา่ งเป็นทางการ เช่น โรงเรยี น วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั แทนวดั วดั จงึ กลายความสาํ คญั ในแง่การ
ถ่ายทอดความรอู้ ยา่ งเป็นทางการ การบวชพระจงึ ลดน้อยลงโดยเฉพาะในตวั เมอื ง แต่ในชนบทยงั คง
ยดึ ถอื เป็นประเพณอี ยตู่ ่อไป

ประเพณีการแต่งงาน การแต่งงานเกดิ ขน้ึ ภายหลงั เม่อื ผชู้ ายไดบ้ วชเรยี นแลว้ เพราะ เป็น
เวลาท่ไี ด้เรยี นรู้มนุษยธรรมแล้วตามทางท่ชี อบ จนถึงเวลาท่คี ดิ ตงั้ ตนและวงศ์ตระกูลเองได้ เม่อื
เลอื กหาหญงิ ดตี ามสมควรแก่ฐานะแล้วฝ่ายชายก็ใหผ้ ูใ้ หญ่ช่วยจดั การสู่ขอต่อผู้ใหญ่ของฝ่ายหญิง
เป็นการประกนั สญั ญาว่าจะไมท่ ง้ิ ขวา้ งหย่ารา้ ง

การแต่งงานเป็นการตงั้ ตน คือทงั้ ชายและหญิงต่างก็จะเป็น พ่อบ้านและแม่บ้านต่างรู้
หน้าทข่ี องตน คอื เป็นเวลาท่พี ้นอกพ่อแม่ จงึ จําเป็นต้องให้มบี า้ นเรอื น ด้วยเหตุน้ีเม่อื หมนั้ กนั แล้ว
ผใู้ หญ่จงึ มกั จะจดั การตกลงกนั ปลกู เรอื น เรยี กว่าเรอื นหอ เม่อื ปลูก เรอื นหอแลว้ กต็ ้องมงี านขน้ึ เรอื น
ฉะนัน้ ในงานแต่งงานจงึ มกั จะตงั้ ต้นด้วยการขน้ึ เรอื น คอื มสี วดมนต์เยน็ รุ่งข้นึ เช้าก็เล้ยี งพระให้
เจ้าบ่าวเจ้าสาวใส่บาตรด้วยกัน เพ่อื แสดงว่าร่วมศาสนากัน เม่อื พระฉันเสรจ็ และถวายของแล้ว
พระองคห์ น่ึงก็พรมน้ําพระพุทธมนต์ให้ทวั่ ทงั้ เรอื นและทุกคน ครนั้ ถงึ เวลาเยน็ กม็ กี ารรดน้ําเจา้ บ่าว
เจ้าสาว เสรจ็ การรดนําให้พรแล้วก็มกี ารเล้ยี งแขกูท่มี าร่วมงาน บางรายก็มพี ณิ พาทยห์ รอื มโหรี

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๓๒๙ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ในตอนน้ไี ปจนถงึ เวลาฤกษ์ปทู น่ี อน เมอ่ื ถงึ ฤกษ์ผใู้ หญ่ค่หู น่ึง ซง่ึ มกั เชญิ ผทู้ ไ่ี ดแ้ ต่งงานอย่ดู ว้ ยความ
ผาสุก เขา้ ไปในหอ้ งจดั การปทู น่ี อนใหพ้ รแก่คบู่ ่าวสาว เป็นอนั เสรจ็ พธิ ี

ประเพณีการเผาศพ ตามคตขิ องพระพุทธศาสนา ถอื ตามความจรงิ ทว่ี ่าร่างกาย มนุษย์
ประกอบดว้ ยธาตุทงั้ ๔ คอื ดนิ (เน้ือ หนงั กระดูก) น้ํา (เลอื ด เหงอ่ื น้ําลาย) ไฟ (ความรอ้ น ความ
อบอุ่นในตวั ) ลง (อากาศหายใจเขา้ ออก) ฉะนนั้ เมอ่ื ชวี ติ สน้ิ ไปแลว้ สงั ขารทเ่ี หลอื อย่จู งึ ไมม่ ปี ระโยชน์
อนั ใด การเผาเสยี จงึ เป็นสง่ิ ทด่ี ี เพราะทําใหผ้ อู้ ย่เู บอ้ื งหลงั ไม่มหี ่วงใย ทําใหห้ มดเชอ้ื โรคดว้ ย ผทู้ น่ี บั
ถอื พระพุทธศาสนาโดยมากจงึ มกั เก็บศพไวท้ ําบุญใหท้ านชวั่ คราวเพ่อื บรรเทาความโศกเศรา้ เม่อื
คลายความโศกเศรา้ แลว้ และเหน็ ความจรงิ ทว่ี ่าความตายเป็นของธรรมดา กม็ กั จะคดิ ถงึ การเผาศพ
ซง่ึ เป็นพธิ สี ุดท้ายของชวี ติ มนุษยโ์ ดยปกตมิ กั ทําการเผาศพหลงั จากทําบุญ ๑๐๐ วนั แลว้ เพราะได้
ทาํ บุญใหท้ านครบถว้ นตามทค่ี วรแลว้

ประเพณีเก่ียวกบั สงั คม

เป็นประเพณที ป่ี ระชาชนทวั่ ไปนิยมปฏบิ ตั ริ ว่ มกนั มดี งั น้ี
๑. ประเพณีสงกรานต์

วนั สงกรานต์ คอื วนั ข้นึ ปีใหม่ตามทางสุรยิ คติ หมายความว่า นับตามทางพระอาทติ ย์
กล่าวคอื โลกทเ่ี ราอยหู่ มุนไป ๑ รอบดวงอาทติ ยก์ เ็ ป็น๑ ปี ซง่ึ ตรงกบั วนั ท่๑ี ๒ เมษายน ตรงกบั เวลา
ฤดรู อ้ นทางประเทศตะวนั ออก ไทยเราไดป้ ระเพณนี ้มี าจากมอญ

วนั สงกรานต์เป็นวนั ขน้ึ ปีใหม่ตงั้ แต่สมยั กรุงสุโขทยั เป็นราชธานีจนถงึ พ.ศ. ๒๔๘๓ ทาง
ราชการจงึ ไดเ้ ปลย่ี นใหม่ โดยกําหนดเอาวนั ท่ี ๑ มกราคม เป็นวนั ขน้ึ ปีใหม่เพ่อื ให้ เขา้ กบั หลกั สากล
ทน่ี านาประเทศนิยมปฏบิ ตั กิ นั อยา่ งไรกต็ ามแมจ้ ะมกี ารเปลย่ี นวนั ขน้ึ ปีใหม่ ประชาชนกย็ งั ยดึ ถอื ว่า
วนั สงกรานตม์ คี วามสาํ คญั

การรดน้ําสาดน้ําในวนั สงกรานต์นนั้ เน่ืองจากเป็นเวลาฤดรู อ้ น จงึ ใหพ้ รกนั ดว้ ยน้ําเพ่อื ให้
รม่ เยน็ เป็นสุข ก่อนถงึ วนั สงกรานตม์ กั จะมกี ารเตรยี มอาหารคาวหวานสาํ หรบั ทําบุญ อาหารทเ่ี ตรยี ม
ไว้ ไดแ้ ก่อาหารคาว มกั มขี นมจนี เป็นหลกั ส่วนอาหารหวาน มกั มกี ะละแมเป็นหลกั นอกจากน้ีจะมี
การทาํ ความสะอาดพระพุทธรปู หง้ิ บชู า ตลอดจนทาํ ความ สะอาดบา้ นเรอื นทงั้ ภายในบา้ นและนอก
รวั้ บา้ น

ในตอนเชา้ ของวนั ท๑่ี ๓ เมษายน จะมกี ารทาํ บุญตกั บาตร ฟงั เทศน์ และบงั สุกุลกระดูกของ
บรรพบุรุษ เสรจ็ แลว้ จงึ กรวดน้ําอุทศิ ส่วนกุศลแก่ผูท้ ล่ี ่วงลบั ไปแล้วหรอื ผู้มพี ระคุณ สรงน้ําพระ แห่
พระ ชกั พระ รดน้ําผใู้ หญ่ รบั ศลี รบั พรจากท่าน ในเมอื งบางแห่งอาจจะมมี หรสพต่างๆ เพ่อื ความร่นื
เรงิ หรอื มกี ารปล่อยนก ปล่อยปลา เพ่อื โปรดสตั ว์ บางแห่งก็อาจจะมกี ารประกวดเทพสี งกรานตข์ น้ึ
ดว้ ย เพอ่ื ความสนุกสนาน

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๓๐ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๒. ประเพณีทาบญุ วนั สารท

คนไทยถอื เอาวนั ขน้ึ สบิ หา้ ค่าํ เดอื นสบิ หรอื วนั สน้ิ เดอื นสบิ เป็นวนั ทาํ บุญกลางพรรษาและ
เรยี กการทาํ บญุ ในวนั น้วี ่า "ทาํ บุญวนั สารท"

"สารท" เป็นคาํ มาจากภาษาอนิ เดยี ทห่ี มายถงึ ฤดสู ารทหรอื ฤดู ทพ่ี ชื พนั ธธ์ ญั ชาตเิ รม่ิ สุก
ชาวอนิ เดยี ถอื ว่าควรมพี ธิ รี ่นื เรงิ ยนิ ดี และทาํ พธิ บี ชู าสงิ่ ศกั ดสิ ์ ทิ ธขิ ์ องเขา เพ่อื ใหพ้ ชื พนั ธธ์ ญั ญาหาร
เจรญิ งอกงามอุดมสมบรู ณ์ต่อไป แต่ในเทศกาลวนั สารทของไทย เป็นฤดูทข่ี า้ วเพง่ิ แตกรวง ชาวบา้ น
จงึ ปลกู ขา้ วเหนียวไวเ้ พ่อื ใหท้ นั เกบ็ เกย่ี วแลว้ นําขา้ วเหนียวนนั้ มาตําเป็น ขา้ วเท่า นํามากวนกบั ขา้ ว
ตอก ถวั่ งา มะพรา้ ว และน้ําตาล เรยี กว่า “กระยาสารท” (ปจั จบุ นั การ กวนพระสารทเขาใชน้ ้ําอ้อย
และนมสดผสมดว้ ย เพ่อื ใหเ้ กดิ ความมนั และหอมหวานอรอ่ ยยงิ่ ขน้ึ ) เมอ่ื กวนกระยาสารทเสรจ็ แลว้ ก็
จดั แบ่งเป็นส่วนๆ แล้วเอาใบตองห่อ (ปจั จุบนั ไม่ใชใ้ บตองแลว้ ใช้ถุงพลาสตกิ แทน) เพ่อื นําไปตกั
บาตรถวายพระในวนั สารท ทาํ บญุ เสรจ็ แลว้ กก็ รวดน้ํา อุทศิ สว่ นกุศลใหแ้ ก่บรรพบรุ ษุ ทล่ี ่วงลบั ไปแลว้
ถอื กนั ว่าถา้ ไมไ่ ดท้ าํ บุญตกั บาตร "กระยาสารท" ผปี ่ยู ่าตายายทต่ี ายไปจะไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ น อดๆ
อยากๆ เท่ากบั ลูกหลานทอ่ี ย่หู ลงั ขาดการกตญั ํู ต่อบุพการี ส่วนพระสงฆร์ บั บาตรกระยาสารทใน
วนั นัน้ แลว้ เม่อื ฉันเสรจ็ กฉ็ ันพระยาสารทเป็น ของ หวานในวนั สารท ทางวดั จะจดั โต๊ะและตงั้ บาตร
วางเรยี งเป็นแถวสาํ หรบั ใหช้ าวบา้ นทม่ี าทาํ บุญตกั บาตรนําห่อกระยาสารทใส่ลงในบาตร ประเพณี
ตกั บาตรอยา่ งน้สี มยั ก่อนเรยี กว่า “ตกั บาตร ธารณะ”

๓. ประเพณีลอยกระทง

ประเพณีลอยกระทงตรงกบั วนั ขน้ึ ๑๕ ค่ํา เดอื น ๑๒ เช่อื กนั ว่างาน ประเพณีลอยกระทง
เผาเทยี น เล่นไฟ ถอื กําเนิดขน้ึ เป็นครงั้ แรกในสมยั กรุงสุโขทยั เป็นราชธานี เม่อื ประมาณ ๗๐๐ ปี
มาแลว้ โดยมหี ลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรต์ ามศลิ าจารกึ หลกั ท่ี ๑ ทก่ี ล่าวว่า "เมอื งสุโขทยั น้ีมสี ป่ี าก
ประตูหลวง เทยี นย่อมวนเสยี ดกนั เขา้ มาดูท่าน เผาเทยี น ท่านเล่นไฟ เมอื งสุโขทยั น้ีมดี งั จกั แตก"
นอกจากน้ยี งั ปรากฏในหนงั สอื นางนพมาศหรอื ตํารบั ทา้ วศรจี ฬุ าลกั ษณ์ พระสนมเอกของสมเดจ็ พระ
ร่วงเจา้ แห่งกรุงสุโขทยั ผู้คดิ ทําโคมลอยเป็นรปู ดอกกุมุท (ดอกบวั ) ทง่ี ามยง่ิ กว่าโคมลอยของพระ
สนมกํานัลทงั้ ปวง ทําให้เป็นท่พี อพระราชหฤทยั ของสมเด็จพระร่วงเจ้า เป็นอย่างมากถึงกบั ทรง
บญั ญตั วิ ่า พระราชพธิ จี องเปรยี งในวนั เพญ็ เดอื นสบิ สอง(ลอยกระทงใน ปจั จุบนั ) ในปี ต่อๆ ไปใหท้ าํ
โคมลอยเป็นรปู ดอกบวั ตามแบบอยา่ งของนางนพมาศ ซง่ึ พธิ จี อง เปรยี ง น้รี วมไปพธิ ลี อยกระทงและ
ตามประทปี ดว้ ย

การตามประทปี เป็นการจุดเพ่อื บูชาพระพุทธรูป พระเจดยี ์ตาม พุทธศาสนาต่างๆ และ
เป็นการบูชาเทพเจา้ ตามเทวสถาน หรอื สง่ิ ทเ่ี คารพนับถอื ในพธิ กี รรมสําคญั หรอื ในวนั นกั ขตั ฤกษ์
ต่างๆ ตามแบบอย่างของชาวชมพูทวปี ท่ไี ด้นํามาปรบั ปรุง ประยุกต์ให้เข้ากบั พุทธศาสนาอย่าง
กลมกลนื

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๓๑ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

การจุดประทปี หรอื การตามประทปี ในสมยั กรุงสุโขทยั จะจุดจากภาชนะทเ่ี รยี กว่า "ตะคนั "
ซง่ึ เป็นเคร่อื งปนั้ ดนิ เผาท่มี รี ูปร่างคล้ายจานหรอื ถ้วยแต่เล็กกว่า ขา้ งในบรรจุเช้อื เพลงิ ท่เี ป็น ขผ้ี ้งึ
หรอื ไขสตั วต์ ่างๆ และเป็นสง่ิ ทห่ี าไดง้ า่ ยในสมยั นนั้ โดยเรยี กการจดุ ประทปี น้วี า่ "การเผาเทยี น"

ประเพณีเกี่ยวกบั ศาสนา

ประเพณีทําบุญในวนั สําคญั ทางพุทธศาสนามรี ากฐานมาจากความเช่อื ในศาสนา ดงั นัน้
พุทธศาสนกิ ชนจงึ ไดม้ กี ารปฏบิ ตั ติ ามวนั สาํ คญั ทางศาสนาดงั น้ี

๑. วนั พระ เป็นวนั สําคญั ของทางศาสนาวนั หน่ึง ซง่ึ ตรงกบั วนั ทข่ี น้ึ ๘ ค่าํ ๑๕ ค่าํ และวนั
แรม ๘ ค่าํ ,๑๕ ค่ําของทุกเดอื น จะมกี ารทําบุญฟงั เทศน์ทว่ี ดั จะมี ๔ วนั ใน ๑ เดอื น ตามวนั ขน้ึ -แรม
ของทุกเดอื นทก่ี ล่าวแลว้ เปิดโอกาสใหพ้ ุทธศาสนิกชนไดท้ ําบุญกุศล ชําระร่างกาย จติ ใจใหส้ ะอาด
บริสุทธิ ์ อุทิศส่วนกุศลให้บรรพบุรุษ และเจ้ากรรมนายเวรของตน จิตใจ จะได้สดช่ืน แจ่มใส
ปราศจากความทกุ ขห์ รอื ใหล้ ดความทุกข์ กเิ ลส เศรา้ หมองลงเพราะมคี วามเช่อื จากเรอ่ื งของกฎแห่ง
กรรมนนั่ เอง

๒. วนั มาฆบูชา ตรงกับวนั เพ็ญเดอื น ๓ เป็นวันสําคญั ทางพระพุทธศาสนาวนั หน่ึงท่ี
พุทธศาสนิกชนพร้อมใจกันทําบุญเพ่ือระลึกถึงสัมมาสัมพุทธเจ้า ในวันน้ีเป็นวัน คล้ายวันท่ี
พระพุทธเจา้ ทรงแสดงโอวาทปาตโิ มกข์ นับว่าเป็นวนั ทพ่ี ระพุทธศาสนาไดว้ างรากฐานมนั่ คง เรยี ก
วนั ดงั กลา่ ววา่ “จาตุรงคสนั นบิ าต” หรอื เป็นวนั ทพ่ี ระพุทธเจา้ ปลงสงั ขารซง่ึ ประกอบดว้ ย องค์ ๔ คอื

๑) พระภกิ ษุจาํ นวน ๑,๒๕๐ รปู มาประชุมกนั เขา้ เฝ้าพระพุทธเจา้ ทเ่ี วฬุวนั กรุงราชคฤห์
โดยมไิ ดน้ ดั หมายแต่อยา่ งใด

๒) พระภกิ ษุเหลา่ น้ลี ว้ นเป็นพระอรหนั ตท์ งั้ สน้ิ

๓) พระภกิ ษุเหลา่ น้เี ป็นเอหภิ กิ ขอุ ุปสมั ปทาคอื พระพุทธเจา้ ทรงบวชใหท้ งั้ สน้ิ

๔) ในวนั นนั้ เป็นวนั เพญ็ พระจนั ทรเ์ ตม็ ดวง หรอื เสวยมาฆะฤกษ์
ในวนั น้พี ทุ ธศาสนกิ ชนจะทาํ บุญตกั บาตร ไปวดั ฟงั เทศน์ สวด มนต์ และเลย้ี งพระกลางคนื
มกี ารเวยี นเทยี น

๓.วนั วสิ าขบูชา ตรงกบั วนั เพญ็ ขน้ึ ๑๕ ค่ําเดอื น ๖ เป็นวนั ท่มี คี วาม สําคญั วนั หน่ึงของ
พระพุทธเจ้า เพราะมเี หตุการณ์สําคญั ท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั พระพุทธเจา้ ๓ ประการคอื เป็นวนั คล้ายวนั
ประสตู ิ ตรสั รู้ และปรนิ ิพพาน ในวนั น้ีชาวพุทธไดม้ กี ารทําบุญถวายอาหารรบั ศลี ฟงั ธรรม รกั ษาศลี
อุโบสถ ตอนกลางคนื มกี ารเวยี นเทยี น

๔. วนั อาสาฬหบชู า ตรงกบั วนั เพญ็ ขน้ึ ๑๕ ค่ํา เดอื น ๘ วนั น้ีมี ปรากฏการณ์ทส่ี าํ คญั ๓
ประการ คอื

๑) เป็นวนั ทพ่ี ระพุทธศาสนาไดอ้ ุบตั ขิ น้ึ ในโลก

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๓๓๒ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๒) เป็นวนั แรกทพ่ี ระพุทธเจา้ ทรงแสดงปฐมเทศนาธรรมจกั รกปั ปวฒั นสตู รแก่ปญั จวคั คยี ์
ทงั้ ๕

๓) เป็นวนั แรกทพ่ี ระอรยิ สงฆส์ าวกองค์แรก บงั เกดิ ขน้ึ ในโลกพระอญั ญาโกณทญั ญะ
ไดร้ บั เป็นเอหภิ กิ ขอุ ุปสมั ปทา

ในประเทศไทยเรม่ิ มวี นั อาสาฬหบูชา ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๕๐๑ โดยคณะสงั ฆมนตรไี ด้กําหนด
ขน้ึ สาํ หรบั วนั น้เี รยี กอกี อยา่ งว่า “วนั ธรรมจกั ร” พุทธศาสนิกชน ไดม้ ี การทาํ บุญตกั บาตร รบั ศีล ฟงั
เทศน์ เวยี นเทยี น เชน่ เดยี วกบั วนั มาฆบชู า วสิ าขบชู า

๕. วนั เขา้ พรรษา ตรงกนั วนั แรม ๑ ค่าํ เดอื น ๘ ซง่ึ พระสงฆจ์ ะตอ้ ง อย่ปู ระจาํ ณ วดั ใดวดั
หน่ึงระหว่างฤดูฝน กําหนดตงั้ แต่วนั แรม ๑ ค่ํา เดอื น ๘ ถึงวนั ขน้ึ ๑๕ ค่ํา เดอื น ๑๑ รวมเวลา ๓
เดอื นเตม็

ในระยะเขา้ พรรษา พทุ ธศาสนิกชนทม่ี คี ุณสมบตั คิ รบถว้ น ตาม พุทธบญั ญตั ิ นิยมบวชพระ
ส่วน ผู้ท่อี ายุยงั ไม่ครบบวชผู้ปกครองจะนําไปฝากพระ โดยบวชเณรบ้าง เป็นลูกศิษย์วดั บ้าง
พุทธศาสนิกชนอ่ืนๆ นิยมตกั บาตรหรอื ไปทําบุญท่ีวดั รบั อุโบสถศีล ฟงั ธรรม ปจั จุบนั น้ียงั เพม่ิ
กจิ กรรมบางประการ เช่น งดด่ืมเหล้า หรอื ของเสพตดิ ให้โทษ นับว่าเป็นประโยชน์แก่ตนเองและ
สงั คมอยา่ งยงิ่

๖. วนั ออกพรรษา ตรงกบั วนั ขน้ึ ๑๕ ค่าํ เดอื น๑๑ หมายถงึ การออกจากการอย่ปู ระจาํ ในฤดู
ฝน หลงั จากทพ่ี ระภกิ ษุอย่จู าํ พรรษาตลอดเวลา ๓ เดอื นแลว้ วนั รงุ่ ขน้ึ กจ็ ะ จารกึ ไปทอ่ี ่นื ได้ สาํ หรบั
วนั น้ีพระสงฆ์ต้องแรมคนื อยู่ในวดั ท่จี ําพรรษาเพ่อื ให้ครบ ๓ เดือนเต็มและทําปวารณาเสยี ก่อน
ฉะนนั้ อาจเรยี กวนั ออกพรรษาว่า "วนั ปวารณา" กไ็ ด้

๗. ประเพณีทอดกฐิน เป็นประเพณีทําบุญอย่างหน่ึงของไทย ท่ที ํา ในระยะเวลาท่ี
กาํ หนดใหใ้ นปีหน่งึ ๆ ระหวา่ งวนั แรม ๑ ค่าํ เดอื น ๑๑ ถงึ วนั ขน้ึ ๑๕ ค่าํ เดอื น๑๒

ประเพณีการทอดกฐนิ ของไทยมหี ลกั ฐานว่ามมี าตงั้ แต่สมยั สุโขทยั และได้ถอื ประเพณีสบื
ต่อกนั มาจนถงึ ปจั จุบนั น้ี ซ่งึ เป็นทงั้ กฐนิ ท่พี ระมหากษัตรยิ ์ทรงบําเพ็ญพระราชกุศล และกฐนิ ของ
ราษฎร

๘. ประเพณีทอดผ้าป่า การทอดผ้าป่าเป็นประเพณีมมี า ตงั้ แต่สมยั พุทธกาล และเป็น
มรดกตกทอดมาจนถงึ ทุกวนั น้ี ฤดกู าลของการทอดผ้าป้าไม่ได้ กําหนดระยะเวลาลงไป จะทอดใน
ฤดไู หนเดอื นไหนกไ็ ด้ ส่วนใหญ่มกั จะทาํ ในระยะเวลาจวนจะออกพรรษา

วฒั นธรรมและประเพณีท้องถิ่น

คําว่า “ท้องถน่ิ ” หมายถงึ พน้ื ทแ่ี ละขอบเขตท่ชี ุมชน หม่บู า้ น เมอื ง มกี ารปะทะสรรค์กนั
ทางดา้ นสงั คม เศรษฐกจิ และวฒั นธรรม จนปรากฏรปู แบบทางวฒั นธรรมทเ่ี หมอื นกนั และแตกต่าง
กนั ไปจากชุมชน หมู่บา้ น และเมอื งในท้องถิ่นอ่นื ดงั นัน้ วฒั นธรรมและประเพณีของท้องถนิ่ แต่ละ

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๓๓ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

แห่งอาจมรี ปู แบบแตกต่างกนั ไปตามสภาพทางภูมศิ าสตร์ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสภาพแวดล้อม
ซง่ึ เราพอจะสรปุ ลกั ษณะสาํ คญั ของวฒั นธรรมและประเพณที อ้ งถน่ิ ของไทยไดด้ งั น้ี

วฒั นธรรมและประเพณีท้องถ่ินภาคกลาง

ภาคกลางเป็นภาคท่มี ปี ระชาการสูงสุด โดยรวมพ้นื ท่อี ันเป็นท่ตี งั้ ของจงั หวดั มากกว่า
ภูมภิ าคอ่นื ๆ ใช้ภาษากลางในการส่อื ความหมายซ่งึ กนั และกนั วฒั นธรรมไทยท้องถนิ่ ภาคกลาง
ประชาชนประกอบอาชพี ทาํ นา การตงั้ ถนิ่ ฐานจะหนาแน่นบรเิ วณทร่ี าบลุ่มแมน่ ้ํา มวี ถิ ชี วี ติ เป็นแบบ
ชาวนาไทย คอื การรกั พวกพอ้ ง พง่ึ พาอาศยั กนั มคี วามเช่อื และเคารพบุคคลสําคญั ผลู้ ่วงลบั ไปแลว้
มกี ารใช้เคร่อื งปนั้ ดินเผาตามชุมชนและหมู่บ้านในชนบท การละเล่นพ้นื บ้านท่ีเป็นลกั ษณะเด่น
ไดแ้ ก่ มงั คละราํ เตน้ เตน้ กาํ ราํ เคยี ว เพลงปรบไก่ เพลงลาํ ตดั เป็นตน้

นอกจากน้ีในทอ้ งทจ่ี งั หวดั เพชรบุรี มเี อกลกั ษณ์ทโ่ี ดดเด่น คอื มคี วามสามารถในการปลูก
สรา้ งเรอื นไทย ความเป็นช่วงฝีมอื ทป่ี ระณตี ในการตกแต่งวดั และช่างประดษิ ฐต์ ่างๆ เช่น ช่างทอง
ช่างแกะสลกั ลายไทย ลวดลายปนู ปนั้ ประดบั พระสถปู เจดยี ์

ชนกล่มุ น้อยในทอ้ งถน่ิ ภาคกลาง มหี ลายเผ่าพนั ธุ์ อาทิ ลาวโขง่ กระเหรย่ี ง ในพน้ื ทจ่ี งั หวดั
เพชรบุรี ลาวพวน ในอําเภอบ้านหมี จงั หวดั ลพบุรี คนลาว ในเขตจงั หวดั เพชรบุรี ปราจนี บุรี และ
ฉะเชงิ เทรา มอญ ในอําเภอพระประแดง จงั หวดั สมทุ รปราการ

ประเพณีรบั บวั บางพลี “ดอกบวั ” นบั วา่ เป็นพนั ธไ์ มช้ นิดหน่ึงทป่ี ระชาชนคนไทยส่วนใหญ่
ใหค้ วามนับถอื โดยทวั่ ไป ในการนํามาใชส้ กั การบชู าสง่ิ ศกั ดสิ ์ ทิ ธทิ ์ งั้ หลายตามความเช่อื ถอื ทางพุทธ
ศาสนาในอดตี ท่ผี ่านมานัน้ พ้นื ท่บี รเิ วณของอําเภอบางพลี จงั หวดั สมุทรปราการ จะเป็ นแหล่งท่มี ี
ดอกบวั พนั ธุ์ ดอกบวั หลวงเป็นจาํ นวนมาก โดยเฉพาะในชว่ งของฤดูฝน ดงั นนั้ จงึ มกี ารจดั หาดอกบวั
หลวงท่มี มี ากมายมาใชใ้ นการบําเพญ็ กุศลตามพุทธสาสนาของคนไทย ในวนั ขน้ึ ๑๓ ค่ํา เดอื น ๑๑
ของทุกปี ประชาชนในพน้ื ทอ่ี าํ เภอเมอื งสมทุ รปราการ อาํ เภอพระประแดง จงั หวดั สมุทรปราการและ
ในพ้นื ทจ่ี งั หวดั ใกล้เคยี งอ่นื ๆ ก็มกั จะมกี ารชกั ชวนกนั พายเรอื ทงั้ ขนาดใหญ่และขนาดเลก็ พรอ้ ม
เครอ่ื งดนตรพี น้ื บา้ นชนดิ ต่างๆ พายเรอื รอ้ งเพลงเดนิ ทางมาตามลาํ คลองสําโรง มายงั อําเภอบางพลี
เพ่อื รบั บวั

สําหรับองค์ประกอบของการจัดงานประเพณีรับบัวของอําเภอบางพลี จังหวัด
สมทุ รปราการ ทม่ี คี วามสาํ คญั คอื การจดั ใหม้ กี ารแห่พระพุทธรปู ของหลวงพ่อโต ทป่ี ระชาชนอําเภอ
บางพลแี ละประชาชนทวั่ ไปรูจ้ กั และให้ความเคารพนับถือกนั อย่างมาก โดยทางเรอื ไปตามคลอง
สาํ โรง อาํ เภอบางพลี จงั หวดั สมทุ รปราการไปจนถงึ ตําบลจรเขใ้ หญ่ ในวนั ขน้ึ ๑๓ ค่าํ เดอื น ๑๑ ซง่ึ
กจ็ ะมปี ระชาชนทม่ี บี า้ นเรอื นอยตู่ ามสองฝงั่ คลองสาํ โรงทข่ี นานเรอื แห่รปู ของหลวงพ่อโตจาํ ลองแล่น
ผ่านไปดจี ะมกี ารประดบั ธงทวิ ตกแต่งบา้ นเรอื นและตงั้ โต๊ะหม่บู ชู าสกั การะไปตลอดทงั้ สองฝงั่ คลอง
ดสู วยงามเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๓๔ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ประเพณีการตกั บาตรดอกไม้ : ในวนั เขา้ พรรษา คอื วนั แรม ๑ ค่าํ เดอื น ๘ ชาวบา้ นวดั

พระพุทธบาทราชวรมหาวหิ าร จงั หวดั สระบุรี แถบนนั้ มคี ตเิ ช่อื ว่าการบูชา พระรตั นตรยั ดว้ ยดอกไม้
ธูปเทยี น “อามสิ บูชา” ในวนั สําคญั ทางพระพุทธศาสนานนั้ ย่อมไดร้ บั ผลอานิสงสม์ ากมาย ดงั นนั้ พอ
ถงึ วนั เขา้ พรรษา ชาวบา้ นจะเกบ็ ดอกไมป้ ่าซ่งึ ส่วนใหญ่จะเป็นพชื ประเภททม่ี กี อหรอื เหงา้ ฝงั อยู่ใต้
ดนิ เช่นต้นกระชายหรอื ต้นขมน้ิ พชื ไดร้ บั ความชุ่มช่นื จากฝนลําต้นกแ็ ตกยอดโผล่ขน้ึ มาจากดนิ สูง
ประมาณคบื เศษๆ ดอกมขี นาดเลก็ ออกเป็นช่อตรงบรเิ วณส่วนยอดของลําต้น หลายสสี นั งามตาม
ได้แก่สขี าว สเี หลอื ง และสเี หลอื งแซมม่วง ชาวบ้านเรยี กช่ือต่างกนั ไปว่า “ดอกยูงทอง”บ้างหรอื
“ดอกหงสท์ อง” บา้ ง แต่ทน่ี ิยมเรยี กรวมกนั กว็ ่า “ดอกเขา้ พรรษา” เพราะเหน็ ว่าดอกไมป้ า่ เหล่าน้ีจะ
บานสะพรงั่ ใหเ้ หน็ อยา่ งดาษดน่ื กเ็ ฉพาะในเทศกาลเขา้ พรรษาน่เี อง

๗.๔ ภมู ิปัญญาและวฒั นธรรมภาคกลาง (Cultural Central)

วฒั นธรรมและประเพณีท้องถ่ินภาคกลาง

ภาคกลางเป็นภาคท่มี ปี ระชาการสูงสุด โดยรวมพ้นื ท่อี ันเป็นท่ตี ั้งของจงั หวดั มากกว่า
ภูมภิ าคอ่นื ๆ ใช้ภาษากลางในการส่อื ความหมายซ่งึ กนั และกนั วฒั นธรรมไทยท้องถ่นิ ภาคกลาง
ประชาชนประกอบอาชพี ทํานา การตงั้ ถนิ่ ฐานจะหนาแน่นบรเิ วณทร่ี าบลุ่มแม่น้ํา มวี ถิ ชี วี ติ เป็นแบบ
ชาวนาไทย คอื การรกั พวกพอ้ ง พง่ึ พาอาศยั กนั มคี วามเช่อื และเคารพบุคคลสาํ คญั ผลู้ ่วงลบั ไปแลว้
มกี ารใช้เคร่อื งปนั้ ดนิ เผาตามชุมชนและหมู่บ้านในชนบท การละเล่นพ้นื บ้านท่เี ป็นลกั ษณะเด่น
ได้แก่ มงั คละรําเต้น เต้นกํารําเคยี ว เพลงปรบไก่ เพลงลําตัด เป็นต้นนอกจากน้ีในท้องทจ่ี งั หวดั
เพชรบุรี มเี อกลกั ษณ์ทโ่ี ดดเด่น คอื มคี วามสามารถในการปลกู สรา้ งเรอื นไทย ความเป็นช่วงฝีมอื ท่ี
ประณีตในการตกแต่งวดั และช่าง ประดษิ ฐต์ ่างๆ เช่น ช่างทอง ช่างแกะสลกั ลายไทย ลวดลายปูน
ปนั้ ประดบั พระสถปู เจดยี ช์ นกลุ่มน้อยในทอ้ งถนิ่ ภาคกลาง มหี ลายเผ่าพนั ธุ์ อาทิ ลาวโข่ง กระเหรย่ี ง
ในพ้นื ทจ่ี งั หวดั เพชรบุรี ลาวพวน ในอําเภอบา้ นหมี จงั หวดั ลพบุรี คนลาว ในเขต จงั หวดั เพชรบุรี
ปราจนี บุรี และฉะเชงิ เทรา มอญ ในอาํ เภอพระประแดง จงั หวดั สมทุ รปราการ

ประเพณีการตกั บาตรดอกไม้

ในวนั เขา้ พรรษา คอื วนั แรม ๑ ค่าํ เดอื น ๘ ชาวบา้ นวดั พระพุทธบาท จงั หวดั สระบุรี แถบ
นัน้ มีคติเช่ือว่าการบูชา พระรัตนตรยั ด้วยดอกไม้ธูปเทียน 'อามิสบูชา' ในวันสําคัญทาง
พระพทุ ธศาสนานนั้ ยอ่ มไดร้ บั ผลอานิสงสม์ ากมาย ดงั นนั้ พอถงึ วนั เขา้ พรรษา ชาวบา้ นจะเกบ็ ดอกไม้
ป่าซง่ึ ส่วนใหญ่จะเป็นพชื ประเภททม่ี กี อหรอื เหงา้ ฝงั อยใู่ ต้ดนิ เช่นต้นกระชายหรอื ต้นขมน้ิ พชื ไดร้ บั
ความชุ่มช่ืนจากฝนลําต้นก็แตกยอดโผล่ข้นึ มาจากดิน สูงประมาณคืบเศษๆ ดอกมขี นาดเล็ก
ออกเป็นช่อตรงบรเิ วณสว่ นยอดของลาํ ตน้ หลายสสี นั งามตามไดแ้ ก่สขี าว สเี หลอื ง และสเี หลอื งแซม
มว่ ง ชาวบา้ นเรยี กช่อื ต่างกนั ไปว่า 'ดอกยงู ทอง' บา้ งหรอื 'ดอกหงสท์ อง' บา้ ง แต่ทน่ี ิยมเรยี กรวมกนั

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๓๓๕ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

กว็ ่า 'ดอกเขา้ พรรษา' เพราะเหน็ ว่าดอกไมป้ ่าเหล่าน้ีจะบานสะพรงั่ ใหเ้ หน็ อย่างดาษด่นื กเ็ ฉพาะใน
เทศกาลเขา้ พรรษาน่เี อง

ซง่ึ ในประเพณีการตกั บาตรดอกไมน้ นั้ จะมพี ธิ ตี กั บาตรดอกไมว้ นั ละ ๒ รอบ คอื รอบเช้า
เวลา ๐๘.๐๐ น. รอบบ่าย เวลา ๑๕.๐๐ น. ในวนั แรกของการจดั งาน เป็นพธิ บี วงสรวงดวงพระ
วญิ ญาณ สมเดจ็ พระเจา้ ทรงธรรม และสงิ่ ศกั ดสิ ์ ทิ ธทิ ์ ม่ี อี ยใู่ นอาณาบรเิ วณพระพุทธบาทภาคค่ําขบวน
พยุหยาตราสมเดจ็ พระเจ้าทรงธรรม ขบวนรถบุปผชาติ การแสดงศลิ ปะพน้ื บ้าน วฒั นธรรม และ
ขบวนต่างๆ จะเร่ิมเคล่ือนออกจากหน้าสํานักงานเทศบาลตําบลพระพุทธบาท ไปตามถนน
พหลโยธนิ และเลย้ี วเขา้ บรเิ วณวดั พระพุทธบาทราชวรมหาวหิ าร โดยจะมพี ธิ เี ปิดงานพธิ ตี กั บาตร
ดอกไมใ้ นภาคกลางคนื ดอกไมท้ ่ใี ช้ตกั บาตรแด่พระภกิ ษุสงฆน์ ัน้ จะต้องเป็น “ดอกเข้าพรรษา”

เท่านนั้ ซง่ึ “ดอกเขา้ พรรษา” นนั้ เป็นดอกไมช้ นิดหน่งึ ตน้ คลา้ ยๆ ต้นกระชาย หรอื ขมน้ิ สงู ประมาณ
๑ คบื เศษ มดี อกสเี หลอื ง สขี าวและสนี ้ําเงนิ มว่ ง ตน้ ดอกไมเ้ ขา้ พรรษาน้ีจะ ขน้ึ ตามไหล่เขาโพธลิ ์ งั กา
หรอื เขาสวุ รรณบรรพต เทอื กเขาวง และเขาพุใกล้ๆ กบั รอยพระพุทธบาท และจะผลดิ อกเฉพาะช่วง
เขา้ พรรษาเท่านนั้ จนชาวบา้ นเรยี กช่อื ใหเ้ ป็นทเ่ี หมาะสมว่า “ต้นเขา้ พรรษา' โดยดอกเขา้ พรรษาท่ี
ชาวพทุ ธออกไปเกบ็ นนั้ มี ๓ สี คอื ดอกสเี หลอื ง มี ๒ พนั ธุ์ คอื พนั ธุเ์ หลอื งพวง (หางกระรอก) และ
พนั ธเุ์ หลอื งมะละกอ (บานปลาย) ดอกสขี าว ซง่ึ ทงั้ ๒ สนี นั้ ดูจะหางา่ ยไม่ลําบากยากเยน็ นกั แต่การ
เกบ็ ดอกไมเ้ ขา้ พรรษาซ่งึ เป็นสมี ่วงนัน้ เขาถอื กนั ว่าถ้าผู้ใดออกไปเก็บดอกเขา้ พรรษาสมี ่วงมาใส่
บาตรได้ คนนนั้ จะไดร้ บั บุญกุศลมากมายกว่าการนําดอกไมส้ อี ่นื ๆ มาตกั บาตรหลงั จากทพ่ี ระภกิ ษุ
สงฆเ์ ดนิ รบั บณิ ฑบาตจากพุทธศาสนิกชนแล้ว จะนําดอกไมไ้ ปสกั การะ “รอยพระพุทธบาท” พระ
เจดยี จ์ ุฬามณี อนั เป็นพระเจดยี ท์ ่บี รรจุพระเขย้ี วแก้วจําลองขององค์พระสมั มาสมั พุทธเจา้ แล้ว
นําไปสักการะพระเจดีย์มหาธาตุองค์ใหญ่ ซ่ึงชาวพุทธถือว่าเป็นพระเจดีย์ท่ีบรรจุพระบรม
สารรี กิ ธาตุพระเจดยี อ์ งค์น้ี ทรงเหมอื นกบั องค์พระธาตุพนม เป็นการคารวะต่อองค์พระสมั มาสัม
พุทธเจา้ และระหวา่ งทพ่ี ระภกิ ษุเดนิ ลงจากพระมณฑปทางบนั ไดนาคเจด็ เศยี รนนั้ พุทธศาสนิกชนก็
จะนําเอาน้ําสะอาดมาลา้ งเทา้ พระภกิ ษุสงฆ์ ซง่ึ ถอื วา่ น้ําทไ่ี ดช้ าํ ระลา้ งเทา้ ใหพ้ ระภกิ ษุสงฆน์ นั้ เสมอื น
หน่งึ ไดช้ าํ ระลา้ งบาปของตนดว้ ยสาํ หรบั การจดั งานประเพณตี กั บาตรดอกไมใ้ นวนั ทส่ี องของการจดั
งาน จะมพี ธิ ตี กั บาตรดอกไม้ ๒ รอบคอื เวลา ๐๘.๐๐ น. และ ๑๕.๐๐ น. ส่วนในวนั สุดทา้ ยของการ
จดั งาน ซ่ึงตรงกับวนั เข้าพรรษา จะมีพิธีถวายเทียนพรรษาพระราชทาน และเทียนพรรษา ณ
อุโบสถวดั พระพุทธบาทราชวรมหาวหิ าร ประเพณตี กั บาตรดอกไมแ้ ละถวายเทยี นพรรษา ประจาํ ปี
๒๕๕๘ ยงั มกี จิ กรรมอ่นื ๆ ทน่ี ่าสนใจ เชน่ การจาํ หน่ายสนิ คา้ หน่ึงตําบลหน่ึงผลติ ภณั ฑก์ ารประกวด
เทพตี กั บาตรดอกไม้ การจดั นทิ รรศการตกั บาตรดอกไม้ การประกวดจดั ดอกไมใ้ บตอง และกจิ กรรม
อ่นื ๆ อกี มากมาย

“ประเพณีตกั บาตรดอกไม้” นับเป็นประเพณีอนั เก่าแก่ ท่คี วรค่าแห่งการอนุรกั ษ์ย่ิง
เพราะหน่ึงปีมีหน่ึงครงั้ และมีเพียงแห่งเดียวท่ีพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร นอกจากชาว

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๓๓๖ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

พุทธศาสนิกชน จะได้บุญกุศลอนั ยงิ่ ใหญ่ กบั การถวายดอกเขา้ พรรษาแด่พระภกิ ษุสงฆ์ แลว้ ยงั ต่นื
ตา ต่นื ใจกบั ขบวนรถบุพชาติ ขบวนวฒั นธรรม และการแสดงศลิ ปะพน้ื บา้ นดว้ ย ทข่ี าดเสยี มไิ ด้คอื
ความงดงามของดอกเขา้ พรรษา ทบ่ี านสะพรงั่ ทวั่ ทงั้ วดั พระพทุ ธบาทตลอดทงั้ ๓ วนั

๗.๕ ภมู ิปัญญาวฒั นธรรมภาคอีสาน (Isan culture)

ความเชื่อของชาวอีสาน

การเลอื กภมู ปิ ระเทศ เพ่อื ตงั้ หมบู่ า้ นในภาคอสี านจะเหน็ ไดว้ ่ามหี ลกั สาํ คญั อยู่ ๓ ประการ
คอื ตอ้ งเลอื กทาํ เลทป่ี ระกอบดว้ ย

๑) น้า เพ่อื การยงั ชพี และประกอบการเกษตรกรรม

๒) นา เพอ่ื การปลกู ขา้ ว (ขา้ วเหนียว) เป็นอาหารหลกั

๓) โนน เพ่อื การสรา้ งบา้ นแปงเมอื ง ทน่ี ้ําทว่ มไมถ่ งึ

ส่วนคตคิ วามเช่อื ของชาวอีสานในการดําเนินชวี ติ ชาวอสี านมีความเช่อื ท่ไี ด้รบั การสบื
ทอดมาจากบรรพบุรษุ กล่าวคอื ความเช่อื ในอํานาจลล้ี บั ทเ่ี หนือธรรมชาติและเช่อื ในการครองเรอื น
การทํามาหาเลย้ี งชพี สงิ่ ใดทโ่ี บราณหา้ มว่าเป็นโทษและเป็นความเดอื ดรอ้ นมาใหก้ ็จะละเวน้ และไม่
ยอมทาํ สง่ิ นนั้

สําหรบั ความเช่อื ในการตงั้ หมู่บ้านก็ไม่ต่างกนั นัก ชาวอสี านมกี ารนับถอื “ผีบ้าน” และ
แถนหรอื "ผฟี ้า" มกี ารเซ่นสรวงดวงวญิ ญาณบรรพบุรษุ เพ่อื ใหช้ ่วยปกป้องรกั ษาลูกหลาน มกี ารตงั้
"ศาลเจา้ ปู่" ไว้ท่ดี อนปู่ตา ซง่ึ มชี ยั ภูมเิ ป็นโคก น้ําท่วมไม่ถึง มตี ้นไมใ้ หญ่หนาทบึ มกี ารก่อสรา้ ง
“ตบู ” เป็นทส่ี ถติ ของเจา้ ปู่ทงั้ หลาย ตลอดจนการตงั้ “บือบ้าน” (หลกั บา้ น) เพ่อื เป็นสริ มิ งคลของ
หมบู่ า้ น และมกี ารเซน่ “ผอี าฮกั ” คอื เทพารกั ษ์ใหด้ แู ลคุม้ ครองผคู้ นในหมบู่ า้ นใหอ้ ยดู่ มี สี ุขตลอดไป

พธิ เี ลย้ี ง “ผปี ่ ตู า” จะกระทาํ ในเดอื น ๗ คาํ ว่า “ป่ ตู า” หมายถงึ ญาตฝิ า่ ยพ่อ (ป่-ู ย่า) และ
ญาตฝิ ่ายแม่(ตา-ยาย) ซง่ึ ทงั้ สค่ี นน้ี เม่อื ยงั มชี วี ิตอย่กู เ็ ป็นทเ่ี คารพของลูกหลาน ครนั้ เม่อื ตายไปจงึ
ปลกู หอหรอื ทช่ี าวอสี านเรยี ก “ตบู ” มกั ใชเ้ สา ๔ ตน้ หลงั คาจวั่ พน้ื สงู โดยเลอื กเอาสถานทเ่ี ป็นดง
ใกลบ้ า้ นมตี ้นไมใ้ หญ่และสตั ว์ป่านานาชนิดเรยี กว่า “ดงป่ ตู า” ถอื เป็นทศ่ี กั ดสิ ์ ทิ ธ์ ใครไปรุกล้ําตดั
ตน้ ไมห้ รอื ล่าสตั วไ์ มไ่ ด้ หรอื แมแ้ ต่แสดงวาจาหยาบคายกไ็ มไ่ ด้ ปตู่ าจะลงโทษกระทาํ ใหเ้ จบ็ หวั ปวด
ทอ้ ง และเม่อื มกี ารเจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ย มคี นลม้ ตายผดิ ปกตเิ กดิ ขน้ึ ในหมู่บา้ นชาวอสี านถอื กนั ว่า “หลกั
เหงีย่ งหงวย” ตอ้ งทาํ พธิ ตี อกหลกั บา้ นใหมใ่ หเ้ ทย่ี งตรง มกี ารสวดมนต์เลย้ี งพระสงฆ์ เซ่นสรวงเทพ
ยาดาอารกั ษ์ แลว้ หาหลกั ไมแ้ ก่นมาปกั ใหม่ ซง่ึ ต้องมคี าถาหรอื ยนั ต์ใส่พรอ้ มกบั สวดญตั ตเิ สาก่อน
เอาลงดนิ ในบรเิ วณกลางบา้ น ทงั้ น้ีเพราะชาวอสี านมคี วามเช่อื ในการตงั้ “หลกั บ้าน” เพราะหลกั
บ้านเป็นองค์ประกอบท่สี ําคญั ของผงั ชุมชนระดบั หมู่บ้าน และเปรยี บเสมอื นหวั ใจของบ้าน เม่ือ
ชุมชนเตบิ โตขน้ึ “หลกั บา้ น” กพ็ ฒั นาไปสู่ “หลกั เมอื ง” ดงั ทป่ี รากฏอยทู่ วั่ ไปในประเทศไทย

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๓๓๗ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

หลกั บา้ นมกั สรา้ งดว้ ยไมม้ งคล เชน่ ไม้คนู ไม้ยอ มที งั้ หลกั ประธานหลกั เดย่ี วและมพี รอ้ ม
หลกั บรวิ ารรายลอ้ ม ส่วนรปู แบบของหลกั บา้ นนนั้ มกั ควนั่ หวั ไมเ้ ป็นเสาทรงบวั ตูมหยาบๆ บางแห่ง
กถ็ ากใหเ้ ป็นปลายแหลมแลว้ ทาํ หยกั "เอวขนั "ไวส้ ว่ นลา่ ง

ในการตงั้ ถนิ่ ฐานบา้ นเรอื นของคนอสี านมกั เลอื กทาเลทเี่ อ้อื ต่อการยงั ชพี ซง่ึ มอี งคป์ ระกอบ
ทวั่ ไปดงั น้ี

๑) แหล่งน้า นับเป็นสง่ิ สําคญั อนั ดบั แรก อาจเป็นหนองน้ําใหญ่หรอื หว้ ย หรอื ลาํ น้ําทแ่ี ยก
สาขามาจากแมน่ ้ําใหญ่ ท่มี นี ้ําเฉพาะฤดูฝนส่วนมากเป็นทร่ี าบลุ่มสามารถทํานาเลย้ี งสตั ว์ ไดใ้ นบาง
ฤดเู ท่านนั้

ช่อื หมบู่ า้ นมกั ขน้ึ ตน้ ดว้ ยคาํ วา่ “เลงิ วงั หว้ ย กุด หนอง และท่า” เชน่ เลงิ นกทา วงั สามหมอ้
หว้ ยยาง กุดนาคาํ หนองบวั แดง ฯลฯ

๒) บริเวณที่ดอนเป็นโคก หรอื ทส่ี งู น้ําท่วมไม่ถงึ สามารถทาํ ไรแ่ ละมที ุ่งหญ้าเลย้ี งสตั ว์ มี
ทงั้ ทด่ี อนรมิ แมน่ ้ําและทด่ี อนตามปา่ รมิ เขา แต่มนี ้ําซบั ไหลมาบรรจบเป็นหนองน้ํา

ช่อื หมู่บ้านมกั ขน้ึ ต้นด้วนคําว่า “โคก ดอน โพน และโนน” เช่น โคกสมบูรณ์ ดอนสวรรค์
โพนยางคาํ ฯลฯ

๓) บริเวณป่ าดง เป็นทําเลท่ใี ชป้ ลูกพชื ไร่และสามารถหาของป่าได้สะดวก มลี ําธารไหล
ผ่าน เมอ่ื อพยพมาอยกู่ นั มากเขา้ กก็ ลายเป็นหม่บู า้ นและมกั เรียกช่อื หม่บู า้ นขน้ึ ต้นดว้ ยคําว่า “ดง ปา่
และเหลา่ ” เช่น โคกศาลา ปา่ ตน้ เปือย เหล่าอุดม ฯลฯ

๔) บริเวณที่ราบลุ่ม เป็นพ้นื ทเ่ี หมาะในการทํานาขา้ ว และทุ่งหญ้าเลย้ี งสตั วใ์ นหน้าแลง้
ตวั หมู่บ้านจะตงั้ อยู่บรเิ วณขอบหรอื แนวของทร่ี าบตดิ กบั ชายป่า แต่น้ําท่วมไม่ถึงในหน้าฝน บาง
พน้ื ทเ่ี ป็นทร่ี าบลุ่มมนี ้ําขงั ตลอดปี เรยี กวา่ “ปา่ บ่งุ ปา่ ทาม” เป็นตน้

๕) บริเวณป่ าละเมาะ มกั เป็นท่สี าธารณะสามารถใชเ้ ล้ยี งสตั วแ์ ละหาของป่าเป็นอาหาร
ได้ ตลอดจนมสี ตั ว์เล็กสตั ว์น้อยท่นี ํามาเป็นอาหารยงั ชพี รวมทงั้ สมุนไพรใช้รกั ษาโรค และเป็น
สถานทย่ี กเวน้ ไวเ้ ป็นดอนปตู่ าตามคตคิ วามเชอ่ื ของวฒั นธรรมกลุ่มไต-ลาว

เฮือนไทยในภาคอีสาน

การสรา้ งบ้านของชุมชนในภูมภิ าคตะวนั ออกเฉียงใต้ตงั้ แต่สมยั โบราณมกั เลอื กทําเลท่ี
ตงั้ อย่ตู ามทร่ี าบลุ่มทม่ี แี ม่สําคญั ๆ ไหลผ่าน เช่น แม่น้ําโขง แม่น้ํามูล แม่น้ําชี แม่น้ําสงคราม ฯลฯ
รวมทงั้ อาศยั อย่ตู ามรมิ หนองบงึ ถา้ ตอนใดน้ําท่วมถงึ กจ็ ะขยบั ไปตงั้ อย่บู นโคกหรอื เนินสูง ดงั นนั้ ช่อื
หมบู่ า้ นในภาคอสี านจงึ มกั ขน้ ตน้ ดว้ ยคาํ ว่า "โคก โนน หนอง" เป็นส่วนใหญ่

ลกั ษณะหมู่บ้านทางภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือหรอื ภาคอีสานนัน้ มกั จะอยู่รวมกันเป็น
กระจุก ส่วนทต่ี งั้ บ้านเรอื นตามทางยาวของลําน้ํานัน้ มนี ้อย ผดิ กบั ทางภาคกลางท่มี กั ตงั้ บา้ นเรอื น
ตามทางยาว ทงั้ น้เี พราะมแี มน่ ้ําลาํ คลองมากกว่า

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๓๓๘ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

หนุ่มสาวชาวอสี านเม่อื แต่งงานกนั แลว้ ตามปกตฝิ ่ายชายจะตอ้ งไปอย่บู า้ นพ่อตาแม่ยาย
ต่อเมอ่ื มลี กู จงึ ขยบั ขยายไปอยทู่ ใ่ี หมเ่ รยี กวา่ “ออกเฮือน” แลว้ หกั ลา้ งถางพงหาทท่ี าํ นา ดงั นนั้ ทน่ี า

ของคนชนั้ ลูกชนั้ หลานจงึ มกั ไกลออกจากหมบู่ า้ นไปทุกที และเม่อื บรเิ วณเหมาะสมจะทาํ นาหมดไป
เพราะพน้ื ทร่ี าบทม่ี แี หล่งน้ําจาํ กดั คนอสี านชนั้ ลูกหลานกม็ กั ชวนกนั ไปตัง้ บา้ นใหม่อกี หรอื ถ้าทร่ี าบ
ในการทํานาบรเิ วณใดกวา้ งไกลไปมาลําบาก กจ็ ะชกั ชวนกนั ไปตงั้ บา้ นใหม่ใกล้เคยี งกบั นาของตน
ทาํ ใหเ้ กดิ การขยายตวั กลายเป็นหมบู่ า้ นขน้ึ

เรือนท้องถ่ินในชนบท
๑. เรือนท้องถิ่นในชนบท

เรอื นทอ้ งถนิ่ ในชนบทของภาคตะวนั ออกนนั้ ปรากฏเหลอื อยใู่ หเ้ หน็ ไดจ้ ากกลุ่มทเ่ี ป็น
ชุมชนเดมิ ของทอ้ งถนิ่ เรอื นทป่ี รากฏส่วนใหญ่เป็นรปู แบบของเรอื นไทยภาคกลางเชน่ เดยี วกบั ทพ่ี บ
อยใู่ นทอ้ งถน่ิ ต่างๆ เรอื นกลุ่มน้ีมขี อ้ แตกต่างไปบา้ ง ตามสภาพชุมชนและสง่ิ แวดลอ้ ม

เรอื นเครอื่ งผกู ทที่ าเป็นรปู แบบของเรอื นไทย ทพี่ นสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๓๙ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ลกั ษณะทวั่ ไปของเรอื น เป็นรปู แบบเช่นเดยี วกบั เรอื นภาคกลาง ประเภทเรอื นเครอ่ื งสบั
ลกั ษณะเด่นกค็ อื เป็นเรอื นทป่ี ลกู สรา้ งดว้ ยไมจ้ รงิ หรอื ทเ่ี รยี กกนั ว่าเรอื นฝากระดาน หากแต่เรอื น
เหล่าน้ีอาจดอ้ ยในเรอ่ื งฝีมอื ทว่ี จิ ติ รประณีต ขนาดสดั ส่วนของเรอื นเป็นแบบทป่ี รากฏในเรอื นไทย
ทวั่ ไป คอื เป็นเรอื นทม่ี ขี นาดความยาว ๓ หอ้ ง หรอื ๓ ช่วงแถว หลงั คาทรงสงู มุ่งดว้ ยกระเบอ้ื งรมิ
เถา หรอื จากประกอบปนั้ ลม หน้าจวั่ มที งั้ ท่เี ป็นจวั่ ภควมั จวั่ ใบปรอื ฝามที งั้ แบบฝาประกน ฝา
สายบวั ฝาสํารวจ และฝาขดั แตะ ใต้ถุนสูง แต่ก็มบี างกลุ่มทอ่ี ย่ถู ดั จากชายฝงั่ ทะเลเขา้ มาเลก็ น้อย
กลุ่มน้ีนิยมทําเป็นแบบใตถ้ ุนเตย้ี ยกระดบั จากพน้ื ดนิ สงู ขน้ึ มาเพยี งเลก็ น้อย ทงั้ น้ีเพ่อื ใหเ้ กดิ ความ
มนั่ คง ในยามทม่ี ลี มแรง หรอื มพี ายุทพ่ี ดั จากทะเลเขา้ สู่ฝงั่ ซง่ึ อาจกล่าวไดว้ ่าการปรบั รปู แบบใหเ้ ขา้
กบั สภาพแวดลอ้ มของทาํ เลทป่ี ลกู เรอื นนนั่ เอง

เรอื นไทยฝาสาํ หรวด หลงั คามงุ จากแบบเดมิ ทต่ี าํ บลอ่างศลิ า

เรือนไทยกบั ความเยน็

เรอื นไทยของเรามบี รรยากาศเยน็ สบาย เป็นภมู ปิ ญั ญาของบรรพบุรุษของไทยเราโดยแท้
ทาํ ไมเรอื นไทยถงึ เยน็ มสี าเหตุใหญ่ๆ เช่น การวางผงั และออกแบบตวั เรอื น ทท่ี ําใหเ้ รอื นไทยของ
เรามเี อกลกั ษณ์ ไดแ้ ก่การออกแบบหลงั คาใหส้ งู โปรง่ มรี ะเบยี งและชานเล่นระดบั สูงต่ําและวสั ดุทใ่ี ช้
ก่อสรา้ ง เช่น ประตู หน้าต่าง ลูกกรง ช่องลม เป็นองคป์ ระกอบของเรอื นไทยท่เี น้นในเร่อื งความ
โปรง่ โล่ง ใหแ้ สงและลมเขา้ ได้ ฝาผนงั เป็นไม้ ซง่ึ เป็นวสั ดุทเ่ี ป็นฉนวนอนั เป็นส่วนสาํ คญั ทท่ี าํ ใหเ้ รอื น
ไทยเยน็ ..

สาเหตุท่ีทาให้เรือนไทยเราเยน็ นัน้ มีสาเหตุอยู่ที่สองประเด็นหลกั ก็คือ

๑. การวางผงั และออกแบบตวั เรอื น ทที่ าใหเ้ รอื นไทยของเรามเี อกลกั ษณ์

๒. วสั ดทุ ใี่ ชก้ ่อสรา้ ง

๑. การวางผงั และออกแบบตวั เรือน ท่ีทาให้เรือนไทยของเรามีเอกลกั ษณ์

องคป์ ระกอบท่ที ําใหเ้ รอื นไทยของเราเยน็ คอื ผงั ของตวั เรอื นไทยซ่งึ เป็นต้นแบบของการ
วางผงั บ้านแบบกลุ่ม (CLUSTER) แบบแรกท่เี อ้อื ประโยชน์ใช้สอยมหาศาล ตามลกั ษณะการ
ดาํ รงชวี ติ ของเรากบั ความเหมาะสมต่อสภาพภูมอิ ากาศ ผงั เรอื นไทยโดยทวั่ ไปแบ่งออกไดส้ ามส่วน
คอื ๑) นอกชาน ๒) ชาน หรอื ระเบยี งชาน ๓) ตวั เรอื น

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเก่ียวกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน” หน้า ๓๔๐ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

นอกชาน คือพ้ืนท่ีท่ีเป็นทางหรือลานไม้เช่ือมต่อระหว่างเรือนหลายหลังเข้าด้วย
บรรยากาศบรเิ วณนอกชานซ่งึ เป็นส่วนทเ่ี ช่อื มระหว่างเรอื นหลายหลงั เขา้ ดว้ ยกนั มกั ปลูกตน้ ไมไ้ ว้
ตรงกลางนอกชานเพ่อื ใหค้ วามร่มร่นื สวนนอกชานส่วนใหญ่จะนิยมปลกู ไมก้ ระถางซง่ึ สามารถยก
ยา้ ยเปลย่ี นทไ่ี ด้

ชาน คอื ระเบยี งท่อี ย่ตู ่อเน่ืองกบั ตวั เรอื น ระเบยี งน้ีจะมหี ลงั คาคลุมและใชเ้ ป็นท่ใี ช้สอย
อเนกประสงค์

ตวั เรอื นจะกาํ หนดเป็นหอ้ งเพยี ง ๑-๒ ห้อง ใชส้ ําหรบั เกบ็ ของมคี ่า เกบ็ เสอ้ื ผา้ เป็นบรเิ วณ
แต่งตวั เป็นทน่ี อนของลกู ๆ ท่โี ตแลว้ หรอื กนั้ เป็นหอ้ งพระ เรอื นน้ีกําหนดเป็นเรอื นใหญ่ เรอื นเลก็
มกั เป็นเรอื นตรงขา้ มเรอื นใหญ่ กนั้ ดว้ ยชาน (นอกชาน) สําหรบั เป็นเรอื นนอนของลูกชายคนโตใน
กรณีทม่ี คี รอบครวั หรอื เพ่อื ความเป็นสดั ส่วน เรอื นท่สี ามกค็ อื เรอื นครวั มกั วางผงั ตงั้ ฉากกบั เรอื น
ใหญ่ มชี านเป็นตวั เช่อื มเช่นกนั จะใชเ้ ป็นหอ้ งอาหารดว้ ย ในเวลากลางวนั จะอยอู่ าศยั ทร่ี ะเบยี งซง่ึ มี
หลงั คาคลมุ กนั แดด แต่ไมม่ ผี นงั ทาํ ใหส้ วา่ งและรบั ลมทผ่ี ่านชานเขา้ มา และเม่อื แดดร่มกจ็ ะใชช้ าน
สาํ หรบั ทาํ งานบา้ นและอยอู่ าศยั ปกติ บรเิ วณทงั้ สองน้จี งึ ไมร่ อ้ น เน่ืองจากเป็นการใชต้ ามสภาพแดด
ลม ในขณะทเ่ี ม่อื พลบค่าํ กจ็ ะอย่อู าศยั ทร่ี ะเบยี งและเขา้ เรอื นนอน แนวการวางตวั เรอื นจะวางตาม
ความยาวในทศิ ทางตามตะวนั เพ่อื รบั ลมทม่ี าจากทศิ ใต้

ภมู ิปัญญาความเชื่อในการปลกู เรือน

ความเช่อื ในการปลกู เรอื นอสี าน อนั ดบั แรกดตอ้ งพจิ ารณา “ลกั ษณะสถานท่”ี หรอื บรเิ วณ
ทจ่ี ะสรา้ งเรอื นก่อนโดยตอ้ งเลอื กเอาสถานทป่ี ลอดโปร่ง ไมม่ หี ลุมบ่อ ไม่มจี อมปวก ไม่มหี ลุมผี ไม่มี
ตอไม้ใหญ่ และต้องดูความสูงต่ําลาดเอยี งของพ้นื ดนิ ว่าลาดเอียงไปทางทศิ ใดและจะเป็นมงคล
หรอื ไม่ ดงั น้ี

บทท่ี ๗ “ภมู ิปัญญาเกี่ยวกบั วฒั นธรรมท้องถิ่น” หน้า ๓๔๑ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

(๑) พน้ื ดนิ ใด สงู หนใต้ ต่าํ ทางเหนอื เรยี กว่า “ชยั ยะเต - ดอี หี ล”ี

(๒) พน้ื ดนิ ใด สงู ทางหนตะวนั ตก ต่าํ ทางตะวนั ออก เรยี กว่า “ยสะศรี - ดอี หี ล”ี

(๓) พน้ื ดนิ ใด สงู ทางทศิ อสี าน ต่าํ ทางหรดี เรยี กว่า “ไมด่ ”ี

(๔) พน้ื ดนิ ใด สูงทางอาคเนย์ ต่ําทางพายพั เรยี กว่า “เตโช” เฮอื นนนั้ มดิ ี เป็นไขพ้ ยาธิ
ฮอ้ นใจ

เมอ่ื เลอื กพน้ื ท่ที จ่ี ะปลูกเรอื นไดแ้ ลว้ จะมี “การเสย่ี งทายพน้ื ท่”ี นนั้ อกี ครงั้ หน่ึง โดยจดั ขา้ ว
๓ กระทง คอื ขา้ วเหนียว, ขา้ วเหนียวดํา, และขา้ วเหนียวแดง อย่างละ ๑ กระทง นําไปวางไว้ตรง
หลกั กลางทด่ี นิ เพอ่ื ใหก้ ากนิ ถา้ กากนิ ขา้ วดา โบราณท่านบอกวา่ “อยา่ อยเู่ พราะทนี่ นั้ ไมด่ ”ี ถ้ากากนิ
ขา้ วแดง โบราณท่านบอกว่า “ไมม่ ยี งิ่ เป็นอปั รยี ม์ งคลมาก” ถ้ากากนิ ขา้ วขาว โบราณท่านบอกว่า “ดี
อหี ลี จะอยเู่ ยน็ เป็นสุข ใหร้ บี เฮด็ เฮอื นสมสรา้ งใหเ้ สรจ็ เรว็ ไว”

การเลอื กพน้ื ทท่ี ่จี ะสรา้ งเฮอื นอกี วธิ หี น่ึงคอื “การชิมรสของดิน” โดยขดุ หลุมลกึ ราวศอก
เศษๆ เอาใบตองปูไว้กนั หลุมแลว้ หาหญ้าคาสดมาวางไว้บนใบตอง ท้งิ ไว้ค้างคนื จะได้ไอดนิ เป็น
เหง่อื จบั อยหู่ น้าใบตองจากนนั้ ใหช้ มิ เหง่อื จบั ดูหน้าใบตอง “หากมรี สหวาน เป็นดนิ ทพี่ ออย่ไู ด้ มรี ส
จดื เป็นดนิ ทเี่ ป็นมงคล จะอยเู่ ยน็ เป็นสขุ มรี สเคม็ เป็นอปั ปมงคล ใครอย่มู กั ไม่ยงั่ ยนื ถา้ มรี สเปร้ยี ว
พออยไู่ ด้ แต่ไมใ่ ครด่ นี กั จะมที กุ ขเ์ พราะเจบ็ ไขอ้ ยเู่ สมอ”

นอกจากน้ยี งั มี “ความเชอื่ เรอื งกลนิ่ ของดนิ ” อกี ดว้ ย โดยการชุดดนิ ลกึ ราว ๑ ศอกแลว้ เอา
ดนิ ขนั้ มาดมกล่ินว่าเป็นอย่างไร ซ่งึ โบราณเช่อื กนั ว่า ถ้าดนิ มกี ลนิ่ หอมถอื ว่าดนิ นัน้ อุดมดี เป็น
มงคล อย่เู ยน็ เป็นสุข แต่ถ้าดนิ มกี ลนิ่ เยน็ กลน่ิ เหม็นกลนิ่ คาว ถอื ว่าดนิ นัน้ ไม่ดี ถ้าใครปลูกสรา้ ง
บา้ นอยู่ เป็นอปั มงคล การดูพน้ื ทก่ี ่อนการสรา้ งเรอื นชาวอสี านแต่โบราณถอื กนั มาก แต่ในปจั จบุ นั
ได้ปรบั เปลย่ี นให้สอดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ โดยยงั ใช้คตเิ ดมิ แต่มกี ารเล่ยี งหรอื แก้เคลด็ เช่น การชมิ ดนิ
เคม็ หรอื ดนิ เปรย้ี ว ก็แก้เคลด็ โดยบอกว่า “ดนิ จดื ” ส่วนการดมกลนิ่ ดนิ หากมกี ลนิ่ เหมน็ คาว ก็จะ
บอกเอาเคลด็ ว่า “หอม” เป็นตน้

ลกั ษณะเรือนของคนอีสาน

คําว่า “บา้ น “ กบั “เฮอื น” (ความหมายเช่นเดยี วกบั “เรอื น”) สาํ หรบั ความเขา้ ใจของ ชาว
อสี านแล้วจะต่างกนั คําว่า “บา้ น” มกั จะหมายถงึ “หม่บู ้าน” มใิ ช่บ้านเป็นหลงั ๆ เช่น บ้านโนน
สมบรู ณ์ บา้ นนาคาํ แคน หรอื บา้ นดงมะไฟ เป็นต้น ส่วนคําว่า “ เฮอื น” นนั้ ชาวอสี านหมายถงึ เรอื นท่ี
เป็นหลงั ๆ

นอกจากคาํ ว่า “เฮอื น “ แลว้ อสี านยงั มสี ง่ิ ปลกู สรา้ งทม่ี ลี กั ษณะการใชส้ อยใกลเ้ คยี งกนั แต่
รปู แบบแตกต่างกนั ไป เช่น คาํ ว่า “โฮง” หมายถงึ ทพ่ี กั อาศยั ใหญ่กว่า “เฮอื น” มกั มหี ลายหอ้ ง เป็นท่ี
อยขู่ องเจา้ เมอื งหรอื เจา้ ครองนครในสมยั โบราณ


Click to View FlipBook Version