The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเขียนเชิงสร้างสรรค์ ประเภทบทความ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sungthong25421999, 2022-06-11 01:47:36

การเขียนบทความ

การเขียนเชิงสร้างสรรค์ ประเภทบทความ

การเขียน

บท
คว า ม

บทความ (Article) คือ งานเขียนประเภทหนึ่งที่มีลักษณะเป็น

ความเรียง โดยอาศัยข้อเท็จจริงและสอดแทรกข้อเสนอแนะเชิง

วิจารณ์สร้างสรรค์ของผู้เขียนเอาไว้ด้วย ทั้งนี้ บทความจะเน้นการ

เสนอความคิดเห็นในเรื่องใดเรื่องหนึ่งของผู้เขียนเป็นหลักและ

มีหลักฐานข้อเท็จจริงเข้ามาประกอบทรรศนะดังกล่าว

ลักษณะของบทความ

เน้นให้ความรู้และข้อมูล
เนื้อหามีขนาดสั้น จบเป็น
เนื้อหาควรเป็นเหตุการณ์

แก่ผู้อ่านเป็นหลัก ตอนๆ เนื้อความควรนำ
ที่อยู่ในความ
สนใจของผู้

เสนอไว้ตอนต้นแล้วตาม

อ่านขณะนั้น
ด้วยข้อความขยาย

ลักษณะของบทความ

เนื้อหาต้องประกอบด้วย
ใช้กลวิธีการเขียน สำน
วน

ข้อเท็จจริงเป็นหลัก และ
โวหารที่ดึงดูดใจ
สอดแทรกด้วยข้อคิดเห็น

ประเภทของบทความ

(บFทoคrวmาaมlเชEิงsสsaารyะ) (บIทnคfวoาrมmเชaิงl ปEกsิsณayก)ะ

จะเน้นหนักไปทางวิชาการ ผู้เขียน
บทความที่นำเสนอในเรื่องทั่ว ๆ ไป มุ่งให้

ต้องการอธิบายความรู้อย่างใด
เกิดความบันเทิงเป็นหลัก เช่น บทความ


อย่างหนึ่งเป็นสำคัญ แสดงความคิดเห็น

บทความแสดงความคิดเห็น ปรบะทเภคทวาขมอง

(แบ่งตามเนื้อเรื่องของบทความ)
เป็นบทความที่ผู้เขียนหยิบยกเอาปัญหาใน

สังคมนั้น ขึ้นมาเขียน มีทั้งปัญหาส่วนรวมและ

ปัญหาส่วนบุคคลหรือเขียนอาจจะเขียนตอบโต้

บทความที่ผู้อื่นเขียนขึ้นเพื่อแสดงความคิด

เห็นในแนวหนึ่งแนวใด ปัญหาที่มีข้อขัดแย้ง

นี้มักจะมีข้อคิดแตกต่างกันออกไปสองแนว คือ


ความคิดเห็นในแนวยอมรับและโต้แย้ง

บทความประเภทสัมภาษณ์

เป็นบทความที่แสดงความคิดของบุคคลเกี่ยว
ปรบะทเภคทวาขมอง

กับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ ผู้เขียน
(แบ่งตามเนื้อเรื่องของบทความ)
บทความควรรู้จักเลือกบุคคลที่จะสัมภาษณ์

เช่น มีชื่อเสียง มีความเชียวชาญ

ตัวอย่าง

สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางแฟชั่นสตรีเรื่องแนว

โน้มในการแต่งกายของสตรีไทยในปัจจุบัน

บทความกึ่งชีวประวัติ ปรบะทเภคทวาขมอง

(แบ่งตามเนื้อเรื่องของบทความ)
เป็นบทความที่แสดงเรื่องราวเกี่ยวกับตัวบุคคล

ที่ให้สัมภาษณ์ แต่ไม่ได้เน้นที่อัตชีวประวัติ

กลับไปเน้นที่ความสามารถและคุณสมบัติ

พิเศษที่ทำให้เขาประสบ ความสำเร็จยิ่งใหญ่

กว่าบุคคลทั่วไป เขามีวิธีการและหลักการใน

การดำรงชีวิต ตลอดจนการปฏิบัติตนอย่างไร

บทความประเภทให้ความรู้ ปรบะทเภคทวาขมอง

(แบ่งตามเนื้อเรื่องของบทความ)
เป็นบทความที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

หรืออธิบายวิธีทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในการเขียนควร

เลือกเรื่องที่ดึงดูดความสนใจ ทำความเข้าใจตลอด

จนปฏิบัติตามได้ไม่ยาก หัวข้อที่จะเลือกมาเขียนมี


อยู่กว้างขวาง

ตัวอย่าง

วิธีปรุงอาหาร , จัดสวนฉบับมือใหม่

บทความประเภทให้แง่คิด ปรบะทเภคทวาขมอง

(แบ่งตามเนื้อเรื่องของบทความ)
โน้มน้าวใจ หรือกระตุ้นให้กระทำอย่างใดอย่าง

หนึ่ง ผู้เขียนอาจเขียนอย่างตรงไปตรงมา หรือ


เขียนในเชิงอุปมาอุปมัยก็ได้

ตัวอย่าง

กล่าวถึงสัตว์ฝูงหนึ่ง แต่เดิมเคยอยู่เป็นสุขรักใคร่

สามัคคีกัน ต่อมาเกิดทะเลาะวิวาทกันแยกตัวไป

อยู่ที่อื่นเป็นจำนวนมาก ไม่ช้านักสัตว์ฝูงนั้นก็ถูก


สัตว์ฝูงอื่นรักแก ล้มตายหมดสิ้น

บทความประเภทการท่องเที่ยว ปรบะทเภคทวาขมอง

(แบ่งตามเนื้อเรื่องของบทความ)
เนื้อเรื่องนอกจากจะกล่าวถึงเรื่องราว
การเดินทาง ลักษณะภูมิประเทศ และ

ความสวยงามของสถานที่นั้น ๆ แล้ว

ยังอาจแทรกเกร็ดความรู้ต่าง ๆ
เช่น สถานที่ที่ไม่ควรพลาด

บทความประเภทวิจารณ์

ผู้เขียนจะต้องพิจารณาข้อเท็จจริง ลักษณะและ
ปรบะทเภคทวาขมอง

คุณสมบัติต่าง ๆ ของเรื่องที่จะวิจารณ์อย่างถี่ถ้วน
(แบ่งตามเนื้อเรื่องของบทความ)
โดยอาศัยหลักวิชา เหตุผลหรือข้อเท็จจริงตัดสินว่า


ดีหรือไม่ดี มีข้อบกพร่องอย่างไร
บทวิจารณ์หนังสือ บทความวิจารณ์ข่าว

บทความวิจารณ์การเมือง

การเขขีั้ยนนตบอทนความ

การเขียนบทความให้ได้ดีนั้น ต้องรู้จักวางโครงเรื่องให้ดี

เพราะโครงเรื่องจะช่วยควบคุมการเขียน ให้เป็นไปตาม

แนวคิดที่กำหนดไว้ ทั้งยังเป็นการป้องกันไม่ให้เขียนวกวน


ซ้ำกลับไปกลับมาอีกด้วย โครงเรื่องของบทความ
แบ่งเป็น ๓ ตอน คือ คำนำ เนื้อเรื่อง และสรุป

คำนำ

เป็นการเกริ่นบอกกล่าวให้รู้ว่าจะเขียนเรื่องอะไร การขึ้น

คำนำมีอยู่ ๒ แบบ คือ การกล่าวทั่วไปก่อนที่จะวกเข้าเรื่อง

ที่จะเขียน และการกล่าวเจาะจงลงไปตรงกับหัวเรื่องที่จะ


เขียนเลยทีเดียว การเขียนคำนำ ต้องให้น่าอ่านชวน

ติดตาม เพราะผู้อ่านนิยมอ่านย่อหน้าแรกก่อน
ถือเป็นขั้นตอนการเขียนที่ยากที่สุด

วิธีเขียนคำนำ

นำด้วยคำถาม
นำด้วยการเสนอความคิดเห็น
นำด้วยการบอกความสำคัญ
นำด้วยการประชดประชันหรือเสียดสี
นำด้วยสุภาษิต คำคม บทกวี

เนื้อเรื่อง

เป็นส่วนที่สำคัญและเป็นส่วนที่ยาวที่สุด แบ่งเป็น ๒ ตอน

คือ ส่วนแรกเป็นการขยายความ เมื่อเกริ่นในคำนำแล้วผู้อ่าน

ยังติดตามความคิดได้ไม่ดีพอ ก็ต้องขยายความออกไป เพื่อ

ช่วยให้เข้าใจได้มากขึ้น ส่วนที่สองเป็นรายละเอียด มีการให้

สถิติ รวบรวมข้อมูล การเปรียบเทียบหรือยกตัวอย่างประกอบ


แต่ต้องระวัง อย่าให้มากเกินไปจนน่าเกลียด

วิธีเขียนเนื้อเรื่อง

ใช้ถ้อยคำที่ถูกต้องตามความหมาย ใช้ตัวสะกดถูกต้องตามพจนานุกรม
ใช้สำนวนโวหารให้เหมาะกับเรื่อง เช่น ใช้ถ้อยคำที่เป็นทางการ ใช้ศัพท์เฉพาะ

ในการเขียนบทความทางวิชาการ ใช้ถ้อยคำที่ดึงเป็นภาษาปาก คำแสลง ในการ

เขียนบทความทั่วไป
มีข้อมูล เหตุผล สถิติและการอ้างอิงประกอบเรื่อง เพื่อให้เข้าใจง่ายและน่าเชื่อถือ

สรุป

การเขียนบทความในส่วนสรุปหรือคำลงท้าย เป็นส่วนที่

ผู้เขียนต้องการบอกให้ผู้อื่นทราบว่า ข้อมูลทั้งหมดที่เสนอ


มาได้จบลงแล้ว ผู้เขียนควรมีกลวิธี ที่จะทำให้ผู้อ่าน

พอใจ ประทับใจ ส่วนสรุปนี้เป็นส่วนที่ฝากความคิดและ

ปัญหาไว้กับผู้อ่านหลังจากที่อ่านแล้ว การเขียนสรุปหรือ


คำลงท้ายมีหลายแบบ

วิธีเขียนสรุป

สรุปด้วยคำถามที่ชวนให้ผู้อื่นคิดหาคำตอบ
สรุปด้วยการแสดงความประสงค์ของผู้เขียน
สรุปด้วยใจความสำคัญ
สรุปด้วยการใช้คำกล่าว คำคม บทกวี

THANK YOU


Click to View FlipBook Version