The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย Buddhism and Thai Culture

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย Buddhism and Thai Culture

พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย Buddhism and Thai Culture

Keywords: พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย,Buddhism and Thai Culture

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๔๒ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ธรรมวนิ ยั เช่น พธิ กี รรมการแสดงตนเป็นอุบาสกโดยการเปลง่ วาจาสอง (เทวฺวาจกิ า วาจา) ของตะ
ปสุ สะและภลั ลกิ ะ๖๕ หรอื พธิ กี ารบวชแบบเอหภิ กิ ขอุ ุปสมปทาของปญั จวคั คยี ๖์ ๖ หรอื การประกาศตน
เป็นอุบาสกอุลาสกิ าของมารดาธดิ าของพระยสกุลบุตร๖๗ ซง่ึ พธิ กี รรมในช่วงถอื ไดว้ ่าเป็นพธิ กี รรมท่ี
ไมไ่ ดม้ คี วามสลบั ซบั ซอ้ นหรอื มเี งอ่ื นไขมากนัก ทงั้ ยงั เป็นไปอยา่ งเรยี บรอ้ ยและไม่มนี ยั ของการออ้ น
วอน แต่มเี น้ือหามุ่งถงึ ความหลุดพ้น หรอื การเรยี นรูห้ ลกั ธรรมวนิ ัยของพระพุทธศาสนาโดยการ
อาศยั ศรทั ธาทม่ี ตี ่อพระพุทธองคเ์ ป็นหลกั

อย่างไรก็ตามในระยะต่อมาเม่อื สงั คมของชาวพุทธมขี นาดใหญ่มากขน้ึ สงฆเ์ พม่ิ จํานวน
มากข้ึนและมีแนวโน้มของการละเมิดหลักการคือ พระธรรมวินัยมากข้ึน พระพุทธองค์จึงได้
กําหนดใหม้ กี ารประกอบพธิ ที ม่ี คี วามซบั ซ้อนมาขน้ึ ทงั้ น้ีกเ็ พ่อื ให้พธิ กี รรมเหล่านัน้ ไดม้ สี ่วนในการ
คดั กรองบคุ คลอนั จะเป็นการธาํ รงรกั ษาพระธรรมวนิ ยั และการฝึกฝนตนเองของสมาชกิ ในสงั คมสงฆ์
เช่น พธิ กี ารบรรพชาอุปสมบท พธิ กี ารแสดงอาบตั ิ หรอื พธิ กี รรมทเี ก่ยี วขอ้ งกบั การตรวจสอบแล
ชําระอธกิ รณ์สงฆ์ เป็นต้น ซง่ึ พธิ กี รรมเหล่าน้ีล้วนเป็นพธิ ที ่มี จี ุดประสงค์เพ่อื การธํารงรกั ษาพระ
ธรรมวนิ ัย นอกจากนัน้ ในส่วนของชาวบ้านซ่งึ เป็นชาวพุทธพระพุทธศาสนาก็ได้กําหนดให้มกี าร
ประกอบพธิ กี รรมซง่ึ ไมข่ ดั ต่อหลกั การสาํ คญั ของพระพทุ ธศาสนา เช่น พธิ กี ารรกั ษาศลี พธิ กี ารถวาย
ทาน มสี งั ฆทาน เป็นต้น หรอื พธิ กี รรมทเ่ี น่ืองดว้ ยการกระทําความดโี ดยพธิ กี รรมดงั กล่าวจะต้องมี
พ้นื ฐานอยู่ในหลักของศีล – สมาธิ และปญั ญาจนกล่าวได้ว่า ความเป็นมาของพธิ กี รรมในทาง
พระพุทธศาสนาท่ปี รากฏในคมั ภรี พ์ ระพุทธศาสนานนั้ มที ม่ี าหรอื บ่อเกดิ มาจากพระธรรมวนิ ัยอนั ถอื
ได้ว่าเป็นหลกั การของพระพุทธศาสนาซง่ึ ถ้าหากจะพจิ ารณาความเป็นมาของพธิ กี รรมในทรรศนะ
ของพระพุทธศาสนาก็จะพบว่าพระพุทธศาสนาเองก็เห็นว่าพธิ กี รรมนัน้ มบี ่อเกิดท่สี ําคญั มาจาก
ความเช่อื แต่ความเช่อื ดงั กล่าวมไิ ดม้ พี น้ื ฐานมาจากความกลวั เพราะความเช่อื นนั้ หากกล่าวกนั ตาม
หลกั การแล้วย่อมมอี ยู่ ๒ ประการ คอื (๑) กลวั แล้วก็เช่อื ซ่งึ เป็นธรรมชาตขิ องมนุษยท์ ม่ี คี วามกลวั
เป็นพ้ืนฐานของจิต คือรกั ตัวกลวั ตาย หรอื รกั สุขเกลยี ดทุกข์ ดงั นัน้ เม่อื มนุษย์เผชิญกับภัย

๖๕ ดงั ขอ้ ความบนั ทกึ ไวใ้ นวนิ ยั ปิฎก มหาวรรควา่ “ตปสุ สะและภลั ลกิ ะ ไดก้ ราบทลู วา่ ‚พระองค์ผเู้ จรญิ ขา้ พระองคท์ งั้ สอง
น้ี ขอถงึ พระผมู้ พี ระภาคพรอ้ มทงั้ พระธรรมเป็นสรณะ ขอพระองคโ์ ปรดทรงจําขา้ พระองค์ทงั้ สองว่า เป็นอุบาสกผถู้ ึงสรณะตงั้ แต่วนั น้ี
เป็นต้นไป จนตลอดชวี ติ ‛ ตปุสสะ และภลั ลกิ ะนนั้ ไดเ้ ป็นเทฺววาจกิ อุบาสก (ผกู้ ล่าววาจาถงึ รตั นะ ๒ ว่าเป็นสรณะ) เป็นพวกแรกใน
โลกแล” อา้ งใน ว.ิ ม. (ไทย) ๔/๖/๙-๑๐.

๖๖ ดงั ขอ้ ความในวนิ ัยปิฎก มหาวรรคว่า “เธอจงมาเป็นภกิ ษุเถิด‛ แล้วตรสั ต่อไปว่า ‚ธรรมอนั เรากล่าวดแี ล้ว เธอจง
ประพฤตพิ รหมจรรยเ์ พอ่ื ทาํ ทส่ี ดุ ทุกขโ์ ดยชอบเถดิ ‛ พระวาจานนั้ ไดเ้ ป็นการอุปสมบทของท่านพระอญั ญาโกณฑญั ญะนนั้ ” อ้างใน ว.ิ
ม. (ไทย) ๔/๑๘/๒๕. คาํ ว่า “เอหิ ภกิ ฺขุ” จงมาเป็นภกิ ษุเถดิ หมายถงึ คาํ ประกาศอนุมตั กิ ารบรรพชาอุปสมบทแก่ผขู้ อบวชคอื เท่ากบั
ประกาศว่าจงมารบั การบรรพชาอุปสมบทตามทข่ี อ อา้ งใน สารตฺถ.ฏกี า. (บาล)ี ๓/๑๘/๒๒๒.

๖๗ ดงั ขอ้ ความว่า “‚พระองค์ผเู้ จรญิ ภาษติ ของพระองค์ชดั เจน ไพเราะยง่ิ นัก พระองคผ์ เู้ จรญิ ภาษิตของพระองคช์ ดั เจน
ไพเราะยงิ่ นกั พระองคท์ รงประกาศธรรมแจ่มแจง้ โดยประการต่างๆ เปรยี บเหมอื นบุคคลหงายของทค่ี ว่าํ เปิดของทป่ี ิด บอกทางแก่ผู้
หลงทาง หรอื ตามประทปี ในทม่ี ดื ดว้ ยตงั้ ใจว่า คนมตี าดจี กั เหน็ รปู พระองคผ์ เู้ จรญิ หมอ่ มฉนั ทงั้ สองน้ีขอถงึ พระผมู้ พี ระภาค พรอ้ มทงั้
พระธรรม และพระสงฆเ์ ป็นสรณะ ขอพระผมู้ พี ระภาคจงทรงจําหม่อมฉนั ทงั้ สอง ว่าเป็นอุบาสกิ าผถู้ งึ สรณะ ตงั้ แต่วนั น้ีเป็นต้นไปจน
ตลอดชวี ติ ‛ มารดาและภรรยาเก่าของท่านพระยสะทงั้ สองน้ี ไดเ้ ป็นเตวาจกิ อุบาสกิ า(ผกู้ ล่าว ถงึ รตั นะทงั้ ๓ ว่าเป็นสรณะ) เป็นค่แู รก
ในโลก” ว.ิ ม. (ไทย) ๔/๒๙/๓๖-๓๗.

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๔๓ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ธรรมชาติ หรอื ปรากฎการณ์ทต่ี นเองหาคําตอบไมไ่ ดก้ จ็ ะกลวั เมอ่ื เกดิ ความกลวั กจ็ ะหาทพ่ี ง่ึ เช่น ปา่
ไมภ้ เู ขา อารามรกุ ขเจดยี ๖์ ๘ โดยเชอ่ื วา่ สง่ิ เหลา่ นนั้ จะป้องกนั อนั ตรายใหก้ บั ตนเองได้ กค็ อื ความเช่อื
ทเ่ี กดิ มาจากความกลวั หรอื อาการกลวั แลว้ จงึ เช่อื กนั ถอื ได้ว่าเป็นธรรมชาตขิ องมนุษยแ์ ละสตั ว์โดย
ทวั่ ๆ ไป (๒) กลวั แล้วก็เช่ือในสิ่งท่ีควรเช่อื เช่นการเข้าถึงพระรตั นตรยั คือพระพุทธพระธรรม
พระสงฆ์ การเรม่ิ ตน้ ความกลวั แลว้ เช่อื ในกรณเี ช่นน้ีพระพุทธศาสนาเหน็ ว่าเป็นการเรม่ิ ต้นของการ
สรา้ งความมนั่ ใจให้กบั มนุษยใ์ นฐานะทค่ี วามเช่อื แล้วยดึ เอาพระรตั นตรยั เป็นท่พี ง่ึ ย่อมจะก่อใหเ้ กดิ
ความมนั่ ใจและหลุดพ้นจากความกลวั เหล่านัน้ ได้ ซ่ึงความเช่ือในข้อน้ีเฉพาะในทรรศนะของ
พระพุทธศาสนาถอื ไดว้ ่าเป็นความเช่อื ทม่ี เี หตุมผี ล หรอื อาจจะสรปุ ความเช่อื ได้ ๒ ประการ อกี กค็ อื
(๑) ความเช่อื ทไ่ี มป่ ระกอบดว้ ยเหตุผลจดั เป็นความเช่อื แบบงมงาย และความเช่อื ทป่ี ระกอบไปดว้ ย
เหตุผลหรอื ปญั ญาจดั ได้ว่าเป็นความเช่ือท่ีเป็นไปตามข้อเท็จจริง๖๙ และพระพุทธศาสนาก็ได้
สนบั สนุนความเช่อื ในขอ้ ทส่ี องนนั้ คอื เช่อื อยา่ งมเี หตุผล

จากการกล่าวมานัน้ หากจะมาพจิ ารณาถงึ บ่อเกดิ ของพกี รรมเราก็จะพบว่าพธิ กี รรมนัน้ มี
บ่อเกดิ จรงิ มาจากความกลวั ในจติ ใจของมนุษยท์ พ่ี ฒั นามาเป็นความเช่อื ใน ๒ ชนิดดงั กล่าวมาและ
พธิ กี รรมทป่ี รากฏออกมาจากความเช่อื ดงั กลา่ วกจ็ ะมลี กั ษณะอยู่ ๒ ประการคอื

(๑) พธิ กี รรมทม่ี เี หตุผล

(๒) พธิ กี รรมทไ่ี มม่ เี หตุผล ส่วนจะมากจะน้อยกข็ น้ึ อย่กู บั ความเช่อื และแนวทางของแต่ละ
ศาสนาทจ่ี ะอธบิ ายแก่ศาสนิกของตน ซง่ึ กรอบแนวคดิ ในเรอ่ื งของความเช่อื และพิธกี รรมทเ่ี ป็นทม่ี า
ของศาสนาต่างๆ นนั้ เราสามารถทจ่ี ะพจิ ารณาไดจ้ ากแผนภาพน้ี๗๐

จิต เจตสิก (ปรชั ญาญาณ)
ความกลวั

๑.อารมณ์ ๑.เหตุผล
๒.ความเช่อื ๒.ปญั ญา
๓.พธิ กี รรม ๓.พธิ กี รรม
๔.เทวนิยม ๔.อเทวนยิ ม
ศาสนา

๖๘ ข.ุ ธ. (ไทย) ๒๕/๑๘๘-๑๘๙/๙๒.
๖๙ ทวี ผลสมภพ, ปรชั ญาศาสนา, (กรุงเทพมหานคร : สาํ นกั พมิ พม์ หาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง ๒๕๒๒), หน้า ๑๗๙.
๗๐ เดอื น คาํ ด,ี ศาสนศาสตร,์ (กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั พมิ พม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร,์ ๒๕๓๗), หน้า ๑๙., คณาจารย์
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , เทศกาลและพิธีกรรมพระพทุ ธศาสนา, หน้า ๕๗.

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๔๔ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

จากแผนภาพขา้ งตน้ เราจะพบวา่ พธิ กี รรมไม่ว่าจะเป็นศาสนาทางนิยมหรอื อเทวนิยมนนั้ มี
ท่มี าหรอื บ่อเกิดมาจาก จติ ทม่ี คี วามกลวั ตามสญั ชาตญาณเป็นพน้ื ฐานแต่จะมจี ุดแยกตรงทต่ี วั คํา
สอนของแต่ละศาสนาว่าจะเขา้ ไปเน้นย้าํ ในเร่อื งอะไรระหว่าง (๑) อารมณ์ และ (๒) เหตุผล ถ้าเน้น
ยา้ํ ในเรอ่ื งอารมณ์พธิ กี รรมนนั้ กจ็ ะโน้มเอยี งไปทางบชู าเซ่นสรวงสงั เวยออ้ นวอนบรรดาสง่ิ ทอ่ี ยเู่ หนือ
ธรรมชาติหรือเหนือจติ ใจของมนุษย์แต่ถ้าคอสอนใดเน้นย้ําในเร่ืองของเหตุผลหรอื สติปญั ญา
พธิ กี รรมนนั้ กจ็ ะโน้มเอยี งไปในหลกั การและความถกู ตอ้ งมเี หตุผลโดยมุ่งทจ่ี ะเป็นกรอบในการฝึกฝน
ศกั ยภาพของมนุษย์มากกว่าท่จี ะสยบยอมอํานาจของบรรดาเทพเจ้าทงั้ หลาย และเม่อื กล่าวถึง
พธิ กี รรมตามหลกั คําสอนของพระพุทธศาสนาเรากจ็ ะพบว่ามบี ่อเกดิ มาจากความมเี หตุผลตามหลกั
คําสอนของพระพุทธองค์ ซ่งึ คําสอนดงั กล่าวมุ่งท่จี ะขจดั ความกลวั ของมนุษยแ์ ละพฒั นาศกั ยภาพ
ของมนุษยใ์ หส้ ามารถพง่ึ ตนเองและเป็นอสิ ระจาการครอบงาํ ของกเิ ลส หรอื สรุปงา่ ยๆ คอื เป็นหลกั
ท่วี ่าด้วยการศกึ ษาและการพฒั นาศกั ยภาพของมนุษยน์ ัน้ เอง๗๑ ดงั นัน้ การกําหนดให้มพี ธิ กี รรม
ในทางพระพุทธศาสนาก็คอื มุ่งให้เกิดการเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเองเป็นหลกั ภายใต้กรอบของพระ
ธรรมวินัยซ่งึ เป็นกรอบแห่งการพฒั นามนุษย์ดงั กล่าวมาแล้ว ดงั นัน้ จงึ จะพบว่าพธิ กี รรมในทาง
พระพุทธศาสนานัน้ มไิ ด้เกดิ ขน้ึ มาจากความกลวั ต่ออํานาจของบรรดาเทพเจา้ ทงั้ หลาย แต่เกดิ มา
จากความมงุ่ หวงั ทจ่ี ะไวเ้ ป็นกรอบในการศกึ ษาและพฒั นางานเองตามหลกั พระธรรมวนิ ัย ซง่ึ บ่อเกดิ
ดงั กล่าวเราสามารถพจิ ารณาไดจ้ ากแผนภมู ิ ดงั น้ี

พระพทุ ธเจ้า พระธรรมวินยั
พระธรรม หลักการศึกษาและ
พระสงฆ์ พัฒนามนุษย์

ชาวพทุ ธ ปฏบิ ตั ติ ามคาสอน เพื่อม่งุ ประโยชน์ การพัฒนา
ความเช่อื ตนเองและ
สังคม

ประกอบพิธกี รรมตามคาสอน

จ า ก ก ร อ บ แ น ว คิ ด ดัง ก ล่ า ว เ ร า จ ะ พ บ ว่ า ก ร อ บ ข อ ง ก า ร เ กิ ด ข้ึน ข อ ง พิ ธี ก ร ร ม ท า ง
พระพุทธศาสนานัน้ มอี งค์ประกอบท่จี ะต้องพจิ ารณาได้เป็น ๔ ประการคอื (๑) ด้านหลกั การ คอื
หลกั พระธรรมวินัยอนั เป็นเน้ือหาของปรชั ญาคําสอนของพระพุทธศาสนา (๒) ด้านสถาบนั พระ
รตั นตรยั อนั ไดแ้ ก่ พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ ซง่ึ จดั เป็นสรณะทช่ี าวพุทธจะพงึ ยดึ เหน่ียวหรอื

๗๑ คณาจารย์ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , เทศกาลและพิธีกรรมพระพทุ ธศาสนา, หน้า ๕๘.

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๔๕ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

มศี รทั ธา๗๒ คอื เป็นสถาบนั แห่งความเช่อื ทช่ี าวพุทธจะพงึ มี (๓) ดา้ นพธิ กี รรมตามคําสอนซง่ึ เป็น
พธิ กี รรมท่มี คี วามสอดคล้องกบั หลกั พระธรรมวนิ ัย และ (๔) ด้านตวั บุคคล คอื ชาวพุทธท่เี ป็นผู้มี
ความเชอ่ื ในคาํ สอนและแนวทางปฏบิ ตั ติ ามหลกั คาํ สอนของพระพทุ ธศาสนา

ในองค์ประกอบทงั้ ๔ ประการน้ีจะเรม่ิ จากการเกดิ ขน้ึ ของพระพุทธเจา้ ท่ตี รสั รพู้ ระธรรม
และก่อตงั้ สงั คมสงฆข์ น้ึ และทรงสรุปว่าเน้ือหาของพระพุทธศาสนาทงั้ หมดกค็ อื พระธรรมวนิ ัยอนั
เป็นหลกั ดา้ นการศกึ ษาและพฒั นามนุษย์ ซ่งึ ในพระธรรมวนิ ัยนัน้ ก็จะมที งั้ (๑) แนวปฏบิ ตั ดิ า้ นคํา
สอนคอื วธิ ปี ฏบิ ตั ลิ ว้ น ๆ เพ่อื การบรรลุจดุ หมายของพระพุทธศาสนาคอื พระนิพพานไดแ้ ก่ สมถะและ
วปิ สั สนา (๒) แนวทางปฏบิ ตั ดิ า้ นขนั้ ตอนและระเบยี บการต่างๆ ทเ่ี รยี กว่าพธิ กี รรม เพ่อื มุ่งประโยชน์
จากการประกอบพธิ กี รรมคอื การใหท้ าน รกั ษาศลี และเจรญิ ภาวนาอนั เป็นหลกั สําคญั ของพระธรรม
วนิ ัยนัน้ เม่อื มนุษยม์ คี วามเช่อื ต่อสถาบนั คอื พระพุทธพระธรรมและพระสงฆแ์ ล้วกจ็ ะปฏบิ ตั ติ ามคํา
สอนดว้ ยการปฏบิ ตั ธิ รรมหรอื การประกอบพธิ อี นั เน่ืองด้วยคําสอนกจ็ ะทําใหเ้ ขา้ ถงึ เป้าหมายอนั เป็น
ผลของพุทธศาสนาคอื การพฒั นาศกั ยภาพของตนเองได้

ดงั นนั้ เราจงึ สามารถสรปุ ไดว้ า่ บ่อเกดิ ของพธิ กี รรมทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะทป่ี รากฏ
ในคมั ภรี น์ ัน้ ล้วนเป็นสงิ่ ท่มี าจากพระธรรมวนิ ัยหรอื มคี วามเก่ยี วขอ้ งกบั เร่อื ง ๒ เร่อื งคอื (๑) พระ
ธรรมคาํ สอนหลกั การทส่ี าํ คญั และ (๒) พระวนิ ัยคอื ระเบยี บขอ้ บงั คบั อนั เป็นกรอบในการฝึกฝนและ
พ ัฒ น า ม นุ ษ ย์แ ล ะ ส ัง ค ม ห รือ จ ะ ส ง บ ต า ม นั ย ข อ ง ค ว า ม เ ช่ือ ท า ง ศ า ส น า ก็จ ะ พ บ ว่ า พิธีก ร ร ม ท า ง
พระพุทธศาสนานั้นมีบ่อเกิดมาจากการปฏิบัติตามความศรัทธาท่ีมีต่อพระธรรมวินัยของ
พระพุทธศาสนานนั่ เอง

ประเภทของพิธีกรรมท่ีปรากฏในคมั ภีรพ์ ระพทุ ธศาสนา

สําหรับพิธีกรรมท่ีปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนานั้น มิได้มีเฉพาะพิธีกรรมของ
พระพุทธศาสนาอย่างเดียว เน่ืองจากว่าคัมภีร์พระพุทธศาสนานั้นถือได้ว่า เป็นเอกสาร
ประวตั ศิ าสตรป์ ระการหน่งึ ทม่ี เี น้อื หาเกย่ี วกบั สภาพบา้ นเมอื ง ศิลปวฒั นธรรมและหลกั ความเช่อื ของ
ผู้คนในอดตี ของชมพูทวปี ไว้อย่างมากมาย ดงั นัน้ จงึ จะพบว่าในคมั ภรี พ์ ระไตรปิฎกนัน้ ปรากฏมี
ขอ้ ความในหลายพระสูตรท่ไี ดก้ ล่าวถงึ พธิ กี รรมต่าง ๆ ของผูค้ นในสมยั นัน้ ไวด้ ว้ ย เช่น พธิ กี รรมท่ี
เกย่ี วกบั การบชู าไฟ บชู าพญานาค บูชายญั หรอื พธิ ลี า้ งบาป เป็นตน้ ดงั นนั้ ในการศกึ ษาในประเดน็
เก่ียวกบั ประเภทของพิธกี รรมท่ปี รากฏในคมั ภรี ์พระพุทธศาสนาจงึ สามารถแบ่งเป็นประเภทได้
ดงั ต่อไปน้ี

(ก) พธิ กี รรมของศาสนาและความเชอ่ื ทอ้ งถนิ่ ในสงั คมอนิ เดยี

(ข) พธิ กี รรมของลทั ธริ ว่ มสมยั กบั พระพทุ ธศาสนา

๗๒ ศรทั ธา ๔ คอื (๑) กรรมสทั ธา เช่อื เรอ่ื งกรรม (๒) วปิ ากสทั ธา เช่อื เร่อื งผลของกรรม (๓) กมั มสั สกตาสทั ธา เชอ่ื เรอ่ื ง
ความมกี รรมเป็นของตนเอง และ (๔) ตถาคตโพธสิ ทั ธา เชอ่ื เรอ่ื งการตรสั รขู้ องพระพทุ ธเจา้ และคาํ สอนของพระองค์ รวมถงึ เหลา่ สาวก
ผปู้ ฏบิ ตั ดิ ปี ฏบิ ตั ชิ อบ อา้ งใน องฺ.สตตก. (ไทย) ๒๓/๓๗ [เชงิ อรรถ]/๕๗., องฺ.สตฺตก.ฏกี า. (บาล)ี ๓/๓๗-๔๓/๒๐๓.

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๔๖ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๑. พิธีกรรมของศาสนาและความเชื่อท้องถ่ินในสงั คมอินเดีย สําหรบั คําว่าศาสนา

และความเช่อื ทอ้ งถน่ิ ในสงั คมอนิ เดยี นนั้ เฉพาะคาํ ว่าศาสนาหมายถงึ ศาสนาพราหมณ์ลทั ธคิ รทู งั้ ๖
และศาสนาอ่นื ๆ ทเ่ี ป็นท่เี คารพ เช่อื ถอื ของผูค้ นชาอนิ เดยี ในสมยั พุทธกาล ส่วนคําว่า ความเช่อื
ทอ้ งถนิ่ หมายถงึ พธิ กี รรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ความเช่อื ขอ้ บงั คบั และจารตี ของผคู้ นในทอ้ งถนิ่ ของอนิ เดยี
ในสมยั พุทธกาล เช่นพธิ รี าชาภเิ ษก พธิ แี รกนาขวญั เป็นต้น ซง่ึ ในแต่ละทอ้ งถนิ่ ก็จะมพี ธิ กี รรมท่ี
แตกต่างกัน ดงั นัน้ การศึกษาในประเด็นเร่อื งพิธกี รรมของศาสนาและความเช่อื ท้องถ่ินในสงั คม
อนิ เดยี ทป่ี รากฏคมั ภรี พ์ ระพุทธศาสนากจ็ ะแบง่ การศกึ ษาพธิ กี รรมตามแนวทางของศาสนาและความ
เชอ่ื ทอ้ งถนิ่ ดงั น้ี

(ก) พิธีกรรมของศาสนาพราหมณ์ สําหรบั พธิ กี รรมของศาสนาพราหมณ์ท่ปี รากฏใน

คมั ภรี น์ นั้ มอี ยเู่ ป็นจาํ นวนมาก เชน่ พธิ บี ชู าไฟ พธิ เี บกิ แวน่ เทยี น พธิ ขี ดั แกลบบชู าไฟ พธิ ซี ดั ขา้ วสาร
บูชาไฟ พธิ เี ตมิ เนยบูชาไฟ พธิ เี ตมิ น้ํามนั บูชาไฟ พธิ พี ่นเคร่อื งเซ่นบูชาไฟ พธิ พี ลกี รรมดว้ ยเลอื ด
พธิ สี าธยายมนตไ์ ล่ผี พเี ขา้ ทรง พธิ บี วงสรวงดวงอาทติ ย์ และทา้ วมหาพรหม พธิ เี รยี กขวญั พธิ บี น
บาน พิธีแก้บน พิธีตัง้ ศาลพระภูมิ พิธีปลูกเรือน บวงสรวงเจ้าท่ี๗๓ เป็นต้น ซ่ึงพิธีการเหล่าน้ี
พระพุทธศาสนาถอื ว่าเป็นเดรจั ฉานวชิ า คอื เป็นวชิ าทข่ี วางทางดําเนินไปสู่พระนิพพาน อย่างไรก็
ตามจากขอ้ มลู ดงั กล่าวแสดงใหเ้ หน็ วา่ ในสมยั พุทธกาลนนั้ ศาสนาพราหมณ์ไดเ้ น้นยา้ํ มากในเรอ่ื งของ
การประกอบพธิ ตี ่างๆ ตามความเช่อื อยา่ งไรกต็ ามเพ่อื ใหเ้ หน็ ถงึ การประกอบอพธิ กี รรมของศาสนา
พราหมณ์ทป่ี รากฏในคมั ภรี พ์ ระพุทธศาสนามากล่าวพอเป็นกรณีศกึ ษาว่าแทจ้ รงิ แล้วการประกอบ
พธิ กี รรมของศาสนาพราหมณ์ในแต่ละพธิ นี นั้ มเี น้อื หาสาระอยา่ งไรซง่ึ พธิ กี รรมดงั กล่าวนนั้ มดี งั น้ี

(ข) พิธีบูชายญั สําหรบั พธิ กี ารบูชายญั น้ีถอื ได้ว่าเป็นพธิ กี รรมท่มี มี าแต่ดงั้ เดมิ ของชาว

อรยิ กะหรอื อารยนั ทผ่ี สมผสานกบั ความเช่อื ของชาวมลิ กั ขะเดมิ แห่งลุ่มแมน่ ้ําสนิ ธุซง่ึ ต่อมาไดพฒั นา
ความเชอ่ื มาเป็นศาสนาพราหมณ์โดยการบชู ายญั นนั้ มจี ดุ กาํ เนดิ มาจากความคดิ เรอ่ื งการบชู าดนิ น้ํา
ลม ไฟ โดยเฉพาะการบชู าไฟนนั้ ถอื ไดว้ ่าเป็นจดุ กาํ เนดิ ของการบชู ายญั โดยยคุ แรก เป็นการบูชาคอื
จดุ ไฟใหค้ วนั ลอยขน้ึ ไปหาพระเจา้ บนสรวงสรรค๗์ ๔ แต่ต่อมากไ็ ดป้ รบั เปลย่ี นมาเป็นการนําอาหารไป
วางเพ่อื เป็นเครอ่ื งบชู าและต่อมาพวกอารยนั กไ็ ดท้ าํ การแบ่งวรรณะออกเป็น ๔ โดยใหพ้ ราหมณ์เป็น
ผู้ทําหน้าทใ่ี นการประกอบพธิ กี รรม จงึ เป็นเหตุทําให้การบูชายญั เดมิ ท่เี ป็นเร่อื งท่ีง่าย ได้กลายมา
เป็นเรอ่ื งทม่ี ขี นั้ ตอนและเน้อื หาเพม่ิ เตมิ ขน้ึ มากโดยพราหมณ์ไดเ้ พมิ่ บทสวดสรรเสรญิ เรยี กว่าฤคเวท
โดยในระยะน้ีพราหมณ์ไดเ้ พม่ิ แนวคดิ เร่อื งปุรุษะ หรอื วญิ ญาณอมตะของพระเจา้ ซง่ึ ในระยะน้ีได้มี
การตคึ วามปุรษะ โดยการนําไปพฒั นาเป็นการบูชาโดยใช้มนุษย์เป็นเคร่ืองบูชายญั และในระยะ
ต่อมาไม่ว่าจะเป็นสมยั พระเวทสมยั พราหมณ์กต็ ามความนิยมในการบูชายญั กย็ งั คงทํากนั อยอู่ ย่าง
ต่อเน่ืองโดยเฉพาะในสมยั พราหมณ์นัน้ เน้นหนักในเร่อื งการบูชายญั ด้วยสง่ิ มชี วี ติ ววั มา้ แพ แกะ

๗๓ ท.ี ส.ี (ไทย) ๙/๑๕/๘-๙, ๑๕/๙.
๗๔ พระอุดรคณาธกิ าร (ชวี นิ ทร์ สระคาํ ), ประวตั ิศาสตรพ์ ทุ ธศาสนาในอินเดีย, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาจุฬา
ลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๘), หน้า ๑๑.

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๔๗ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

และมนุษยโ์ ดยการนําเอาเลอื ดของสตั วเ์ หล่านนั้ ใส่ในกองไฟเพราะเช่ือว่าไฟคอื ตวั แทนของเทพเจา้
และเม่อื ควนั ไฟลอยขน้ึ ก็แสดงว่า เทพเจา้ ยอมรบั และโปรดปรานแลว้ ๗๕ สาเหตุท่ใี ช้มนุษยบ์ ูชาก็
เพราะพราหมณ์เหน็ ว่าการบูชาด้วยสง่ิ ทเ่ี ป็นท่รี กั ท่สี ุดของมนุษย์ (คอื ชวี ติ ) ย่อมเป็นท่โี ปรดปราน
ของพระเจา้ มากกว่าสงิ่ อ่นื ๗๖ ซง่ึ กท็ ําใหเ้ กดิ พธิ บี ชู ายญั ทเ่ี รยี กว่าบุรษุ เมธ คอื การฆ่ามนุษยบ์ ชู ายญั
อยา่ งไรกต็ ามพอถงึ ยคุ อุปนิษทั การบชู ายญั โดยวธิ กี ารทโ่ี หดรา้ ยเช่นน้ีกถ็ ูกปรบั เปลย่ี นเพราะในยุคน้ี
เหน็ วา่ การบชู ายญั มใิ ช่ทางทจ่ี ะพฒั นาไปส่คู วามสําเรจ็ สูงสุดทางศาสนาได้ จงึ หนั มาทําการบูชาดว้ ย
สงิ่ ของและใหผ้ ุม้ งุ่ ส่โู มกษะไดป้ ฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเองคอื การทรมานตนเองมากกวา่

สําหรับการบูชายัญ หรือพิธีบูชายัญน้ีก็ได้ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนาทัง้ ใน
พระไตรปิฎกและอรรถกถา โดยการบูชายญั ในคมั ภรี พ์ ระพุทธศาสนานัน้ มอี ยู่ ๓ ลกั ษณะคอื (๑)
การบชู ายญั ดว้ ยสงิ่ มชี วี ติ เช่น แพะ แกะ ววั ไก (๒) การบูชาดว้ ยวตั ถุธรรมดา เช่น เนยใส เนยขน้
น้ํามนั น้ําผ้งึ น้ําอ้อย และ (๓) การบูชาดว้ ยไฟ๗๗ แต่จะพบมากก็คอื การบูชาดว้ ยสงิ่ มชี วี ติ คอื ววั
แพะ แกะ ดว้ ยการเผาไฟบูชาต่อเทพเจา้ โดยตวั อย่างของการบูชายญั แบบน้ีโดยมากจะปรากฏใน
พระสตู รเชน่ ใน ปายาสริ าชญั ญสูตร ทพ่ี ระกุมากสั สปากระ ไดอ้ ธบิ ายเรอ่ื งการบชู ายญั แก่พระเจา้ ปา
ยาสกิ ว่า การบูชายญั ด้วยสงิ่ มชี วี ิตนัน้ หาใช่สง่ิ ท่ปี ระเสรฐิ แต่อย่างใดซ้ําเป็นเร่อื งท่กี ่อให้เกดิ โทษ
มากกวา่ ดงั ขอ้ ความทป่ี รากฏในทฆี นกิ าย มหาวรรควา่

ทา่ นพระกุมารกสั สปะถวายพระพรว่า ‚บพติ ร ยญั ทม่ี กี ารฆา่ โค ๑ ยญั ทม่ี กี ารฆา่ แพะ แกะ
๑ ยญั ทม่ี กี ารฆ่าไก่ สุกร ๑ ยญั ทท่ี าํ ใหส้ ตั วต์ ่างๆ ไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ น ๑ และผรู้ บั (ยญั ) กเ็ ป็นผมู้ ี
มจิ ฉาทฏิ ฐิ มมี จิ ฉาสงั กปั ปะ มมี จิ ฉาวาจา มมี จิ ฉากมั มนั ตะ มมี จิ ฉาอาชวี ะ มมี จิ ฉาสติ มมี จิ ฉา
สมาธิ เช่นน้ี ไม่มผี ลมาก ไม่มอี านิสงสม์ าก ไมม่ คี วามเจรญิ รุ่งเรอื งมาก ไมม่ คี วามแพรห่ ลายมาก
เปรยี บเหมอื นชาวนาถอื เมลด็ พชื และไถไปป่าแลว้ หว่านเมลด็ พชื ทห่ี กั เน่า ถูกลมแดดแผดเผาแลว้
ลบี ยงั ไม่สุกดลี งในนาไร่ทไ่ี มด่ ี มพี น้ื ทไ่ี ม่เหมาะ ไม่แผว้ ถางตอและหนามใหห้ มดไป ทงั้ ฝนกไ็ มต่ ก
ตามฤดกู าล เมลด็ พชื เหล่านนั้ จะเจรญิ งอกงามไพบลู ยห์ รอื ชาวนาจะไดร้ บั ผลอนั ไพบลู ยห์ รอื ”

เจา้ ปายาสติ รสั ตอบว่า ‚ไมเ่ ป็นอยา่ งนนั้ เลย ท่านกสั สปะ‛

ท่านพระกุมารกัสสปะถวายพระพรว่า ‚บพิตร ยัญท่ีมีการฆ่าโค ๑ ยัญท่ี
มกี ารฆา่ แพะ แกะ ๑ ยญั ทม่ี กี ารฆ่าไก่ สุกร ๑ ยญั ท่ที าํ ใหส้ ตั ว์ต่างๆ ไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ น ๑ และ
ผรู้ บั (ยญั )กเ็ ป็นผมู้ มี จิ ฉาทฏิ ฐิ มมี จิ ฉาสงั กปั ปะ มมี จิ ฉาวาจา มมี จิ ฉากมั มนั ตะ มมี จิ ฉาอาชวี ะ มมี จิ ฉา
วายามะ มมี จิ ฉาสติ มมี จิ ฉาสมาธเิ ช่นน้ีย่อมไมม่ ผี ลมาก ไม่มอี านิสงสม์ าก ไมม่ คี วามเจรญิ รุ่งเรอื ง
มากไม่มคี วามแพร่หลายมาก‛ ส่วนยญั ทไ่ี ม่มกี ารฆ่าโค ๑ ยญั ทไ่ี ม่มกี ารฆา่ แพะ แกะ ๑ ยญั ทไ่ี ม่มี
การฆา่ ไก่สุกร ๑ ยญั ทไ่ี มท่ าํ ใหส้ ตั วต์ ่างๆ ไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ น ๑ และผรู้ บั กเ็ ป็นผมู้ ี สมั มาทฏิ ฐิ มี

๗๕ ดนัย ไชยโยธา, ลทั ธิศาสนา และระบบความเชื่อกบั ประเพณีนิ ยมท้องถ่ิน, (กรุงเทพมหานคร : โอเดยี น
สโตร,์ ๒๕๔๑), หน้า ๕.

๗๖ พระอุดรคณาธกิ าร (ชรนิ ทร์ สระคาํ ), ประวตั ิศาสตรพ์ ระพทุ ธศาสนา, หน้า ๓๑.
๗๗ คณาจารย์ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , เทศกาลและพิธีกรรมพระพทุ ธศาสนา, หน้า ๖๒.

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๔๘ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

สมั มาสงั กปั ปะ มสี มั มาวาจา มสี มั มากมั มนั ตะ มสี มั มาอาชวี ะมสี มั มาวายามะ มสี มั มาสติ มี
สมั มาสมาธเิ ช่นน้ีย่อมมผี ลมาก มอี านิสงส์มากมคี วามเจรญิ รุ่งเรอื งมาก มคี วามแพร่หลายมาก
เปรยี บเหมอื นชาวนาถอื เมลด็ พชื และไถไปปา่ แลว้ หว่านเมลด็ พชื ทไ่ี มห่ กั ไมเ่ น่า ไม่ถูกลมแดดแผด
เผา มเี มลด็ สกุ ดลี งในนาไรท่ ด่ี มี พี น้ื ทเ่ี หมาะ แผว้ ถางตอและหนามใหห้ มดไป ทงั้ ฝนกต็ กตามฤดกู าล
พชื เหล่านนั้ จะเจรญิ งอกงามไพบลู ย์ หรอื ชาวนาจะไดร้ บั ผลอนั ไพบลู ยห์ รอื ‛

เจา้ ปายาสติ รสั ตอบว่า ‚เป็นอย่างนนั้ ท่านกสั สปะ‛ ท่านพระกุมารกสั สปะถวายพระพรว่า
‚ยญั ทไ่ี ม่มกี ารฆ่าโค ๑ ยญั ทไ่ี ม่มกี ารฆา่ แพะ แกะ ๑ ยญั ทไ่ี ม่มกี ารฆ่าไก่ สุกร ๑ ยญั ทไ่ี ม่ทาํ ใหส้ ตั ว์
ต่าง ๆ ได้รบั ความเดอื นร้อน ๑ และผู้รบั ก็เป็นผู้มสี มั มาทฏิ ฐิ มีสมั มาสงั กปั ปะ มสี มั มาวาจามี
สมั มากมั มนั ตะ มสี มั มาอาชวี ะ มสี มั มาวายามะ มสี มั มาสติ มสี มั มาสมาธเิ ช่นน้ี ย่อมมผี ลมาก มี
อานสิ งสม์ าก มคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งมากมคี วามแพรห่ ลายมาก‛๗๘

นอกจากนนั้ แลว้ ในโกสลสงั ยตุ กม็ ี การบชู ายญั ดว้ ยสตั วป์ ระเภทน้ีเช่นเดยี วกนั ในกรณีของ
พระเจ้าปเสนทโิ กศลทางพระสุบนิ แล้ว ทรงไม่สบายพระทยั จงึ ได้ไปปรกึ ษาพราหมณ์ปุโรหติ ซ่งึ
พราหมณ์ก็ได้เสนอแนะว่าควรจดั พธิ บี ูชายญั เสยี พระเป็นเจา้ จงึ จะพอใจ ซง่ึ พราหมณ์ได้เสนอให้
พระองคบ์ ชู ายญั ดว้ ยแพะแกะสุกรอยา่ งละ ๕๐๐ ตวั ๗๙

นอกจากนัน้ ในบางชาดกยงั ได้กล่าวถงึ การบูชายญั ด้วยการฆ่ามนุษย์ดงั ปรากฏในจนั ท
กุมารชาดก ความบางตอนทว่ี ่า ‚พวกท่าน จงตงั้ ยญั ทุกอยา่ งไว้ เมอ่ื ดวงอาทติ ยข์ น้ึ เราจกั บูชายญั
พวกเจา้ จงไปทลู พระกุมาร ณ บดั น้ี วนั น้แี หละ เป็นคนื สุดทา้ ย”

(พระศาสดาเม่อื จะทรงประกาศเน้ือความนัน้ จงึ ตรสั ว่า) “พระมารดา เสดจ็ มาจากพระ
ตําหนักทรงกนั แสงพลางตรสั ถามพระเจา้ เอกราชน้ีนัน้ ว่า ‚ลูกรกั ได้ยนิ ว่า พ่อจกั บูชายญั ด้วย
พระโอรสทงั้ ๔ หรอื ‛

(พระราชากราบทลู ว่า) ‚เมอ่ื จะต้องฆ่าจนั ทกุมาร บุตรแมท้ ุกคน หมอ่ มฉนั กส็ ละได้ หม่อม
ฉนั บชู ายญั ดว้ ยบตุ รทงั้ หลายแลว้ จกั ไปส่สู คุ ตโิ ลกสวรรค์‛๘๐

(พระราชมารดาตรสั ว่า) ‚ลูกเอ๋ย พ่ออยา่ เช่อื คํานนั้ ทว่ี ่า ‚สุคตจิ ะมไี ดเ้ พราะใชบ้ ุตรบูชายญั
เพราะวา่ นนั้ เป็นทางไปนรก ไมใ่ ชท่ างไปสวรรค‛์

‚ลูกโกณฑญั ญะ เอ๋ย พ่อจงใหท้ าน อยา่ ไดเ้ บยี ดเบยี นสตั วท์ งั้ ปวง น้ีเป็นทางไปส่สู ุคตแิ ละ
ทางไปสสู่ คุ ตมิ ใิ ช่ เพราะใชบ้ ุตรบชู ายญั ‛

(พระราชากราบทลู ว่า) คําของอาจารยท์ งั้ หลายมวี ่า ‚หม่อมฉันจกั ฆ่าทงั้ จนั ทกุมาร และสุ
รยิ กุมารหมอ่ มฉนั บชู ายญั ดว้ ยบตุ รทงั้ หลายทส่ี ละไดย้ ากแลว้ จกั ไปส่สู ุคตโิ ลกสวรรค์‛

๗๘ ท.ี ส.ี (ไทย) ๑๐/๔๓๘/๓๖๘-๓๖๙.
๗๙ ส.ํ ส. (ไทย) ๑๕/๑๒๐/๑๓๘-๑๓๙
๘๐ ข.ุ ชา. (ไทย) ๒๘/๙๙๗-๑๐๐๘/๓๓๘-๓๓๙.

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๔๙ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

(พระศาสดาเมอ่ื จะทรงประกาศเน้อื ความนนั้ จงึ ตรสั ว่า) แมแ้ ต่พระเจา้ วสวตั ดพี ระราชบดิ า
ไดต้ รสั ถามพระราชโอรสของพระองคน์ นั้ ว่า ‚ลกู รกั ไดย้ นิ วา่ พอ่ จกั บชู ายญั ดว้ ยโอรสทงั้ ๔ หรอื ‛

พระราชากราบทูลว่า เมอ่ื จะตอ้ งฆ่าจนั ทกุมาร บุตรแมท้ ุกคนหม่อมฉันกส็ ละไดห้ มอ่ มฉัน
บชู ายญั ดว้ ยบุตรทงั้ หลายแลว้ จกั ไปส่สู คุ ตโิ ลกสวรรค์

(พระราชบดิ าตรสั ว่า) ลูกเอ๋ย พ่ออย่าเช่อื คํานัน้ ท่วี ่า ‚สุคตจิ ะมไี ด้เพราะใช้บุตรบูชายญั
เพราะว่า นนั้ เป็นทางไปนรก มใิ ช่ทางไปสสู่ วรรค์

ลกู โกณฑญั ญะเอ๋ย พ่อจงใหท้ าน อย่าไดเ้ บยี ดเบยี นสตั วท์ งั้ ปวง น้ีเป็นทางไปส่สู ุคตแิ ละ
ทางไปสสู่ ุคตมิ ใิ ช่เพราะใชบ้ ุตรบชู ายญั

(พระราชากราบทูลว่า) คาํ ของอาจารยท์ งั้ หลายมวี ่า ‚หมอ่ มฉันจกั ฆ่าทงั้ จนั ทกุมาร และสุ
รยิ กุมารหมอ่ มฉนั บชู ายญั ดว้ ยบุตรทงั้ หลายทส่ี ละไดย้ ากแลว้ จกั ไปส่สู คุ ตโิ ลกสวรรค์‛

(พระราชบดิ าตรสั ว่า) ลกู โกณฑญั ญะ เอ๋ย พ่อจงใหท้ าน อย่าไดเ้ บยี ดเบยี นสตั วท์ งั้ ปวงพ่อ
จงเป็นผมู้ บี ุตรหอ้ มลอ้ มรกั ษารฐั และชนบทเถดิ ”

ฯลฯ

“ไฉนหนอ เราพงึ เกดิ ในตระกูลช่างรถ ตระกลู ปกุ กุสะ หรอื ในตระกูลพอ่ คา้ พระราชากไ็ มพ่ งึ
รบั สงั่ ใหฆ้ า่ เราในการบชู ายญั วนั น้ี”๘๑

จากขอ้ ความดงั กล่าวแสดงให้เหน็ ว่า ในสมยั พุทธกาลหรอื สมยั ก่อนพุทธกาลนัน้ ศาสนา
พราหมณ์ไดม้ กี ารประกอบพธิ บี ูชายญั กนั อยา่ งแพรห่ ลายโดยนิยมการบชู ายญั ดว้ ยสง่ิ มชี ีวติ คอื สตั ว์
ทวั่ ไปและมนุษย์ท่เี ป็นบุตรชายบุตรสาวท่ตี นเองรกั มากท่สี ุด ทงั้ น้ีเพ่อื หวงั ความพงึ พอใจให้เกิด
ขน้ึ กบั เทพเจา้ ทงั้ หลายมากทส่ี ดุ นนั้ เอง

(ค) พิธีล้างบาป สําหรบั พธิ นี ้ีเป็นพธิ หี น่ึงทเ่ี ก่ยี วกบั ความเช่อื ดงั้ เดมิ ของชาวมลิ กั ขะ หรื
อดราวเิ ดยี นแห่งลุ่มแม่น้ําสนิ ธุท่มี คี วามเช่อื และบูชาธาตุทงั้ ๔ คอื ปฐวธี าตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ
วาโยธาตุ๘๒ การลา้ งบาปเป็นกรรมวธิ ที ใ่ี ชอ้ าโปธาตุ คอื ธาตุน้ําหรอื พธิ กี รรมเกย่ี วกบั การใชน้ ้ํา

ศาสนาพราหมณ์หรอื ฮนิ ดู เป็นอีกศาสนาหน่ึงท่มี คี วามเช่ือเร่อื งการล้างบาปมาอย่าง
ยาวนาน ในฐานะทเ่ี ป็นศาสนาทเ่ี ก่าแก่มากทส่ี ุดในโลกศาสนาหน่ึง มอี ายุกว่า ๔,๐๐๐ ปี ศาสนาน้ีมี
ววิ ฒั นาการอนั ยาวนานผ่านขนั้ ตอนทางประวตั ิศาสตร์มาหลายขนั้ ตอน ตงั้ แต่โบราณกาลจนถึง
ปจั จบุ นั

ศาสนาพราหมณ์เป็นศาสนาประเภทพหุเทวนิยมนับถือพระเจ้าหลายองค์ ศาสนา
พราหมณ์-ฮนิ ดู ดงั้ เดมิ เป็นเอกเทวนิยม คอื นับถอื พระพรหมองค์เดยี วเท่านัน้ ต่อมามวี วิ ฒั นาการ
กลายเป็นศาสนาประเภทพหุเทวนิยม นับถอื เทพเจา้ มากมาย แต่เทพผู้เป็นใหญ่มี ๓ องค์ คอื พระ

๘๑ ข.ุ ชา. (ไทย) ๒๘/๑๐๔๑/๓๔๕.
๘๒ Charless S.Preblish and Damien Keown, Introducing to Buddhism, (New York : Routledge, 2006), pp. 1-7.

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๕๐ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

พรหม ผสู้ รา้ งโลก พระศวิ ะ ผทู้ าํ ลาย พระวษิ ณุ ผรู้ กั ษาสงิ่ ต่างๆ ใหเ้ ป็นปกติ เทพทงั้ ๓ องคร์ วมกนั
เรยี กว่า ตรีมรู ติ

ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เป็นศาสนาเดียวกัน โดยศาสนาฮินดูพัฒนามาจากศาสนา
พราหมณ์และเกดิ ในยคุ พระเวท พวกอารยนั ซง่ึ เป็นพวกผวิ ขาวไดเ้ ดนิ ทางมาจากตอนใตข้ องรสั เซยี
เขา้ มาขบั ไล่พวกดราวเิ ดยี นซ่งึ เป็นพวกผวิ ดํา และเป็นชนพน้ื เมอื งเดมิ ของพวกอนิ เดยี พวกดราวิ
เดยี นบางพวกหนีไปอยู่ ศรลี งั กาและไปเป็นชนพน้ื เมอื งเดมิ ของประเทศศรลี งั กา บางพวกไดส้ บื เชอ้ื
สายผสมผสานเผ่าพนั ธุ์กบั พวกอารยนั กลายเป็นคนอนิ เดยี ในปจั จบุ นั คนอารยนั นบั ถอื พระอาทติ ย์
สว่ นพวกชนพน้ื เมอื งเดมิ นบั ถอื ไฟ พวกอารยนั เหน็ ว่าความเช่อื ของตนเขา้ กนั ไดก้ บั พวกดราวเิ ดยี น
จงึ ไดเ้ ผยแพร่ความเช่อื ของตนโดยชใ้ี หเ้ หน็ ว่าดวงไฟทย่ี ง่ิ ใหญ่นนั้ คอื ดวงอาทติ ย์ จงึ ควรนับถอื พระ
อาทติ ย์ซ่งึ เป็นท่มี าของไฟทงั้ ปวงในโลกมนุษย์ ทําให้แนวความคดิ ของชนพ้นื เมอื งเดมิ กับพวก
อารยนั ผสมผสานเขา้ ดว้ ยกนั จนเกดิ เป็น

ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดูมคี วามเช่อื ว่า บาปสามารถล้างได้เช่นเดยี วกบั
ศาสนาครสิ ต์ แต่มพี ธิ กี รรมทางศาสนาท่แี ตกต่างกนั ซง่ึ ขนั้ ตอนพธิ กี รรมโดยละเอยี ดนัน้ ไม่ค่อยมี
ปรากฏมากนกั ทราบเพยี งว่า ศาสนิกของศาสนาพราหมณ์ในสมยั ก่อน ถอื ว่าการไดล้ งอาบน้ําชาํ ระ
กายในแม่น้ําคงคามหานที เป็นการชาํ ระมลทนิ ก่อใหเ้ กดิ ความบรสิ ุทธิ ์ เพราะถอื ว่าแมน่ ้ําคงคาเป็น
แม่น้ําศกั ดสิ ์ ทิ ธทิ ์ ไ่ี หลมาจากพระโอษฐข์ องพระพรหมหรอื พระศวิ ะท่สี ถิตอย่บู นเขาไกรลาส แมค้ น
ใกล้ตาย ก็จะถูกหามมายงั รมิ ฝงั่ แม่น้ําคงคา เพ่อื ลอยองั คารเม่อื ศพถูกเผาแลว้ ถอื ว่าเป็นการลา้ ง
บาปครงั้ สุดทา้ ย แมป้ จั จบุ นั น้ีพธิ กี รรมการลา้ งบาปในทํานองทก่ี ล่าวมาแลว้ ยงั คงปรากฏอย่มู ากใน
ประเทศอินเดยี เป็นพธิ กี รรมท่ยี ง่ิ ใหญ่ศกั ดสิ ์ ทิ ธิข์ องชาวฮนิ ดู มผี ู้คน นับแสนคนไปรวมกนั ยงั ฝงั่
แมน่ ้ําคงคา เพอ่ื ประกอบพธิ ลี า้ งบาปตามความเช่อื ของตน

ดงั นนั้ การลา้ งบาปจงึ เป็นกรรมวธิ ที ่เี กย่ี วกบั น้ํา โดยพราหมณ์หรอื ผูน้ ับถอื พระเวทเช่อื ว่า
น้ําทไ่ี หลมาจากแหล่งศกั ดสิ ์ ทิ ธสิ ์ ามารถลา้ งบาปทต่ี นเองกระทาํ ไดซ้ ่งึ มตี ้นน้ําอยทู่ ่ภี ูเขาหมิ าลยั พธิ ี
ดงั จะกระทาํ ในแมน่ ้ําสายสาํ คญั เชน่ แมน่ ้ําคงคา แมน่ ้ําคยา แมน่ ้ําเนรญั ชรา แม่น้ํายมุนา เป็นต้น
ความเช่อื และการประกอบพธิ กี ารล้างบาปนัน้ สามารถท่จี ะพจิ ารณาได้จากกรณีการล้างบาปของ
พระคยากสั สปเถระ ผเู้ คยเป็นฤาษบี าํ เพญ็ ตะบะและประกอบพธิ ลี า้ งบาปทแ่ี มน่ ้ําคงคา โดยพธิ กี รรม
ดงั กลา่ วจะมขี นั้ ตอนการทาํ และมชี ว่ งเวลาทจ่ี าํ เพาะ ซง่ึ ปรากฏในภาษติ ของพระคยากสั สปเถระ วา่

“เรานนั้ ไดล้ งน้า (ลอยบาป) ในแม่น้าคยา ในวนั เพญ็ เดอื น ๔ วนั หนึง่ ๓ เวลาคอื เวลาเช้า
เวลาเทยี่ ง เวลาเยน็ ” โดยเขา้ ใจเอาว่า

‚เราไดเ้ สวยบาปกรรม ทเี่ ราทาไวใ้ นชาตอิ นื่ ๆ แต่ปางก่อน บดั น้ี เราจะลอยบาปนนั้ เสยี ตรง
น้ี เราไดม้ คี วามเหน็ อยา่ งน้มี าแต่เดมิ ”

“เรานัน้ ครนั้ ฟงั พระวาจาสุภาษิตอนั เป็นบททปี่ ระกอบด้วยเหตุผลแลว้ ก็ได้พจิ ารณาเห็น
เน้อื ความตามความเป็นจรงิ ไดอ้ ยา่ งถ่องแท้ โดยแยบคาย‛

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๕๑ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

‚ลา้ งบาปไดห้ มดแลว้ เป็นผไู้ มม่ มี ลทนิ หมดจดสะอาด บรสิ ุทธเิ์ ป็นทายาทของพระพุทธเจา้
เป็นบตุ รพุทธโอรส”

‚เรากา้ วลงส่กู ระแสน้าคอื มรรคอนั มอี งค์ ๘ ลอยบาปไดห้ มดแลว้ จงึ บรรลุวชิ ชา ๓ไดท้ าตาม
คาสงั่ สอนของพระพทุ ธเจา้ แลว้ ”๘๓

ความเชื่อเรื่องการล้างบาปในแม่น้าศกั ด์ิสิทธ์ิ

พวกพราหมณ์นิยมเช่อื ถอื เรอ่ื งการอาบน้ําลา้ งบาป โดยเช่อื ว่าแมน่ ้ําคงคาโดยเฉพาะทท่ี ่า
เมอื งพาราณสนี นั้ ศกั ดสิ ์ ทิ ธมิ ์ าก สามารถลา้ งบาปได้ พวกพราหมณ์ จงึ พากนั ลงอาบน้ําลา้ งบาปอย่าง
น้อยวนั ละ ๒ ครงั้ คอื เช้าและเย็น ถอื ว่าบาปทท่ี ําตอนกลางวนั ลา้ งด้วยการลงอาบน้ําในตอนเยน็
ส่วนบาปทท่ี ําตอนกลางคนื กล็ า้ งไดด้ ้วยการลงอาบน้ําในตอนเช้า ทเ่ี ช่อื กนั ว่ากระแสน้ําในแม่น้ําคง
คาศกั ดสิ ์ ทิ ธนิ ์ นั้ เพราะเชอ่ื ว่าไดไ้ หลผ่านเศยี รของพระศวิ ะลงมาท่าน้ําแห่งแม่น้ําคงคาทเ่ี มอื งพาราณ
สี จงึ เป็นบณุ ยสถานของชาวอนิ เดยี ทงั้ ปวงในสมยั นนั้

ปจั จุบนั น้ีกย็ งั เช่อื ถอื กนั อย่แู ละยงั เช่อื ต่อไปอกี ว่า ใครกต็ ามทต่ี ายและได้เผาทท่ี ่าน้ําเมอื ง
พาราณสแี ลว้ กวาดกระดกู ลงแมน่ ้ําคงคากเ็ ป็นอนั เชอ่ื ไดว้ ่าตอ้ งไปสวรรคแ์ น่นอน พวกเศรษฐนี ิยมมา
ปลูกบ้านท้งิ ไว้ท่รี มิ ฝงั่ แม่น้ําคงคา เม่อื ป่วยหนักคดิ ว่าจะไม่รอดแล้วพวกญาตกิ จ็ ะนํามาท่บี ้านรมิ
แมน่ ้ํา พอตายกจ็ ะไดส้ ะดวกในการเผาทร่ี มิ แมน่ ้ําและกวาดกระดกู ลงแมน่ ้ําไป

จากเน้ือหาดงั กล่าวใหแ้ สดงให้เหน็ ว่า การประกอบพธิ กี ารล้างบาปนนั้ ตามแนวพราหมณ์
นนั้ จะตอ้ งคอื ฤกษ์ยามประกอบ คอื เจาะจงวนั เพญ็ เดอื น ๔ การกระทาํ ต้องทาํ ครบ ๓ เวลา ซง่ึ เดอื น
๔ ในประเทศอนิ เดยี อยใู่ นช่วงฤดหู นาว แสดงใหเ้ หน็ วา่ การลา้ งบาปจะตอ้ งทดสอบความอดทนของผู้
ประกอบพธิ ดี ว้ ย ทงั้ น้เี พราะน้ํามคี วามเยน็ เป็นพเิ ศษ

เมอ่ื พระพุทธเจา้ ตรสั รแู้ ลว้ พระองคเ์ คยทรงสนทนากบั พวกพราหมณ์ผไู้ ปอาบน้ําในแมน่ ้ํา
คงคาเพ่อื ลา้ งบาปเป็นใจความวา่ “ถา้ ตอ้ งการลา้ งบาปไมจ่ าเป็นตอ้ งไปอาบน้าในแมน่ ้าคงคา ขอให้
ชาระกาย วาจา ใจใหบ้ รสิ ุทธิ์ คอื เว้นทุจรติ ทางกาย วาจา ใจ และประพฤตสิ ุจรติ ทางกาย วาจา ใจ
นนั่ แหละคอื การอาบน้าลา้ งบาปมใี นศาสนาของพระองค์ ถ้าประพฤตอิ ยใู่ นสุจรติ แลว้ แมน้ ้าดมื่ น้า
อาบ ธรรมดากจ็ ะกลายเป็นน้าศกั ดสิ์ ทิ ธไ์ิ ปดว้ ย อนงึ่ ถา้ น้าในแมน่ ้าคงคาสามารถลา้ งบาปไดจ้ รงิ และ
อานวยผลใหผ้ ู้ลงไปอาบไปสวรรคไ์ ดจ้ รงิ แลว้ พวก กุ้ง หอย ปู ปลา กม็ โี อกาสไปสวรรคไ์ ด้มากกว่า
มนุษยเ์ พราะอาศยั อยใู่ นแมน่ ้านนั้ ตลอดเวลา‛

การล้างบาปในพระพุทธศาสนาหมายถงึ การกําจัดกิเลสอาสวะอนั เป็นเหตุแห่งการทํา
ความชวั่ ให้หมดสน้ิ ไป มผี ลทําให้คุณภาพใจสูงขน้ึ มกี าย วาจา ใจสะอาดบรสิ ุทธิ ์ จนกระทงั่ หมด
กเิ ลส ซ่งึ ความหมายทก่ี ล่าวสรุปมาน้ี มคี วามหมายเทยี บเคยี งกบั คําว่า ผู้ล้างบาป ท่มี กี ล่าวไว้ใน
ทุตยิ โสเจยยสตู ร วา่

๘๓ ข.ุ ว.ิ (ไทย) ๒๖/๓๔๕-๓๔๙/๓๙๗-๓๙๘.

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๕๒ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

‚ภกิ ษุทงั้ หลาย โสไจยยะ คือความสะอาด ๓ ประการน้ีแล เป็นผูม้ กี ายสะอาด มวี าจา
สะอาด มใี จสะอาด ไมม่ อี าสวะ เป็นผสู้ ะอาด ถงึ พรอ้ มดว้ ยความสะอาด บณั ฑติ ทงั้ หลายเรยี กว่า
เป็นผลู้ า้ งบาปไดแ้ ลว้ ”๘๔

จากพระสูตรน้ีสามารถสรุปได้ว่า ผู้ล้างบาป หมายถึงผู้ท่กี ําจดั กเิ ลสให้หมดส้นิ มคี วาม
สะอาดบรสิ ุทธิ ์กาย วาจา และใจแลว้ ส่วนความหมายของการลา้ งบาปจากพระสตู รน้ีน่าจะหมายถงึ
การกําจดั กเิ ลสอาสวะหมดส้นิ ไป จนกาย วาจา ใจ สะอาดบรสิ ุทธิ ์ ซง่ึ เป็นความหมายท่ตี รงกบั คํา
สรปุ ดงั ทก่ี ล่าวมาแลว้

พระสมั มาสมั พุทธเจา้ ผทู้ รงรแู้ จง้ โลกทงั้ ปวง มคี วามรใู้ นทุกสง่ิ ทุกอย่างตามความเป็นจรงิ
ทรงเหน็ กลไกความเป็นไปของกฎธรรมชาติ เป็นผลทําให้พระองคท์ รงรจู้ กั ธรรมชาตขิ องกเิ ลส อนั
เป็น ต้นเหตุแห่งการเกิดบาปทงั้ หลายได้อย่างถูกต้องตรงความเป็นจรงิ และสามารถกําจดั กิเลส
เหล่านนั้ ออกไป โดยสน้ิ เชงิ และเดด็ ขาด พระองคท์ รงสรปุ เรอ่ื งการกําเนิดบาปไวอ้ ย่างชดั เจนว่า

“หากทฝี่ า่ มอื ไมม่ แี ผล บุคคลกใ็ ชฝ้ า่ มอื นายาพษิ ไปได้ เพราะยาพษิ จะไม่ซมึ เขา้ ไปยงั ฝา่ มอื
ทไี่ มม่ แี ผล เหมอื นบาปไมม่ แี ก่ผไู้ มท่ าบาป ฉะนนั้ ๘๕

“ตนทาบาปกรรมเอง กเ็ ศรา้ หมองเอง ตนไมท่ าบาปกรรมเอง กบ็ รสิ ุทธเิ์ อง

ความบรสิ ทุ ธ์ิ และไมบ่ รสิ ทุ ธิ์ เป็นของเฉพาะตน คนอนื่ จะทาคนอนื่ ใหบ้ รสิ ุทธไิ์ มไ่ ด้”๘๖

จากพระพุทธวจนะน้ี เป็นเคร่อื งยนื ยนั การค้นพบของพระองค์ว่าบาปเป็นเร่อื งเฉพาะตวั
ไมใ่ ช่สงิ่ ทต่ี ดิ ต่อกนั ได้ ใครทาํ บาปคนนนั้ กไ็ ดร้ บั บาปเอง ใครไมท่ าํ บาปกร็ อดตวั ไป หากพ่อทาํ บาปก็
เป็นกรรมของพ่อ จะไม่ตกไปถึงลูก เหมอื นพ่อกินข้าวอ่มิ ลูกก็ไม่ได้อ่ิมด้วย ดงั นัน้ สรุปว่า ตาม
ความเหน็ ของพระพทุ ธศาสนา บาปเกดิ ขน้ึ ทต่ี วั ผทู้ ําเอง คอื เกดิ จากกเิ ลสในใจของผทู้ าํ ไม่เกย่ี วกบั
บคุ คลอ่นื ถา้ ใครทาํ ชวั่ บาปกจ็ ะกดั กรอ่ นใจผนู้ นั้ ใหใ้ จเศรา้ หมอง ขนุ่ มวั ทําใหเ้ กดิ ทุกขท์ รมาน ขาด
ประสทิ ธภิ าพ

สาํ หรบั ทม่ี าของความเชอ่ื เกย่ี วกบั การลา้ งบาปพราหมณ์โดยมากเช่อื กนั ว่าการทเ่ี กดิ มา
เป็นมนุษยน์ นั้ ไดท้ าํ บาปกรรมเอาไวเ้ ป็นอนั มากในอดตี ชาติ แต่กรรมนนั้ จะไปไดด้ ว้ ยการลอยบาปใน
แมน่ ้ํา อน่ึงพธิ กี ารลา้ งบาปน้ีพระอรรถกถาจารยไ์ ดอ้ ธบิ ายถงึ กลุ่มแนวคดิ และความเช่อื การลา้ งบาป
สรปุ ไดด้ งั น้ี

(๑) บางกลมุ่ เชอ่ื ว่า ตนเองจะบรสิ ุทธไิ ์ ดด้ ว้ ยการดาํ ลงแลว้ ผุดขน้ึ เพยี งครงั้ เดยี ว จะปฏบิ ตั ิ
เช่นนนั้ แลว้ หลกี ไปเสรจ็ พธิ ี

(๒) บางกลุ่ม เช่อื ว่า การดาํ น้ํา ณ ท่าใดท่าหน่ึงแลว้ ดาํ ลงครงั้ เดยี วโดยกลนั้ หายใจไมผ่ ุด
ขน้ึ มาเลยจนสน้ิ ชวี ติ ถอื ว่าลอยบาปไดป้ ฏบิ ตั จิ นสน้ิ ชวี ติ ณ ท่นี นั้

๘๔ องฺ.ตกิ . (ไทย) ๒๐/๑๒๒/๓๖๘.
๘๕ ข.ุ ธ. (ไทย) ๒๕/๑๒๔/๗๐.
๘๖ ข.ุ ธ. (ไทย) ๒๕/๑๖๕/๘๔.

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๕๓ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

(๓) บางกลุ่ม เช่อื ว่า การผุดขน้ึ หลายๆ ครงั้ จงึ จะสามารถชําระบาปได้ จงึ ปฏบิ ตั เิ ช่นนัน้
แลว้ หลกี ไป

(๔) บางกลุ่ม เช่อื ว่า แค่การเอามอื กวกั น้ําในสระแล้วเอามารดลูบท่ศี รี ษะของตนถอื ว่า
บรสิ ุทธแิ ์ ลว้ หลกี ไป

(๕) บางกลุ่ม เช่อื ว่า แมเ้ อาหมอ้ ตกั น้ําแลว้ เอามารดหรอื อาบตนเองกบ็ รสิ ุทธไิ ์ ด้

(๖) บางกลุ่ม เช่อื ว่า การไดล้ งอาบน้ําไหวน้ ้ํา โดยหนั ไปตามท่พี ระอาทติ ยแ์ ละพระจนั ทร์
อยู่ ถอื ว่าบรสิ ทุ ธไิ ์ ด้

(๗) บางกลุ่ม เช่อื ว่า เมอ่ื ลงอาบน้ําแลว้ อ่านฉันทลกั ษณ์ เพ่อื สวดสรรเสรญิ เทพเจา้ หลาย
พนั ครงั้ ปฏบิ ตั ติ ามนนั้ จงึ จะบรสิ ทุ ธ๘ิ ์ ๗

จากท่กี ล่าวมาจะเหน็ ได้ว่า การประกอบพธิ ลี อยบาปหรอื ล้างบาปน้ีถือไดว้ ่าเป็นพกี รรม
หน่ึงท่บี รรดาพราหมณ์ทงั้ หลายไดป้ ฏบิ ตั ิกนั มาตามความเช่อื ของตน ซ่งึ ความเช่อื เช่นน้ีพระพุทธ
องค์ทรงเหน็ ตนกนั ขา้ มและไม่สามารถจะนําไปสู่ความบรสิ ุทธไิ ์ ด้ แทจ้ รงิ แล้วความบรสิ ุทธหิ ์ รอื ไม่
บรสิ ุทธจิ ์ ะตอ้ งชาํ ระกาย วาจา และจติ ใจของตนใหบ้ รสิ ุทธจิ ์ ากอาสวะทงั้ ปวงจงึ จะถอื ว่าเป็นผูบ้ รสิ ุทธิ ์
จรงิ สาํ หรบั ทรรศนะของพราหมณ์แลว้ การประกอบพธิ ดี งั กล่าวนนั้ ถอื ว่าเป็นการชําระลา้ งบาปหรอื
ลอยบาปไดจ้ รงิ

(ง) พิธีบูชาไฟ สําหรบั พธิ บี ูชาไฟนัน้ ถอื ว่าเป็นอกี พธิ หี น่ึงท่สี ําคญั ของศาสนาพราหมณ์
การบชู าไฟ คอื การนําเอาเคร่อื งเซ่นบูชาและหญา้ คามาแลว้ ทาํ การก่อไฟขน้ึ แลว้ มกี ารสวดสรรเสรญิ
มนต์เพ่อื สรรเสรญิ พระเจา้ เพ่อื ใหร้ บั เคร่อื งสงั เวยผ่านการบูชาไฟ ในอคั คภิ ารทราชสูตรและอรรถ
กถาเรอ่ื งดงั กล่าวไดอ้ ธบิ ายการบชู าไฟของพราหมณ์เอาไวว้ ่า พราหมณ์โดยมากจะสรา้ งโรงบชู าไฟ
ขน้ึ ในระหว่างถนนในหมบู่ า้ น แลว้ ตงั้ เตาไฟขนั้ พรอ้ มกบั หาเชอ้ื เพลงิ มฟี ืนและหญ้าคา เป็นตน้ จุดไฟ
ให้ลุกโพลงเป็นเปลวขนั้ ขา้ งบน โดยพราหมณ์ผปู้ ระกอบพธิ นี ้ีจะต้องอาบน้ําชาํ ระร่างกายใหส้ ะอาด
แลว้ ตอ้ งเตรยี มสง่ิ ทจ่ี ะนําไปบูชาไฟคอื ขา้ วปายาส เนยยใส น้ํามนั น้ําผง้ึ น้ําอ้อย แลว้ จงึ ไปบชู าไฟ
ณ โรงไฟนนั้ ตามวนั และเวลาทก่ี าํ หนดไว้

ในปจั จบุ นั ชาวอนิ เดยี ทน่ี บั ถอื ศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู เรยี กพธิ นี ้วี า่ อารตปี ชู าหรอื พธิ บี ชู าไฟ

การบชู าไฟ ซง่ึ เป็นพธิ กี รรมทเ่ี ดน่ ทส่ี ดุ เพ่อื ขอพรจากพระเป็นเจา้ ใหท้ รงมอบความสุขและ
ความโชคดใี ห้แก่ผทู้ บ่ี ูชา เครอ่ื งสงั เวยทใ่ี ชใ้ นการบชู าไฟของพราหมณ์ คอื บชู าดว้ ยอาหารทห่ี ุงต้ม
แล้ว โดยจดั ทําภายในบ้านประกอบด้วย น้ํานม เมล็ดข้าว เนยแข็ง เหล้าโสม (กลนั่ จากต้นไม้)
ดอกไม้ เป็นตน้ เม่อื ทาํ พธิ กี รรมให้นําอาหารเหล่าน้ีใส่ลงไปในกองไฟ พรอ้ มสวดสรรเสรญิ พระเป็น
เจา้ บูชาสงั เวยไฟด้วยชวี ติ เคร่อื งสงั เวยชวี ติ เป็นตน้ ว่าสตั ว์ ๔เทา้ หรอื สตั วป์ ีก รวมถงึ มนุษย์ ซง่ึ
เป็นววิ ฒั นาการของศาสนาพราหมณ์ในช่วงต้นครสิ ต์สกั ราช เรยี กในนามศาสนาฮนิ ดู สตั ว์ทใ่ี ชใ้ น
พธิ กี รรม เช่น แพะ แกะ ควาย ไก่ นก เป็นต้น โดยการนําเลอื ดสดๆ ใส่ลงไปในกองไฟทก่ี ําลงั ลุก

๘๗ คณาจารย์ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , เทศกาลและพิธีกรรมพระพทุ ธศาสนา, หน้า ๖๕.

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๕๔ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ไหม้ บชู าสงั เวยดว้ ยน้ําโสม (เหลา้ โสมทก่ี ลนั่ จากตน้ ไมช้ นดิ หน่งึ ) การเตรยี มสถานทท่ี าํ พธิ ี พระฮนิ ดู
ผทู้ าํ พธิ จี ะพจิ ารณาเลอื กทท่ี จ่ี ะก่อไฟศกั ดสิ ์ ทิ ธิ ์(เรยี กว่า กองกณู ฑ)์ โดยจะใชม้ ดี ปลายแหลม หรอื ไม้
ทําการขดี ลงบนพ้นื ดนิ ๓ ขดี เพ่อื เลอื กสถานท่หี ลงั จากนัน้ ก็จะขุดดนิ บรเิ วณนัน้ ให้เป็นส่เี หล่ยี ม
จตุรสั ตกแต่งผวิ รอบๆ ใหเ้ รยี บ จากนัน้ กจ็ ะนําน้ําศกั ดสิ ์ ทิ ธมิ ์ าเทราด แลว้ รอจนแหง้ สนิทต่อมากเ็ รมิ่
พธิ กี รรมบูชาไฟ ในอินเดยี เวลามกี ารทําพธิ กี รรมบูชาไฟ เคร่อื งสงั เวยท่สี ําคญั อกี อย่างหน่ึง คอื
หญา้ คา เช่อื วา่ เป็นหญา้ ศกั ดสิ ์ ทิ ธเิ ์กย่ี วขอ้ งกบั พระเป็นเจา้ จงึ ต้องนําเอาหญา้ คามาเป็นเคร่อื งสงั เวย
ดว้ ย หญ้าคา ในทางศาสนาพราหมณ์มคี วามเก่ยี วขอ้ งกนั คอื อาสนะทป่ี ระทบั ของพระศวิ ะบนเขา
ไกรลาสทาํ ดว้ ยสงิ่ น้ี ชาวฮนิ ดูลทั ธศิ วิ นิกายทน่ี ับถอื พระศวิ ะเป็นเทพสงู สุด จะนําหญ้าคามาเพ่อื เป็น
เครอ่ื งบชู า

ขนั้ ตอนการอารตี

การอารตหี รอื การบูชาไฟนนั้ ตามตําราท่านกล่าวว่าเป็นขนั้ ตอนสุดทา้ ยของการบูชาเทพ
ดว้ ยชาวฮนิ ดถู อื ว่า พธิ กี รรมทงั้ หลายนนั้ จะไม่สมบรู ณ์หากขาดการบชู าไฟ หลงั ผ่านพธิ ดี งั กล่าว จะ
วางตะเกยี งอารตไี วห้ น้าแท่นบชู า แลว้ ผรู้ ่วมพธิ นี ิยมใชฝ้ ่ามอื ทงั้ ๒ขา้ งคว่าํ ลงเปลวไฟในระยะทห่ี ่าง
พอสมควร แลว้ นําฝ่ามอื นัน้ มาแตะท่หี น้าผาก ดวงตา และใบหู เพ่อื เปิดทวารในการรบั รูซ้ ่งึ สมั ผสั
พเิ ศษ และขบั ไล่สง่ิ อปั มงคลทงั้ หลายใหห้ มดไป

การถอื ตะเกยี งอารตคี วรถอื ดว้ ยมอื ขวา โดยใชม้ อื ซ้ายประคองอกี ทแี ล้วเวยี นไปทางขวา
(ตามการหมุนแบบเขม็ นาฬิกา) ระหว่างทว่ี นต่อหน้าเทวรูปควรจะรอ้ งสวดหรอื ท่องมนตรเ์ พ่อื บูชา
เทพเจา้ หรอื อาจจะใช้การเปิดเทปอารตแี ทนก็ได้ หากเป็นการบวงสรวงในพธิ ี จะมกี ารประโคม
ดนตรี เช่น บัณเฑาะว์ เป่าสังข์และตีระฆงั เป็นจงั หวะให้ผสมผสานกันไปอย่างกลมกลืนก็ได้
หลงั จากเสรจ็ พธิ ี ควรตงั้ จติ บรสิ ุทธอิ ์ ธษิ ฐานเพ่อื แผ่เมตตาให้กบั สรรพสตั ว์ในโลกว่า “โอม ศานติ
ศานติ ศานติ” และถอื วา่ พธิ สี มบรู ณ์ทุกประการ

พิธีกรรมของลทั ธิร่วมสมยั ของพระพทุ ธศาสนา

ลทั ธริ ่วมสมยั ของพระพุทธศาสนานัน้ คอื ลทั ธคิ รทู งั้ ๖ ไดแ้ ก่ สญั ชยั เวลฏั ฐบุตร ปกุธกจั
จายนะ มกั คลโิ คศาล นิครนถน์ าฏบุตร อชติ ะเกสกมั พล ปรู ณะกสั สปะ เป็นตน้ ถอื ไดว้ ่าเป็นกลุ่มนกั
คิดท่ีมีอยู่ในสมยั พุทธกาล ซ่ึงกลุ่มลทั ธิทงั้ ๒ นัน้ บางลทั ธิก็มีสถานะเป็นศาสนาและจดั อยู่ใน
ประเภทอเทวนิยมหรอื กบั ศาสนาพุทธและมกี ารประกอบพธิ กี รรมเหมอื นกบั ศาสนาอ่นื ๆ ทวั่ ไป ใน
ทรรศนะของครูทงั้ ๖ น้ีส่วนใหญ่จะเป็นแนวคดิ และความเช่อื ประเภทอุกกฤษ์ (สุดโต้ง) ทําให้พระ
พุทธองคท์ รงหา้ มการปฏบิ ตั พิ ธิ เี ช่นนนั้ ในหมชู่ าวพุทธ ถงึ ขนั้ เรยี กว่า พธิ ขี องอญั ญเดยี รถยี ์ แต่กเ็ ป็น
กลุม่ ลทั ธริ ว่ มสมยั กบั พระพุทธศาสนา

พิธีกรรมตามความเชื่อของคนในท้องถิ่นอินเดีย

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๕๕ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

พธิ กี รรมตามความเช่อื ของคนท้องถนิ่ อนิ เดยี ท่เี ก่ยี วกบั วถิ ีชวี ติ เช่น การแต่งงานแบบวิ
วาหมงคลและแบบอาวาหมงคล นอกนัน้ เป็นพธิ กี รรมเก่ยี วกบั ความตายหรอื พิธจี ดั งานศพ ซ่งึ
พธิ กี รรมเหลา่ น้มี อี ทิ ธพิ ลเกย่ี วกบั วถิ ชี วี ติ และไดส้ บื ทอดมาจนถงึ ยคุ ปจั จุบนั ของสงั คมอนิ เดยี

สาํ หรบั สงั คมไทยได้รบั แนวคดิ และวถิ ีชวี ติ ดงั กล่าวมาขา้ งตนจากอนิ เดยี มาเป็นส่วนหน่ึง
ของการดาํ เนนิ ชวี ติ ในสงั คมไทยโดยผา่ นอทิ ธพิ ลของศาสนา ความเช่อื ประเพณแี ละวฒั นธรรม

ข. พื้นฐานความเช่ือเก่ียวกบั วิถชี ีวิตและวฒั นธรรมท่ีมอี ิทธิพลต่อภมู ิปัญญาไทย

ระบบความเช่อื ย่อมรวมถึงศาสนา และความเช่อื ในลทั ธติ ่างๆ ศาสนา ในความหมาย
กว้างๆ คือการบวงสรวงบูชาหรอื การสร้างสมั พนั ธภาพอันดีระหว่างมนุษย์กบั อํานาจศกั ดสิ ์ ิทธิ ์
ทงั้ หลาย ซง่ึ มนุษยเ์ ช่อื ว่าสามารถควบคุมหรอื มอี ทิ ธพิ ลเหนือวถิ ที างของธรรมชาตแิ ละวถิ ชี วี ติ ของ
มนุษย์ ศาสนาตามทศั นะทางมานุษยวทิ ยาจงึ บ่งบอกนัยถงึ การขยายความสัมพนั ธท์ างสงั คมของ
มนุษยอ์ อกไปสู่ความสมั พนั ธ์กบั สงิ่ ศกั ดสิ ์ ทิ ธซิ ์ ่งึ มอี ํานาจเหนือมนุษย์และธรรมชาติ ดงั นัน้ ศาสนา
และความเช่ือทางศาสนาจึงเป็นสง่ิ สากลท่ีเราพบเห็นได้ในทุกสงั คมตลอดมาทุกยุคทุกสมยั ๘๘
ศาสนาอาจจดั วา่ เป็นวฒั นธรรมทางนามธรรมทม่ี ผี ลต่อการสรา้ งวฒั นธรรมทางรปู ธรรม การทาํ ความ
เขา้ ใจศาสนาเช่อื มโยงกบั วฒั นธรรมจงึ เป็นสงิ่ ท่หี ลกี เล่ยี งได้ยาก แรกเรมิ่ ทเี ดยี วศาสนาและความ
เช่อื ถอื กําเนิดจากความกลวั ความต้องการความมนั่ คงทางจติ ใจ และความสงสยั ในปรากฏการณ์
ต่างๆ ท่เี กิดข้นึ รอบตัวมนุษย์ ในสมยั โบราณ มนุษย์ดําเนินชีวติ ในท่ามกลางปรากฏการณ์ทาง
ธรรมชาตทิ ม่ี นุษยไ์ มส่ ามารถเขา้ ใจได้ ไมว่ า่ จะเป็นความมดื ความสว่าง ความรอ้ น ความหนาว พายุ
ฝน ฟ้ารอ้ ง ฟ้าผ่า ภาวะเกดิ แก่ เจบ็ ตาย ฯลฯ ทาํ ใหเ้ กดิ ความกลวั และเช่อื ว่าตอ้ งมสี งิ่ ศกั ดสิ ์ ทิ ธทิ ์ ม่ี ี
อํานาจลล้ี บั อยเู่ หนือปรากฏการณ์เหลา่ น้ซี ง่ึ สามารถบนั ดาลคุณและโทษแก่มนุษยไ์ ด้ ฉะนนั้ มนุษยจ์ งึ
พยายามหาวธิ กี ารอ้อนวอนเอาใจหรอื ต่อรองกบั อํานาจลกึ ลบั ของธรรมชาตดิ ้วยการบูชา บนบาน
หรอื เซน่ ไหว้

โดยทวั่ ไปศาสนามอี งคป์ ระกอบที่สาคญั คือ๘๙

๑) ศาสดาหรอื ผู้ประกาศศาสนา (เช่น พระพุทธเจา้ พระไครสต์ พระนะบมี ฮู มั หมดั เป็น
ตน้ )

๒) ปรชั ญาและหลกั ปฏบิ ตั ิ แนวคดิ ความเช่อื ซง่ึ ก็คอื พระธรรมคําสงั่ สอน ทงั้ ในรูปของ
ตาํ รบั ตาํ รา การเทศนาสงั่ สอน

๓) นกั บวชหรอื พระสงฆ์ และศาสนิกหรอื ผนู้ บั ถอื ศาสนา

๔) ศาสนสถานและศาสนวตั ถุ ซง่ึ มกั ปรากฏในศลิ ปกรรมดา้ นต่างๆ

๘๘ ยศ สนั ตสมบตั ิ, มนุษยก์ บั วฒั นธรรม, (กรุงเทพมหานคร : สํานกั พมิ พม์ หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, ๒๕๓๗), หน้า
๒๑๔.

๘๙ สุชพี ปญุ ญานุภาพ, ประวตั ิศาสตรศ์ าสนา, (กรุงเทพมหานคร : สาํ นกั พมิ พร์ วมสาสน์ , ๒๕๓๒), หน้า ๑๐.

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๕๖ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๕) พธิ กี รรม ซง่ึ กค็ อื พฤตกิ รรมต่างๆ ท่เี กดิ ขน้ึ และยอ่ มจะตอ้ งมวี ตั ถุประสงคม์ คี วามหมาย
ตามความเขา้ ใจอนั เกดิ จากพน้ื ฐานความเชอ่ื ทางศาสนาของตน

ศาสนาและความเช่ือในสงั คมไทย

ในท่ีน้ีจึงจะกล่าวเฉพาะลกั ษณะของศาสนาความเช่อื ท่ีแพร่หลายในสงั คมไทยและมี
อทิ ธพิ ลต่อศลิ ปวฒั นธรรมไทยในวงกวา้ ง นัน่ กค็ อื รูปแบบของศาสนาความเช่อื ทม่ี ที งั้ ผี พราหมณ์
และพทุ ธ และความเช่อื แบบดงั้ เดมิ ปะปนกนั อย๙ู่ ๐

๑. ผีและอานาจลึกลบั ในธรรมชาติ หรอื ท่ีเราใช้คําว่าไสยศาสตร์ (ไสยะ = ความ
หลบั ไหล มวั เมา ตรงขา้ มกบั คําว่า พุทธะ หมายถงึ ผูร้ ู้ ผตู้ ่นื ผู้เบกิ บาน) เป็นความเช่อื ดงั้ เดมิ ของ
ชนชาตไิ ทยทม่ี มี าก่อนศาสนาพราหมณ์และก่อนทพ่ี ุทธศาสนาจะเผยแผ่เขา้ มาในดนิ แดนแถบน้ี ผใี น
ความเช่อื ของชาวไทยน่าจะแบ่งทําความเขา้ ใจง่ายๆ ออกเป็นประเภทต่างๆ คอื ผที เ่ี ป็นผู้พทิ กั ษ์
รกั ษาหรอื เทวดาอารกั ษ์ เช่น ผแี ถน ซ่งึ ชาวอสี านเช่อื กนั ว่าเป็นผู้ใหก้ ําเนิดโลก เป็นผทู้ ส่ี ามารถดล
บนั ดาลใหฝ้ นฟ้าตกและขา้ วปลาอุดมสมบูรณ์ นอกจากนนั้ กม็ ผี ที เ่ี ช่อื ว่าสงิ สถติ ตามธรรมชาตติ ่างๆ
เช่น เจ้าป่าเจ้าเขา เจ้าท่เี จา้ ทาง แม่ธรณี แม่โพสพ รุกขเทวดา นางไม้ และยงั มผี ปี ระจําสิง่ ของ
เคร่อื งใช้ต่างๆ เช่น ผเี ตา ผนี างด้ง ผนี างสาก เป็นต้น ความเช่อื เก่ยี วกบั ศาลหลักเมอื งกเ็ ช่อื ว่าผี
เทพยดาท่ีทําหน้าท่ปี กปกั รกั ษาบ้านเมอื ง ในชุมชนเล็กๆ ตามชนบทมกั มหี ลกั บ้านหรอื ใจบ้าน
(หวั ใจหรอื ศูนยก์ ลางของบา้ น) มสี ญั ลกั ษณ์ (ต่างรปู แบบกนั ไป) ทเ่ี ช่อื ว่าศกั ดสิ ์ ทิ ธิ ์ อย่กู ่งึ กลางชุมชน
และใช้เป็นสถานท่ปี ระกอบพิธกี รรมในหมู่บ้านด้วย ชุมชนบางแห่งเม่อื เจรญิ ข้นึ เป็นตําบลเป็น
จงั หวดั กจ็ ะมศี าลหลกั เมอื งเชน่ กนั ดงั เราไดเ้ หน็ อยเู่ กอื บทุกจงั หวดั

ผบี รรพบุรุษและผวี รี บุรุษ มนุษยเ์ ช่อื ว่า เม่อื ญาตพิ ่นี ้องตายไปแล้ว วญิ ญาณจะออกจาก
ร่างไปสู่ทต่ี ่างๆ บา้ งกไ็ ปเกดิ ใหม่ บา้ งก็ยงั วนเวยี นอย่ใู นโลกมนุษย์ ผเี หล่าน้ีคอื ผบี รรพบุรุษหรอื ผี
ปู่ย่าตายาย หรอื บางทกี ็เรยี ก ผเี รอื น ส่วนผวี รี บุรุษนัน้ คอื บุคคล เม่อื ยงั มชี วี ติ เป็นคนดที ่มี คี วาม
เก่งกลา้ สามารถเป็นพเิ ศษ เป็นผนู้ ํา เป็นเจา้ เมอื งหรอื เป็นผกู้ ่อตงั้ บา้ นเมอื งหรอื นกั รบซง่ึ เม่อื ตายไป
กย็ งั มผี เู้ คารพนับถอื อย่างเช่น ผเี จา้ เมอื งของชาวไทยใหญ่ในแม่ฮ่องสอน ยา่ โมของชาวโคราช พระ
ยาพชิ ยั ดาบหกั ของชาวอุตรดติ ถ์ เจา้ พ่อพญาแลของชาวชยั ภูมิ หรอื เจา้ แม่ลม่ิ กอเหน่ียวของชาว
ปตั ตานี ตลอดจนพระเจา้ ตากสนิ และรชั กาลท่ี ๕ ทม่ี ผี นู้ ับถอื กนั อย่างแพรห่ ลายอยใู่ นขณะน้ี ทงั้ ผี
บรรพบุรุษ และผวี รี บุรุษจดั ว่า เป็นผดี เี พราะเป็นผคู้ ุม้ ครองรกั ษาลกู หลานหรอื ชาวบา้ นชาวเมอื งให้
อยู่เยน็ เป็นสุข นอกจากน้ีแล้วยงั คอยควบคุมให้ลูกหลานหรอื คนในหมู่บ้านมใิ ห้ทําผดิ ขนบจารตี
ประเพณี หากลูกหลานทําผิดประเพณีท่ีเรยี กว่า ขึด (ทางเหนือ) หรือขะลํา (ทางภาคอีสาน)
อยา่ งเช่น พน่ี ้องทะเลาะววิ าทกนั หรอื ลูกสาวหลานสาวถูกผชู้ ายแตะเน้ือตอ้ งตวั อย่างทเ่ี รยี กว่า ทาํ
ผดิ ผี คนในครอบครวั กจ็ ะตอ้ งทาํ พธิ ขี อขมาต่อวญิ ญาณผปี ยู่ า่ หรอื ปตู่ า เป็นตน้

๙๐ ป่ินแกว้ เหลอื งอร่ามศรี,วาทกรรมว่าด้วยชาวเขา, (เชยี งใหม่ : วารสารคณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่,
๒๕๔๑), หน้า ๒๑-๓๔.

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๕๗ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๒. ศาสนาพราหมณ์ : ศาสนาพราหมณ์เขา้ มาปะปนอยใู่ นคตคิ วามเช่อื และวฒั นธรรม

ไทยหลายรปู แบบ ไดแ้ ก่ความเช่อื ในเทพเจา้ มเี ทพเจา้ หลายองคใ์ นศาสนาพราหมณ์ทก่ี ลายมาเป็น
ท่เี คารพนับถือของชาวไทย เช่น พระพรหมท่คี นไทยนิยมไปกราบไหว้บนบาน พระอิศวร พระ
พฆิ เนศวร เทพแหง่ ศลิ ปะ หรอื พระอนิ ทร์ ซง่ึ ปรากฏในวรรณคดไี ทยหลายเรอ่ื ง

อยา่ งไรกต็ าม หากพจิ ารณาจากคุณลกั ษณะเฉพาะของเทพแต่ละองค์ ตามตํานานเทวกําเนิด
แลว้ กจ็ ะพบว่าอุปนิสยั ของเทพเหล่าน้ี สะทอ้ นถงึ ภาวะหมนุ เวยี นของโลก โดยเรมิ่ จากพระอศิ วร ซง่ึ
มกั ใหพ้ รคนทบ่ี าํ เพญ็ ตบะแก่กลา้ ผูไ้ ดร้ บั พรกม็ กั ลมื ตวั ใชอ้ ทิ ธฤิ ทธิ ์ ก่อความวุ่นวาย ความทุกขร์ อ้ น
แก่สงั คม จนพระนารายณ์ ตอ้ งลงมาปราบดว้ ยวธิ ลี า้ งโลกดว้ ยไฟประลยั กลั ป์ ต่อจากนนั้ พระพรหม
กจ็ ะสรา้ งโลกขน้ึ ใหมห่ มุนเวยี นไปเช่นน้ี ความเช่อื ในเรอ่ื งเวทมนต์คาถา ยนั ต์ ความเช่อื ในโชคลาง
และการดฤู กษ์ยาม เป็นตน้

พธิ กี รรมต่างๆ เช่น พธิ โี ล้ชงิ ช้า ซ่งึ เป็นพธิ กี รรมต้อนรบั เทพเจา้ ของพราหมณ์ พธิ แี รกนา
ขวญั พธิ ดี ม่ื น้ําพระพพิ ฒั น์สตั ยา พธิ ขี อฝน พธิ สี ะเดาะเคราะห์ การตงั้ ศาลพระภมู ิ ตลอดจนพธิ กี รรม
ต่างๆ ท่ใี ช้น้ําเป็นส่วนประกอบสําคญั เช่น การรดน้ํามนต์ รดน้ําสงั ขใ์ นพธิ แี ต่งงาน การเจมิ แป้ง
กระแจะ เป็นตน้

๓. ศาสนาพุทธ : พระพุทธศาสนา ซ่งึ วางรากฐานอย่างมนั่ คงและเป็นทย่ี อมรบั ใหเ้ ป็น
ศาสนาประจาํ ชาตไิ ทยมาจนถึงปจั จุบนั นัน้ ไดเ้ รม่ิ เผยแผ่เขา้ มาตงั้ แต่ครงั้ ทผ่ี คู้ นในดนิ แดนแถบน้ีนับ
ถอื ผอี ย่กู ่อนแลว้ และจากการท่พี ุทธศาสนามคี วามยดื หยุ่นสูงและมไิ ด้มกี ารบงั คบั ให้เลกิ เช่อื ลทั ธิ
อ่นื ๆ รูปแบบของพุทธศาสนาท่ยี ดึ ถือปฏบิ ตั กิ นั ในสงั คมไทยส่วนใหญ่จงึ มลี กั ษณะของความเช่อื
เกย่ี วกบั ผแี ละไสยศาสตรซ์ ง่ึ เป็นความเช่อื ทม่ี อี ยแู่ ต่ดงั้ เดมิ ตลอดจนพธิ กี รรมและความเช่อื ในศาสนา
พราหมณ์ผสมผสานอย่ไู ม่น้อย อยา่ งเช่น การนับถอื ในอทิ ธฤิ ทธปิ ์ าฏหิ ารยิ ข์ องพระเคร่อื ง การบน
บานศาลกล่าวต่อพระพุทธรปู สําคญั ๆ อยา่ งหลวงพ่อพระแก้วมรกต หลวงพ่อโสธร ตลอดจนการท่ี
พระสงฆบ์ างรปู ทาํ พธิ รี ดน้ํามนต์ (พราหมณ์) พ่นน้ําหมากเพ่อื รกั ษาโรคภยั ไขเ้ จบ็ หรอื ปดั เสนียดรงั
ควาน การเอ่ยช่อื พระพทุ ธรปู องคส์ าํ คญั โดยใชค้ าํ นําหน้าว่า ‚หลวงพ่อ‛ นนั้ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ การดงึ
เอาพระพุทธรปู ใหม้ าสมั พนั ธใ์ กลช้ ดิ กบั มนุษยเ์ พ่อื ความอบอุ่นใจ มนั่ คงทางใจยงิ่ ขน้ึ นอกจากน้ีการ
ทําบุญเลย้ี งพระมกั จะตอ้ งจดั ‚ขา้ วพระ‛ คอื ขา้ วปลาอาหารสาํ รบั เลก็ ๆ เพ่อื ถวายพระพุทธรปู ดว้ ย
ซง่ึ หากพจิ ารณาตามหลกั พุทธศาสนาแลว้ พระพุทธรปู คอื ตวั แทนของพระพุทธเจา้ ซง่ึ ทรงหลุดพ้น
จากโลกน้ีแลว้ จงึ ย่อมไม่หวิ ไม่กระหาย ไม่หนาว ไม่รอ้ น การจดั ของเซ่นไหว้ จงึ เหมือนผสานเอา
ความเชอ่ื ทางไสยศาสตรเ์ ขา้ มาเกย่ี วขอ้ งดว้ ย

โดยเน้ือแท้แล้วศาสนาพุทธมไิ ด้ให้ความสําคญั กบั อทิ ธฤิ ทธปิ ์ าฏหิ ารยิ ์และอํานาจเหนือ
ธรรมชาติ แต่เน้นการปฏบิ ตั ทิ างศลี ธรรมและการทาํ จติ ใหบ้ รสิ ุทธิ ์ โดยมหี ลกั ทวั่ ไปคอื ทําความดี ละ
เวน้ ความชวั่ ชาํ ระจติ ใจใหส้ ะอาด และการฝึกสมาธจิ นกระทงั่ บรรลุถงึ ‚วมิ ุตต‛ิ คอื ความหลุดพน้ จาก
บ่วงกรรมทงั้ ปวง

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๕๘ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

หลกั ธรรมทางพุทธศาสนา จงึ สามารถนํามาเลอื กใช้แก้ปญั หาสงั คม ปญั หาชวี ติ ได้ เช่น
การทาํ งานหรอื ทาํ สง่ิ ใดสง่ิ หน่งึ จนประสบผลสาํ เรจ็ ได้ ควรจะนกึ ถงึ ธรรมะเรอ่ื ง อทิ ธบิ าท ๔ (ฉนั ทะ =
ความพอใจ, วริ ยิ ะ = เพยี ร, จติ ตะ = จดจอ่ , วมิ งั สา = ใครค่ รวญ) เป็นตน้ หรอื การสอนใหม้ นุษยร์ จู้ กั
ความพอดหี รอื เดินสายกลาง ไม่มากไม่น้อยเกินไป (มชั ฌมิ าปฏปิ ทา) ซ่งึ สอดคล้องกบั แนวทาง
พระราชดาํ รใิ นองคพ์ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั รชั กาลปจั จบุ นั คอื การมชี วี ติ พอเพยี ง

๔. ความเช่ือของคนไทย

ความเช่อื ทพ่ี บอยใู่ นสงั คมไทยนบั แต่โบราณมาจนถงึ ปจั จุบนั น้ี ไดแ้ ก่เร่อื งไสยศาสตรแ์ ละ
โหราศาสตร์ ทม่ี คี วามใกลช้ ดิ ซง่ึ กนั และกนั และใกลช้ ดิ กบั ชวี ติ ของคนไทยทงั้ ท่อี ย่ใู นสงั คมดงั้ เดมิ
และทอ่ี ยใู่ นสงั คมเมอื งหรอื สงั คมทนั สมยั (modern society)๙๑

ไสยศาสตร์

คําว่า ไสยศาสตร์น้ี ได้มที ่านผู้รู้ให้ความหมายไว้ต่างๆ กันมากมาย แต่อย่างไรก็ตาม
ความหมายนัน้ กม็ แี นวโน้มมาในทํานองเดยี วกนั เช่น ไสยศาสตร์ คอื การเช่อื ถอื โดยรสู้ กึ เกรงขาม
หรอื กลวั ในสงิ่ ทเ่ี ขา้ ใจว่าอยเู่ หนือธรรมชาตหิ รอื ใน สง่ิ ลกึ ลบั อนั ไม่สามารถจะทราบดว้ ยเหตุผลตาม
หลกั วทิ ยาศาสตร์ และสงิ่ นัน้ อาจจะให้ดหี รอื รา้ ยแก่ผู้ทเ่ี ช่อื ถอื ก็ได้ เม่อื มคี วามรสู้ กึ เช่นนนั้ ก็สําแดง
ความเช่อื หรอื ความรสู้ กึ นนั้ ออกมาเป็นรปู พธิ รี ตี อง ประกอบไปดว้ ยคาถาและเวทมนตรเ์ พ่อื อํานวย
ประโยชน์แก่ผเู้ ช่อื ถอื ในทางดี เช่น เพ่อื ใหเ้ กดิ ความ เป็นสริ ิมงคล ป้องกนั เหตุรา้ ย หรอื มใิ หอ้ ุบาทว์
จญั ไรเขา้ มาเบยี ดเบยี น หรอื ถา้ เขา้ มาแลว้ กข็ บั ไล่ ใหห้ นีไปเสยี

ไสยศาสตรเ์ ป็นคู่ผวั ตวั เมยี กบั อารมณ์ของมนุษย์ ทป่ี ราศจากเหตุผล คําว่า "อารมณ์" ใน
ทน่ี ้หี มายถงึ ความรสู้ กึ หรอื ความนกึ คดิ ทป่ี ล่อยใหไ้ ปตามความรสู้ กึ ลว้ นๆ ตามธรรมชาตขิ องสตั ว(์ ไม่
อาศยั การใช้เหตุผลเลย ถ้ามกี ารใช้สตปิ ญั ญาหรอื เหตุผล ขน้ึ เม่อื ไรสง่ิ ทเ่ี รยี กว่า "ไสยศาสตร"์ ก็มี
ไมไ่ ด)้

อาจกล่าวไดว้ ่าไสยศาสตรน์ นั้ เป็นเรอ่ื งของเวทมนตรค์ าถา เป็นเร่อื งของอํานาจลกึ ลบั ของ
ผสี างเทวดา หรอื ของสงิ่ ศกั ดสิ ์ ทิ ธิ ์เช่นเครอ่ื งรางของขลงั น้ํามนต์ เคลด็ คาถา และอาคม เป็นตน้

การท่คี นเราสนใจไสยศาสตรน์ ัน้ มเี หตุ ๒ ประการคอื เพราะความกลวั เช่น กลวั ผี กลวั
ต้นไมใ้ หญ่ กลวั ภยั พบิ ตั ิ กลวั ความเจบ็ ไขไ้ ด้ปว่ ยและกลวั อุบตั เิ หตุต่างๆ และเพราะความต้องการ
เชน่ ตอ้ งการโชคลาภ ตอ้ งการชยั ชนะในการแขง่ ขนั ความสุขและความปลอดภยั เป็นตน้

การทส่ี มาชกิ ของสงั คมสนใจในเร่อื งไสยศาสตร์ ยอ่ มสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ สถานการณ์แน่ ไม่
แน่นอนและไมม่ นั่ คงของสงั คม เช่น เมอ่ื บุคคลเกดิ ความรสู้ กึ ว่าชะตาชวี ติ หรอื ทรพั ยส์ นิ ของตน อยู่
ในภาวะทไ่ี มแ่ น่นอนหรอื ไมม่ นั่ คงยากยง่ิ ขน้ึ เท่าใด บุคคลเหล่านัน้ จะแสวงหาทุกสงิ่ ทุกอยา่ ง รวมทงั้
ไสยศาสตรเ์ ป็นเครอ่ื งยดึ เหน่ยี วมากขน้ึ เท่านนั้

๙๑ ชาํ นะ พาซ่อื , ปรชั ญาไทย, ภาควิชาศาสนาและปรชั ญา, (กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พม์ หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
, ๒๕๔๓), หน้า ๒๕-๒๖.

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๕๙ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ประเภทของไสยศาสตร์

๑. วิญญาณ ตามหลกั พุทธศาสนาถอื ว่าวญิ ญาณเป็นนามธรรม ทม่ี ลี กั ษณะคลา้ ยๆ กบั
พลงั งานทางวตั ถุ หากแต่ว่าเป็นพลงั งานด้านนามธรรม มกี ารเกดิ ดบั อยู่ตลอดเวลา อํานาจการ
บนั ดาลของวญิ ญาณทําใหเ้ กดิ โอปาตกิ ะ (สตั วท์ ผ่ี ุดขน้ึ ) ซ่งึ อาจเป็นเทวดา สตั ว์นรก หรอื เปรตกไ็ ด้
การตดิ ต่อกบโอปปาตกิ ะตามความเช่อื ทางไสยศาสตรส์ ามารถทําไดโ้ ดย เชญิ เทวดา ในกระจกหรอื
แลว้ ถามปญั หา เช่น ผถี ว้ ยแกว้ หรอื เชญิ เทวดาเขา้ สงิ ในสรรี ะของกุมารี เช่น การเขา้ ทรง หรอื การ
เขา้ สมาธติ ดิ ต่อ ซง่ึ ผทู้ จ่ี ะทาํ ไดต้ อ้ งเป็นผทู้ ไ่ี ดส้ มาธขิ นั้ สงู เท่านนั้

๒. ผีสางเทวดา คนไทยมคี วามเช่อื ว่าเร่อื งผวี ่ามมี ากมายหลายชนิด ทงั้ ทใ่ี ห้ คุณ และ
โทษ ผใี หค้ ณุ ทไ่ี ดร้ บั การยกย่องบชู าและเซ่นไหว้ ไดแ้ ก่ ผเี รอื น ผบี า้ น พระภมู ิ เจา้ พ่อ หลกั เมอื ง ปู่
เจา้ สมงิ พราย และปโู่ สมเฝ้าทรพั ย์ ส่วนผที โ่ี ทษกม็ อี ยไู่ มน่ ้อย แต่คนไทยกม็ วี ธิ เี ซ่นไหว้ ขอรอ้ งมใิ หผ้ ี
มาทาํ อนั ตราย บรรดาผที งั้ หลายทค่ี นไทยรจู้ กั มานานมี ดงั น้ี

๑) แมโ่ พสพ เป็นผที ค่ี นไทยเช่อื ว่าคุม้ ครองการทาํ ไรน่ าใหไ้ ดผ้ ลดี

๒) นางกวกั เป็นผผี หู้ ญงิ ทค่ี นไทยเชอ่ื ว่าทาํ ใหก้ ารคา้ ขายเจรญิ รงุ่ เรอื ง

๓) แมย่ า่ นาง เป็นผหู้ ญงิ แก่ ทาํ หน้าทร่ี กั ษาเรอื

๔) นางคะเคยี น หรอื พรายตะเคยี น เป็นผผี หู้ ญงิ ประจาํ ตน้ ตะเคยี น

๕) ผกี ระสอื ชอบออกหากนิ ตอนกลางคนื

๖) นางตานี เป็นผผี หู้ ญงิ อยใู่ นตน้ กลว้ ยตานี

๗) ผปี อบ เป็นผที เ่ี ขา้ สงิ ในรา่ งกายของคนแลว้ แยง่ อาหารกนิ จนคน ผา่ ยผอม

เครื่องรางของขลงั

ของขลงั (fetish) หมายถงึ สงิ่ ของเฉพาะอยา่ งซง่ึ มอี ํานาจสงิ อยู่ ผใู้ ดนําของขลงั ผูกเขา้ กบั
เสน้ เชอื กแขวนคอเอาไวจ้ ะเกดิ ความอบอุ่น มนั่ ใจในตนเอง และกลา้ ทจ่ี ะออกไปเสย่ี งภยั แต่ถ้าของ
ขลงั ชน้ิ นนั้ ไมไ่ ดผ้ ลกจ็ ะทง้ิ ไปแลว้ พยายามหาอนั ใหม่มาทดแทนได้

คนไทยมกี ารนบั ถอื เครอ่ื งรางมาแต่โบราณ สงั เกตไดจ้ ากหนงั สอื วรรณคดตี ่างๆ ซง่ึ มกั จะ
มกี ารกล่าวถงึ เคร่อื งรางของขลงั เสมอ ดว้ ยคดิ ว่าเครอ่ื งรางของขลงั สามารถจะป้องกนั ภยนั ตรายทงั้
ปวง และทส่ี ําคญั ท่สี ุดคอื ทําให้เกดิ กําลงั ใจว่ามบี างสงิ่ บางอย่างทช่ี ่วยตนได้ เคร่อื งรางของขลงั จงึ
เป็นเรอ่ื งทเ่ี กย่ี วกบั จติ ใจซง่ึ กลายเป็นสง่ิ จาํ เป็นสาํ หรบั ผทู้ ศ่ี รทั ธา

โชคลาง

โชคลาง หมายถงึ เคร่อื งหมายทป่ี รากฏให้เหน็ เพ่อื บอกเหตุรา้ ยหรอื เหตุดี ซง่ึ คนไทยมี
ความยดึ มนั่ มาเป็นเวลาช้านานจนกลายเป็นประเพณีปฏบิ ตั ิ และงดเว้นปฏบิ ตั อิ ยู่โดยทวั่ ไป เช่น
ความฝนั จง้ิ จกทกั เหน็ ดาวตก

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๖๐ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ไสยศาสตร์ มบี ทบาทสําคญั ต่อความเป็นอย่ขู องคนไทยโดยทวั่ ไป โดยเฉพาะอย่างยงิ่ คน
ไทยในชนบททไ่ี ด้รบั การศกึ ษาน้อยหรอื ไม่ได้รบั การศกึ ษาเลยจะยดึ ไสยศาสตรเ์ ป็นเคร่อื งป้องกนั
ภยนั ตรายท่ีพวกเขากลัว ดงั นัน้ หากต้องการจะเปล่ียนแปลงหรอื พัฒนาชาวชนบทให้เจริญข้นึ
นักพฒั นาชนบทจําเป็นต้องคํานึงถึงความเช่อื ของพวกเขา และต้องมคี วามรดู้ ้านไสยศาสตร์บ้าง
พอสมควร มฉิ ะนนั้ แลว้ อาจเกดิ ผลรา้ ยขน้ึ ได้

โหราศาสตร์

โหราศาสตร์ เป็นเร่อื งเก่ียวกบั เวลาซ่ึงเช่ือถือกันว่าเป็นทงั้ ศาสตร์และศิลป์ ท่ีว่าเป็น
ศาสตรเ์ พราะเป็นหลกั วชิ าการทใ่ี ครจะปฏเิ สธหรอื ทอดทง้ิ ไปทงั้ หมดไมไ่ ด้ ส่วนทเ่ี ป็น ศลิ ป์นัน้ เพราะ
เป็นเร่อื งเก่ยี วกบั การทํานายหรอื พยากรณ์ ซ่งึ ต้องใชเ้ ทคนิควธิ หี รอื ศิลปะส่วนบุคคล เป็นประการ
สาํ คญั

โหราศาสตร์เป็นศาสตรท์ ่อี าจนับเน่ืองอยู่ในไสยศาสตร์ ค่อนขา้ งลกึ ลบั และยากแก่การ
พสิ จู น์ทดลอง ดงั นนั้ นกั วทิ ยาศาสตรจ์ งึ ไมย่ อมรบั ว่าโหราศาสตร์ นนั้ เป็นศาสตรแ์ ขนงอ่นื ๆ ทางดา้ น
วทิ ยาศาสตร"์

โหราศาสตรเ์ ป็นสง่ิ ท่คี ู่มากบั "หมอดู" ตงั้ แต่สมยั โบราณกาลมาแล้ว กษตั รยิ ไ์ ทยโบราณ
ทรงมตี ําแหน่งหมอดไู วใ้ นราชสาํ นกั เรยี กว่า "โหราธบิ ด"ี มหี น้าทใ่ี หค้ าํ ปรกึ ษาเก่ยี วกบั ฤกษ์ยามเพ่อื
ดาํ เนินราชการทวั่ ไป เช่น การพชิ ยั สงคราม ยกทพั จบั ศกึ ชาวบา้ นเรยี กตําแหน่งน้ีว่า "โหรหลวง"
ในอนิ เดยี โหราศาสตรน์ ้ีไดแ้ พรห่ ลายอยใู่ นหมวู่ รรณะพราหมณ์ ซ่งึ ถอื กนั ว่าเป็นส่อื ของ เทพเจา้ บน
สวรรค์ กษตั รยิ จ์ งึ ทรงตงั้ พราหมณ์เป็นท่ปี รกึ ษาราชการเรยี กว่า "ปุโรหติ " ปจั จุบนั โหราศาสตรม์ ี
อทิ ธพิ ลต่อชวี ติ ประจาํ วนั ของคนไทย โดยเขา้ ไปเกย่ี วขอ้ งในเรอ่ื งต่างๆ เหล่าน้ี คอื

๑. การทาํ นายลกั ษณะและบุคคลในอนาคต โดยดูจากวนั เดอื นปีเกดิ ลกั ษณะ รปู รา่ ง หรอื
จากลายมอื เช่น มกี ารนําดวงชะตามาพจิ ารณาว่าเกดิ ปีใดจะเป็นธาตุอะไร เช่น ปีชวดกบั ปีกุน เป็น
ธาตุน้ํา ปีฉลกู บั ปีจอ เป็นธาตุดนิ ปีมะเสง็ กบั ปีมะเมยี เป็นธาตุไฟ แลว้ เทยี บว่าธาตุใดเป็นมติ รหรอื
ศตั รกู นั เช่น ธาตุดนิ เหมาะกบั ทุกธาตุ ธาตุน้ํากบั ธาตุไฟไมเ่ หมาะกนั เพราะไฟเผาน้ําและธาตุเหลก็
กบั ไฟไมด่ ี เพราะไฟเผาเหลก็ เป็นตน้ การเปรยี บเทยี บธาตุ ค่มู ติ ร และศตั รนู ้ีมเี พ่อื ประโยชน์ในการ
ทาํ นายหาเน้อื คขู่ องบา่ วสาว และเพ่อื หาความสขุ ในการครองเรอื น

๒. การดฤู กษ์ยาม ปจั จบุ นั น้ีโหราศาสตรเ์ ขา้ มามอี ทิ ธพิ ล อยา่ งใหญ่หลวง ในการหาฤกษ์
ยามของการปลกู บ้าน และการเดนิ ทาง แต่ทม่ี อี ทิ ธพิ ลมาทส่ี ุดน่าจะไดแ้ ก่การแต่งงาน ซง่ึ ตอ้ งมกี าร
กําหนดเดอื น คนไทยบางส่วนท่ยี ดึ มนั่ ในประเพณีความเช่อื ดงั้ เดมิ อยู่ เช่น ดูฤกษ์หรอื กําหนดของ
การนุ่งผ้าใหม่ ตดั ผา้ ใหม่ ห้ามตดั ผมวนั พุธ หา้ มโกนผมวนั พฤหสั บดี รวมทงั้ ยงั ดูไปถงึ การเผาผี
ดว้ ย เช่น วนั พฤหสั บดแี ละวนั ศุกรห์ า้ มเผาผี เป็นตน้

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๖๑ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๓. การทาํ นายฝนั การฝนั และการทาํ นายฝนั ยงั คงปฏบิ ตั กิ นั อยู่ เช่น ฝนั ว่าทอดแหตกปลา
และไดป้ ลาแปลว่าจะเสยี ของรกั ฝนั ว่าไดส้ วมแหวนแปลว่าจะไดเ้ น้ือคู่ทถ่ี ูกใจ ถา้ แต่งงานแลว้ จะได้
บตุ รสุดทร่ี กั และฝนั วา่ ถูกตดั มอื ตดั เทา้ ใส่ขอ่ื คา แปลว่าจะไดเ้ ล่อื นยศ เป็นตน้ ทงั้ น้ีมคี วามเช่อื กนั ว่า
ตอนใกลร้ งุ่ จะแมน่ กวา่ เวลาอ่นื ๆ

๔. การตงั้ ช่อื ช่อื นนั้ จะถอื ว่าเป็นส่วนหน่ึงทจ่ี ะผลกั ดนั หรอื ทําใหเ้ จา้ ของช่อื มอี นาคตเช่น
ไร มนี ิสยั อย่างไร ปจั จุบนั อทิ ธพิ ลของการตงั้ ช่อื ลดน้อยลงไปบ้าง เพราะดเู หมอื นว่าคนไทยมุ่งไปท่ี
ความสละสลวยของคาํ มากกว่าทจ่ี ะนกึ ถงึ ความหมายของคาํ

๕. การผูกดวงและทํานายดวงชะตา ส่วนมากมกั จะเป็นเร่อื งเฉพาะๆ ไป เช่น เร่อื ง
แต่งงาน เรอ่ื งเคราะห์ เรอ่ื งโชคชะตาต่างๆ เป็นตน้

๖. การปลูกต้นไมไ้ ว้ในบ้าน ปจั จุบนั ยงั มผี ู้ยดึ ถอื และทํานายกนั ว่าต้นไม่ใด มชี ่อื ไม่เป็น
มงคลหา้ มปลกู ไวใ้ นบา้ น เช่น ตน้ โศก ระกํา ลนั่ ทม และตน้ ไมใ้ ดทค่ี วรปลกู เช่น มะยม เป็นตน้

๗. การทาํ นายปลกี ย่อย เช่น ทํานายว่าลูกในท้องจะเป็นชายหรอื หญงิ ดูคนไขว้ ่าจะตาย
หรอื ยู่ ดลู กั ษณะสตั วเ์ ลย้ี ง ดูโชคลาภประจาํ ปี ดขู องหาย ทาํ นายการเขมน่ บรเิ วณ ต่างๆ เช่น เขม่น
ตาขวาแปลว่าจะไดล้ าภ และการสรา้ งศาลพระภมู ิ เป็นตน้

๘. การดูลกั ษณะคนและทํานายบุคลกิ ลกั ษณะเป็นอย่างไรและต่อไปจะเป็นเช่นไร โดย
พิจารณาจากท่เี กิดของไฝและปาน ลายมอื ลายเท้า น้ิวมอื หรอื สรุปได้ว่าเป็นการ ทํา นายจาก
ลกั ษณะทกุ ส่วนของรา่ งกาย

๙. ความสวยงามและการแต่งตวั เช่อื กนั ว่าสขี องเสอ้ื ผา้ จะมคี วามหมายในตวั ของมนั เอง
และมผี ลกระทบต่อผใู้ ส่ดว้ ย เช่น สมี ว่ งเป็นสแี ห่งความโศกเศรา้ เป็นสแี ห่งความ ผดิ หวงั ในรกั และ
บ่งถงึ ความเป็นหมา้ ย สเี ขยี วบ่งถงึ ความร่มเยน็ และประสบความสําเรจ็ ในชวี ติ หากผใู้ ดชอบสวมใส่
เสอ้ื เขยี วจะมกี ารพยากรณ์ว่าเป็นบุคคลท่ไี ม่ยอมแก่ เป็นคนตรงชอบความจรงิ ตรงไปตรงมา แต่
ค่อนขา้ งขาดความอบอุ่นทางจติ ใจและไมม่ คี วามแน่ใจในตนเอง๙๒

ประเพณี และพิธีกรรมในสงั คมไทย

คําว่า ประเพณี (tradition) กบั คําว่า พิธีกรรม (rite) มคี วามหมายใกล้เคยี งกนั มาก

บางครงั้ ก็ใช้ในความหมายเดยี วกนั แต่เท่าท่ผี ่านมา คําแรก น่าจะมคี วามหมายกว้างกว่าคอื กิน
ความไปถงึ วถิ ีชวี ติ (way of life) ในขณะท่คี ําว่า พธิ กี รรมมคี วามหมายไปในเชงิ พธิ กี าร หรอื
กจิ กรรมเฉพาะกจิ มากกว่า พธิ กี รรมทพ่ี บในสงั คมไทยอาจแบ่งออกได้เป็น ๔ ประเภทคอื พธิ กี รรม
ตามเทศกาล (festival) พธิ กี รรมทเ่ี กย่ี วกบั วงจรชวี ติ (rite of passage) พธิ กี รรมทเ่ี ก่ยี วกบั การทํามา
หากนิ และพธิ กี รรมทเ่ี กย่ี วกบั ชมุ ชนหรอื ทอ้ งถนิ่ ซง่ึ แต่ละพธิ กี รรมทแ่ี จกแจงแยกย่อยน้ี กย็ งั มคี วาม
เหลอ่ื มซอ้ นกนั ดว้ ย

๙๒ ชาํ นะ พาซ่อื , ปรชั ญาไทย, ภาควิชาศาสนาและปรชั ญา, (กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พม์ หาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั
, ๒๕๔๓), หน้า ๒๕-๒๖.

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๖๒ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๑. พิธีกรรมตามเทศกาล

ในรอบปีหน่งึ ๆ จะมเี ทศกาลหรอื วาระสาํ คญั มากมาย เช่นในราชสํานักกจ็ ะมพี ระราชพธิ สี บิ
สองเดือน หรือทางภาคอีสานก็จะมี ฮีตสิบสองเดือน เป็นต้น พธิ ีกรรมตามเทศกาลจงึ มกั เป็น
พธิ กี รรมชุมชนหรอื อาจเป็นพธิ กี รรมเก่ยี วกบั การทํามาหากนิ กไ็ ด้ สามารถทราบกําหนดเวลาของ
งานได้ชดั เจน ในขณะท่ีเราอาจรู้กําหนดการจดั พธิ กี รรมวงจรชีวิตได้ในบางพิธีเท่านัน้ เช่นเรา
กําหนดวนั บวช วนั แต่งงานได้ แต่กาํ หนดวนั ถงึ แก่กรรมไมไ่ ด้ ยกเวน้ บางรายแต่กเ็ ป็นส่วนน้อยมาก
พิธีกรรมตามเทศกาลจงึ ต้องทําทุกปี ในขณะท่ีพิธีกรรมเก่ียวกับวงจรชีวิตอาจไม่ทําทุกปีใน
ครอบครวั เดยี วกนั

พธิ กี รรมตามเทศกาลเสมอื นหน่งึ เป็นการวางแผนการดาํ เนินชวี ติ ในแต่ละปีดว้ ย เสมอื นว่า
มแี ผนหลกั (master plan) ไว้ เช่น ในช่วงหน้าหนาวจะมปี ระเพณีถวายฟืนให้ทางวดั เพ่อื คลาย
อากาศหนาว (ประเพณไี ทยใหญ่ทาง จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน เป็นตน้ )

นอกจากน้ี พธิ กี รรมตามเทศกาลเฉพาะท่ปี รากฏในสงั คมไทยซง่ึ มคี วามหลากหลายทาง
วฒั นธรรมนนั้ น่าสงั เกตว่าในแต่ละปีจะมเี ทศกาลถอื ศลี เป็นระยะเวลาต่อเน่ือง ดว้ ยเหตุผลในเร่อื ง
ของการรักษาจิตใจให้สงบ ไม่โกรธ ไม่อิจฉาริษยา พร้อมกับการรกั ษาสุขภาพกายไปในตัว
โดยเฉพาะการงดบรโิ ภคอาหารบางจาํ พวก หรอื งดเป็นช่วงเวลา เช่น ในกลุ่มพน่ี ้องชาวอสิ ลามจะมี
พธิ ถี อื ศลี อด (ตลอดเดอื น เรยี กเดอื นรอมฎอน) งดบรโิ ภคอาหาร-น้ําก่อนตะวนั ตกดนิ ไปจนถงึ ตะวนั
ขน้ึ ของอกี วนั หน่ึง ในขณะทพ่ี น่ี ้องชาวไทยเชอ้ื สายจนี จะมเี ทศกาลกนิ เจ งดการบรโิ ภคเน้ือสตั วเ์ ป็น
เวลาสบิ วนั ส่วนพน่ี ้องชาวไทยนนั้ มเี ทศกาลเข้าพรรษาท่พี ุทธศาสนิกชนจะถอื อุโบสถศลี (ศลี แปด
ซง่ึ มขี อ้ หา้ มในการบรโิ ภคอาหารยามวกิ าล งดบรโิ ภคเครอ่ื งดองของเมา บทบญั ญตั ใิ นศาสนาเหล่าน้ี
ทาํ ใหเ้ กดิ รปู แบบวฒั นธรรมทต่ี ้องการใหม้ นุษยห์ ยดุ สาํ รวจตนเองทงั้ กายและใจ อยา่ งน้อยกอ็ าจเป็น
กุศโลบายให้ระบบย่อยอาหารในร่างกายได้มีโอกาสพกั ฟ้ืนการทํางานลงบ้าง เป็นท่นี ่าสงั เกตว่า
เทศกาลถืออุโบสถศลี น้ีเรมิ่ จากเขา้ พรรษาในช่วงกลางๆ ปี ไปจนถงึ ออกพรรษาในช่วงต้นๆ ของ
ปลายปี ซง่ึ จะซอ้ นเหล่อื มหรอื ไล่เล่ยี กบั เทศกาลกนิ เจกบั เทศกาลถอื ศลี อดรอมฎอน อยา่ งไรกต็ าม
เทศกาลเหล่าน้กี ค็ วรไดร้ บั การพจิ ารณาทบทวนว่าดาํ เนินไปอยา่ งทไ่ี ม่กระทบกบั การดาํ เนินชวี ติ โดย
ปกตขิ องคนส่วนใหญ่ หรอื ทํากนั เป็นค่านิยมหรอื ต่นื ตามกระแสสงั คม ตวั อย่างทเ่ี หน็ ได้ชดั เจนคอื
เทศกาลกนิ เจตามคตจิ นี ทภ่ี ายหลงั ทาํ ใหพ้ ชื ผกั มรี าคาสงู กว่าปกตมิ าก และเครอ่ื งประกอบอาหารเจ
บางชนิดกเ็ ขา้ ส่กู ระแสธุรกจิ แบบทุนนิยมมากขน้ึ จนเกดิ การโฆษณาแข่งขนั กนั อย่างมาก สงิ่ เหล่าน้ี
ทาํ ให้เกดิ การบดิ ผนั เจตนารมณ์ของการกนิ เจไปเป็นเร่อื งอ่นื ๆ ทเ่ี กดิ กลุ่มผูไ้ ด้รบั ผลประโยชน์และ
เสยี ผลประโยชน์อนั ไมต่ รงกบั วตั ถุประสงคด์ งั้ เดมิ ของกุศลจติ ในเรอ่ื งกนิ เจ

๒. พิธีกรรมท่ีเกี่ยวกบั วงจรชีวิต

ในชวั่ ชวี ติ ของคนเราตงั้ แต่เกดิ ไปจนกระทงั่ ตายย่อมจะตอ้ งผ่านเหตุการณ์ทถ่ี อื ว่าเป็นช่วง
หวั เลย้ี วหวั ต่อทส่ี าํ คญั ของชวี ติ หลายช่วงดว้ ยกนั ดงั นนั้ จงึ ตอ้ งมพี ธิ กี รรมในแต่ละช่วงหวั เลย้ี วหวั ต่อ
หรอื ช่วงเปลย่ี นผ่านน้ีเพ่อื เสรมิ ความมนั่ ใจ กล่าวคอื เมอ่ื แรกเกดิ กต็ ้องมพี ธิ ที าํ ขวญั เดก็ เพ่อื ใหแ้ น่ใจ

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๖๓ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ว่าเดก็ ทเ่ี กดิ มานนั้ จะมชี วี ติ รอดไดไ้ ม่ตายเสยี ใน ๓ วนั ๗ วนั เม่อื โตขน้ึ ย่างเขา้ ส่วู ยั รุ่นกม็ พี ธิ โี กนจุก
เพ่อื แสดงว่าเดก็ นัน้ กําลงั ก้าวเข้าสู่ความเป็นผูใ้ หญ่ ต้องมภี าระรบั ผดิ ชอบเพมิ่ ข้นึ จะได้เป็นคนท่มี ี
กําลงั ใจมนั่ คง และประพฤตแิ ต่สงิ่ ทช่ี อบทค่ี วร เฉพาะผชู้ ายยงั ตอ้ งเขา้ พธิ บี วชเรยี นอกี ๓ เดอื นเม่อื
อายุ ๒๐-๒๑ ปี จากนนั้ กถ็ งึ ระยะของการสรา้ งครอบครวั ตอ้ งเขา้ พธิ หี มนั้ และแต่งงาน เม่อื เจบ็ ไข้
หรอื ประสบเคราะห์ก็ยงั ต้องประกอบพิธเี รยี กขวญั หรอื สะเดาะเคราะห์ เช่นภาคกลางมพี ิธีสวด
โพชฌงค์ต่ออายุ ส่วนทางภาคเหนือมพี ธิ สี บื ชาตา และเม่อื ตายไปก็ยงั ต้องทําพธิ เี ก่ยี วกบั งานศพ
โดยมวี ตั ถุประสงคส์ าํ คญั คอื การปลอบประโลมญาตมิ ติ รทย่ี งั มชี วี ติ อยนู่ นั่ เอง พธิ กี รรมในวงจรชวี ติ จะ
ชว่ ยเสรมิ ความเขม้ แขง็ สามคั คใี นหมเู่ ครอื ญาตไิ ดด้ ี

๓. พิธีกรรมที่เก่ียวกบั การทามาหากิน

ในชนบทไทยซ่ึงส่วนใหญ่เป็นสงั คมเกษตรกรรมนัน้ การทํามาหากินอันเก่ียวข้องกับ
ธรรมชาติเป็นส่ิงสําคญั ท่สี ุด ชาวไร่ชาวนาต้องพ่ึงพาผลผลิตจากธรรมชาติ ปรากฏการณ์ทาง
ธรรมชาตจิ งึ เป็นวถิ ชี วี ติ สาํ คญั ของพวกเขา ดงั นนั้ จงึ ตอ้ งประกอบพธิ กี รรมเพ่อื เอาอกเอาใจหรอื อ้อน
วอนสง่ิ เหนอื ธรรมชาตเิ พอ่ื ดลบนั ดาลใหม้ นี ้ําเพยี งพอแก่การเพาะปลูก และใหม้ ผี ลผลติ อุดมสมบูรณ์
จงึ มพี ิธีกรรมเก่ียวกบั การทํานาและทําขวญั ข้าวในช่วงเวลาต่างๆ ของการทํานา นอกจากน้ีใน
ภาคเหนือท่มี ภี ูเขามากมาย จงึ มคี วามจําเป็นต้องควบคุมน้ําทใ่ี ช้ในการเพาะปลูกไม่ให้มมี ากหรอื
น้อยจนเกนิ ไป ซ่งึ เรยี กว่าระบบเหมอื งฝาย เขาจงึ ต้องทําพธิ เี ล้ยี งผฝี าย หรอื ในภาคอีสาน เม่อื มี
ความแห้งแล้งเกดิ ขน้ึ ในฤดูทํานาก็ต้องทําพธิ จี ุดบงั้ ไฟเพ่อื ขอฝนจากพญาแถน เพราะต้องอาศยั
น้ําฝน สว่ นชาวประมงในลมุ่ แมน่ ้ําโขงทางตอนเหนือเมอ่ื ถงึ ฤดกู าลล่าปลาบกึ กต็ อ้ งประกอบพธิ กี รรม
เพ่อื ขจดั อุปสรรคในการจบั ปลา ในขณะท่คี นทํานาเกลอื แถบสมุทรสงคราม สมุทรสาครยงั มีศาลผี
ประจํานาเกลอื เป็นท่สี กั การบูชา เป็นต้น ทงั้ น้ีก็เพ่อื สร้างความมนั่ ใจในธรรมชาตทิ ่อี ยู่เหนือการ
ควบคมุ ของตนใหก้ ารทาํ มาหากนิ ของตนสะดวกขน้ึ ปลอดภยั และไดผ้ ลผลติ มาก

๔. พิธีกรรมท่ีเกี่ยวกบั ท้องถ่ินหรือกล่มุ ชน

พิธีกรรมน้ีมกั จะเก่ียวข้องกับเทวดา หรือผีท่ีปกปกั รักษาและคุ้มครองหมู่บ้าน เป็น
พธิ กี รรมทช่ี าวบา้ นทุกครวั เรอื นในหมบู่ า้ นจะตอ้ งมสี ่วนรว่ ม เพ่อื สวสั ดภิ าพ ความมนั่ คง ความเจรญิ
ของหมคู่ ณะ อยา่ งเช่น การเลย้ี งผเี จา้ เมอื งของชาวไทยใหญ่ในจงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน การทาํ พธิ ไี หวเ้ สา
อนิ ทขลี ของชาวเชยี งใหม่ พธิ เี ลย้ี งศาลผปี ่ตู าของชาวอสี าน พธิ ไี หวพ้ ระจนั ทรข์ องชาวจนี หรอื งาน
ทําบุญเดอื นสบิ ของชาวปกั ษ์ใต้ ในแถบอําเภอบางพลี จงั หวดั สมุทรปราการ ก็พบว่ามพี ธิ สี ่งเรอื
สะเดาะเคราะหท์ ช่ี าวบ้านจะปนั้ ดนิ เหนียวเป็นรปู คนและสตั ว์ (เช่น ววั ควาย หมู หมา) เท่าจาํ นวน
ชวี ติ ในแต่ละบา้ น ใส่เรอื ทท่ี ําจากวตั ถุทห่ี าไดใ้ นท้องถน่ิ ขนาดลําไม่ใหญ่นัก พรอ้ มขา้ วปลาอาหาร
ตามสมควร นํามารวมกนั ในช่วงหลงั สงกรานต์ แลว้ ทําพธิ เี ล้ยี งผปี ระจาํ ถน่ิ ของตน จากนนั้ กจ็ ะลอย
เรอื น้ีไปตามสายน้ําเสมอื นว่าได้ส่งสง่ิ ท่มี ชี วี ติ ทงั้ หมดในบ้านให้ภูตผแี ล้ว เช่อื ว่าเป็นการสะเดาะ
เคราะหใ์ หแ้ ละจะทาํ เช่นน้เี พ่อื หลอกผเี ป็นปีๆ ไป

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๖๔ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

จะเหน็ ว่าพธิ กี รรมทงั้ ๔ ประเภทน้ีอาจคาบเก่ยี วกนั ก็ได้ เช่น ประเพณีวง่ิ ควาย เป็นทงั้
ประเพณีตามเทศกาล (เขา้ พรรษา) และเป็นทงั้ ประเพณีในชุมชน (จงั หวดั ชลบุร)ี หรอื ประเพณีกนิ
เหนียว (แต่งงาน) เป็นทงั้ ประเพณีในวงจรชีวติ ในขณะเดยี วกนั ก็เป็นประเพณีท้องถ่นิ ชาวไทย
มุสลมิ (ภาคใต)้ หรอื ประเพณีแซยดิ วนั เกดิ ของชาวจนี ทเ่ี ป็นการแสดงความยนิ ดใี นวาระท่ผี ใู้ หญ่มี
อายคุ รบปีนักกษตั ร เช่น ๖๐ ปี ๗๒ ปี กม็ คี วามคาบเก่ยี วระหว่างประเพณวี งจรชวี ติ กบั ประเพณใี น
กลุ่มชนชาวจนี เป็นตน้

สําหรบั พธิ กี รรมหรอื กิจกรรมในรอบปีนัน้ มขี อ้ น่าสงั เกตว่าระยะหลงั ยงั มกี ารกําหนดวนั
สาํ คญั ต่างๆ ขน้ึ มาเพ่อื เน้นยา้ํ ถงึ ความสมานสามคั คแี ละความจงรกั ภกั ดตี ่อชาตแิ ละพระมหากษตั รยิ ์
เชน่ วนั ฉตั รมงคล วนั จกั รี เป็นตน้ ประเพณี – พธิ กี รรม หรอื กจิ กรรมตามวนั สาํ คญั ต่างๆ เหล่าน้ี มี
บทบาทในการทําให้สมาชกิ มคี วามรู้สึกร่วมเป็นอนั หน่ึงอันเดียวกนั และเป็นโอกาสท่จี ะได้ร่วม
ทาํ บญุ ทาํ ทาน กนิ เลย้ี ง และรน่ื เรงิ สนุกสนานรว่ มกนั หนุ่มสาวกม็ โี อกาสพบปะกนั อกี ทงั้ ยงั เป็นเหตุ
ใหม้ กี ารรวมญาตริ วมมติ รทอ่ี าศยั อย่หู ่างไกลไดม้ าร่วมสงั สรรคก์ นั ทงั้ หมดน้ีคอื พธิ กี รรมทจ่ี ะทําให้
ทุกคนรสู้ กึ ว่าตนเองเป็นส่วนหน่ึงของชุมชน สงั คมหรอื ประเทศชาตใิ นท่สี ุด นําไปสู่ความเขม้ แขง็
ของชุมชน หากใชส้ ง่ิ เหล่าน้ีใหเ้ ป็นประโยชน์กเ็ ท่ากบั ว่าเราไม่ตกเป็นทาสของพธิ กี รรม แต่เป็นนาย
ของพธิ กี รรม แต่มขี อ้ น่าสงั เกตว่า เทศกาลสงกรานต์ในระยะหลงั มาน้ี กลบั กลายเป็นเทศกาลของ
การเดินทางไกล และทําให้เกิดอุบตั ิเหตุมากจนน่าทบทวนในสงิ่ ท่เี กิดข้นึ ทงั้ ทางฝ่ายรฐั บาลและ
เอกชนตลอดจนประชาชนทวั่ ไป

ระบบความเช่ือ : ความเหน็ เชิงลบและเชิงบวก

ระบบความเชอ่ื ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบ ๓ ส่วน ทจ่ี ะแยกทําความเขา้ ใจใหช้ ดั เจนขน้ึ คอื
ตาํ นาน สญั ลกั ษณ์ และพธิ กี รรม ตํานานหรอื (myth) คอื เรอ่ื งเล่าอนั แสดงทม่ี าหรอื ตน้ เคา้ ว่าทําไมจงึ
เกดิ สญั ลกั ษณ์นนั้ ๆ หรอื พธิ กี รรมนนั้ ๆ หรอื ความเช่อื เช่นนนั้ เช่น ประเพณกี รวดน้ําหลงั ทาํ บุญเพ่อื
อุทศิ ส่วนกุศลใหผ้ ูล้ ่วงลบั มที ม่ี าแต่ครงั้ ก่อนพุทธกาลว่าเม่อื พระโพธสิ ตั วใ์ กลจ้ ะบรรลุพระโพธญิ าณ
ได้มกี องทพั พญามาร (เปรยี บได้กบั กเิ ลส) ยกมาขดั ขวางมใิ ห้ทรงตรสั รู้ พญามาราธริ าชถามพระ
โพธสิ ตั ว์ว่า ท่านเป็นใคร สงั่ สมบุญมาแต่ชาตไิ หน จงึ คดิ ว่าจะตรสั รูเ้ ป็นมหาบุรุษได้ในโลก พระ
โพธสิ ตั ว์หรอื เจา้ ชายสทิ ธตั ถะในเพศบรรพชิตทรงตอบว่า พระองค์ได้สงั่ สมบุญบารมมี าเป็นอเนก
ชาติ ยกั ษ์กท็ ้าทายต่อไปว่าให้หาพยานมา พระโพธสิ ตั วจ์ งึ ชน้ี ้ิวไปทพ่ี น้ื ดนิ ทนั ใดนนั้ แม่พระธรณีก็
ปรากฏข้นึ และบบี มวยผมให้น้ําออกมาท่วมกองทพั พญามารแตกพ่ายไปและพระองค์กบ็ รรลุพระ
โพธญิ าณในทส่ี ุด

เหตุการณ์ในพุทธประวตั ิตอนน้ีทําให้เกดิ รูปแบบวฒั นธรรมต่างๆ ตามมามากมาย เช่น
พระพทุ ธรปู ปางมารวชิ ยั ในท่านงั่ ขดั สมาธิ พระหตั ถข์ วาวางบนพระเพลาขวา น้ิวพระดชั นีชไ้ี ปเบอ้ื ง
ต่ํา คอื ดนิ และเกิดภาพจติ รกรรมฝาผนังตอนมารผจญ ซ่งึ จติ รกรมกั เขยี นไว้ท่ผี นังตรงขา้ มพระ
ประธาน นอกจากน้ีก็เกดิ ประเพณีกรวดน้ําหลงั ทําบุญทุกครงั้ จากความเช่อื ว่า เม่อื พระโพธสิ ตั ว์
บําเพญ็ บุญบารมคี รงั้ ใดกจ็ ะหลงั่ น้ําไปสะสมไวท้ แ่ี ม่พระธรณีทุกครงั้ และทาํ ใหเ้ กดิ ประตมิ ากรรมรปู

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๖๕ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

แม่พระธรณีบบี มวยผมด้วย (ท่มี ชี ่อื เสยี งอยู่ท่มี ุมสนามหลวง ถนนราชดําเนินใน) อนั ท่จี รงิ การ
กรวดน้ํากเ็ ท่ากบั เป็นการตงั้ สมาธจิ ติ ตงั้ ความปรารถนาดตี ่อญาตพิ ่นี ้องผู้ล่วงลบั ต่อเจา้ กรรมนาย
เวร ซง่ึ กค็ อื สรรพสตั วท์ งั้ หลายในโลกใหไ้ ดร้ บั ผลกุศลของเรา ซง่ึ ถ้าไมส่ ะดวกหรอื ลมื เรากม็ กั ไดร้ บั
คาํ สอนจากผใู้ หญ่เสมอใหก้ รวดแหง้ เอากไ็ ด้ หมายถงึ ไมต่ อ้ งใชน้ ้ํากไ็ ด้ สง่ิ สําคญั คอื ความตงั้ ใจแน่ว
แน่ต่อการอุทศิ กุศล ทุกสง่ิ ในโลก น่าจะมที งั้ คุณและโทษเปรยี บเสมอื นเหรยี ญสองดา้ น ศาสนา คติ
ความเช่อื ทส่ี ะทอ้ นผา่ นวฒั นธรรมรปู แบบต่างๆ ไมว่ ่าศลิ ปกรรม ประเพณี พธิ กี รรม หรอื ขอ้ หา้ ม ขอ้
ปฏิบตั ิต่างๆ ก็ดี ล้วนมคี ุณค่าในขณะเดียวกันก็อาจมขี ้อเสียก็ได้ สุดแต่ผู้นําไปใช้จะมดี ุลยพินิจ
เพยี งใด ดงั คาํ กล่าวทว่ี า่ เราจะตกเป็นทาสของประเพณีหรอื เราจะนําประเพณมี าใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์
นนั่ คอื การปฏบิ ตั ติ ามประเพณีโดยไมร่ คู้ วามหมายทแ่ี ทจ้ รงิ โดยอา้ งว่าทําตามกนั มา เพราะสง่ิ น้ีจะ
เขา้ ขา่ ยของความงมงายได้

ในสงั คมไทยเรามกั ไดย้ นิ คาํ กลา่ วน้เี สมอคอื “ตาน้าพริกละลายแม่น้า” นนั่ คอื เมอ่ื จดั งาน
ประเพณี-พธิ กี รรมทไี รกม็ กั จะสน้ิ เปลอื งเงนิ ทองมากมาย ส่วนใหญ่หมดไปกบั การจดั เลย้ี งแขก เป็น
การรกั ษาศกั ดศิ ์ รฐี านะของเจา้ ภาพ แมจ้ ะกู้หน้ียมื สนิ กต็ าม หรอื เม่อื จดั งานศพกม็ กั มคี าํ พูดว่า ‚คน
ตายขายคนเป็น‛ หมายถงึ คนเป็นซง่ึ หมายถงึ เจา้ ภาพและญาตพิ น่ี ้องกม็ กั จะตอ้ งใชเ้ งนิ ครงั้ ละมากๆ
ไปกบั การจดั งาน ซง่ึ คาํ พดู น้ไี มย่ ตุ ธิ รรมกบั คนตายทไ่ี ม่ไดม้ ารเู้ ร่อื งรรู้ าวดว้ ยเลย อนั ทจ่ี รงิ แลว้ ถ้าคน
ตายไมไ่ ดส้ งั่ เสยี ใหญ้ าตจิ ดั งานใหญ่โตกน็ ่าจะตอ้ งกล่าวโทษเจา้ ภาพทเ่ี อาคนตายมาขาย นอกจากน้ี
ชว่ งหลงั ๆ มาน้ี เจา้ ภาพถงึ กบั ใหม้ บี ่อนการพนันมาเล่นในงานศพเพ่อื เกบ็ ค่าเช่า (ค่าต๋ง) ตวั อย่างน้ี
ยง่ิ ทําให้เห็นชดั ว่า เราใช้ประเพณีเพ่อื แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตวั ทงั้ เป็นการนําไปสู่อบายมุข
โดยตรง

ทก่ี ลา่ วไปแลว้ น้ี เป็นตวั อยา่ งของการใชว้ ฒั นธรรมความเช่อื ไปในเชงิ ลบ ในส่วนทเ่ี ป็นเชงิ
บวกนนั้ กม็ อี ยไู่ มน่ ้อย ดงั จะขอจาํ แนกเป็นประเดน็ ต่อไปน้ี

๑. วฒั นธรรม-พิธีกรรม เป็นกลไกสร้างความเข้มแขง็

การมคี วามคดิ ความเช่อื ในสงิ่ เดยี วกนั ย่อมหมายถงึ ความเป็นน้ําหน่ึงใจเดยี วกนั ความ
กลมเกลยี วทจ่ี ะทํากจิ กรรมต่างๆ ไปดว้ ยกนั ซ่งึ ส่งผลถงึ ความเป็นปึกแผ่น ความเขม้ แขง็ ของสงั คม
ในทส่ี ุด

ดงั นนั้ ความเช่อื ในสง่ิ นอกเหนือธรรมชาติ โดยเฉพาะเร่อื งผี เรอ่ื งวญิ ญาณ จงึ เป็นสงิ่ ทจ่ี ะ
อยู่คู่มนุษย์ต่อไป เพราะเม่อื ถึงจุดหน่ึงท่คี วามคดิ ทางวิทยาศาสตรไ์ ม่สามารถตอบข้อสงสยั ของ
มนุษยไ์ ดเ้ รากจ็ ะไปทร่ี ะบบ ความเช่อื ดงั นนั้ สังคมไทยในอดตี จงึ จดั ระบบความเช่อื เร่อื งผไี วอ้ ย่าง
สลบั ซบั ซ้อน มเี หตุมผี ล ประกอบด้วยผดี ที ่ใี ห้คุณ และผรี า้ ยท่ใี ห้โทษเม่อื ทําผดิ ต่อกฎเกณฑ์ของ
สงั คม ความเช่อื ในเร่อื งน้ีจงึ กลายเป็นกลไกควบคุมสงั คมท่สี ําคญั แต่สงั คมท่เี ปล่ยี นแปลงไปใน

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๖๖ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ปจั จุบนั ดว้ ยการเตบิ โตของระบบทุนนิยม รวมทงั้ กฎหมายบ้านเมอื งทล่ี บลา้ งจารตี ประเพณีดงั้ เดมิ
ความเช่อื เรอ่ื งผที เ่ี คยเป็นสว่ นสาํ คญั ในการควบคุมสงั คมกล็ ดบทบาททเ่ี ป็นระบบลง๙๓

แต่ถา้ พจิ ารณาใครค่ รวญเร่อื งของความเช่อื ในความหมายทต่ี รงกนั ขา้ มแลว้ เรากจ็ ะพบว่า
ความเช่ือ พิธีกรรมก็อาจเกิดผลเชิงลบเช่นกัน หากผู้คนงมงายอย่างไร้เหตุผล เช่น การแจก
น้ํามนตรค์ าถานครฐานสูตรของกรงุ เทพมหานคร เม่อื เดอื นเมษายน ๒๕๔๕ ซง่ึ เกดิ ทุจรติ ชนปลอม
น้ํามนตรม์ าเร่ขาย เพราะมผี ู้คนแตกต่นื มาขอรบั มากมายจนน้ํามนตร์ไม่พอแจก ทงั้ ยงั เกดิ ภาวะ
ระส่ําระสายจากฝูงชนท่ีแสดงความต้องการน้ํามนตร์อย่างแรงกล้า จึงปรากฏทุจรติ ชนท่ปี ลอม
น้ํามนตรข์ ายหาประโยชน์ใหต้ นเอง

๒. เป็นที่พ่ึงทางใจ ขจดั ความกงั วล ความไมม่ นั่ ใจ

มนุษย์มีสัญชาตญาณของความกลัว ย่ิงในยุคท่ียังไม่มีหลักวิทยาศาสตร์อธิบาย
ปรากฏการณ์เหนอื ธรรมชาตไิ ด้ มนุษยก์ ย็ งิ่ กลวั ฟ้ารอ้ ง ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า พายุ น้ําท่วม ฯลฯ มนุษยจ์ งึ
เช่อื ว่ามผี วี ญิ ญาณสงิ อยู่ตามป่า เขา ทะเล ต้นไม้ แมก้ ระทงั่ ของใช้ในชวี ติ ประจาํ วนั การเซ่นสรวง
ไหว้พลี อ้อนวอน แมก้ ระทงั่ ติดสนิ บนสง่ิ ศกั ดสิ ์ ทิ ธเิ ์ หล่าน้ี ทําให้มนุษยห์ ายหวาดกลวั สบายใจขน้ึ
มนั่ ใจขน้ึ และเกดิ เป็นรปู แบบวฒั นธรรมต่างๆ ขน้ึ

อยา่ งไรก็ตาม แมว้ ทิ ยาศาสตรจ์ ะอธบิ ายสงิ่ นอกเหนือธรรมชาตเิ หล่าน้ีได้ แต่บางครงั้ กย็ งั
อธบิ ายไมไ่ ดท้ งั้ หมด เราจงึ เหน็ ว่า คนในยุคปจั จุบนั กย็ งั นับถอื ภูตผวี ญิ ญาณอย่ไู ม่น้อย โดยเฉพาะ
ในส่วนทเ่ี กย่ี วกบั ความตาย๙๔ เม่อื ญาตพิ น่ี ้องคนใกลช้ ดิ ถงึ แก่ความตาย จงึ มกั มพี ธิ กี รรมเขา้ มาช่วย
ลดความหวาดกลวั ลงไป ต้องเอาขา้ วเอาน้ําไปเซ่นไหว้ทโ่ี ลงศพใหม้ ากนิ เคร่อื งเซ่น เพราะเกรงว่า
วญิ ญาณจะหวิ โหย ถงึ เทศกาลทเ่ี ชอ่ื ว่าโลกของผจี ะเปิดประตูใหล้ งมาเยย่ี มญาตใิ นเมอื งมนุษยก์ จ็ ะมี
พธิ ที ําบุญให้ และพธิ กี รรมทาํ นองน้ีจะพบว่ามที ุกภูมภิ าค ทุกกลุ่มชนในสงั คมไทย เช่น ภาคกลางมี
พธิ ที ําบุญบงั สุกุลอัฐวิ นั สงกรานต์ ภาคใต้มปี ระเพณีชงิ เปรตหรอื ท่เี รยี กสารทเดอื นสบิ คนจนี มี
ประเพณไี หวเ้ ชง็ เมง้ เป็นตน้ พธิ กี รรมดงั กล่าวเป็นเคร่อื งมอื เช่อื มโยงโลกของคนเป็นกบั โลกของคน
ตายให้มาอย่ใู กลก้ นั ทําให้คนเป็นไม่รสู้ กึ ว้าเหว่มากนัก เพราะไดม้ กี จิ กรรมตดิ ต่อกบั ญาตพิ น่ี ้องท่ี
ลว่ งลบั ไปแลว้ เป็นครงั้ เป็นคราว

นอกจากน้หี ากทบทวนดๆี เราจะพบวา่ ประเพณเี ก่ยี วกบั วงจรชวี ติ ยงั สรา้ งความเช่อื มนั่ ต่อ
สภาวะทเ่ี รยี กว่าจุดเปลย่ี นผ่านของชวี ติ ใหด้ สู นิทแนบเนียนขน้ึ เช่น ประเพณบี วชกจ็ ะมพี ธิ ที ําขวญั
นาค เสมอื นหน่ึงการกล่อมเกลาจติ ใจนาคให้ก้าวเขา้ สู่สภาวะภกิ ขุผู้นุ่งห่มผ้าเหลอื งและจะใช้ชวี ติ
เยย่ี งคนในธรรมะทต่ี นไมค่ ุน้ เคย เพ่อื กา้ วเขา้ สกู่ ารบวชเรยี นใหเ้ ป็นคนสุกตามคตคิ นไทยก่อนจะเป็น

๙๓ ศรศี กั ร วลั ลโิ ภดม, บทเรียนภาคปฏิบตั ิและวิถีทรรศน์เชิงนโยบายเพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกบั
ชมุ ชน, พลวตั รชมุ ชนไทยสมยั โลกาภิวฒั น์, (กรุงเทพมหานคร : อมรนิ ทร์ พรน้ิ ต้งิ แอนด์ พบั ลชิ ชง้ิ จํากดั (มหาชน), ๒๕๓๙),
หน้า ๓๔.

๙๔ แสงอรุณ, ต่อแต่นี้...มีแต่ทางเลอื ก....., (กรงุ เทพมหานคร : สานแสงอรณุ , ๒๕๔๒), หน้า ๓๘.

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๖๗ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ผู้ใหญ่ท่ไี ด้รบั การยอมรบั นับถอื ในสงั คม และเข้าพธิ แี ต่งงานมคี รอบครวั เป็นหลกั เป็นฐานสบื ไป
เราจงึ มคี าํ พดู ลอ้ เลยี นกนั มาวา่ ‚อยา่ เบยี ดก่อนบวช‛

ในพธิ แี ต่งงานก็เช่นกนั การท่คี นสองคนจะตกลงใจหรอื ได้รบั การตกลงจากผู้ใหญ่ให้ใช้
ชวี ติ รว่ มกนั ไปตลอดชวี ติ อาจเป็นความไม่คุน้ หน้า (ในยคุ ทส่ี งั คมยงั ใหค้ วามสําคญั กบั ความบรสิ ุทธิ ์
ของทงั้ ค่บู า่ ว-สาว) ความแปลกหรอื ความไมค่ ุน้ เคยน้ีทําใหต้ อ้ งมพี ธิ แี ต่งงานเขา้ มาเกย่ี วขอ้ ง พธิ กี นิ
ดอง (กนิ เลย้ี งเพ่อื ดองความเป็นญาตกิ นั ทงั้ สองฝา่ ย) ของทางภาคอสี าน เป็นตวั อย่างทเ่ี หน็ ไดช้ ดั ถงึ
การสรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหว่างบ่าวสาวตลอดจนญาตทิ งั้ สองฝ่าย กล่าวคอื มกี าร “ผกู ข้อต่อแขน”
ใหญ้ าตทิ จ่ี ะมาเป็นเขยหรอื สะใภ้กบั ฝ่ายตนดว้ ย เท่ากบั ว่า พธิ กี รรมเปิดโอกาสใหส้ รา้ งความคุน้ เคย
ความอบอุ่นในระหวา่ งญาตมิ ติ รทจ่ี ะมาเก่ยี วดองกนั ดว้ ยอากปั กริ ยิ าใกลช้ ดิ สนิทสนม จากสมั ผสั และ
เสน้ ฝ้ายทใ่ี ช้ เทา่ กบั เป็นการสรา้ งความสบายใจ ความมนั่ ใจใหท้ ุกคนโดยเฉพาะบ่าว-สาว

๓. ระบบความเช่ือ ช่วยรกั ษาสมดลุ ทางธรรมชาติ

เป็นทท่ี ราบกนั ดใี นปจั จบุ นั ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาตทิ ว่ี ปิ รติ ผดิ ผนั ไปจากกฎเกณฑ์
ธรรมชาติเช่นปรากฏการณ์เอลลนิ โญ่ เกิดจากการท่มี นุษยฝ์ ืนธรรมชาติ ไม่ว่าตดั ไม้ทลี ะจํานวน
มากๆ หรอื ใชเ้ ชอ้ื เพลงิ ธรรมชาติ (น้ํามนั แก๊ส) หรอื น้ําจาํ นวนมหาศาล เพอ่ื ใชก้ บั ระบบอุตสาหกรรม
ขนาดใหญ่ การฝา่ ฝืนน้ีทาํ ใหธ้ รรมชาตขิ าดความสมดุล มผี ลใหเ้ กดิ น้ําท่วม แผ่นดนิ ไหว พายุรนุ แรง
ถึงฤดูฝน ฝนไม่ตก ถึงหน้าแล้งฝนกลบั ตกแบบกระเซ็นกระสาย ซ่งึ สิง่ น้ีย่อมส่งผลมาถึงความ
เสยี หายต่อชวี ติ และทรพั ยส์ นิ อนั ประมาณค่ามไิ ด้ และเป็นผลกระทบในวงกวา้ งทุกภูมภิ าคของโลก
และน่าสงั เกตวา่ เกดิ ขน้ึ บ่อยครงั้ มากในชว่ งหลงั ๆ มาน้ี

ทําไมจงึ เป็นเช่นน้ี ในขณะท่สี งั คมแต่ก่อนซ่งึ ยงั เช่อื ว่าดนิ น้ํา ลม ไฟ มวี ญิ ญาณสถิต
ประจํา คอื แม่พระธรณี (ดนิ ) แมพ่ ระคงคา (น้ํา) พระพายุ (ลม) ไฟ (พระอคั นี) สามารถดลบนั ดาล
ภยั พบิ ตั ไิ ดห้ ากไปลบหล่ทู ่าน หรอื นําทา่ นมาใชอ้ ยา่ งประมาท

มคี วามเป็นไปได้ว่าการท่ีคนแต่ก่อนทําพิธีเซ่นสรวง พลีบูชาธรรมชาติเพราะเช่ือว่า
ธรรมชาตมิ วี ญิ ญาณสงิ สถติ อยู่ ทาํ ใหม้ นุษยไ์ ม่กลา้ ฝา่ ฝืน ไมก่ ลา้ ทาํ ลายธรรมชาติ จะตดั ต้นไมแ้ ต่ละ
ตน้ กต็ อ้ งมพี ธิ เี ซ่นสรวงขออนุญาตเทพารกั ษ์ เพ่อื ใหเ้ ทพารกั ษ์รตู้ วั และไม่โกรธคนตดั คนแต่ก่อนจงึ
ตดั ไมเ้ ท่าท่ตี นเองจะนําไปใช้สอย ทําใหต้ ้นไมม้ โี อกาสเตบิ โตทนั ในขณะท่รี ะบบอุตสาหกรรมไม่
เกรงกลวั เทพารกั ษ์จงึ ตดั ทลี ะมากๆ หรอื ทลี ะภเู ขา การขาดรากไมข้ นาดใหญ่จาํ นวนมากๆ ยดึ น้ําไว้
กบั ดนิ จงึ ทาํ ใหเ้ กดิ อุทกภยั ซง่ึ ปรากฏการณ์น้ีหากจะใชค้ ําพูดอยา่ งคนโบราณกค็ งจะเป็นคาํ ว่า ‚ถูก
ฟ้าดนิ ลงโทษ‛ ซง่ึ กไ็ มผ่ ดิ ความจรงิ มากนกั

พวกกะเหร่ยี ง สะกอ หรอื ปกากะญอมพี ธิ ีเอากระบอกสายสะดอื เด็กเกิดใหม่แขวนกบั
ต้นไม้ใหญ่ในป่า แสดงว่าหา้ มตดั ถ้ามเี ด็กเกิดใหม่มากต้นไมท้ ่หี ้ามตดั ก็มากขน้ึ ด้วย เป็นวธิ เี ก็บ

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๖๘ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

รกั ษาปา่ แบบกะเหรย่ี ง๙๕ ภมู ปิ ญั ญาของชาวกะเหรย่ี งทโ่ี ยงความเช่อื กบั การรกั ษาธรรมชาตดิ ว้ ยวธิ นี ้ี
เป็นแนวเดยี วกบั การทค่ี นไทยแต่ก่อนจะฝงั รกไวท้ ใ่ี ตต้ น้ ไม้ หรอื ปลูกต้นไมบ้ นหลุมทฝ่ี งั รกน้ี พรอ้ ม
กบั บอกเลา่ ใหเ้ ดก็ ฟงั เมอ่ื เดก็ โตขน้ึ เดก็ กจ็ ะรกั ษาตน้ ไมน้ ้ีเสมอื นเป็นตน้ ไมค้ ่ชู พี ของเขา๙๖

สงั คมไทยยงั มปี ระเพณีทเ่ี ก่ยี วกบั ธรรมชาตอิ กี มาก เช่นทางภาคเหนือมพี ธิ สี บื ชาตาแมน่ ้ํา
พธิ สี บื ชาตาต้นไม้ สบื ชาตาป่า ในส่วนของพธิ กี รรมทเ่ี ก่ยี วกบั น้ํานัน้ ท่คี นไทยทุกภูมภิ าครูจ้ กั กนั ดี
คอื ประเพณีลอยกระทง ซ่งึ วตั ถุประสงคด์ งั้ เดมิ ก็คอื การขอขมาแม่พระคงคา (วญิ ญาณท่เี ช่อื ว่า
รกั ษาแมน่ ้ําลาํ คลอง) ทต่ี นไดล้ ่วงเกนิ ถ่ายเทสง่ิ ปฏกิ ูลลงไป และขอบคุณแม่พระคงคาทใ่ี หม้ นุษยไ์ ด้
ใชอ้ ุปโภค บรโิ ภค น่าเสยี ดายท่ปี ระเพณีลอยกระทงเกดิ ความผดิ เพย้ี นจากวตั ถุประสงคเ์ ดมิ ไปมาสู่
สาระเพยี งแค่ความสนุกสนาน และเพ่อื ให้หนุ่มสาวได้อธษิ ฐานร่วมกันภายใต้แสงจนั ทร์วนั เพ็ญ
ก่อนท่ี (อาจจะ) จะนําไปส่โู ศกนาฏกรรมในคลนิ ิกเถ่อื นหากเกดิ การตงั้ ครรภไ์ มพ่ งึ ประสงค์ หรอื การ
ท่หี น่วยงานการท่องเท่ยี วของรฐั บาลไทยหวงั ผลเพียงเพ่อื ให้มนี ักท่องเท่ยี วเข้ามาเท่ียวมากๆ
ในช่วงเทศกาลลอยกระทง โดยไม่คาํ นึงถงึ กระทงธรรมชาตหิ รือกระทงวสั ดุสงั เคราะหท์ เ่ี ป็นขยะใน
น้ํา (แมพ่ ระคงคา) ว่าจะเพม่ิ มากขน้ึ จากปกติ

นอกจากน้ี ทางภาคใต้เราพบว่าบรเิ วณท่เี ป็นป่าช้านัน้ จะเป็นแหล่งอาหารธรรมชาตอิ นั
ยากท่ผี ู้ใดจะกล้าล่วงล้ําเข้าไปได้ในขณะท่ธี รรมชาติบรเิ วณอ่นื ๆ ถูกมนุษย์รุกล้ํานําไปใช้จนเกิด
สภาพเส่อื มโทรม แต่บรเิ วณป่าชา้ จะไม่มใี ครเขา้ มารบกวน จงึ ยงั คงความสมบูรณ์อยู่ และชาวบา้ น
เช่อื ว่าถ้าเขา้ ไปขอเกบ็ ผกั หญ้าเลก็ ๆ น้อยๆ กจ็ ะไม่ถูกภูตผลี งโทษ นอกจากจะโลภนําออกไปทลี ะ
มากๆ เท่ากบั ธรรมชาตไิ ม่มโี อกาสฟ้ืนตวั ปรากฏการณ์น้ียงั เกดิ ขน้ึ ในชนบททางภาคอสี านเช่นกนั
คอื บรเิ วณศาลผปี ่ตู า ซ่งึ เป็นสถานท่ศี กั ดสิ ์ ทิ ธขิ ์ องชุมชน จะคงสภาพความสมบูรณ์ของธรรมชาติ
เชน่ เดยี วกบั ปา่ ชา้ ทางภาคใต้

ในสงั คมไทย วฒั นธรรม คติความเช่อื มคี วามเก่ยี วพนั กบั มนุษยท์ งั้ ในระดบั ปจั เจกและ
ระดบั ชุมชนมาช้านาน ผู้ปกครองสมยั โบราณอาศยั ความเช่อื ทางศาสนาพุทธ พราหมณ์ผสานกบั
ความเช่อื ท้องถิ่นในระดบั ชาวบ้าน สร้างความเป็นปึกแผ่นให้สงั คม แต่ทงั้ น้ีผู้ปกครองก็จะต้องมี
คุณธรรมดว้ ย นอกจากน้ีความเช่อื ไม่ว่าจะเป็นทางคตพิ ุทธ พราหมณ์ หรอื ผี จะใหค้ ุณหรอื โทษนัน้
ขน้ึ อย่กู บั มนุษยท์ จ่ี ะมวี จิ ารณญาณอยา่ งไร จะใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์กไ็ ด้ หรอื จะตกเป็นทาสดว้ ยความ
เช่อื งมงาย ไรเ้ หตุผลกไ็ ด้ เพราะแก่นพุทธศาสนาสอนใหม้ นุษยม์ เี หตุผล เดนิ สายกลาง และผลเกดิ
จากเหตุ การมี ‚สต‛ิ อาจทาํ ใหไ้ มเ่ สยี ‚สตงั ค‛์ ค่างมงาย เช่น สะเดาะเคราะหด์ ว้ ยราคา ๙๙๙ หรอื
๙๙ บาท ซ่งึ นอกจากเสยี เงนิ ทองแล้ว บางครงั้ ยงั อาจเสยี ตวั ด้วย โดยเฉพาะสตรี และต้องไม่ลมื
คาํ นึงถงึ ความต่างของ ๒ คาํ น้ี คอื

๙๕ รองศาสตราจารย์ อรศริ ิ ปาณินท์, หมู่บา้ นลอยน้าของไทย, วารสารประกอบการประชุมวชิ าการสถาปตั ยปาฐะ ๔๕,
(กรุงเทพมหานคร, ๒๕๔๕).

๙๖ เอกวทิ ย์ ณ ถลาง, วิเคราะห์เอกลกั ษณ์ไทยในกระแสความเปลี่ยนแปลง, (กรุงเทพมหานคร : อมรนิ ทรพ์ ร้นิ ต้งิ
กรุ๊พ, ๒๕๔๕), หน้า ๓๗.

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๖๙ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

-ไสยศาสตร์ (ไสยะ - ความหลบั ไหล งมงาย โงเ่ ขลา มวั เมา)

-พทุ ธศาสตร์ (พุทธะ - ผรู้ ู้ ผตู้ นื่ ผเู้ บกิ บาน แจม่ ใส)

จะเห็นว่ามคี วามจําเป็นท่จี ะต้องทําความเขา้ ใจเร่อื งของศาสนา-ความเช่อื เพราะส่ิงน้ี
ก่อให้เกดิ ศลิ ปวฒั นธรรม ค่านิยมต่างๆ โดยเฉพาะในสงั คมไทยซ่งึ มสี ถาบนั หลกั คอื ศาสนา และ
พระมหากษตั รยิ ์ อย่างไรกต็ ามยงั มวี ฒั นธรรมส่วนต่างๆ อกี มากมายในทุกภูมภิ าคของไทยท่เี กิด
จากความเช่ือท้องถิ่นนัน้ ๆ และส่ิงน้ีเป็นประโยชน์ท่ีทําให้เกิดการรวมตัวของสงั คม โดยผ่าน
กระบวนการทางวฒั นธรรมด้านต่างๆ ท่เี ห็นเด่นชดั คือ ประเพณีหรอื พธิ กี รรมต่างๆ แต่จะต้อง
ตระหนักว่า ในปจั จุบนั มกี ารใชค้ วามเช่อื ทางไสยศาสตรม์ ากมายเพ่อื ตอบสนองความไม่มนั่ คงทาง
จติ ใจของผคู้ นทย่ี งั ขาดความเช่อื มนั่ ในหลกั ธรรมทางศาสนา จงึ เปิดโอกาสให้คนทุจรติ อาศยั ความ
งมงายเป็นช่องทางทํามาหากนิ ดงั นัน้ จงึ ขอให้ใช้วจิ ารญาณในเรอ่ื งน้ีให้ดแี ละถ้วนถ่ี เพราะความ
เช่อื ทางศาสนามใิ ช่แสดงออกทางวตั ถุเคร่อื งรางของขลงั ตดิ ตวั เท่านนั้ แต่หมายรวมไปถงึ แบบแผน
วถิ ชี วี ติ ทุกเรอ่ื ง ไมว่ ่าการกนิ การอยู่ การรกั ษาพยาบาล แมก้ ารนุ่งห่มหรอื ขอ้ หา้ มต่างๆ ท่ีเป็นจารตี
หรอื กลไกใหค้ นในสงั คมไดใ้ ชช้ วี ติ รว่ มกนั อยา่ งสนั ตสิ มานฉนั ทจ์ ากวฒั นธรรมหลากมติ ิ

๔.๖ ปัจจยั ท่ีมีผลต่อการสร้างสรรคภ์ มู ิปัญญาไทย

ภมู ปิ ญั ญาไทยเป็นเร่อื งของการใชค้ วามรู้ ความคดิ และทกั ษะการปฏบิ ตั เิ ป็นการปรบั ตวั
เพ่อื ความอยู่รอดของตนเองและชุมชน จงึ มกี ารเปล่ยี นแปลงให้สมดุลกับการพฒั นาทางสงั คมอยู่
ตลอดเวลา ซง่ึ ในแต่ละทอ้ งถนิ่ กม็ เี อกลกั ษณ์ของตนเอง ปจั จยั ทส่ี ําคญั ทม่ี ผี ลต่อการสรา้ งสรรค์ภูมิ
ปญั ญา พอสรปุ ได้ ดงั น้ี

๑. การสรา้ งสรรคภ์ มู ิปัญญาท่ีเกิดจากการดารงชีวิต

คนไทยในภูมภิ าคต่างๆ มวี ถิ กี ารดํารงชวี ติ ขนบธรรมเนียมประเพณที แ่ี ตกต่างกนั แต่ก็
ลว้ นมคี วามผกู พนั และพง่ึ พาอาศยั ธรรมชาติ เรยี นรจู้ ากธรรมชาติ ทาํ ใหม้ คี วามรเู้ ก่ียวกบั การทํามา
หากนิ และการดาํ เนินชวี ติ ทส่ี อดคลอ้ งกบั ธรรมชาติ

ปญั หาดา้ นต่างๆ ทําใหผ้ ูค้ นจําเป็นต้องปรบั ตวั และสรา้ งสรรคภ์ ูมปิ ญั ญาเพ่อื ความอยรู่ อด
และอย่อู ย่างมคี วามสุข สะดวกสบาย รวมทงั้ เหมาะสมสอดคลอ้ งกบั สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
โดยคดิ ประดษิ ฐ์หรอื พฒั นาสงิ่ แวดล้อมเพ่อื นํามาใช้ประโยชน์ เช่น การนําพชื พรรณธรรมชาติมา
ปรงุ เป็นอาหาร ทาํ ยารกั ษาโรค การนําเสน้ ใยจากพชื เช่น ปอ ฝ้าย ป่าน มาประดษิ ฐเ์ ป็นเสอ้ื ผา้
กระเป๋ าและยงั ประดษิ ฐเ์ ป็นเครอ่ื งใชต้ ่างๆ ไดแ้ ก่ การทาํ เครอ่ื งมอื ดกั จบั สตั วป์ ่า สตั วน์ ้ํา เครอ่ื งมอื
ทุ่นแรงในการทาํ ไรท่ าํ นา การปลกู พชื และการหาของปา่ เป็นตน้

๒. การสร้างสรรคภ์ มู ิปัญญาท่ีเกิดจากความเชื่อและศาสนา

คนไทยมคี วามเช่ือดงั้ เดมิ ในเร่อื งของการนับถอื สงิ่ ศกั ดสิ ์ ทิ ธหิ ์ รอื สง่ิ ท่อี ย่เู หนือธรรมชาติ
เช่น ผบี า้ นผเี รอื น ผฟี ้า เจา้ ป่า เจา้ เขา เจา้ ท่ี เจา้ ทาง เทวดา แม่โพสพ แม่คงคา พระภมู ิ ต้นไม้
ใหญ่ๆ เช่น ตน้ โพธิ ์ ตน้ ไทร เป็นตน้ ซง่ึ เชอ่ื ว่ามเี ทวดาหรอื นางไมพ้ กั อาศยั อยู่ ถา้ ใครไปตดั ต้นไม้

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๗๐ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ใหญ่ หรอื ทําสกปรกรอบ ๆ บรเิ วณนัน้ อาจถูกลงโทษถึงแก่ชวี ติ ได้ นับได้ว่าเป็นการอนุรกั ษ์
ธรรมชาตโิ ดยทางออ้ มอยา่ งหน่งึ

อน่ึง คนไทยส่วนใหญ่นับถอื พระพุทธศาสนาจงึ นําหลกั ธรรมคําสอนของพระพุทธศาสนา
เป็นแนวปฏบิ ตั ใิ นการดาํ เนนิ ชวี ติ เช่นการไมท่ าํ ความชวั่ การทาํ ความดแี ละการทาํ จติ ใจใหผ้ อ่ งใส

ภมู ปิ ญั ญาทไ่ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลจากพระพทุ ธศาสนา เชน่
- การเขยี นภาพจติ รกรรมฝาผนังในโบสถ์ ท่เี ป็นเร่อื งราวเก่ยี วกบั พุทธประวตั ิ ชาดก
สวรรค์ นรก เป็นตน้
- การสรา้ งประตมิ ากรรม เช่น พระพทุ ธรปู
- การสรา้ งสถาปตั ยกรรม เชน่ โบสถ์ เจดยี ต์ ามยคุ สมยั ต่างๆ
- การแสดงออกของศลิ ปิน เช่น การแต่งคาํ ประพนั ธ์ บทเพลง การแสดงละคร ลเิ ก ลาํ
ตดั ท่ีนําหลักคําสอนหรือชาดกมาสร้างเป็นบทประพันธ์ โดยสมมุติตัวละครให้แสดงออกทงั้
ทางดา้ นผลของกรรมดแี ละกรรมชวั่

๓. การสร้างสรรคภ์ มู ิปัญญาท่ีเกิดจากสภาพภมู ิศาสตรแ์ ละส่ิงแวดล้อม

ประเทศไทยมสี ภาพทางภมู ศิ าสตรแ์ ละสงิ่ แวดลอ้ มทแ่ี ตกต่างกนั อย่างหลากหลาย ทาํ ใหม้ ี
การสรา้ งสรรคภ์ มู ปิ ญั ญาทแ่ี ตกต่างกนั เชน่

-บรเิ วณภาคกลางของประเทศเป็นทร่ี าบลุ่ม มแี มน่ ้ําลาํ คลองหลายสาย บางพน้ื ทม่ี นี ้ําท่วม
ในฤดฝู น ทาํ ใหม้ กี ารแก้ปญั หาดว้ ยการสรา้ งบา้ นเรอื นทย่ี กพน้ื สูงขน้ึ เพ่อื ป้องกนั น้ําท่วม ส่วนผทู้ ่ี
อาศยั อยรู่ มิ น้ํากจ็ ะสรา้ งเรอื นแพ หรอื ต่อเรอื ไวเ้ ป็นพาหนะในการเดนิ ทาง

-บรเิ วณทางภาคเหนอื เป็นเทอื กเขา มที ร่ี าบระหวา่ งหบุ เขาทแ่ี มน่ ้ําไหลผ่าน ทาํ ใหเ้ กดิ ภมู ิ
ปญั ญาในการสรา้ งฝาย เพ่อื กกั เกบ็ น้ําท่ไี หลจากท่สี ูงลงสู่ท่รี าบ มกี ารปลูกพชื ตามไหล่เขาแบบ
ขนั้ บนั ได ซง่ึ ทาํ ให้สามารถรกั ษาหน้าดนิ ทอ่ี ุดมสมบูรณ์ไว้ไดใ้ นขณะท่มี ฝี นตก นับว่าเป็นการรจู้ กั
ใช้ทรพั ยากรธรรมชาติอย่างฉลาดและคุ้มค่า เพราะสามารถใชท้ ่ดี นิ ไดท้ ุกพน้ื ท่ี ไม่เพยี งแต่ทร่ี าบ
เทา่ นนั้

๔. การสร้างสรรคภ์ มู ิปัญญาไทยท่ีเกิดจากอิทธิพลภายนอก

การท่ปี ระเทศไทยมสี มั พนั ธไมตรกี บั ต่างประเทศมาตงั้ แต่สมยั สุโขทยั จนกระทงั่ ถงึ สมยั
รตั นโกสนิ ทร์ ทงั้ ดา้ นการเมอื งการปกครอง ดา้ นเศรษฐกจิ เช่นมกี ารตดิ ต่อคา้ ขาย การรว่ มลงทุน
หรอื รว่ มส่งเสรมิ กจิ กรรมทางดา้ นต่างๆ ทาํ ใหม้ กี ารถ่ายทอดวฒั นธรรม มีการผสมผสานวฒั นธรรม
ในรูปแบบต่างๆ เร่อื ยมาจนกระทงั่ ในปจั จุบนั การติดต่อแลกเปล่ยี นข้อมูลข่าวสารเป็นไปอย่าง
รวดเรว็

ความรดู้ ้านวชิ าการ วฒั นธรรมและรปู แบบของการดําเนินชวี ติ จากภูมภิ าคต่างๆ ของโลก
หลงั่ ไหลเข้ามาในประเทศไทยอย่างรวดเร็ว ทําให้มผี ลต่อการพฒั นาคุณภาพชวี ิตท่เี กิดจากภูมิ
ปญั ญาไทยใหเ้ หมาะสมกบั ยคุ สมยั เชน่

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๗๑ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

- การใชเ้ คร่อื งทุ่นแรงมาใชใ้ นการเกษตร เช่นการใชร้ ถไถแทนการใชค้ วามไถนา การใช้
เครอ่ื งมอื นวดขา้ วแทนการนวดดว้ ยมอื การใชเ้ ครอ่ื งแยกเมลด็ ฝ้ายแทนการแยกดว้ ยมอื

- การนําเครอ่ื งยนตม์ าตดิ ตงั้ กบั พาหนะ เช่นการใชเ้ รอื ยนตแ์ ทนเรอื พาย การใชร้ ถสามลอ้
เครอ่ื งแทนรถสามลอ้ ถบี

- การใช้เคร่อื งไฟฟ้าเข้ามาประกอบอุปกรณ์เคร่อื งใช้ต่างๆ เพ่อื อํานวยความสะดวกใน
การทาํ งานและการดาํ เนินชวี ติ ประจาํ วนั ไดแ้ ก่ การใชก้ ระเชา้ ไฟฟ้ารบั ส่งคนและของขน้ึ ลงในทส่ี งู

- การแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ เช่นฟ้าทะลายโจรอดั ใส่แคปซูลใช้รกั ษาโรคได้ ยาสระผมว่าน
ห่างจระเข้ผสมดอกอัญชนั ครมี นวดผมท่ที ําจากประดําดคี วาย สบู่สมุนไพร เคร่อื งด่มื ท่ที ําจาก
สมนุ ไพร เป็นตน้

๕. การสร้างสรรคภ์ มู ิปัญญาโดยอาศยั ประสบการณ์ เช่น

-หมนั่ ศกึ ษาแสวงหาความรเู้ พมิ่ เตมิ อยเู่ สมอโดยเรยี นรทู้ งั้ ในระบบและนอกระบบ
-ลงมอื ทดลองความรตู้ ามทเ่ี รยี นมาและสอบถามปรกึ ษาผรู้ ู้
-ลงมอื ทาํ งานและผลติ ผลงานอยเู่ สมอ ปรบั ปรงุ และพฒั นาผลงานใหม้ คี ุณภาพมากขน้ึ อกี
ทงั้ มงุ่ ทาํ งานของตนอยา่ งต่อเน่อื งจนเกดิ ประโยชน์แก่ตนเองและสงั คม สามารถถ่ายทอดความรไู้ ด้
จงึ สงั เกตได้ว่าภูมปิ ญั ญาทเ่ี กดิ ขน้ึ มานัน้ มกั จะมเี หตุปจั จยั มาจากสภาพแวดล้อมทงั้ ทาง
ธรรมชาติ และสภาพสงั คมความเป็นอยขู่ องมนุษยใ์ นสมยั นนั้ ๆ รวมทงั้ การตดิ ต่อส่อื สาร ผสมผสาน
วฒั นธรรมต่างๆ ท่สี อดคล้องกบั การดํารงชีวิตในยุคสมยั นัน้ ๆ เพ่อื พฒั นาคุณภาพชีวติ และการ
แกป้ ญั หาชวี ติ ทเ่ี หมาะสมนนั่ เอง

สรปุ ท้ายบท

เมอ่ื กลา่ วถงึ แนวคดิ ของชนกลุม่ หน่งึ เรากจ็ ะไดแ้ ต่เพยี งเป็นแนวทาง หรอื ทศิ ทางทค่ี ดิ ว่ามุง่
หมายอยา่ งไร ถา้ จะขดุ ใหถ้ งึ ตน้ ตอรากแกว้ ของความคดิ ทเ่ี ป็นพ้ืนฐาน จาํ เป็นต้องวเิ คราะหห์ าว่าชน
กลมุ่ นนั้ มวี ธิ คี ดิ อยา่ งไร ถา้ คดิ ไดอ้ ยา่ งมลี าํ ดบั ขนั้ ตอน แสดงว่า คดิ เป็นระบบ เมอ่ื คดิ เป็นระบบ การ
คดิ นนั้ จงึ สามารถใชไ้ ดค้ รบวงจร และเป็นสากล วนั ดี กล่าวว่าคนไทยคดิ ไมเ่ ป็นระบบ กแ็ สดงว่าไม่มี
วธิ คี ดิ การคดิ สบั สน อนั ทจ่ี รงิ อาจมีวธิ คี ดิ แต่แยกปจั จยั องคป์ ระกอบหรอื จดั ลําดบั ก่อนหน้าหลงั ไม่
ออก คนไทยทเ่ี ก่งในระบบการคดิ ระดบั สากลจงึ มนี ้อยราย อย่างไรกต็ าม วธิ คี ดิ ของคนไทย พบมาก
ในเร่อื งเก่ยี วกบั พธิ กี รรมและความเช่อื ต่างๆ ท่สี บื ทอดนับถอื กนั มา แต่เม่อื กล่าวโดยสรุปแล้ว ก็
ไดแ้ ก่ (๑) ระบบคุณค่าทางศลี ธรรมและจติ วญิ ญาณ (๒) ระบบภมู ปิ ญั ญาสาํ หรบั การจดั การกบั
ความสมั พนั ธท์ างสงั คมของคน และความสมั พนั ธร์ ะหว่างสงั คมกบั ธรรมชาตแิ วดลอ้ ม (๓) ระบบ
อุดมการณ์อํานาจทแ่ี สดงศกั ดศิ ์ รแี ละสทิ ธขิ องความเป็นมนุษย์ (ตามธรรมชาต)ิ

บทท่ี ๔ “ชนชาติไทยกบั แนวคิดพนื้ ฐานภมู ิปัญญาไทย” หน้า ๑๗๒ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ววิ ฒั นาการวธิ คี ดิ ของมนุษยชาตแิ ต่ดกึ ดาํ บรรพม์ าถงึ ปจั จุบนั วชิ าการทางมานุษยวทิ ยาให้
ลาํ ดบั พฒั นาการของวธิ คี ดิ ดงั ต่อไปน้ี

วิธีคิดของคนป่ า เป็นวธิ คี ดิ ทไ่ี มส่ ลบั ซบั ซอ้ นในการแก้ปญั หา ลา้ หลงั ไม่เจรญิ องิ อาศยั

ความเช่ือในพิธกี รรมลกึ ลับ ขาดเหตุผล คิดเฉพาะหน้าเพียงเพ่ือตอบสนองความต้องการทาง
กายภาพและจติ ใจขนั้ พ้นื ฐานของสง่ิ มชี ีวติ เท่านัน้ อันท่จี รงิ ควรเรยี กว่าเป็นเพยี งสญั ชาตญาณ
(Instinct) ตามธรรมชาติ

วิธีคิดของคนพื้นเมือง ชาวยโุ รปผวิ ขาวเช่อื โดยมอี คตวิ ่าชาวพ้นื เมอื งมตี รรกะในการคดิ
แกป้ ญั หาดอ้ ยประสทิ ธภิ าพกว่าพวกตน ชาวพน้ื เมอื งมมี นั สมอง เทยี บไดก้ บั เดก็ ชาวยุโรปผวิ ขาวผู้
เจรญิ เท่านนั้

วิธีคิดของคนเมืองและชาวยุโรปสมยั ใหม่ เน้นท่ปี จั เจกบุคคลย่อมให้ความสําคญั กบั
กลุม่ หรอื สว่ นรวม อทิ ธพิ ลของกลุม่ มคี วามสาํ คญั ต่อวถิ ชี วี ติ ของปจั เจกบุคคล การสญู เสยี เอกลกั ษณ์
และแรงยดึ เหน่ียวของกลุ่มนํามาซง่ึ ความแปลกแยก ปญั หาทางจติ วทิ ยาและความขดั แยง้ วธิ คี ดิ จงึ
ซบั ซอ้ นขน้ึ มาอกี ระดบั เหน็ ความสมั พนั ธแ์ ละสมานฉนั ทใ์ นองคก์ ร

วิธีคิดท่ีได้รบั อิทธิพลจากจริยธรรมคริสต์ศาสนานิ กายโปรเตสแตนท์ ใหห้ ลกั คดิ ว่า
ปจั เจกบคุ คลควรทจ่ี ะทําหน้าทท่ี างโลกของตวั เองใหด้ ที ส่ี ุด การทําหน้าทด่ี งั กล่าว ถอื เป็นพนั ธะทาง
จรยิ ธรรมทม่ี คี า่ มากทส่ี ดุ ความคดิ น้มี อี ทิ ธพิ ลต่อการใชช้ วี ติ ในสงั คมอยา่ งมาก

วิธีคิดสากลของมนุษย์ เลวี สเตราส์ อธิบายว่าภาษาท่ีมนุษย์ใช้ส่ือความคิดนัน้ มี

โครงสร้างท่แี น่นอน ความคดิ ของมนุษยท์ ํางานในลกั ษณะการทํางานของคู่ตรงกนั ข้าม ( binary
oppositions) นัน้ คอื มนุษยผ์ ลติ ความคดิ ทม่ี คี วามหมายไดก้ ต็ ่อเม่อื เขาเรมิ่ คดิ ถงึ สิ่งทม่ี คี วามหมาย
ตรงกนั ขา้ ม เช่นธรรมชาต-ิ วฒั นธรรม ดบิ -สุก เป็นต้น สเตราส์ แสดงว่าคนโบราณกบั คนสมยั ใหม่มี
วธิ คี ดิ แตกต่างกนั โดยทค่ี นโบราณ คดิ แบบสารพดั ช่าง (bricolleur) เรยี นรจู้ ากประสบการณ์ชวี ติ ไม่
มตี าํ ราคดิ คน้ และประดษิ ฐไ์ ดเ้ ฉพาะเทคโนโลยที เ่ี น้นประโยชน์ใชส้ อย ไมซ่ บั ซอ้ นมากนกั ลองผดิ ลอง
ถูก เก็บเล็กผสมน้อยต่อเช่อื มหากนั กลุ่มน้ีเป็นตวั แทนของวธิ ีคดิ และภูมปิ ญั ญาแบบดงั้ เดิม ยงั
สามารถพบได้ทัง้ ในสังคมดัง้ เดิมและสังคมสมัยใหม่ ส่วนคนสมัยใหม่คิดแบบวิศวกรและ
นักวทิ ยาศาสตร์ (Engineer & Scientist) เรม่ิ จากโครงสรา้ ง มใิ ช่ลองผดิ ลองถูกจากสถานการณ์ แต่
พยายามเขา้ ถงึ สตู ร สมการ ทฤษฎหี รอื โครงสรา้ งซง่ึ เป็นกุญแจสําคญั ในการประดษิ ฐ์ หรอื แก้ปญั หา
กลุ่มน้ีเป็นตัวแทนของภูมปิ ญั ญาและผลผลิตของโลกสมยั ใหม่ท่มี ีวธิ ีคิดและการใช้เหตุผลแบบ
วทิ ยาศาสตรเ์ ป็นพน้ื ฐานสาํ คญั

บทท่ี ๕

ภมู ิปัญญาไทยในฐานะวฒั นธรรมเชิงพทุ ธ

ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

น.ธ.เอก, ป.ธ.๔, พธ.บ., M.A., Ph.D.(Buddhist Studies)

๕.๑ ความนา

ชาตไิ ทยเป็นชาตทิ ่เี ก่าแก่และมวี ฒั นธรรมประจําชาตทิ ่เี กดิ จากภมู ปิ ญั ญาของบรรพบุรุษ
และพัฒนาหล่อหลอมข้ึนในสังคมไทย จนมีความเป็นเอกลักษณ์ของตนเองไม่ว่าจะเป็น
ภาษา วรรณคดี ศลิ ปวตั ถุ ดนตรี อาหารและการแต่งกาย นอกจากน้ีคนไทยยงั ไดม้ กี ารยอมรบั
เอาวัฒนธรรมของชาติอ่ืนเข้ามาผสมผสาน โดยการนํามาดัดแปลงผสมผสานกันได้อย่าง
กลมกลนื จนเกดิ เป็นวฒั นธรรมของสงั คมไทยทม่ี เี อกลกั ษณ์ในทส่ี ุด

วฒั นธรรมเป็นวถิ ชี วี ติ หรอื การดําเนินชวี ติ ของกลุ่มใดกลุ่มหน่ึงซง่ึ หมายรวมถงึ ความคดิ
ศิลปะ วรรณคดี ดนตรี ปรชั ญา ศีลธรรม จรรยา ภาษา กฎหมาย ความเช่ือ ขนบธรรมเนียม
ประเพณแี ละสงิ่ ต่างๆ ทม่ี นุษยส์ รา้ งขน้ึ ซง่ึ ไดถ้ ่ายทอดใหก้ บั คนร่นุ ต่อๆ มา เป็นเร่อื งของการเรยี นรู้
จากคนกลุ่มหน่ึงไปยงั คนอกี กลุ่มหน่งึ ซง่ึ ถา้ สง่ิ ใดดกี เ็ กบ็ ไว้ สงิ่ ใดควรแกก้ แ็ ก้ไขกนั ใหด้ ขี น้ึ เพ่อื จะได้
สง่ เสรมิ ใหม้ ลี กั ษณะทด่ี ปี ระจาํ ชาตติ ่อไป ในลกั ษณะน้ีวฒั นธรรมจงึ เป็นการแสดงออกซง่ึ ความเจรญิ
งอกงาม ความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ยและศลี ธรรมอนั ดงี ามของประชาชน วฒั นธรรมคอื การดําเนิน
ชวี ติ ของคนกลุ่มใดกลุ่มหน่ึงทแ่ี สดงออกถงึ ความเจรญิ งอกงาม ความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย ความ
กลมเกลยี ว ความกา้ วหน้า และศลี ธรรมของประชาชน

‚ความเช่อื ‛ เป็นอกี หน่ึงปจั จยั ท่ที ําใหผ้ ูค้ นเกดิ การยอมรบั เกดิ ความคดิ ท่แี ตกต่างและ
เก่ียวโยงไปถึงการดําเนินวถิ ีชีวิตท่ีแตกต่างกัน นัน่ เพราะความเช่อื มอี ิทธิพลต่อการดํารงชวี ิต
เช่นนนั้ แลว้ ความเช่อื กเ็ ปรยี บเสมอื น ‚หนทาง‛ หน่ึงทจ่ี ะชถ้ี ูกชผ้ี ดิ แก่ชวี ติ ของมนุษยไ์ ดก้ ารทส่ี งั คม
หน่ึงๆ มหี ลายความเช่อื ย่อมเป็นทางออกท่ดี กี ว่ามเี พียงความเช่ือเดียว ซ่งึ พระมหาวุฒชิ ยั ให้
อรรถาธบิ ายว่า ‚สงั คมใดกต็ าม ทมี่ คี วามหลากหลายทางความเชอื่ และคนทมี่ คี วามหลากหลายทาง
ความเชอื่ สามารถอยู่ร่วมกนั ได้อย่างสนั ติ นัน่ คอื สงั คมทมี่ เี สน่ห์มาก ประเทศไหนก็ตามทมี่ รี ะบบ
ความเชอื่ เดยี ว ประเทศนัน้ จะเป็นประทศทอี่ ดึ อดั ขดั ขอ้ ง ต่างจากประเทศทคี่ นมคี วามหลากหลาย
ทางความเชอื่ ซงึ่ เหมอื นกบั ว่าเราไปยนื อยู่ในทโี่ ล่งแจ้งทมี่ อี ากาศหายใจได้อย่างโปร่งโล่ง ฉะนัน้
ความหลากหลายทางความเชอื่ จงึ เป็นเสน่ห์ของประเทศทเี่ จรญิ แล้ว‛ สําหรบั ประเทศไทย นับเป็น
ประเทศท่ีมีพหุความเช่ือ แต่แม้ว่าเราจะยืนอยู่ในอาณาเขตท่ีสามารถเลือกเช่ือได้ หรือแม้
พระพุทธศาสนาจะยอมรบั ว่ามนุษยม์ คี วามหลากหลายทางความเช่อื ได้ แต่พระพุทธเจา้ กไ็ ม่ปล่อย
ให้มนุษย์เช่อื อะไรก็ได้ ทรงแนะนําชุดคําสอนชุดหน่ึง แล้วตรสั ว่ามนุษยค์ วรจะเช่อื ในสงิ่ ท่คี วรเช่อื
ทรงใชค้ าํ วา่ ‚ควรจะ‛ ไมไ่ ดใ้ ชค้ าํ วา่ ‚ตอ้ ง‛

บทท่ี ๕ “ภมู ิปัญญาไทยในฐานะวฒั นธรรมเชิงพทุ ธ” หน้า ๑๗๔ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ส่วนเรอ่ื งของประเพณตี ่างๆ มใี นทุกชาตทิ ุกภาษา ส่วนลกั ษณะจะแตกต่างไปประการใดก็
แล้วแต่ลกั ษณะหรอื สภาพของแต่ละท้องถ่ินหรอื แต่ละสงั คม เช่น ประเพณีไทยกับจนี ต่างกันใน
หลายๆ ด้าน ตัง้ แต่เร่อื งกิริยา มารยาท การเลือกคู่ หมนั้ หมาย แต่งงาน ตาย เป็นต้น ส่วน
สงั คมไทยนัน้ จะเป็นการสบื เน่ืองมาจากการนับถอื พุทธศาสนากจ็ ะมอี ทิ ธิพลดา้ นพุทธศาสนาเขา้ มา
เกย่ี วขอ้ งดว้ ย เช่นประเพณกี ารบวช เขา้ พรรษา ออกพรรษา สงกรานต์ ลอยกระทง เทศน์มหาชาติ
เป็นตน้ ประเพณี คอื ระเบยี บแบบแผนในการปฏบิ ตั ทิ เ่ี หน็ วา่ ดกี วา่ ถกู ตอ้ งกวา่ หรอื เป็นทย่ี อมรบั ของ
คนส่วนใหญ่ในสงั คม และมกี ารปฏบิ ตั สิ บื ต่อๆ กนั มา เช่นการเกดิ การตาย การหมนั้ หมาย สมรส
บวช ปลกู บา้ นใหม่ ขน้ึ บา้ นใหม่ เป็นตน้

ประเภทของประเพณีนัน้ มี ๔ ประเภท ได้แก่

๑. ประเพณีปรมั ปรา หมายถงึ ประเพณีทเ่ี ก่าก่อน ราชบณั ฑติ ยสถานใหค้ วามหมายว่า

สบื ๆ กนั มา เก่าก่อนมมี านาน เช่นนิยายปรมั ปราต่างๆ เช่นโรบนิ ฮูดแห่งป่าเชอรว์ ูด ทช่ี ่วยคนจน
ของฝรงั ่

๒. จารีตประเพณี หรอื กฎศีลธรรม หมายถงึ ประเพณีทม่ี ศี ลี ธรรมเขา้ มารว่ มดว้ ยจงึ เป็น
กฎท่มี คี วามสําคญั ต่อสวสั ดภิ าพของสงั คมสงั คมบงั คบั ให้ปฏบิ ตั ิตาม เป็นเร่อื งความผดิ ความถูก
ความนิยมท่ยี ดึ ถือและถ่ายทอดสบื ต่อกันมา เช่น การเล่นชู้ ถือว่าประพฤติชวั่ ไม่เหมาะสม ผดิ
ศลี ธรรม เป็นตน้

๓. ขนบประเพณี (Institution) หมายถงึ ระเบยี บ แบบแผน ทส่ี งั คมตงั้ ขน้ึ กําหนดไวใ้ ห้
ปฏบิ ตั ริ ว่ มกนั ทงั้ ทางตรง และทางออ้ ม ทางตรง ไดแ้ ก่ประเพณีทม่ี กี ารกําหนดเป็นระเบยี บแบบแผน
ในการปฏบิ ตั อิ ย่างชดั แจง้ ว่าบุคคลต้องปฏบิ ตั อิ ย่างไร เช่นการไหว้ครู การศกึ ษาเล่าเรยี น ศาสนา
เป็นตน้ โดยออ้ มกค็ อื ประเพณที ร่ี กู้ นั โดยทวั่ ไป โดยไม่ไดว้ างระเบยี บไวแ้ น่นอน แต่ปฏบิ ตั ไิ ด้ เพราะ
มกี ารบอกเล่าสบื ต่อกนั มา หรอื จากการทผ่ี ใู้ หญ่หรอื บุคคลอ่นื ปฏบิ ตั ิ เชน่ แห่นางแมว การจดุ บอ้ งไฟ
ของภาคอสี าน เป็นตน้

๔. ธรรมเนียมประเพณี (Convention) หมายถงึ ประเพณีเก่ยี วกบั เรอ่ื งธรรมดาๆ ไม่มี
ระเบยี บแบบแผนเหมอื นขนบธรรมเนียมประเพณี หรอื มคี วามผดิ ความถูกเหมอื นจารตี ประเพณี
ดงั นัน้ ธรรมเนียมประเพณีไมป่ ฏบิ ตั ติ ามกไ็ ม่ผดิ หรอื มโี ทษ เป็นแต่เพยี งคนส่วนใหญ่ปฏบิ ตั กิ นั และ
เราก็ปฏบิ ตั ติ าม แต่อาจจะไม่เหมอื นกบั อกี หลายสงั คมเป็นเพยี งธรรมเนียมของสงั คมนนั้ ๆ ปฏบิ ตั ิ
กนั เช่น ไทยใชช้ อ้ นสอ้ มในการรบั ประทานอาหาร ฝรงั่ ใชม้ ดี กบั สอ้ ม เป็นตน้ ๑

คําว่า “วฒั นธรรมเชิงพุทธ” (วฒั น+ธรรม+พุทธ) หมายความว่าวฒั นธรรมท่ีมี
พระพุทธศาสนาเป็นฐาน หรือวัฒนธรรมท่ีมคี วามเช่ือโยงสัมพนั ธ์กับความเช่ือและคําสอนใน
พระพุทธศาสนา หรอื พระพุทธศาสนาอนั เป็นบ่อเกดิ ของวฒั นธรรมหรอื วฒั นธรรมไทย

๑ คณาจารย์ มจร., เทศกาลและพิธีกรรมทางพระพทุ ธศาสนา, พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๒, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาจุฬาลง
กรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๔), หน้า ๑๔.

บทท่ี ๕ “ภมู ิปัญญาไทยในฐานะวฒั นธรรมเชิงพทุ ธ” หน้า ๑๗๕ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

สว่ นคาํ วา่ “พทุ ธวฒั นธรรม” (พทุ ธ+วฒั น+ธรรม) มคี วามหมายว่า หลกั ธรรมคําสอนใน
พระพุทธศาสนาท่เี ก่ียวกบั ความรู้ ความเช่อื ศิลปะ ศีลธรรม กฎหมาย ประเพณี จารตี กฎระ
ระเบยี บขอ้ บงั คบั ทเ่ี ป็นวนิ ัย ศลี สกิ ขาบท อภสิ มาจาร เสขยิ ธรรม ตลอดถงึ พธิ กี รรม และสงั ฆกรรม
ต่างๆ เป็นตน้ อนั เป็นคาํ สงั่ สอนทก่ี ่อใหเ้ กดิ ความดงี ามทงั้ ทางดา้ นนามธรรมและวตั ถุธรรม

คําว่า “วฒั นธรรมเชิงพุทธ” (Culture of Buddhism) ก็ดี “พุทธวฒั นธรรม”
(Buddhist Culture) กด็ ี มคี วามหมายต่างกนั โดยพยญั ชนะ แต่เม่อื กล่าวโดยอรรถมคี วามลกึ และ
ความกว้างของอรรถแตกต่างกัน เพราะพุทธวฒั นธรรมจะมุ่งถึงวฒั นธรรมในพระพุทธศาสนา
โดยเฉพาะเกย่ี วกบั พระวนิ ยั และอภสิ มาจารต่างๆ เป็นตน้

ฉะนัน้ พระพุทธศาสนาจงึ มอี ทิ ธพิ ลต่อวฒั นธรรมประเพณไี ทยเป็นอย่างมากตงั้ แต่เกดิ ถงึ
ตายทเี ดยี ว เพราะพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาทค่ี ่กู บั ชาตไิ ทยมาแต่ยาวนานจงึ ทาํ ใหเ้ กดิ ประเพณหี ลายๆ
ประการในสงั คมทม่ี พี ธิ กี รรมทางพุทธศาสนามาเกย่ี วขอ้ งดว้ ย

๕.๒ สาระสาคญั เก่ียวกบั วฒั นธรรมไทย

ความหมายของวฒั นธรรม

มนี กั เขยี นหลายทา่ นไดใ้ หค้ าํ จดั ความของคาํ ว่า ‚วฒั นธรรม‛ ไวค้ ลายๆ กนั เช่น Taylor
กล่าวว่า ‚วฒั นธรรมเป็นส่วนทงั้ หมดทส่ี ลบั ซบั ซอ้ นประกอบดว้ ยความรู้ ความเช่อื ศลิ ปะ ศลี ธรรม
กฎหมาย ประเพณี และความสามารถทม่ี นุษยไ์ ดม้ าในฐานะเป็นสมาชกิ ของสงั คม ปฐมและเซลชนิด
อธบิ ายว่า ‚วฒั นธรรม เป็นมรดกทางสงั คมทปี่ ระกอบด้วยความรู้ ความเชอื่ ประเพณีและความ
ชานาญทคี่ นเราไดม้ าในฐานะเป็นสมาชกิ ของสงั คมส่วน BIERSTEDT MEEHAM SAMUELSON
กล่าวว่า วฒั นธรรม คอื ส่วนทงั้ หมดอนั ซบั ซอ้ นประกอบดว้ ยทุกสงิ่ ทุกอยา่ งทุกชนิดในสงิ่ ส่วน ทเี่ ขา
คดิ และทาในฐานะเป็นสมาชกิ ของสงั คม‛

ปกติแล้วคําว่า ‚วฒั นธรรม‛ พูดกนั เป็นประจํา เพราะคนท่มี วี ฒั นธรรมกบั คนท่ไี ม่นัน้
ต่างกนั โดยบุคคลจะต้องประพฤตติ นใหเ้ หมาะสมกบั สภาพสงั คมและวฒั นธรรมก็เป็นสงิ่ ทส่ี รา้ งขน้ึ
โดยมนุษยๆ์ จะเป็นผู้สรา้ งทะนุบํารุงถ่ายทอดและเปล่ยี นแปลงวฒั นธรรม มนุษยเ์ ป็นสตั ว์ประเภท
เดียวท่มี วี ฒั นธรรมคอื วิธีการเรยี นรู้รบั ช่วงสืบต่อกันมาได้และสร้างสรรค์เพิ่มข้นึ การท่ีมนุษย์
สามารถสรา้ งวฒั นธรรมไดด้ นี ัน้ ก็เพราะมนุษยม์ ลี กั ษณะทางกายและจติ ใจเป็นพเิ ศษซ่งึ เหนือกว่า
สตั ว์ทงั้ ปวงและสงิ่ น้ีเองทําให้มนุษยแ์ ตกต่างไปจากสตั ว์ เพราะวฒั นธรรมให้คนเป็นมนุษย์อย่าง
แทจ้ รงิ

ความหมายของวฒั นธรรมในทศั นะของนักปราชญ์

เทเลอร์ กล่าว ‚วฒั นธรรมทาํ ใหม้ นุษยแ์ ตกต่างจากสตั วอ์ ่นื เพราะมภี าษา มสี ถาบนั ต่างๆ
มศี ลี ธรรมมจี ารตี ประเพณี มกี ารถ่ายทอดเพมิ่ พูนสบื ต่อกนั มา และมเี ครอ่ื งมอื ทนั สมยั เราสามารถ
อธิบายความหมายของพฤติกรรมต่างๆ และส่ิงต่างๆ ด้วยการบอกเล่ าหรือประดิษฐ์ข้ึนเป็น
สญั ลกั ษณ์‛

บทท่ี ๕ “ภมู ิปัญญาไทยในฐานะวฒั นธรรมเชิงพทุ ธ” หน้า ๑๗๖ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

คาํ ว่า ‚วฒั นธรรม‛ ตรงขา้ มกบั ภาองั กฤษว่า CULTUTR และคําว่า CULTURE น้ี มี
ทม่ี าจากภาษาฝรงั่ เศสโดยฝรงั่ เศสเองเอามาจากภาษาละตนิ คอื CULTER อกี ต่อหน่งึ

LESLIE A WHITE ไดใ้ หค้ ําจาํ กดั ความว่า วฒั นธรรม คอื ปรากฏการณ์ทส่ี รา้ งขน้ึ อย่างมี
ระบบประกอบด้วยการกระทํา วตั ถุ ความคดิ และความรสู้ กึ ท่แี สดงออกใหเ้ ห็นชดั เจน วฒั นธรรม
เป็นผลงานท่มี าจากการสรา้ งสรรคข์ องมนุษยแ์ ละมลี กั ษณะชดั เจน ดงั นนั้ จงึ สามารถถ่ายทอดจากผู้
หน่งึ ไปสคู่ นอ่นื ไดง้ า่ ย

CLYDE Kluckhchn ได้ให้ความหมายของวฒั นธรรมไว้ว่าเป็นระบบท่ไี ด้มาจาก
ประวตั ศิ าสตรซ์ ง่ึ เป็นแบบของการดาํ เนินชวี ติ ทิ เ่ี หน็ จากภายนอกและระบบทอ่ี ย่ภู ายในทส่ี มาชกิ ของ
กลุ่มหรอื สงั คมรว่ มกนั สรา้ งขน้ึ จงึ ประกอบดว้ ยกจิ กรรมทงั้ หมด ความเช่อื และค่านยิ ม

จากความหมายทแ่ี ตกต่างกนั ขา้ งต้นนนั้ จงึ ไดร้ วบรวมความหมายของวฒั นธรรมต่างๆ ไว้
หนังสือ ‚วฒั นธรรม‛ ท่ีเพิ่มข้นึ ในปี ค.ศ. ๑๙๕๒ พบว่ามผี ู้ให้ความหมายของคําน้ีไว้ถึง ๑๗๕
ความหมาย ซง่ึ พอทจ่ี ะแบง่ ออกได้ ๒ ประเภทคอื ตามทศั นะของพวก Totalist view และอกี ประเภท
หน่งึ เป็นพวก Mentalist view

ตามความเหน็ ของพวก Totalist view พจิ ารณาความหมายของวฒั นธรรมมายถึง ทุกสงิ่
ทุกอย่างท่รี วบรวมเอาความรู้ ความเช่อื ศลิ ปะ ศีลธรรม กฎหมาย ประเพณี ความสามารถและ
นสิ ยั อ่นื ๆ ทม่ี นุษยไ์ ดม้ าในฐานะเป็นสมาชกิ ของสงั คม

พวก Memtalist view พจิ ารณาเหน็ ความหมายของวฒั นธรรมในบานะเป็นระบบความคดิ
หรอื ในลกั ษณะระบบความรแู้ ละความเช่อื ทค่ี นในสังคมไดร้ บั รู้ มปี ระสบการณ์ และตดั สนิ ใจในรูป
ของการกระทาํ รว่ มกนั

พลตรพี ระเจา้ วรวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื นราธปิ พงศ์ประพนั ธ์ ใหค้ วามหมายของวฒั นธรรมไวว้ ่า
‚วฒั นธรรม‛ เป็นคําทม่ี าจากภาษสนั ฤต แปลว่า ‚ธรรมเป็ นเหตุให้เจริญ‛ ‚ธรรมคือความ
เจริญ‛ มใี ช้เป็นหลกั ฐานทางราชการเม่อื พ.ศ. ๒๔๘๓ เรยี กว่าพระราชบญั ญตั บิ ํารุงวฒั นธรรม
แหง่ ชาตพิ ทุ ะศกั ราช ๒๔๘๓ กบั ฉบบั ท่ี ๒ เมอ่ื พุทธศกั ราช ๒๔๘๕๒

ต่อมาได้มกี ารประกาศใช้พระราชบญั ญตั ิวฒั นธรรมแห่งชาติ พุทธศกั ราช ๒๔๘๕ ซ่งึ
เท่ากบั เป็นการยกเลิกพระราชบัญญตั ิทงั้ สองฉบับข้างต้น นอกจากน้ียงั มีบทบญั ญัติเก่ียวกับ
วฒั นธรรมอกี หลายประการส่วนสถาบนั ทด่ี ําเนินการสอนเร่อื งวฒั นธรรมคอื สภาวฒั นธรรมแห่งชาติ
และในปีเดยี วกนั นัน้ ได้มปี ระการศพระราชบญั ญตั วิ ฒั นธรรมแห่งชาตแิ ละมพี ระราชกฤษฎกี ารใน
เวลาต่อมาท่ีกําหนดวัฒนธรรมแห่งชาติแลกําสํานักนายกรัฐมนตรี ออกตามความในทาง
พระราชบญั ญตั วิ ฒั นธรรมแหง่ ชาติ ตลอดจนประกาศสภาวฒั นธรรมแห่งชาตวิ ่าดว้ ยวฒั นธรรมต่างๆ
ตามลาํ ดบั

๒ ชาํ นะ พาซ่อื , ปรชั ญาไทย, ภาควิชาศาสนาและปรชั ญา, (กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พม์ หาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ,
๒๕๔๓), หน้า ๒๘.

บทท่ี ๕ “ภมู ิปัญญาไทยในฐานะวฒั นธรรมเชิงพทุ ธ” หน้า ๑๗๗ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

เดิมทเี ดยี วคนไทยเราใช้คําอ่ืนแทนในความหมายน้ี เช่นคําว่า นิสยั บ้าง ประเพณีบ้าง
ขนบธรรมเนียมประเพณบี า้ ง จรรยาบรรณบา้ ง ฝีมอื การชา่ งต่างๆ บา้ ง

วฒั นธรรมเป็นวถิ ชี วี ติ ของมนุษยแ์ ต่ละกลุ่มแต่ละสงั คมซง่ึ รวมถงึ ความคดิ ศลิ ปะ วรรณคดี
ปรชั ญา ภาษา กฎหมาย จรรยา ความเช่อื และขนบธรรมเนียมประเพณีตลอดจนสงิ่ ต่างๆ ทม่ี นุษย์
สรา้ งขน้ึ แลว้ อนุชนร่นุ หลงั ไดร้ บช่วงต่อๆ มา ถา้ สง่ิ ใดดกี ส็ งวนรกั ษาไว้ สงิ่ ใดทไ่ี ม่เหมาะสมแก่กาล
สมยั กป็ รบั ปรงุ ใหด้ ใี หเ้ หมาะสมขน้ึ ทงั้ น้เี พอ่ื สง่ เสรมิ ใหเ้ ป็นลกั ษณะทด่ี ปี ระจาํ ชาตสิ บื ไป

คาํ ว่า “วฒั นธรรม” ตามทก่ี ล่าวมาเป็นคําสมาสระหว่างภาษาบาลกี บั สนั ฤต เพราะคาํ ว่า
‚วฒั นะ‛ มาจากคาํ บาลวี ่า ‘วฑฒฺ น’ ซง่ึ แปลว่า ความเจรญิ ความงอกงาม๓

ส่วนคําว่า ‚ธรรม‛ มาจากภาษาสันสฤตว่า ‚ธรฺม‛ เขียนตามรูปบาลีล้วนๆ ว่า
‚วฒั นธรรม‛ หมายถงึ ความดี ซง่ึ หากแปลตามรากศพั ทค์ อื สภาพอนั เป็นความเจรญิ งอกงามหรอื
ลกั ษณะทแ่ี สดงถงึ ความเจรญิ งอกงาม๔

ราชบณั ฑติ ยสถาน ไดใ้ หน้ ิยามของวฒั นธรรมไวว้ ่า หมายถงึ สง่ิ ทท่ี าํ ความเจรญิ งอกงาม
ให้แก่หมู่คณะ เช่น วฒั นธรรมไทย วฒั นธรรมการแต่งกาย วถิ ีชวี ติ ของหมู่คณะ เช่น วฒั นธรรม
พน้ื บา้ น วฒั นธรรมชาวบา้ น๕

วัฒนธรรม หมายรวมถึงทุกส่ิง ทุกอย่างท่ีมนุ ษย์สร้างข้ึนมา นับตัง้ แต่ภาษา
ขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา กฎหมาย ศลิ ปะ จรยิ ธรรม ตลอดจนวทิ ยาการและเทคโนโลยตี ่างๆ
อาจกล่าวได้ว่าวฒั นธรรมเป็นเคร่อื งมอื ท่มี นุษย์ คดิ ค้นข้ึนมาเพ่อื ช่วยให้มนุษย์สามารถดํารงอยู่
ต่อไปได้ เพราะการจะมชี วี ติ อย่ใู นโลกน้ีไดม้ นุษยจ์ ะต้องรจู้ กั ใช้ประโยชน์จากธรรมชาตแิ ละจะต้อง
รจู้ กั ควบคุมความประพฤตขิ องมนุษยด์ ว้ ยกนั วฒั นธรรม คอื คําตอบทม่ี นุษยใ์ นสงั คมคดิ ขน้ึ มาเพ่อื
แกป้ ญั หาเหล่าน้ี

วฒั นธรรม คอื ความดขี น้ึ หรอื ประณตี ขน้ึ กวา่ เดมิ โดยการศกึ ษาและอบรม

วฒั นธรรม คอื สภาพแห่งการทจ่ี ติ ใจ รสนิยมและจรติ อธั ยาศยั ไดร้ บั การฝึกหดั หรอื ทาํ ให้
ประณตี กวา่ เดมิ

วฒั นธรรม คอื สภาพแห่งความเจรญิ งอกงามเพราะมวี วิ ฒั นาการความเจรญิ อยเู่ รอ่ื ยๆ

วฒั นธรรม คอื มรดกทางสงั คม เพราะมนุษยเ์ ป็นทายาทรบั ช่วงสบื ต่อกนั มา

วฒั นธรรม คอื จารตี ประเพณี เพราะมนุษยม์ วี ฒั นธรรมขน้ึ มากเ็ พ่อื ความสุขความเจรญิ
ในชวี ติ ๖

๓ พวงผกา คุโรวาท, ศิลปะและวฒั นธรรมไทย, พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๓, (กรุงเทพมหานคร : อมรการพมิ พ,์ ๒๕๓๙), หน้า ๓๗.
๔ บนั เทงิ พาพจิ ติ ร, สงั คมวิทยา, (กรุงเทพมหานคร : โอเดยี นสโตร,์ ๒๕๔๗), หน้า ๑๕๘.

๕ ราชบณั ฑติ ยสถาน, พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, (กรุงเทพมหานคร : นามมบี ุ๊คส์ พบั ลเิ คชนั่ ,
๒๕๔๖), หน้า ๑๐๕๘.

๖ คณาจารย์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , วฒั นธรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พม์ หาจุฬาลงกรณ
ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๑), หน้า ๓.

บทท่ี ๕ “ภมู ิปัญญาไทยในฐานะวฒั นธรรมเชิงพทุ ธ” หน้า ๑๗๘ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

จากคาํ นยิ ามต่างๆ ขา้ งตน้ สรปุ ไดว้ า่ ‚วฒั นธรรม‛ หมายถงึ ทุกสงิ่ ทุกอย่างทม่ี นุษยไ์ ดผ้ ลติ
สรา้ งขน้ึ และเป็นทย่ี อมรบั รว่ มกนั ในสงั คมในการทจ่ี ะนํามาใช้เป็นแบบแผนของการดําเนินชวี ติ หรอื
เป็นกระสวนแห่งพฤตกิ รรม เพ่อื ความสะดวกสบาย ความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ยในการอย่รู ่วมกนั
เพ่อื ความเจรญิ รุ่งเรอื งและเพ่อื ความมนั่ คงของสงั คมเน่ืองจากวฒั นธรรม คอื ระบบสญั ลกั ษณ์ ซง่ึ
สมาชกิ ของสงั คมตกลงกนั ว่า จะใชร้ ว่ มกนั มนุษยท์ อ่ี ยู่ในแต่ละสงั คมย่อมจะมวี ฒั นธรรมแตกต่างกนั
เพราะแต่ละสงั คมย่อมจะคดิ สร้างสง่ิ ต่างๆ และตกลงกนั ในการใช้แตกต่างกนั ไป วฒั นธรรมของ
สงั คมต่างๆ จงึ ไม่เหมอื นกนั ดงั นนั้ อาจจะกล่าวไดว้ ่า วฒั นธรรมเป็นเคร่อื งช้ใี หเ้ หน็ ความแตกต่าง
ของสงั คมมนุษย์

เนื้อหาของวฒั นธรรม

-วฒั นธรรมเป็นพฤตกิ รรมทเ่ี กดิ จากการเรยี นรู้

-วฒั นธรรมมลี กั ษณะเป็นสงิ่ เหนอื อนิ ทรยี ์

-วฒั นธรรมเป็นมรดกทางสงั คม

-วฒั นธรรมเป็นแบบแผนของการดาํ เนนิ ชวี ติ

องคป์ ระกอบของวฒั นธรรม

วฒั นธรรมเป็นผลจากการทม่ี นุษยไ์ ดเ้ ขา้ ควบคุมธรรมชาตแิ ละพฤตกิ รรมของมนุษย์ ทําให้
เกิดการจดั ระเบยี บทางสงั คม ระบบความเช่อื ศลิ ปกรรม ค่านิยมและวทิ ยาการต่างๆ อาจแยก
องคป์ ระกอบของวฒั นธรรมไดเ้ ป็น ๔ ประการ๗ คอื

๑. องคม์ ติ (concept) บรรดาความคดิ ความเช่อื ความเขา้ ใจ ความคดิ เหน็ ตลอดจน
อุดมการณ์ต่างๆ ตลอดจนทศั นคติ การยอมบั ว่าสง่ิ ใดถูกสงิ่ ใดผดิ สมควรหรอื ไม่ ซง่ึ แลว้ แต่ว่าสงิ่ ใด
จะใชอ้ ะไรเป็นมาตรฐาน (Norms) ในการตดั สนิ ใจหรอื เป็นเครอ่ื งวดั เช่น ความเช่อื ในเร่อื งการทําดี
ไดด้ ี ทาํ ชวั่ ไดช้ วั่

๒. องคพ์ ิธีการ (usage) หมายถงึ ขนบธรรมเนียมประเพณที แ่ี สดงออกในรปู พธิ กี รรม ซง่ึ
เป็นทย่ี อมรบั กนั โดยทวั่ ไปและแสดงออกในรูปของพธิ กี รรมต่างๆ เช่น พธิ แี ต่งงาน พธิ ขี น้ึ บา้ นใหม่
พิธีศพ มกั จะได้รับอิทธิพลจากศาสนาเข้ามาเก่ียวข้องด้วย ตลอดจนพิธีการแต่งกายและกา
รบั ประทานอาหาร เชน่ การแต่งกายเครอ่ื งแบบของทางราชการ หรอื การแต่งกายเคร่อื งแบบเตม็ ยศ
ในงานรฐั พธิ ตี ่างๆ

๓. องค์การ (organization) หมายถงึ กลุ่มทม่ี กี ารจดั อยา่ งเป็นระเบยี บหรอื มโี ครงสรา้ ง
อยา่ งเป็นทางการ มกี ารวางกฎเกณฑร์ ะเบยี บขอ้ บงั คบั และวตั ถุประสงคไ์ วอ้ ยา่ งแน่นอน

๔. องคว์ ตั ถุ (instrumental and symbolic objects) ได้แก่ วฒั นธรรมทาง วตั ถุ
ทงั้ หลาย เช่น บ้าน โบสถ์ วหิ าร รวมตลอดถึงเคร่อื งมอื เคร่อื งใช้ต่างๆ ตลอดจนผลผลิตทาง

๗ สพุ ตั รา สภุ าพ, สงั คมวิทยา, (กรุงเทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๔๒), หน้า ๓๕-๓๖.

บทท่ี ๕ “ภมู ิปัญญาไทยในฐานะวฒั นธรรมเชิงพทุ ธ” หน้า ๑๗๙ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ศลิ ปกรรมของมนุษย์ และสงิ่ ทไ่ี ม่มรี ปู ร่าง เช่น ภาษา สญั ลกั ษณ์ในตดิ ต่อส่อื ความหมาย หลกั วชิ า
คาํ นวณ (ตวั เลข) มาตร (วดั )

ความสาคญั ของวฒั นธรรม

๑. วฒั นธรรมเป็นเคร่อื งกําหนดความเจรญิ หรอื ความเส่อื มของสงั คม และเป็นเคร่อื ง
กําหนดชวี ติ ความเป็นอยขู่ องคนในสงั คม

๒. การศกึ ษาวฒั นธรรมจะทําใหเ้ ขา้ ใจชวี ติ ความเป็นอยู่ ค่านิยมของสงั คม เจตคตคิ วาม
คดิ เหน็ และความเช่อื ถอื ของบคุ คลไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

๓. ทาํ ใหม้ คี วามรสู้ กึ เป็นพวกเดยี วกนั และใหค้ วามรว่ มมอื กนั ได้

๔. ทาํ ใหเ้ กดิ ความสงบเรยี บรอ้ ยในสงั คม เพราะวฒั นธรรมคอื กรอบหรอื แบบแผนของ การ
ดาํ รงชวี ติ

๕. ทาํ ใหม้ พี ฤตกิ รรมเป็นแบบเดยี วกนั

๖. ทาํ ใหเ้ ขา้ กบั คนพวกอ่นื ในสงั คมเดยี วกนั ได้
๗. ทาํ ใหม้ นุษยม์ สี ภาวะทแ่ี ตกต่างจากสตั ว๘์

ลกั ษณะของวฒั นธรรม

ลกั ษณะท่แี สดงถึงความเจรญิ งอกงาม ความเป็นระเบียบเรยี บร้อย ความกลมเกลียว
กา้ วหน้าของชาตแิ ละศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน เป็นนยั ของวฒั นธรรม

ลกั ษณะทแ่ี สดงถงึ ความเจรญิ งอกงามคอื ความเจรญิ ทางวตั ถุและความงอกงามทางจติ ใจ

ทุกสงั คมตอ้ งมวี ฒั นธรรม และวฒั นธรรมของแต่ละสงั คมย่อมมลี กั ษณะเฉพาะทแ่ี สดงออก
ให้ปรากฏ จนทําให้บางท่านใช้เขตของวฒั นธรรมเป็นเคร่อื งแบ่งอาณาเขตของประเทศชาติได้
ลกั ษณะเดน่ ของวฒั นธรรมจะประกอบดว้ ย

๑. วฒั นธรรม คอื สง่ิ ทม่ี นุษยส์ รา้ งขน้ึ เพอ่ื ใชเ้ ป็นสง่ิ ช่วยในการดาํ เนนิ ชวี ติ ทุกสงิ่ ทุกอย่างท่ี
มนุษยส์ รา้ งขน้ึ ลว้ นเป็นวฒั นธรรม

๒. วฒั นธรรมเป็นผลรวมของหลายสงิ่ หลายอย่าง (Integrative) เช่น ความรู้ ความเช่อื วถิ ี
ในการดาํ เนนิ ชวี ติ สงิ่ ของเครอ่ื งใชต้ ่างๆ

๓. วฒั นธรรมมลี กั ษณะเป็นแนวทางพฤตกิ รรมทม่ี กี ารเรยี นรกู้ นั ได้ (Learned ways of
behavior) มใิ ช่เกิดข้นึ เองโดยปราศจากการเรยี นรูม้ าก่อน และลกั ษณะข้อน้ีเองท่ที ําให้มนุษย์
แตกต่างไปจากสตั วก์ ลา่ วคอื พฤตกิ รรมสว่ นใหญ่ของสตั วป์ ราศจากการเรยี นรมู้ าก่อนหรอื กล่าวไดอ้ กี
นยั หน่ึงว่าพฤตกิ รรมส่วนใหญ่ของสตั วเ์ กดิ จากการเรา้ ของสญั ชาตญาณ (Instinct) ส่วนมนุษยน์ นั้ มี
สมองอนั ทรงคุณภาพ จงึ สามารถรจู้ กั คดิ ถ่ายทอด และเรยี นรู้ กระบวนการดงั กล่าวเกดิ ขน้ึ

๘ ณรงค์ เสง็ ประชา, สงั คมวิทยา, (กรุงเทพมหานคร : พทิ กั ษ์อกั ษร, ๒๕๓๙), หน้า ๑๙-๒๐.

บทท่ี ๕ “ภมู ิปัญญาไทยในฐานะวฒั นธรรมเชิงพทุ ธ” หน้า ๑๘๐ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

จากการทบ่ี ุคคลมกี ารตดิ ต่อกบั บคุ คลอ่นื ในฐานะทเ่ี ป็นสมาชกิ ของสงั คม ดงั นนั้ การเรยี นรู้
จงึ เป็นลกั ษณะทส่ี าํ คญั ยง่ิ ของวฒั นธรรม

๔. วฒั นธรรมมลี กั ษณะเป็นมรดกแห่งสงั คม วฒั นธรรมเป็นผลของการถ่ายทอดและการ
เรียนรู้และเคร่อื งมอื ท่ีใช้ในกระบวนการดังกล่าว ก็คือการส่ือสารโดยใช้สัญลักษณ์ ( Symbolic
Communication) ไดแ้ ก่ การทม่ี นุษยม์ ภี าษาใชท้ แ่ี น่นอน ซง่ึ มสี ่วนช่วยใหก้ ารถ่ายทอดวฒั นธรรม
จากคนรุ่นก่อนๆ ดําเนินสบื ต่อเน่ืองกนั มามขิ าดสาย ดงั นัน้ วฒั นธรรมจงึ มลี กั ษณะเป็น ‚มรดกแห่ง
สงั คม‛ (Social Heritage)

๕. วฒั นธรรมมลี กั ษณะเป็น (Supper Organic) หมายถงึ สงิ่ ทเ่ี ป็นปรากฏการณ์อย่าง
เดยี วกนั ในทางกายภาพ หรอื ชวี ภาพนนั้ อาจเป็นปรากฏการณ์ท่แี ตกต่างกนั ไปในแง่ของวฒั นธรรม
กลา่ วคอื ของสงิ่ หน่งึ อาจนําเอามาใชใ้ นความหมายทต่ี ่างกนั ไปในแต่ละสงั คม ทงั้ ๆ ทก่ี ค็ อื สง่ิ เดยี วกนั
นนั่ เอง ตวั อยา่ งเชน่ ลน้ิ เป็นอวยั วะสว่ นหน่งึ ของทกุ คน ชาวทเิ บตนํามาใชใ้ นการแสดงออกซง่ึ ความ
เคารพนบั ถอื ดว้ ยการแลบลน้ิ ส่วนชาวไทยกลบั ถอื วา่ เป็นการแสดงทไ่ี มส่ ภุ าพ เป็นตน้

๖. วฒั นธรรมเป็นวถิ ชี วี ติ (Way of life) หรอื แผนดําเนินชวี ติ (design for living) ของ
มนุษยเ์ รยี นรถู้ ่ายทอดกนั ไปดว้ ยการสงั่ สอนทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม

๗. วฒั นธรรม เป็นผลจากการชว่ ยกนั สรา้ งสรรคข์ องมนุษย์ และไดม้ กี ารปรบั ปรงุ ดดั แปลง
สง่ิ ใดทไ่ี ม่ดหี รอื ล้าสมยั ก็เลกิ ใช้ไป สงิ่ ใดท่ดี กี ็ยงั เอาไว้ใช้ต่อไป เช่นการเพาะปลูก เดมิ ใช้แรงสตั ว์
ต่อมาเหน็ วา่ เป็นวธิ ที ล่ี า้ ชา้ และลา้ สมยั จงึ ประดษิ ฐห์ รอื ซอ้ื เคร่อื งมอื เครอ่ื งจกั รมาใชใ้ นการเพาะปลกู
ทาํ ใหไ้ ดผ้ ลผลติ มากขน้ึ วฒั นธรรมยอ่ มกี ารเปลย่ี นแปลง (Change) และมกี ารปรบั ตวั (Adaptive) ได้

๘. วฒั นธรรมมใิ ช่เป็นบคุ คลใดบุคคลหน่งึ แต่เป็นของส่วนรวม สง่ิ ทจ่ี ะถอื ว่าเป็นวฒั นธรรม
ไดจ้ ะตอ้ งเป็นสงิ่ ทส่ี งั คมยอมรบั ถอื ปฏบิ ตั ิ มใิ ช่เพราะคนใดคนหน่งึ ยอมรบั ถอื ปฏบิ ตั เิ ท่านนั้ ๙

๙. เป็นสงิ่ จําเป็นของมนุษยแ์ ละสงั คม ซง่ึ ต้องมใี นทุกๆสงั คมมนุษยแ์ ละสงั คมไม่สามารถ
ดาํ รงอยไู่ ดถ้ า้ ปราศจากวฒั นธรรม

๑๐. เป็นสงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการเรยี นรู้ โดยการขดั เกลาทางสงั คมและการถ่ายทอดดว้ ยภาษา
และสญั ลกั ษณ์ต่างๆ ดว้ ยคณุ ภาพของมนั สมองทเ่ี หนือกวา่ สตั วโ์ ลกชนดิ อ่นื ๆ

๑๑. เป็นมรดกทางสงั คมทค่ี นรนุ่ หน่งึ ถ่ายทอดไปสคู่ นอกี รนุ่ หน่งึ

๑๒. เป็นรปู แบบพฤตกิ รรมในอุดมคตแิ ละบรรทดั ฐานทางสงั คม ซง่ึ บคุ คลตอ้ งปฏบิ ตั ติ าม

๑๓. เป็นสิง่ ท่ีอยู่เหนืออินทรยี ์ (Superorganic) คือสามารถเรยี นรู้จากสิ่งแวดล้อมและ
เปลย่ี นแปลงสภาพแวดลอ้ มใหเ้ หมาะสมกบั ตวั เองไดด้ ว้ ยการสรา้ งสรรคส์ ง่ิ ต่างๆ ขน้ึ ซง่ึ จะมเี พยี งใน
มนุษยเ์ ท่านัน้ ส่วนสตั ว์อ่นื จะมลี กั ษณะอย่ใู ต้อนิ ทรยี ์คอื จะอาศยั การถ่ายทอดทางสายโลหติ หรอื
กรรมพนั ธุ์และสญั ชาตญาณ ไม่สามารถปรบั เปล่ยี นสง่ิ แวดล้อมให้เหมาะสมกบั ตวั เองได้ แต่จะ

๙ คณาจารย์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , วฒั นธรรมไทย, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณ
ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๑), หน้า ๑๔-๑๕.

บทท่ี ๕ “ภมู ิปัญญาไทยในฐานะวฒั นธรรมเชิงพทุ ธ” หน้า ๑๘๑ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ปรบั ตวั เองให้เขา้ กบั สงิ่ แวดลอ้ มเท่านนั้ ลกั ษณะเช่นน้ีทําใหม้ นุษยร์ จู้ กั การเรยี นรแู้ ละทาํ ใหช้ วี ติ อยู่
รอดไดท้ งั้ ทางกายภาพและสงั คม

๑๔. ในแต่ละสงั คมจะมวี ฒั นธรรมทงั้ ส่วนทเ่ี หมอื นกนั และแตกต่างกนั ออกไป ไมใ่ ช่มสี ่วน
ใดสว่ นหน่งึ เพยี งสว่ นเดยี วเท่านนั้

๑๕. เป็นสง่ิ ทไ่ี มค่ งทแ่ี ต่เป็นสงิ่ ทเ่ี ปลย่ี นแปลงอยเู่ สมอ คอื เป็นสง่ิ ทส่ี ามารถเปลย่ี นแปลงได้
โดยมนุษย์เอง เพ่ือให้เหมาะสมกับแบบแผนในการดํารงชีวิตของมนุษย์ ซ่ึงเปล่ียนแปลงอยู่
ตลอดเวลา๑๐

เม่อื กล่าวโดยสรุปลกั ษณะของวฒั นธรรม เป็นการแสดงถงึ ความเจรญิ และความงอกงาม
แสดงถึงความเป็นระเบียบเรยี บร้อย แสดงถึงความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ และแสดงถึง
ศลี ธรรมอนั ดงี ามของประชาชน

เม่อื กล่าวโดยสรุปลกั ษณะของวฒั นธรรม เป็นการแสดงถงึ ความเจรญิ และความงอกงาม
แสดงถึงความเป็นระเบยี บเรยี บร้อย แสดงถึงความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ และแสดงถึง
ศลี ธรรมอนั ดงี ามของประชาชน

จากลกั ษณะธรรมชาติของวฒั นธรรมดงั กล่าวจะเห็นว่า วัฒนธรรมเป็นส่ิงท่เี ล่อื นไหล
ถ่ายทอดและเปลย่ี นแปลงไดท้ งั้ ภายในกลุ่มชนเดยี วกนั และระห่างทอ้ งถนิ่ ระหว่างชาตพิ นั ธ์ การสบื
ทอดวฒั นธรรมของกนั และกนั น้เี อง เป็นปรากฏการณ์ทส่ี รา้ งอารยธรรมของโลกโดยรวม

ลกั ษณะที่แสดงถึงความเป็นระเบียบเรยี บร้อย

-ความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ยในการแต่งกาย จรรยามารยาทในทส่ี าธารณะ

-ความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ยในการปฏบิ ตั งิ านและการปฏบิ ตั ติ ่อบา้ นเมอื ง

-ความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ยในการประพฤติตนอนั เป็นทางนํามาซ่งึ เกียรติ ของชาติ
ไทยและพทุ ธศาสนา

ลกั ษณะท่ีแสดงถึงความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ

-ความสามคั คขี องหมคู่ ณะ

-ความเจรญิ กา้ วหน้าในทางวรรณกรรมและศลิ ปกรรม

-ความนยิ มไทย
ลกั ษณะที่แสดงถงึ ศีลธรรมอนั ดีของประชาชน

-ทาํ ตนใหเ้ ป็นคนมศี าสนา

-การปฏบิ ตั ติ นในหลกั ธรรมของพุทธศาสนา
-การรกั ษาระเบยี บประเพณที างศาสนา๑๑

๑๐ ธรี ศกั ดิ ์อคั รบวร, กิจกรรมนักศึกษา : เพ่ือทรพั ยากรมนุษยแ์ ละสงั คมแห่งการเรียนร้,ู (กรุงเทพมหานคร : ก. พล
พมิ พ,์ ๒๕๔๕), หน้า ๔๓-๔๕.

๑๑ ชาํ นะ พาซ่อื , ปรชั ญาไทย, ภาควิชาศาสนาและปรชั ญา, หน้า ๓๐.

บทท่ี ๕ “ภมู ิปัญญาไทยในฐานะวฒั นธรรมเชิงพทุ ธ” หน้า ๑๘๒ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

ท่ีมาของวฒั นธรรม

เป็นทท่ี ราบกนั แลว้ ว่า วฒั นธรรมมใี นสงั คมมนุษยเ์ ทา่ นนั้ สตั วไ์ มม่ วี ฒั นธรรมเหมอื นมนุษย์
หรอื สรา้ งวฒั นธรรมขน้ึ มาไม่ได้ แต่มมี นุษยม์ วี ฒั นธรรม หรอื สรา้ งวฒั นธรรมได้นัน้ สาเหตุมาจาก
เปรยี บเทยี บกบั สตั ว์ ในการมองสง่ิ ต่างๆ มคี วามสามารถใชม้ อื และน้ิวอย่างอสิ ระ มอี ายุยนื ยาว มี
มนั สมองท่ีสามารถคิดค้นเรียนรู้ได้ดี และสามารถ่ายทอดโดยใช้ภาษาพูดและภาษาเขยี น มี
ความสามารถในการคดิ พจิ ารณาไตรต่ รอง มคี วามจาํ มกี ารทดลองคน้ ควา้ ประดษิ ฐส์ ง่ิ ต่างๆ รวมทงั้
ความสามารถในการปรบั ตวั เข้ากบั สังคมหรอื การอยู่ร่วมกันได้ดี สิ่งเหล่าน้ีเองจึงทําให้มนุษย์
แตกต่างจากสตั ว์

แนวคดิ เรอื่ งทมี่ าของวฒั นธรรมน้ี ไดม้ ผี รู้ ใู้ หแ้ นวคดิ แตกแยกออกไปหลายทางดว้ ยกนั แต่มี
แนวความคดิ ทสี่ าคญั อยู่ ๒ ทางดว้ ยกนั คอื

๑. ทฤษฎี Parallelism ทฤษฎนี ้ีมแี นวคดิ ว่า วฒั นธรรมนัน้ เกดิ ขน้ึ ในทต่ี ่างๆ พรอ้ มกนั
เน่อื งจากธรรมชาตขิ องมนุษยค์ ลา้ ยนั มาก ฉะนนั้ จงึ มคี วามคดิ ทค่ี ลา้ ยกนั มนุษยท์ อ่ี ย่ใู นสถานทต่ี ่างๆ
ย่อมสามารถก่อสรา้ งวฒั นธรรมของตนขน้ึ มาได้ จะเหน็ ไดจ้ ากการประดษิ ฐส์ ง่ิ ของอยา่ งเดยี วกนั ใน
สถานท่ตี ่างกนั จะแตกต่างกนั เฉพาะในรูปลกั ษณะของการประดษิ ฐ์สง่ิ นัน้ ๆ เช่น ชุมชนท่อี ยู่รมิ
แม่น้ําก็มกั จะสรา้ งเรอื เป็นพาหนะในชวี ติ ประจําวนั ของตน รูปร่างของเรอื อาจจะแตกต่างกนั แต่
ประโยชน์ใชส้ อยเหมอื นกนั

๒. ทฤษฎี Diffusionism ทฤษฎนี ้ีมแี นวความคดิ ว่าวฒั นธรรมเกดิ จากศูนยก์ ลางท่ใี ดท่ี
หน่ึงเพยี งแห่งเดยี ว และแพร่กระจายไปในชุมชนต่างๆ อาจเป็นกระบวนการค่อยเป็นค่อยไปหรอื
แพรก่ ระจายไปอย่างกวา้ งขวาง โดยจากการประดษิ ฐส์ ่ิงใหม่ๆ หรอื เกดิ สถาบนั ใหม่ โดยทส่ี ถานทท่ี ่ี
อยู่ใกล้เคยี งหรอื อยู่ห่างไกลได้นําวฒั นธรรมนัน้ ไปดดั แปลงใช้จนกระทวั่ วฒั นธรรมนัน้ แพร่หลาย
ครอบคลุมไปทวั่ โลก กลไกลของการแพรก่ ระจายวฒั นธรรมน้ีไดแ้ ก่ การอพยพล่าอาณานิคม การทาํ
สงคราม การเผแพรศ่ าสนา การตดิ ต่อการคา้ ขาย เป็นตน้

โดยทวั่ ไปแลว้ เน้ือหาวฒั นธรรมมแี นวโน้มทจ่ี ะแพร่หลาย แต่กม็ ไิ ดร้ าบรน่ื โดยตลอด ทงั้ น้ี
ขน้ึ อยกู่ บั ปจั จยั หลายอยา่ ง เชน่ เสน้ ทางคมนาคมไมส่ ะดวก ชุมชนอยหู่ ่างไกลเกนิ ไป ประชาชนเกดิ
การต่อตา้ นวฒั นธรรมใหม่ เพราะยงั มเิ หน็ ถงึ ประโยชน์ หรอื อาจจะต่อตา้ นเพราะเหน็ ว่าวฒั นธรรมท่ี
มอี ยมู่ คี ุณคา่ มปี ระโยชน์แลว้ หรอื รสู้ กึ ว่าขดั กบั ลกั ษณะของวฒั นธรรมทห่ี ลงั่ ไหลเขา้ มา เช่น ในกรณี
สงั คมไทยซง่ึ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากสงั คมตะวนั ตกในเรอ่ื งการด่มื น้ําชา กาแฟ แต่ยงั ไมแ่ พร่หลายในหมู่
คนสงู อายุ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในแถบชนบทยงั นิยมกนิ หมากหรอื อมเมย่ี งอยู่ เพราะแต่ละชุมชนเคย
ชนิ กบั วฒั นธรรมของตนและเหน็ ว่ามคี ุณคา่ เหมอื นกนั และใชแ้ ทนกนั ไดอ้ ยแู่ ลว้

วฒั นธรรมไทยมีที่มาจากหลายแหล่งกาเนิดด้วยกนั ดงั นี้

๑) สิ่งแวดล้อมทางภมู ิศาสตรแ์ ละสงั คมเกษตรกรรม เน่ืองจากพน้ื ทข่ี องประเทศไทย
ส่วนใหญ่มสี ภาพภมู ศิ าสตรเ์ ป็นทร่ี าบลุ่มแมน่ ้ํา คนไทยจงึ มคี วามผูกพนั กบั แมน่ ้ําลําคลองทําใหเ้ กิด

บทท่ี ๕ “ภมู ิปัญญาไทยในฐานะวฒั นธรรมเชิงพทุ ธ” หน้า ๑๘๓ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

วถิ ชี วี ติ รมิ น้ําและประเพณีต่างๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั น้ําทส่ี ําคญั เช่น ประเพณีลอยกระทง ประเพณี
สงกรานต์ เป็นตน้

๒) พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเผยแผ่เข้ามาในประเทศไทยเป็น
เวลานาน โดยคนไทยไดน้ ําหลกั คาํ สอนมาใชใ้ นการดาํ เนนิ ชวี ติ นอกจากน้ยี งั มปี ระเพณีและพธิ กี รรม
ต่างๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั ศาสนาอกี เป็นจาํ นวนมาก เช่นการทอดกฐนิ การทอดผา้ ป่า การบวชเพ่อื สบื
ทอดศาสนา เป็นตน้

๓) ค่านิ ยม เป็นแบบอย่างพฤติกรรมของคนในสังคมท่มี คี วามแตกต่างกนั ค่านิยม
บางอยา่ งกลายเป็นแกนหลกั ของวฒั นธรรมไทย เช่นความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ซ์ ง่ึ คน
ไทยใหค้ วามเคารพและเชดิ ชสู ถาบนั พระมหากษตั รยิ เ์ ป็นอยา่ งมาก

๔) การเผยแพร่และการยอมรบั วฒั นธรรมจากต่างชาติ ในอดีตประเทศไทยได้รบั
วฒั นธรรมจากจนี และอินเดยี เข้ามาผสมผสานกบั วฒั นธรรมดงั้ เดมิ แต่ในปจั จุบนั จากกระแส
โลกาภวิ ฒั น์ทาํ ใหเ้ กดิ การหลงั่ ไหลของวฒั นธรรมต่างชาตเิ มาในประเทศไทย โดยเฉพาะวฒั นธรรม
ทม่ี าจากชาตติ ะวนั ตกทเ่ี หน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน เชน่ การแต่งกายตามแบบสากล การผูกเนคไท การสวม
เสอ้ื นอก การสรา้ งบา้ นเรอื นรปู ทรงต่างๆ เป็นตน้ ๑๒

ปัจจยั ที่ทาให้ชาวไทยได้สร้างวฒั นธรรมขึน้ มา

๑. สภาพแวดลอ้ มทางภมู ศิ าสตร์
๒. ระบบเกษตรกรรม
๓. คา่ นยิ มจากการทไ่ี ดส้ ะสมวฒั นธรรมต่อเน่อื งกนั เป็นเวลายาวนานจงึ เป็นการหล่อหลอม
ใหเ้ กดิ แนวความคดิ ความพงึ พอใจ และความนยิ ม
๔. อทิ ธพิ ลจากวฒั นธรรมอ่นื

ปัจจยั มีอิทธิพลต่อวฒั นธรรมไทย

ตวั การทจ่ี ะกําหนดลกั ษณะของวฒั นธรรมท่สี ําคญั ได้แก่ สภาวะทางภูมศิ าสตร์ สภาวะ
ทางชวี วทิ ยาและสงิ่ แวดลอ้ มทางสงั คมเช่นเดยี วกบั การกําหนดลกั ษณะของสงั คม แต่ปจั จยั ทส่ี าํ คญั
อกี ประการหน่งึ ทจ่ี ะเป็นตวั กําหนดลกั ษณะของวฒั นธรรม คอื การรบั เอาวฒั นธรรมต่างชาตมิ าใช้

๑. สภาวะทางภมู ิศาสตร์ ไดแ้ ก่ ดนิ ฟ้าอากาศ ฤดูกาล ทาํ ใหผ้ คู้ นในสงั คมต่างๆ มอี าชพี

ต่างกนั มบี ุคลกิ ภาพต่างกนั มนุษย์ในแถบร้อนอารมณ์อาจเปล่ยี นแปลงง่าย เฉ่ือยชา ความคิด
สร้างสรรค์ไม่ค่อยมี สงั คมท่ตี งั้ อยู่ในเขตท่มี ฝี นตกชุก พ้นื ดินอุดมสมบูรณ์ ผู้คนมกั มอี าชีพทาง
การเกษตร แต่ถ้าอย่ใู นเขตทฝ่ี นไมต่ กอาจต้องมอี าชพี ทางการอุตสาหกรรม หรอื เล้ยี งสตั ว์ ส่วนวถิ ี
ชวี ติ ของผู้คนก็ย่อจะแตกต่างกนั ไป การกนิ อยู่หลบั นอน การแต่งกายแตกต่างกนั ไปในแต่ละภูมิ
ประเทศ

๑๒ ผศ.วเิ ชยี ร รกั การ, วฒั นธรรมและพฤติกรรมของไทย, (กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส.พรม้ิ ตง้ิ เฮา้ , ๒๕๒๙), ๓๕-๓๘.

บทท่ี ๕ “ภมู ิปัญญาไทยในฐานะวฒั นธรรมเชิงพทุ ธ” หน้า ๑๘๔ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๒. สภาวะทางชีววิทยา มนุษยเ์ ป็นสตั วท์ จ่ี าํ เป็นตอ้ งไดร้ บั การเล้ยี งดูโดยเฉพาะอย่างยง่ิ
ในวยั ทารก วยั เด็ก มฉิ ะนัน้ ไม่สามารถมชี วี ติ และอยู่ร่วมกบั สงั คมได้ เม่อื เจรญิ เติบโตแล้วก็ต้อง
สามารถจดั หาสง่ิ ต่างๆ เพ่อื สนองความต้องการพน้ื ฐานของตน เพ่อื ความอย่รู อดต่อไป สงิ่ เหล่าน้ี
เป็นปจั จยั ชว่ ยใหม้ นุษยต์ อ้ งอยรู่ ว่ มกนั เป็นสงั คม

มนุษยเ์ ป็นสตั ว์ทไ่ี ดเ้ ปรยี บกว่าสตั วอ์ ่นื ๆ โดยเฉพาะมสี ตปิ ญั ญาดกี ว่า มอี งคป์ ระกอบของ
ร่างกายอีกหลายอย่างท่ไี ด้เปรยี บกว่าสตั ว์อ่นื ๆ ดงั นัน้ มนุษย์จงึ สามารถสรา้ งวฒั นธรรมปรบั ปรุง
วฒั นธรรม และอยรู่ ว่ มกนั ไดด้ ว้ ยดี

ปจั จยั ทางชวี วทิ ยาซง่ึ เป็นคุณลกั ษณะของมนุษย์ ทช่ี ่วยให้มนุษยส์ ามารถสรา้ งวฒั นธรรม
ปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ มใหเ้ หมาะสมกบั การดาํ รงชวี ติ มหี ลายประการดว้ ยกนั เช่น

๑. มคี วามสามารถขนยา้ ยวตั ถุสงิ่ ของได้ ในปรมิ าณมากกวา่ เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั สตั วอ์ ่นื ๆ

๒. สามารถเดนิ ไดเ้ รว็ มรี า่ งกายตงั้ ตรงกบั พน้ื โลก ทาํ ใหเ้ คล่อื นไหวร่างกายไดร้ อบตวั และ
คลอ่ งแคลว่

๓. มมี นั สมองทใ่ี หญ่และมคี ุณภาพ ทําใหม้ สี ตปิ ญั ญาในการประดษิ ฐค์ ดิ คน้ สงิ่ ต่างๆ เพ่อื
ประโยชน์ในการดาํ รงชวี ติ

๔. มนี ้วิ มอื ทจ่ี ะชว่ ยใหท้ าํ หรอื ประดษิ ฐส์ งิ่ ต่างๆ ไดอ้ ยา่ งละเอยี ด

๕. มตี าท่สี ามารถมองเหน็ ส่ิงต่างๆ ได้ดี มองเหน็ ได้ในระยะไกล และมองเหน็ ได้อย่าง
ชดั เจน นอกจากนนั้ ดวงตายงั ตงั้ อยใู่ นตําแหน่งทเ่ี หมาะสมอกี ดว้ ย

๖. มีอายุท่ียนื ยาวกว่าสตั ว์อ่ืนๆ ทําให้สามารถเรียนรู้ สะสมประสบการณ์ และมกี าร
ถ่ายทอดกนั ไดม้ ากกวา่

๗. โดยปกตแิ ลว้ มนุษยเ์ ป็นสตั วส์ งั คม จาํ เป็นตอ้ งพง่ึ พาอาศยั ซง่ึ กนั และกนั การดํารงชวี ติ
มแี นวโน้มว่า ชอบทจ่ี ะอยรู่ ว่ มกนั เป็นกลุ่ม ก่อใหเ้ กดิ การถ่ายทอดทางวฒั นธรรม

๘. ในเยาวว์ ยั จําเป็นต้องพ่งึ พาอาศยั ผู้อ่นื ในการเล้ยี งดู ในการตอบสนองความต้องการ
พน้ื ฐาน เชน่ อาหาร ทอ่ี ยอู่ าศยั ความปลอดภยั และการอบรมเลย้ี งดจู ะใชเ้ วลายาวนานกว่าของสตั ว์
ประเภทอ่นื ๆ ทาํ ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ การเลยี นแบบ และความผกู พนั

๙. มนุษย์มกี จิ กรรมทางเพศตงั้ แต่วนั หนุ่มสาวจนถึงวยั ชราและโดยตลอด ทําให้การอยู่
รว่ มกนั ระหว่างชายหญงิ มเี สถยี รภาพ

๑๐. มนุษยส์ ามารถเรยี นรแู้ ละมคี วามคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์

๑๑. มนุษยม์ เี ครอ่ื งมอื ในการสอ่ื ความหมายทําใหม้ กี ารตดิ ต่อและถ่ายทอดวฒั นธรรมไดด้ ี

การรบั เอาวฒั นธรรมต่างสงั คมมาใช้ เพราะวฒั นธรรมจะแพร่กระจายจากสงั คมหน่ึงไปยงั
สงั คมหน่ึงและจะมกี ารรบั เอาวัฒนธรรมท่เี ข้ามานัน้ ซ่ึงการรบั อาจเอามาใช้ทงั้ หมดหรอื นํามา
ประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ หมาะสมกบั สงั คมของตน

บทท่ี ๕ “ภมู ิปัญญาไทยในฐานะวฒั นธรรมเชิงพทุ ธ” หน้า ๑๘๕ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

การรบั เอาวฒั นธรรมชาตอิ ่นื มาใชน้ นั้ เป็นเร่อื งธรรมดาซง่ึ พบกนั ในทุกสงั คมแต่ต้องเลอื ก
รบั อย่างชาญฉลาด สงั คมจะยงั คงไว้ซ่งึ วฒั นธรรมของสงั คมทงั้ หมดคงไม่มี โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ใน
สงั คมปจั จบุ นั ซง่ึ โลกไดแ้ คบลงเพราะการสอ่ื สารคมนาคมทส่ี ะดวก

บทบาทของวฒั นธรรม

วฒั นธรรมมบี ทบาทสําคญั ในการดําเนินชวี ิตของมนุษย์ การท่มี นุษยร์ ูจ้ กั คบหาสมาคม
รจู้ กั ปฏบิ ตั ติ ่อเพ่อื มนุษยใ์ นสงั คมและอย่รู ว่ มกนั ไดด้ ว้ ยดี รจู้ กั ทาํ มาหากนิ ร่วมกนั ลว้ นเป็นเพราะผล
จากการมวี ฒั นธรรม วฒั นธรรมช่วยใหม้ นุษยพ์ ฒั นาขน้ึ อย่างรวดเรว็ เจรญิ เหนือกว่าสตั ว์ทงั้ ปวง มี
อํานาจเหนือสตั วป์ ระเภทอ่นื ๆ และสามารถควบคุมธรรมชาตไิ ดอ้ ยา่ งกว้างขวาง วฒั นธรรมช่วยให้
มนุษยแ์ ละสงั คมพฒั นาข้นึ โดยลําดบั อย่างไม่มที ่สี ้นิ สุด แต่ทงั้ น้ีต้องข้นึ อยู่กับความสามารถของ
มนุษย์ในการปรบั ปรุงรบั เอาหรอื สร้างสรรค์วฒั นธรรมท่เี หมาะสมข้นึ มาใช้ ถ้าวฒั นธรรมมคี วาม
เหมาะสมมากกส็ ามารถช่วยใหส้ งั คมเจรญิ ขน้ึ ไดม้ ากเป็นเงาตามตวั และความเหมาะสม

วฒั นธรรมยงั เป็นเคร่อื งวดั และเคร่อื งกําหนดความเจรญิ หรอื ความเส่อื มของสงั คมและ
ขณะเดยี วกนั วฒั นธรรมยงั กําหนดชวี ติ ความเป็นอยู่ของประชาชนในสงั คม ดงั นัน้ วฒั นธรรมจงึ มี
อทิ ธพิ ลต่อความเป็นอย่ขู องประชาชนและต่อความเจรญิ ก้าวหน้าของประเทศชาตมิ ากหากสงั คมใด
มวี ฒั นธรรมทด่ี งี ามทเ่ี หมาะสมแล้ว สงั คมนนั้ ยอ่ มจะเจรญิ กา้ วหน้าได้อย่างรวดเรว็ ตรงกนั ขา้ มหาก
สงั คมนนั้ มวี ฒั นธรรมทล่ี ้าหลงั มแี บบของพฤตกิ รรมทไ่ี ดด้ ี มคี ่านิยมทไ่ี ม่เหมาะ สงั คมนนั้ กย็ ากทจ่ี ะ
เจรญิ กา้ วหน้า และในทส่ี ดุ กอ็ าจสญู สน้ิ ความเป็นชาตไิ ด้ เพราะถกู รกุ รานทางวฒั นธรรม

ประโยชน์ต่างๆ ทไ่ี ดร้ บั จากการศกึ ษาวฒั นธรรม เป็นตน้ ว่า การสรา้ งความสงบเรยี บรอ้ ย
ของสงั คม เพราะว่าวฒั นธรรมคือกรอบหรือแบบแผนการดําเนินชีวิตของสงั คม ทําให้ทุกคนมี
ประเพณที จ่ี ะปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ทาํ ใหก้ ารกระทบหรอื ขดั แยง้ กนั ลดน้อยลง ความยุง่ เหยงิ วุ่นวาย
ก็จะลดลง วฒั นธรรมท่ดี ชี ่วยให้สงั คมเจรญิ ก้าวหน้า เช่น ความมรี ะเบยี บวนิ ัย การขยนั ประหยดั
อดทน การเหน็ ประโยชน์สว่ นรวมมากกว่าสว่ นตน ฯลฯ

วฒั นธรรมชว่ ยใหม้ นุษยส์ ะดวกสบายขน้ึ ช่วยแกป้ ญั หาและสนองความตอ้ งการต่างๆ ของ
มนุษย์ มนุษย์พ้นจากอันตรายสามารถเอาชนะธรรมชาติได้เพราะมนุษย์สร้างวัฒนธรรมข้นึ มา
บทบาทและความสาํ คญั ของวฒั นธรรมนนั้ มมี ากมาย อาจสรปุ ไดด้ งั น้ี

๑. วฒั นธรรมช่วยเหน่ียวรงั้ สมาชกิ ในสงั คมใหม้ คี วามเป็นอนั หน่ึงอนั เดยี วกนั และสงั คมท่ี
มวี ฒั นธรรมเดย่ี วกนั กย็ อ่ มจะมคี วามรสู้ กึ ผกู พนั เป็นพวกเดยี วกนั

๒. ช่วยใหป้ ระเทศชาตมิ คี วามเจรญิ รุ่งเรอื งถาวร โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ถา้ ชาตนิ ัน้ มรี ปู แบบ
ของการดาํ เนินชวี ติ ทด่ี ี มที ศั นคตใิ นการดําเนินชวี ติ ทเ่ี หมาะสม ยดึ มนั่ ในหลกั ขยนั ประหยดั อดทน
ความมรี ะเบยี บ วนิ ยั ทด่ี ี ฯลฯ สงั คมนนั้ กจ็ ะเจรญิ รงุ่ เรอื ง

๓. วฒั นธรรมช่วยใหม้ นุษยส์ ะดวกสบายขน้ึ ช่วยแก้ปญั หาและสนองความต้องการต่างๆ
ของมนุษยใ์ หไ้ ดร้ บั ความพอใจทงั้ ทางวตั ถุและจติ ใจ

บทท่ี ๕ “ภมู ิปัญญาไทยในฐานะวฒั นธรรมเชิงพทุ ธ” หน้า ๑๘๖ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๔. วฒั นธรรมเป็นเคร่อื งแสดงเอกลกั ษณ์ของชาติ ชาตทิ ม่ี วี ฒั นธรรมสงู ยอ่ มได้รบั การยก
ยอ่ งและเป็นหลกั ประกนั ความมนั่ คงชองชาติ ทําใหม้ กี ารปฏบิ ตั แิ ต่ในทางทด่ี งี ามซง่ึ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ
ความเจรญิ กา้ วหน้า ความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย ตลอดจนถงึ ความมศี ลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน

๕. วฒั นธรรมเป็นเครอ่ื งกําหนดพฤตกิ รรมของคนในสงั คม ทําใหม้ นุษยแ์ ตกต่างจากสตั ว์
และทําใหม้ นุษยเ์ ป็นมนุษยอ์ ยา่ งสมบูรณ์ เป็นผลทําใหส้ งั คมดํารงอย่ไู ด้ และทําใหม้ นุษยแ์ ละสงั คม
แต่ละแหง่ แตกต่างกนั ไปดว้ ย

๖. วฒั นธรรมเป็นแหล่งสะสมเพม่ิ พูนสงิ่ ทเ่ี ป็นปญั ญาความรู้ เพราะวฒั นธรรมเป็นมรดก
ของสงั คมและช่วยสรา้ งความเป็นอนั หน่งึ อนั เดยี วกนั ก่อใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ เป็นพวกเดยี วกนั ของผคู้ น
ในสงั คม

๗. วฒั นธรรมทไ่ี ดม้ กี ารผสมผสาน ปรบั ปรงุ ใหเ้ หมาะสมแลว้ เป็นสงิ่ จาํ เป็นและสาํ คญั ทส่ี ุด
ในการพฒั นาสงั คม

ประเภทของวฒั นธรรมไทย

เน้อื หาของวฒั นธรรมไทย มที งั้ ส่วนทเ่ี ป็นนามธรรมและรปู ธรรม โดยเฉพาะหลกั ธรรมทาง
พระพุทธศาสนา ถอื ว่าเป็นหลกั ใหญ่ของวฒั นธรรมไทยและมคี ตธิ รรม คําพงั เพย กฎระเบยี บต่างๆ
ทไ่ี ดม้ กี ารสรา้ งสงั่ สม เลอื กสรรความคดิ ความเช่อื ค่านิยมและเคร่อื งประเทอื งจติ ใจ บํารุงใจ การ
ปรบั ปรงุ แกไ้ ขและสบื ทอดกนั มาจนกลายเป็นวฒั นธรรมประจาํ ชาตทิ ค่ี นไทยทุกคนมสี ่วนเป็นเจา้ ของ
และเหน็ ความสาํ คญั ในการรกั ษาศลิ ปวฒั นธรรมอนั ดงี ามของไทย ให้ดาํ รงอยคู่ ่ชู าตไิ ทยต่อไป

ปจั จบุ นั เพอ่ื สะดวกแก่การศกึ ษาและสง่ เสรมิ วฒั นธรรม สาํ นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรม
แหง่ ชาติ ไดแ้ บง่ ออกเป็น ๕ สาขาตาม UNESCO ประกอบดว้ ย๑๓

๑. สาขามนุษย์ศาสตร์ ไดแ้ ก่ ขนบธรรมประเพณี คุณธรรม ศีลธรรม ศาสนา ปรชั ญา
ประวตั ศิ าสตร์ โบราณคดี มารยาทในสงั คม การปกครอง กฎหมาย เป็นตน้

๒. สาขาศิลปะ ได้แก่ ภาษา วรรณคดี ดนตรี นาฏศิลป์ วิจติ รศิลป์ สถาปตั ยกรรม
ประตมิ ากรรม จติ รกรรม เป็นตน้

๓. สาขาช่างฝี มือ ไดแ้ ก่ การเยบ็ ปกั ถกั รอ้ ย การแกะสลกั การทอผา้ การจดั สาน การทํา
เคร่อื งเขนิ การทําเคร่อื งเงนิ เคร่อื งทอง การจดั ดอกไม้ การประดษิ ฐ์ การทําเครอ่ื งปนั้ ดนิ เผา เป็น
ตน้

๔. สาขาคหกรรมศิลป์ ไดแ้ ก่ ความรู้เร่อื งอาหาร การประกอบอาหาร ความรูเ้ ร่อื งการ
แต่งกาย การอบรมเลย้ี งดเู ดก็ การดแู ลบา้ นเรอื นทอ่ี ยอู่ าศยั ความรเู้ ร่อื งบา การรจู้ กั ใชย้ า ความรใู้ น
การอยรู่ วมกนั เป็นครอบครวั เป็นตน้

๑๓ สาํ นักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาต,ิ เอกสารประกอบการสมั มนาเร่อื ง “ทุนวฒั นธรรม
และภูมิปัญญากับการสร้างสรรค์คุณค่าเพ่ิมและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมประเทศ” ณ โรงแรมรามาการ์เด้น,
(กรุงเทพมหานคร : วนั ท่ี ๑๘ กนั ยายน ๒๕๔๙), [ออนไลน์], แหล่งขอ้ มลู : https://channarongs22.wordpress.com/ [๒๑ สงิ หาคม
๒๕๕๘]

บทท่ี ๕ “ภมู ิปัญญาไทยในฐานะวฒั นธรรมเชิงพทุ ธ” หน้า ๑๘๗ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๕. สาขากีฬาและนันทนาการ ได้แก่ การละเล่น มวยไทย ฟนั ดาบสอบมอื กระบ่ี
กระบอง การเลย้ี งนกเขา ไมด้ ดั ต่างๆ เป็นตน้

วฒั นธรรมท่เี ก่ยี วกบั การดําเนินชวี ติ ส่วนใหญ่เป็นเร่อื งของจติ ใจทไ่ี ด้มาจากศาสนาเป็น
หลกั วฒั นธรรมจะมคี วามเกย่ี วขอ้ งกบั กฎหมาย รวมทงั้ ระเบยี บประเพณีทม่ี กี ารยอมรบั นับถอื ของ
คนในสงั คมทม่ี คี วามสาํ คญั เชน่ เดยี วกบั กฎหมาย จงึ ทาํ ใหค้ นอยรู่ ว่ มกนั อย่างผาสุก ถอ้ ยทถี ้อยอาศยั
ซ่งึ กนั และกนั แล้วยงั รวมทงั้ กิรยิ ามารยาทท่ีจะติดต่อเก่ียวข้องกับสงั คมตามประกาศกระทรวง
วฒั นธรรม พุทธศักราช ๒๔๘๕ ได้แบ่งเน้ือหาของวฒั นธรรมได้ออกได้เป็น ๒ ประเภทใหญ่ๆ
ดงั น้๑ี ๔

๑. วฒั นธรรมทางวตั ถุ (material culture) หมายถงึ สงิ่ ของหรอื วตั ถุอนั เกดิ จากความคดิ
และการประดษิ ฐข์ น้ึ มาของมนุษย์

๒. วฒั นธรรมท่ีไม่ใช่วตั ถุ (non-material culture) หมายถงึ วฒั นธรรมทแ่ี สดงออกได้
โดยทศั นะ ประเพณี ขนบธรรมเนียม การปฏบิ ตั สิ บื ต่อกนั มาและเป็นทย่ี อมรบั ในกลุ่มของตน ว่าดี
งามเหมาะสม เช่น ภาษา ความคดิ ถ้อยคําพูด ประเพณี ความเช่อื กฎหมาย ลทั ธกิ ารเมอื ง แบบ
แผนการดาํ เนนิ ชวี ติ ซง่ึ มลี กั ษณะเป็นนามธรรม (Abstract) ทม่ี องเหน็ ไมไ่ ด้

ประเภทของวฒั นธรรม มี ๒ แนวคิด คอื แนวคดิ ทางด้านสงั คมวทิ ยาและแนวคดิ ตาม
พระราชบญั ญตั วิ ฒั นธรรมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๘๕ ดงั น้ี

๑) ตามแนวคิดทางด้านสงั คมวิทยามี ๓ ประเภท คือ

การแบ่งประเภทของวฒั นธรรมออกเป็น ๒ ประเภทขา้ งต้นนัน้ นักสงั คมวทิ ยาบางกลุ่ม
เหน็ ว่า แนวคดิ เกย่ี วกบั วฒั นธรรมทไ่ี มใ่ ชว่ ตั ถุนนั้ คลมุ เครอื จงึ ไดแ้ บ่งออกเป็น ๓ คอื

(๑) วฒั นธรรมทางวตั ถุ (Material Culture) หมายถงึ สง่ิ ของหรอื วตั ถุอนั เกิดจาก
ความคดิ และการประดษิ ฐข์ น้ึ มาของมนุษย์ เช่น ทอ่ี ย่อู าศยั อาคาร บา้ นเรอื น อาหาร ยารกั ษาโรค
อาวุธยทุ โธปกรณ์ และเครอ่ื งอํานวยความสะดวกต่างๆ เป็นต้น

(๒) วฒั นธรรมทางความคิด (Idea) เป็นวฒั นธรรมทเ่ี ก่ยี วกบั ความรสู้ กึ นึกคดิ ทศั นคติ
ความเช่อื ต่างๆ เชน่ ความเช่อื ในเร่อื งตายแลว้ เกดิ ใหม่ ความเช่อื ในเรอ่ื งกฏแห่งกรรม ความเช่อื ถอื
โชคลาง ตลอดจนเรอ่ื งลล้ี บั นยิ ายปรมั ปรา วรรณคดี สุภาษติ และอุดมคตติ ่างๆ

(๓) วฒั นธรรมด้านบรรทดั ฐาน (Norm) เป็นเร่อื งของการประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามแบบแผน
ท่สี งั คมกําหนดเอาไว้ ไม่ว่าจะเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรหรอื ไม่มลี ายลกั ษณ์อกั ษรก็ตามซง่ึ แยกย่อยๆ
ดงั น้ี

วฒั นธรรมดา้ นบรรทดั ฐาน คอื เร่อื งของการประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามระเบยี บแบบแผนทส่ี งั คม
กําหนดเอาไว้ไม่ว่าจะเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรหรอื ไม่เป็นลายลกั ษณ์อักษรก็ตาม ซ่งึ แบ่งออกเป็น
ประเภทยอ่ ยๆ ดงั น้ี

๑๔ คณาจารย์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , เทศกาลและพิธีกรรมพระพทุ ธศาสนา, หน้า ๔๔.

บทท่ี ๕ “ภมู ิปัญญาไทยในฐานะวฒั นธรรมเชิงพทุ ธ” หน้า ๑๘๘ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

- วฒั นธรรมทางสงั คม (Social Culture) เป็นวฒั นธรรมทเ่ี กย่ี วกบั ความประพฤติ หรอื
มารยาททางสงั คม เช่น การไหว้ กาจบั มอื ทกั ทาย การเขา้ แถว การแต่งชุดดาํ ไปงานศพ เป็นตน้

- วฒั นธรรมที่เก่ียวข้องกบั กฎหมาย (Legal Culture) เป็นวฒั นธรรมทก่ี ่อใหเ้ กดิ ความ
เป็นระเบยี บและกฎเกณฑเ์ พ่อื ใหค้ นในสงั คมอยดู่ ว้ ยกนั อย่างมคี วามสุข

- วฒั นธรรมท่ีเก่ียวกบั จิตใจและศีลธรรม (Moral Culture) วฒั นธรรมประเภทน้ีใชเ้ ป็น
แนวทางในการดําเนินชีวิตในสังคม เช่น ความซ่ือสัตย์ สุจริต ความเมตตากรุณา ความ
เออ้ื เฟ้ือเผอ่ื แผ่ เป็นตน้

๒) ตามแนวคิ ดตามพระราชบัญญัติ วัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๘๕ มี ๔
ประเภท๑๕ คือ

(๑) คติธรรม (Moral Culture) คอื วฒั นธรรมทเ่ี กย่ี วกบั หลกั ในการดาํ เนินชวี ติ ของมนุษย์
เชน่ ความขยนั หมนั่ เพยี ร ความประหยดั ความเสยี สละ ความรกั ใคร่ สามคั คี เป็นตน้

(๒) เนติธรรม (Legal Culture) คอื วฒั นธรรมทางกฎหมาย รวมทงั้ ระเบยี บประเพณีท่ี
ยอมรบั นับถอื กนั ว่ามคี วามสําคญั เช่นเดยี วกบั กฎหมาย เช่น เป็นการปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย และกฏ
ระเบยี บในสงั คม

(๓) วตั ถธุ รรม (Material Culture) คอื วฒั นธรรมทางวตั ถุ เช่น เคร่อื งมอื เคร่อื งใชใ้ น
ชวี ติ ประจาํ วนั การกนิ ดอี ยดู่ ี เครอ่ื งนุ่งห่ม บา้ นเรอื น โบราณสถาน โบราณวตั ถุ และอ่นื ๆ

(๔) สหธรรม (Social Culture) คอื วฒั นธรรมทางสงั คม นอกจากหมายถงึ คุณธรรม
ต่างๆ ท่ที ําให้คนอยู่ร่วมกนั อย่างผาสุก ถ้อยทถี ้อยอาศยั กนั แล้ว ยงั รวมถงึ ระเบยี บมารยาทท่จี ะ
ตดิ ต่อเก่ยี วขอ้ งกบั สงั คมทุกชนิด เช่น มรรยาทในการรบั แขก มารยาทในการไปงานมงคล งานศพ
การเดนิ ทาง การเป็นผรู้ จู้ กั กาลเทศะ เป็นตน้ ๑๖

๕.๓ วฒั นธรรมประเภท “คติธรรม”

วฒั นธรรมทางคติธรรม หมายถงึ คติในการดํารงชวี ติ คําสงั่ สอน คตคิ วามเช่อื ต่างๆ
หรอื คติต่างๆ ท่ไี ด้มาจากวรรณกรรม ความเช่อื แต่ละท้องถิ่น เป็นต้น โดยมลี กั ษณะ ๒ อย่างท่ี
น่าสนใจคอื คตทิ เี่ ป็นความเชอื่ และคตทิ เี่ ป็นคาสอน ซง่ึ มดี งั ต่อไปน้ี

ประการที่ ๑ คติที่เป็นความเช่ือ

ความเชื่อเร่ืองผีหรือวิญญาณ ความเช่ือของชาวอีสาน เป็นความเช่ือท่ีผสมผสาน
ระหว่างผบี รรพบุรษุ กบั ความเช่อื ทเ่ี กย่ี วกบั สง่ิ ศกั ดสิ ์ ทิ ธิ ์ ดงั นนั้ การนับถอื ผจี งึ เป็นประเพณขี องชาว
อสี านแต่โบราณก่อนจะมกี ารนบั ถอื พทุ ธศาสนา เชน่ ชาวอสี านเชอ่ื วา่ ดวงวญิ ญาณของบรรพบุรุษยงั

๑๕ ณรงค์ เสง็ ปรชี า, สงั คมวิทยา, (กรุงเทพมหานคร : พทิ กั ษ์อกั ษร, ๒๕๓๙), หน้า ๑๙-๒๐.
๑๖ ชาํ นะ พาซอ่ื , ปรชั ญาไทย, ภาควิชาศาสนาและปรชั ญา, หน้า ๒๙-๓๐.

บทท่ี ๕ “ภมู ิปัญญาไทยในฐานะวฒั นธรรมเชิงพทุ ธ” หน้า ๑๘๙ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

คอยดูแลใหค้ วามคุม้ ครองแก่ลูกหลานใหอ้ ย่เู ยน็ เป็นสุข ซ่งึ ความเช่ือเรอ่ื งผจี ะแบ่งออกเป็นผแี ต่ละ
ประเภทไดแ้ ก่

-ความเช่อื เร่อื งผกี ะ เป็นผที ส่ี งิ อย่ใู นร่างกายผูห้ ญงิ คนท่ถี ูกผกี ะเขา้ สงิ จะมพี ฤตกิ รรมมกั
มากในกาม หญงิ ทเ่ี ป็นผกี ะนัน้ เวลากลางคนื จะมหี น้าตาสวยงามชวนใหช้ ายหลงใหล ส่วนกลางวนั
จะเกบ็ ตวั ไมช่ อบคบคา้ สมาคมกบั ผใู้ ด ผวิ เหลอื ง ซบู ผอม เมอ่ื อาทติ ยต์ กดนิ พฤตกิ รรมจะเปลย่ี นเป็น
ตรงขา้ ม หญงิ ทเ่ี ป็นผกี ะอาจจะมสี ามี แต่ส่วนใหญ่มกั ไมม่ บี ุตร สามจี ะอย่ใู นโอวาทหญงิ ผกี ะ ไม่กลา้
ว่ากล่าวตกั เตอื น เมอ่ื เหน็ วา่ นางเป็นชกู้ บั ชายอ่นื และมแี นวโน้มทเ่ี ป็นใจใหภ้ รรยาผกี ะเล่นชสู้ ่ชู ายอกี
ดว้ ย

- ความเช่อื เร่อื งผแี จหรอื ผเี ชอ้ื เป็นผบี รรพบุรุษทช่ี าวยอ้ ในนครพนมและสกลนครนับถอื
กนั ทุกบ้านเรอื นจะจดั สถานท่ไี ว้บรเิ วณมุมห้องด้านซ้ายมอื จงึ เรยี กว่า ผีแจ เพราะคําว่า “แจ”
แปลว่า “มุม” ความเช่อื เร่อื งผแี จหรอื ผเี ชอ้ื เทยี บไดก้ บั ‚ฮกั ษา‛ ซง่ึ หมายถงึ สง่ิ ศกั ดสิ ์ ทิ ธทิ ์ ร่ี กั ษา
คุม้ ครองไวท้ ห่ี อ้ งเปิงหรอื หอ้ งนอนของผทู้ เ่ี ป็นหวั หน้าครอบครวั

- ความเชอ่ื เรอ่ื งผดี ้าหรอื ผเี รอื น เป็นผบี รรพบุรษุ ทค่ี อยรกั ษาบุตรหลานทอ่ี าศยั อย่ใู นเรอื น
นนั้ ๆ ผดี า้ นัน้ ชาวอสี านยงั นับถอื อยทู่ วั่ ไป แต่ไม่อาจเครง่ ครดั เหมอื นในอดตี ผดี า้ หรอื ผเี รอื นเป็นผี
บรรพบุรษุ ตามสายเลอื ด ตามตระกลู ไมใ่ ชผ่ บี รรพบรุ ษุ ประจาหมบู่ า้ นเหมอื นผปี ตู่ า

- ความเช่อื เร่อื งผปี อบ เป็นผที ส่ี งิ อยู่ในร่างกายของคน ผู้ท่ผี ปี อบอาศยั ร่างอย่ชู าวอสี าน
เรยี กคนนัน้ ว่า เป็นปอบหรอื เป็นผปี อบ ผชี นิดน้ีจะออกจากร่างผูเ้ ป็นเจา้ ของไปสงิ ร่างหรอื เขา้ กนิ
บุคคลอ่นื เพ่อื กนิ เลอื ดและอวยั วะภายในเป็นอาหาร บุคคลทป่ี อบเขา้ กนิ ส่วนมากจะเป็นคนอ่อนแอ
หรอื เจบ็ ปว่ ยออดๆ แอดๆ

ชาวอสี านเช่อื ว่า ผปี อบเกดิ จากคนทเ่ี รยี นวชิ าเวทมนตค์ าถาอาคมจนมวี ชิ าแก่กลา้ บุคคล
เหล่าน้ีไม่ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ หา้ มท่อี าจารยก์ ําหนดไว้ ทงั้ นาวชิ าไปใช้ในทางท่ผี ดิ บุคคลเหล่าน้ีจะถูก
ชาวบา้ นกลา่ วหาวา่ เป็นปอบหรอื ผปี อบ ชาวอสี านเช่อื ว่า ผปี อบมี ๒ ชนิด คอื ผปี อบวชิ าคอื ผปี อบ
วชิ า เกดิ จากคนเรยี นวชิ าอาคม และผปี อบเช้อื เกดิ จากปอบของญาตผิ ู้ใหญ่ทเ่ี จา้ ตวั ตายไปแล้วมา
อาศยั ในลกู หลานต่อไป

- ความเช่ือเร่อื งผีปู่ตา เป็นดวงวญิ ญาณบรรพบุรุษประจาหมู่บ้านท่ีทาหน้าท่ีปกป้อง
คุม้ ครองลูกบ้านใหอ้ ยู่เยน็ เป็นสุขปราศจากอนั ตรายและภยั พบิ ตั ิทงั้ ปวง ความเช่อื เร่อื งผีป่ตู าของ
ชาวอีสาน แสดงให้เห็นว่าชาวอีสานเช่ือว่ามีโลกของผีและโลกมนุษย์ โลกของผเี ป็นท่อี ยู่ของ
วญิ ญาณทล่ี ่วงลบั ไปและอาจตดิ ต่อส่อื สารกนั ได้ระหว่างโลกของผแี ละโลกของมนุษย์ โดยผ่านคน
กลางคอื หมอจา้ หรอื ขะจา้ ซง่ึ จะถูกคดั เลอื กโดยเจา้ ปู่ บางแห่งสบื ทอดทางสายตระกูล ขะจา้ มหี น้าท่ี
ดูแลตูบตาปแู่ ละเซ่นสรวงบชู าดว้ ยดอกไมธ้ ูปเทยี นประจาวนั พระ การส่อื สารระหว่างโลกมนุษยแ์ ละ
โลกของผจี ะกระทาํ ครงั้ ใหญ่ประจาํ ปี เรยี กวา่ การเลย้ี งผปี ตู่ า

- ความเช่อื เร่อื งผเี บ้า และผโี พง เป็นผที ส่ี งิ อย่ตู ามร่างกายคน มกั ชอบกนิ ของดบิ ๆ เช่น
เลอื ดสดๆ ผเี บา้ มี ๓ จาํ พวกคอื

บทท่ี ๕ “ภมู ิปัญญาไทยในฐานะวฒั นธรรมเชิงพทุ ธ” หน้า ๑๙๐ ดร.ยุทธนา พนู เกดิ มะเรงิ

๑. ผีเบ้าคน หมายถึง ผีเบ้าสิงในคนท่ียังไม่ตาย จะทําให้คนๆนั้นมีพฤติกรรมท่ี
เปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ เช่น มกั ชอบอยคู่ นเดยี ว กนิ อาหารดบิ ๆ สดๆ เป็นตน้

๒. ผีเบ้าผี หมายถงึ คนทเ่ี ป็นผเี บ้าเมอ่ื ตายไปแลว้ จะยงั เป็นผเี บา้ อยู่ ผชี นิดน้ีดุรา้ ยชอบ
ทาอนั ตรายคนใหถ้ งึ แก่ชวี ติ

๓. ผเี บา้ ว่าน หมายถงึ เป็นผเี บา้ ทเ่ี กดิ จากการเลน่ ว่านศกั ดสิ ์ ทิ ธิ ์ คอื ว่านกระจาย ว่านสาม
พนั ตงึ โดยเช่อื ว่า ผเู้ ลย้ี งว่านหรอื เล่นว่านทงั้ สองชนิดน้ีจะเป็นผอู้ ย่ยู งคงกระพนั ฟนั แทงไมเ่ ขา้ แต่
วา่ นทงั้ สองชนิดน้ีต้องเลย้ี งอยา่ งถูกวธิ ี จงึ จะไม่เป็นอนั ตรายต่อผเู้ ลย้ี งผเู้ ล่น เพราะว่านทงั้ สองชนิด
น้ีชอบกนิ ของดบิ ของสดเช่นเดยี วกนั ดงั นนั้ ผเู้ ลย้ี งจะตอ้ งหาของมาเซ่นมาพอกตามกําหนดหรอื ให้
กนิ ทุกวนั

- ความเช่อื เร่อื งผีพราย เช่อื กนั ว่าเกดิ จากหญิงท่คี ลอดลูกตาย เรยี กว่า ตายทงั้ กลม ผี
พรายจาํ แลงกายเป็นสตั วต์ ่างๆ ได้ โดยเฉพาะนกเคา้ แมว และชาวอสี านกเ็ ช่อื ว่าเป็นผพี รายจาํ แลง
กายมา โดยเฉพาะชาวบา้ นท่เี จบ็ ป่วยหนัก หากเหน็ นกเค้าแมวมาเกาะบรเิ วณบ้าน เช่อื กนั ว่า ผี
พรายจาแลงกายมาซ้ําเตมิ ให้คนป่วยตายเรว็ ๆ นอกจากน้ี ชาวอสี านยงั มคี วามเช่อื กนั ว่า ผพี ราย
ชอบกนิ เลอื ดขณะทค่ี ลอดลูก ถ้าหากเรอื นใดมหี ญงิ คลอดลกู ต้องใชห้ นามสะไวข้ า้ งใต้ถุนบา้ นเพ่อื
ป้องกนั ผพี ราย ผเี บา้ ผโี พรงมากนิ เลอื ด

- ความเช่อื เร่อื งผฟี ้า เป็นพธิ กี รรมเขา้ ทรงรกั ษาโรคภยั ไขเ้ จบ็ ส่วนใหญ่จะเป็นผู้หญิงท่ี
เขา้ ทรง เรยี กว่า นางเทยี ม ผฟี ้า หมายถงึ การฟ้อนราของนางเทยี มในวนั ไหว้ครูประจาปี เรยี กว่า
ลงผฟี ้า หรอื ฟ้อนผีฟ้า ในการประกอบพิธีจะมผี ฟี ้าคนหน่ึง แคน และคนเป่าแคน ดาบหน่ึงเล่ม
หวายสาหรบั เฆย่ี นผี โดยการรกั ษาจะเรม่ิ จากคนเรมิ่ เปา่ แคนแลว้ ผฟี ้ากจ็ ะทาการฟ้อนรา กระทบื เทา้
ปึงปงั กระโดดโลดเต้นไปมาราวกบั ว่าเป็นการข่มขู่ทาให้ผหี วาดกลวั และหนีไปไม่มาทารา้ ยคนอกี
ดงั นนั้ ผฟี ้าจงึ เป็นช่อื เรยี กบคุ คลทช่ี าวบา้ นเคารพนบั ถอื เป็นศูนยร์ วมทางจติ ใจและเป็นทพ่ี ง่ึ ทางกาย
ทางใจของชาวบา้ น เปรยี บเสมือนตวั แทนของสงิ่ ศกั ดสิ ์ ทิ ธทิ ์ ่สี ามารถช่วยปดั เป่าทุกขภ์ ยั ต่างๆ ให้
พวกเขาพน้ จากอนั ตราย

- ความเช่อื เร่อื งผตี าแฮกหรอื ผตี าแฮด ผตี าแฮกเป็นผปี ระจาํ ทอ้ งนา ถอื กนั ว่าเป็นผที ่ปี ก
ปกั รกั ษาพชื สวนไรน่ า และทาํ ใหข้ า้ วกลา้ เจรญิ งอกงาม อุดมสมบูรณ์ จึงมกี ารเซ่นไหวผ้ ตี าแฮกทุกปี
ปีละ ๒ ครงั้ คือ ก่อนลงมอื ปกั ดาและหลงั การเก็บเก่ียว สงิ่ ท่ีจะนาไปเล้ยี งผตี าแฮกประกอบด้วย
เหลา้ ๑ ขวด ไก่ตม้ สุกพรอ้ มเคร่อื งใน ๑ ตวั ดอกไม้ ธูป เทยี น หมาก พลู บุหร่ี น้ํา ๑ ขวด แก้ว ๒
ใบ กระตบ๊ิ ขา้ ว ๑ กระตบิ๊ ในการเลย้ี งผตี าแฮกเม่อื เตรยี มสงิ่ ของเรยี บรอ้ ยแลว้ กจ็ ะเอาใส่ตะกรา้ นา
ไปในทท่ี เ่ี ป็นทอ่ี ยขู่ องผตี าแฮก ตงั้ ไวพ้ รอ้ มกบั กล่าวเชญิ ชวนใหผ้ ตี าแฮกมารบั พรอ้ มกบั บนบานสาน
กล่าวใหข้ า้ วกลา้ ของตนอุดมสมบรู ณ์

- ความเช่อื เร่อื งบงั้ ไฟพญานาค ชาวอีสานเช่อื กันว่า พญานาคจุดบงั้ ไฟข้นึ เพ่ือถวาย
พระพุทธเจา้ ซง่ึ เสดจ็ ลงมาจากสวรรคช์ นั้ ดาวดงึ ส์ เป็นพุทธบูชาในวนั ขน้ึ ๑๕ ค่า เดอื น ๑๑ แต่ถ้าปี
ใดมเี ดอื น ๘ สองหนนัน้ ก็จะตรงกบั วนั แรม ๑ ค่ํา เดอื น ๑๑ ของทุกปี ชาวบ้านเช่อื กนั ว่า บรเิ วณ

บทท่ี ๕ “ภมู ิปัญญาไทยในฐานะวฒั นธรรมเชิงพทุ ธ” หน้า ๑๙๑ ดร.ยทุ ธนา พนู เกดิ มะเรงิ

แก่งอาฮง ตําบลหอคา อําเภอบงึ กาฬ จงั หวดั หนองคาย เป็นเมอื งของพญานาค ดงั นนั้ ขาวบา้ นจงึ
พากนั สรา้ งศาลเจา้ แม่สองนางไว้ตามรมิ ฝงั่ แม่น้าโขงทุกอําเภอ ทอ่ี ย่ตู ดิ รมิ แม่น้าโขง เรยี กว่า ศาล
เจ้าแม่สองนาง โดยจะมพี ิธกี รรมบวงสรวงละจดั พธิ ีไหว้เรอื ไฟแม่น้าโขง บูชาพญานาคเพ่อื ให้
คุม้ ครองป้องกนั อนั ตรายต่างๆ ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ในแมน่ ้าโขงและเพ่อื ความเป็นสริ มิ งคลต่อชวี ติ

- ความเช่อื เร่อื งสงิ่ มงคลภายในบ้าน คนอสี านเช่อื ว่า ความเช่อื ดงั กล่าวมคี วามสําคญั คอื
ถ้าคนท่เี ช่อื แล้วปฏบิ ตั ิหรอื ทาตามความเช่อื ดงั กล่าวแล้วทาให้เกิดความสบายใจ ดงั นัน้ จงึ เกิดมี
พธิ กี รรมทเ่ี กย่ี วกบั สง่ิ ของภายในบา้ น เช่น การปลกู ตน้ มะขาม และการความเช่อื การปลกู ตน้ มะยม
เป็นตน้

- ความเช่อื เรอ่ื งการนมสั การองคพ์ ระธาตุพนม ลกั ษณะความเช่อื คอื พุทธศาสนิกชนคนใด
ทไ่ี ดม้ าเวยี นเทยี นรอบองคพ์ ระธาตุพนมในวนั เพญ็ เดอื นสามและไดต้ กั บาตรสวรรคต์ ่ออายุครบ ๗ ปี
ตดิ ต่อกนั จะไดข้ น้ึ สวรรคไ์ ดเ้ ป็นลุกองคพ์ ระธาตุพนม นึกคดิ สงิ่ ใดทด่ี งี ามกจ็ ะไดต้ ามใจปรารถนา แต่
มขี อ้ แมว้ ่า ตอ้ งประพฤตปิ ฏบิ ตั ดิ ที งั้ กาย วาจา ใจ

- ความเช่อื เรอ่ื งการบนู เป็นความเชอ่ื ส่วนบุคคล ซง่ึ เช่อื ว่าจะทาํ ใหท้ ราบสาเหตุและวธิ กี าร
แก้ไขความทุกขร์ อ้ นเจบ็ ปว่ ย ความสําคญั ของความเช่อื น้ีกค็ อื เป็นขวญั และเป็นกาลงั ใจแก่ผทู้ ก่ี าลงั
ไดร้ บั ความทกุ ขร์ อ้ นเจบ็ ปว่ ย การบรู เป็นความเชอ่ื เกย่ี วกบั การหาสาเหตุแห่งปญั หาและการเจบ็ ปว่ ย
ของชาวโคราช โดยจะทาการเส่ยี งทายหาสาเหตุแห่งความเจบ็ ป่วยของชาวบ้าน ผู้ท่ที ําพธิ ีบูน
เรยี กวา่ หมอบนู

- ความเช่ือเร่อื งครูกําเนิด หรอื จวมกรู เป็นลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับ
วญิ ญาณหรอื เทพเจา้ เป็นความเช่อื ของชาวไทยเขมรทเ่ี ช่อื ว่า ครกู ําเนิดสามารถใหค้ ุณและโทษแก่
บุคคลท่เี ป็นเจา้ ของได้กล่าวคอื หากทําผดิ ต่อครูกจ็ ะปวดศีรษะจะต้องขอขมาครกู ําเนิดโดยการจุด
ธปู เทยี นบชู า

- ความเชอ่ื เรอ่ื งเหยา เป็นการตดิ ต่อส่อื สารกนั ระหว่างมนุษยก์ บั วญิ ญาณ โดยใชบ้ ทกลอน
และทานองลามแี คนประกอบการให้จงั หวะ ผู้ทาหน้าท่สี ่อื สารคือ หมอเหยา พธิ กี รรมเหยาเป็น
วธิ กี ารบาบดั รกั ษาอาการเจบ็ ปว่ ยของชาวบา้ น อนั เน่ืองมาจากการละเมดิ หรอื สรา้ งความไม่พอใจต่อ
ผี ดงั นนั้ จงึ ตอ้ งมพี ธิ บี วงสรวง กราบไหวเ้ พอ่ื ใหผ้ มี าช่วยบาบดั ขจดั ปญั หาความเดอื ดรอ้ น และเช่อื ว่า
ผจี ะดลบนั ดาลใหเ้ ป็นไปตามทต่ี อ้ งการได้

- ความเชอ่ื เรอ่ื งตุงหรอื ธง เป็นความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนุษยก์ บั วตั ถุ ชาวบา้ นเช่อื ว่า ตุงหรอื
ธงเป็นสญั ลกั ษณ์ของความดีงาม ความเป็นสริ มิ งคล ตุงท่ใี ช้ในวถิ ีชวี ติ ของคนไทยนัน้ มลี กั ษณะ
แตกต่างกนั ไปตามโอกาสและงานบุญทจ่ี ดั ขน้ึ ดงั น้ี

๑. เพอ่ื ใชป้ ระกอบพธิ กี รรมในงานมงคล เช่น ตุง ๙ หอ้ งหมายถงึ โลกุตตรธรรม
๒. เพอ่ื ใชป้ ระกอบพธิ กี รรมงานอวมงคล เช่น ตุงแดง เป็นตุงทน่ี าไปปกั ไวต้ รงบรเิ วณทค่ี น
ตายโหง


Click to View FlipBook Version