สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม การวิเคราะห์โครงสร้างหน่วยการจัดประสบการณ์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ หน่วยที่ 18 คมนาคม ชั้นอนุบาลปีที่ 1 – 3 ภาคเรียนที่ 1 รายการ อนุบาลปีที่ 1 อนุบาลปีที่ 2 อนุบาลปีที่ 3 สาระที่ควรเรียนรู้ 1. ความหมายของการคมนาคม 2. การเดินทางทางบก 3. การเดินทางทางน้ำ 4. การเดินทางทางอากาศ 5. ข้อควรปฏิบัติตนในการข้ามถนน 1. ความสำคัญของยานพาหนะ 2. ยานพาหนะทางบก 3. ยานพาหนะทางน้ำ 4. ยานพาหนะทางอากาศ 5. การปฏิบัติตนตามกฎจราจร 1. ความหมายและความสำคัญของการคมนาคม 2.ประเภทของคมนาคม 3.การปฏิบัติตนในการใช้ยานพาหนะ 4.ประโยชน์ของการคมนาคม 5.โทษของการคมนาคม มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ มฐ 1 ตบช 1.3 (1.3.1) มฐ 3 ตบช 3.2 (3.2.1) มฐ 4 ตบช 4.1 (4.1.1)(4.1.3) มฐ 6 ตบช 6.2 (6.2.1) มฐ 8 ตบช 8.2 (8.2.1) มฐ 9 ตบช 9.1 (9.1.1) มฐ 10 ตบช 10.1 (10.1.1) มฐ 11 ตบช 11.2 (11.2.1) มฐ 2 ตบช 2.1 (2.1.3) มฐ 2 ตบช 2.2 (2.2.1) มฐ 3 ตบช 3.2 (3.2.1) มฐ 4 ตบช 4.1 (4.1.1) (4.1.3) มฐ 6 ตบช 6.2 (6.2.1) มฐ 8 ตบช 8.3 (8.3.2) มฐ 9 ตบช 9.1 (9.1.2) มฐ 10 ตบช 10.1(10.1.2) (10.1.3) มฐ 2 ตบช 10.2 (10.2.2) มฐ 1 ตบช 1.3 (1.3.1) มฐ 2 ตบช 2.1 (2.1.3) มฐ 2 ตบช 2.2. (2.2.1) มฐ 4 ตบช 4.1 (4.1.3) มฐ 6 ตบช 6.1 (6.2.1) มฐ 8 ตบช 8.2.1 มฐ 9 ตบช 9.1 (9.1.1) มฐ 10 ตบช 10.1 (10.1.2) (10.1.3) มฐ 11 ตบช 11.1 (11.1.1) ประสบการณ์สำคัญ ร่างกาย 1.1.1 การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ (1) การเคลื่อนไหวอยู่ กับที่ (2) การเคลื่อนไหว เคลื่อนที่ 1.1.2 การใช้กล้ามเนื้อเล็ก (1) การเล่นเครื่องเล่นสัมผัสและการ สร้างจากแท่งไม้ บล็อก ร่างกาย ๑.๑.๑ การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ (๑) การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ (๒) การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ (๓) การเคลื่อนไหวที่ใช้การประสาน สัมพันธ์ของกล้ามเนื้อใหญ่ในการ ขว้าง การจับ การโยน การเตะ ๑.๑.๒ การใช้กล้ามเนื้อเล็ก ร่างกาย ๑.๑.๑ การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ (๑) การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ (๒) การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ (๓) การเคลื่อนไหวที่ใช้การประสานสัมพันธ์ของการ ใช้กล้ามเนื้อใหญ่ในการขว้าง การจับ การโยนการเตะ
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม รายการ อนุบาลปีที่ 1 อนุบาลปีที่ 2 อนุบาลปีที่ 3 (2) การเขียนภาพ (3) การปั้น (4) การหยิบจับ การฉีก การปะ อารมณ์ 1.2.1 สุนทรียภาพ ดนตรี (1) การฟังเพลง การร้องเพลง และการ แสดงปฏิกริยาโต้ตอบเสียงดนตรี (5) การท้ากิจกรรมศิลปะต่างๆ 1.2.2 การเล่น (1) การเล่นกลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ (3) การเล่นตามมุมประสบการณ์ (4) การเล่นนอกห้องเรียน 1.2.4 การแสดงออกทางอารมณ์ (1) การพูดสะท้อนความรู้สึกของตนเอง และผู้อื่น สังคม 1.3.4 การมีปฎิสัมพันธ์ มีวินัย มีส่วนร่วมและ บทบาทสมาชิกของสังคม (2) การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของห้องเรียน 1.3.5 การเล่นและท้างานแบบร่วมมือร่วมใจ (1) การร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น (2) การเล่นและท้างานร่วมกับผู้อื่น (๓) การปั้น (๔) การประดิษฐ์สิ่งต่างๆด้วยวัสดุ (๕) การหยิบจับ การใช้กรรไกร การ ตัดการร้อยวัสดุ อารมณ์ ๑.๒.๑ สุนทรียภาพ ดนตรี (๑) การฟังเพลง การร้องเพลง และ การแสดงปฏิกริยาโต้ตอบเสียงดนตรี (๕) การท้ากิจกรรมศิลปะต่างๆ สังคม ๑.๓.๔ (๓) การให้ความร่วมมือในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ๑.๑.๒ การใช้กล้ามเนื้อเล็ก (๓) การปั้น (๕) การใช้กรรไกร การฉีก การตัด การปะ การร้อยวัสดุ ๑.๒.๑ (๑). การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลงดนตรี อารมณ์ ๑.๒.๑ สุนทรียภาพ ดนตรี (๑). การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลงดนตรี สังคม ๑.๓.๔ การมีปฏิสัมพันธ์ มีวินัย มีส่วนร่วมและบทบาท สมาชิกของสังคม (๔) การดูแลห้องเรียนร่วมกัน ๑.๓.๕ การเล่นและท้างานแบบมีร่วมมือและร่วมใจ (๑) การร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (๒) การเล่นหรือท้ากิจกรรมร่วมกับเพื่อน
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม รายการ อนุบาลปีที่ 1 อนุบาลปีที่ 2 อนุบาลปีที่ 3 สติปัญญา 1.4.1 การใช้ภาษา (1) การฟังนิทาน เพลง ค้าคล้องจองหรือ เรื่องราวต่างๆ (4) การพูดแสดงความคิด ความรู้สึกและ ความต้องการ (10) การอ่านหนังสือภาพ นิทาน 1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล การตัดสินใจและแก้ปัญหา (1) การสังเกตลักษณะของสิ่งต่างๆ โดย ใช้ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม (3) การบอกและแสดงตำแหน่ง ทิศทาง และระยะทางของสิ่งต่างๆ (5) การคัดแยก การจัดกลุ่ม และการ จำแนกสิ่งต่างๆตามลักษณะและรูปร่าง และ รูปทรง (6) การต่อชิ้นเล็กเติมในชิ้นใหญ่ให้ สมบูรณ์ (8) การนับและแสดงจ้านวนของสิ่งต่างๆ ในชีวิตประจ้าวัน สติปัญญา ๑.๔.๑ การใช้ภาษา (๓) การฟังเพลง ค้าคล้องจอง หรือ เรื่องราว ต่างๆ (๖) การพูดอธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ระหว่างยานพาหนะกับวิธีการเดินทาง ๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล การตัดสินใจและแก้ปัญหา (๕) การคัดแยก การจัดกลุ่ม การจำแนกสิ่ง ต่างๆตามลักษณะและรูปร่าง รูปทรง (๑๓) การจับคู่ การเปรียบเทียบ และการ เรียงล้าดับจ้านวนของสิ่งต่างๆ (๑๗) การคาดคะเนสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล (๑๘) การมีส่วนร่วมในการลงความเห็นจาก ข้อมูลอย่างมีเหตุผล ๑.๔.๓ จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ (๑) การรับรู้และแสดงความคิด ความรู้สึก ผ่านสื่อ วัสดุ ของเล่นและชิ้นงาน (๒) การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านภาษา ท่าทาง การเคลื่อนไหว และศิลปะ สติปัญญา ๑.๔.๑ การใช้ภาษา (๓). การฟังเพลง ค้าคล้องจอง หรือเรื่องราวต่างๆ (๖) การพูดอธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของสิ่ง ต่างๆ (๑๒). การเห็นแบบอย่างของการเขียนที่ถูกต้อง (๒๐) การเขียนร่วมกันตามโอกาสและเขียนอิสระ ๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล การตัดสินใจและแก้ปัญหา (๑) การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ โดยใช้ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม (๕) การคัดแยก การจัดกลุ่ม จำแนกยานพาหนะ ตามวิธีการเดินทางแบบต่างๆ (๑๖) การอธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขึ้น ในเหตุการณ์หรือการกระท้า (๑๘) การมีส่วนร่วมในการลงความเห็นจากข้อมูล อย่างมีเหตุผล ๑.๔.๓ จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ (๑) การรับรู้และแสดงความคิด ความรู้สึกผ่านสื่อ วัสดุ ของเล่น และชิ้นงาน คณิตศาสตร์ 1. การนับปากเปล่า 1 – 5 2. นับและแสดงจำนวน 3 3. เปรียบเทียบใกล้-ไกล 1. การนับปากเปล่า 1 – 10 2. การนับและแสดงจำนวน 1 – 5 3. จำแนก จัดกลุ่ม 4. ตำแหน่ง ทิศทาง 1. การนับปากเปล่า 1 – 20 2. การนับและแสดงจำนวน 10 3. จำแนก จัดกลุ่ม 4. ตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม รายการ อนุบาลปีที่ 1 อนุบาลปีที่ 2 อนุบาลปีที่ 3 วิทยาศาสตร์ 1.ทักษะการสังเกตโดยใช้ประสาทสัมผัส ทั้ง 5 2. ทักษะการคัดแยกจัดกลุ่ม การจำแนกสิ่งต่างๆตามลักษณะ 1. ทักษะการสังเกตโดยใช้ประสาทสัมผัส ทั้ง 5 2. ทักษะการคัดแยกจัดกลุ่ม การจำแนกสิ่ง ต่างๆตามลักษณะและรูปร่าง รูปทรง 3. การคาดคะเนสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล 4. การมีส่วนร่วมในการลงความเห็นจาก ข้อมูลอย่างมีเหตุผล 1. ทักษะการสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ โดยใช้ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม 2. ทักษะการคัดแยกจัดกลุ่ม การจำแนกสิ่งต่างๆ ตามลักษณะ 3. การอธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นใน เหตุการณ์หรือการกระท้า 4. การมีส่วนร่วมในการลงความเห็นจากข้อมูล อย่างมีเหตุผล พัฒนาการทางภาษาและ การรู้หนังสือ 1. การฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ 2. การฟังเพลง นิทาน คำคล้องจอง 3. การพูดแสดงความคิด ความรู้สึกและ ความต้องการ 4. การอ่านหนังสือภาพ 1. การฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ 2. การฟังเพลง คำคล้องจอง หรือ เรื่องราวต่างๆ 3. การพูดอธิบายเกี่ยวกับสิ่งของ เหตุการณ์และความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ 1. การฟังเพลง คำคล้องจอง หรือ เรื่องราวต่างๆ 2. การพูดอธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของสิ่ง ต่างๆ 3. การเห็นแบบอย่างของการเขียนที่ถูกต้อง 4. การเขียนร่วมกันตามโอกาสและเขียนอิสระ
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ชั้นอนุบาลปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 18 คมนาคม แนวคิด การคมนาคมเป็นการเดินทาง ติดต่อ ขนส่งจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยเลือกเดินทางให้เหมาะสมกับสถานการณ์ได้ ๓ ทางประกอบด้วย ทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ โดยอาศัยยานพาหนะในการเดินทางเพื่อความสะดวกรวดเร็วและเพื่อความปลอดภัยในการเดินทางจะต้องปฏิบัติตาม กฎจราจรและรู้วิธีดูแลตนเองให้ปลอดภัยในการเดินทาง มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจริญเติบโต ตามวัยและมีสุขนิสัย ที่ดี ๑.๓ รักษาความ ปลอดภัยของตนเอง และผู้อื่น ๑.๓.๑ เล่น ทำ กิจกรรมและปฏิบัติ ต่อผู้อื่นอย่าง ปลอดภัย ๑. เล่น ทำกิจกรรมและปฏิบัติ ต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัยได้ ๑.๑.๑ การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ (๑) การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ (๒) การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก ๑. การปฏิบัติตนให้มีความ ปลอดภัยในการเดินทาง เรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก ๒. การใช้ยานพาหนะ การคมนาคมอย่างปลอดภัย ๓. การเลือกใช้ยานพาหนะให้ เหมาะสมกับวิธีการเดินทาง มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และ กล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่าง คล่องแคล่วและ ประสานสัมพันธ์กัน ๒.๑ เคลื่อนไหว ร่างกายอย่าง คล่องแคล่วประสาน สัมพันธ์และทรงตัวได้ ๒.๒ ใช้มือ – ตา ประสานสัมพันธ์กัน ๒.๑.๓ วิ่งหลบหลีก สิ่งกีดขวางได้อย่าง คล่องแคล่ว ๒.๒.๑ ใช้กรรไกร ตัดกระดาษตาม แนวเส้นโค้งได้ ๒. วิ่งหลบหลีกสิ่งกีดขวาง ได้อย่างคล่องแคล่วได้ ๓. ใช้กรรไกรตัดกระดาษ ตามแนวเส้นโค้งได้ (๓) การเคลื่อนไหวที่ใช้การ ประสานสัมพันธ์ของการใช้ กล้ามเนื้อใหญ่ในการขว้างการจับ การโยน การเตะ ๑.๑.๒ การใช้กล้ามเนื้อเล็ก (๓) การปั้น (๕) การใช้กรรไกร การฉีก การตัด การปะ การร้อยวัสดุ
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๔ ชื่นชมและแสดงออก ทางศิลปะดนตรีและ การเคลื่อนไหว ๔.๑ สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่าน งานศิลปะ ดนตรีและ การเคลื่อนไหว ๔.๑.๓ สนใจมี ความสุขและแสดง ท่าทาง/เคลื่อนไหว ประกอบเพลง จังหวะและดนตรี ๔. สนใจมีความสุขและแสดง ท่าทาง/เคลื่อนไหวประกอบ เพลงจังหวะและดนตรีได้ ๑.๒.๑ สุนทรียภาพ ดนตรี (๑) การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง ดนตรี มาตรฐานที่ ๖ มีทักษะชีวิตและ ปฏิบัติตนตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๖.๒ มีวินัยในตนเอง ๖.๒.๑ เก็บของเล่น ของใช้เข้าที่อย่าง เรียบร้อยด้วย ตนเอง ๕. เก็บของเล่นอย่างเรียบร้อย ด้วยตนเองได้ ๑.๓.๔ การมีปฏิสัมพันธ์มีวินัย มีส่วนร่วมและบทบาทสมาชิก ของสังคม (๔) การดูแลห้องเรียนร่วมกัน มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุขและ ปฏิบัติตนเป็นสมาชิก ที่ดีของสังคมในระบบ ประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข ๘.๒ มีปฏิสัมพันธ์กับ ผู้อื่น ๘.๒.๑ เล่นหรือ ทำงานร่วมมือกับ เพื่อนอย่างมี เป้าหมาย ๘.๓.๑ มีส่วนร่วม สร้างข้อตกลงและ ปฏิบัติตามข้อตกลง ด้วยตนเอง ๖. เล่นหรือท้างานร่วมมือ กับเพื่อนอย่างมีเป้าหมายได้ ๑.๓.๕ การเล่นและทำงาน แบบร่วมมือร่วมใจ (๑) การร่วมสนทนาและ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น (๒) การเล่นหรือทำกิจกรรม ร่วมกับเพื่อน
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาสื่อสารได้ เหมาะสมกับวัย ๙.๑ สนทนาโต้ตอบ และเล่าเรื่องให้ผู้อื่น เข้าใจ ๙.๑.๑ ฟังผู้อื่นพูดจน จบและสนทนาโต้ตอบ อย่างต่อเนื่อง เชื่อมโยง กับเรื่องที่ฟัง ๗. ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนา โต้ตอบอย่างต่อเนื่อง เชื่อมโยง กับเรื่องที่ฟังได้ ๑.๔.๑ การใช้ภาษา (๓) การฟังเพลง คำคล้องจอง หรือ เรื่องราวต่างๆ (๖) การพูดอธิบายเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ (๑๒) การเห็นแบบอย่างของการ เขียนที่ถูกต้อง (๒๐) การเขียนร่วมกันตามโอกาส และเขียนอิสระ ๑.๔.๒ การคิดรวบยอดการคิด เชิงเหตุผลการตัดสินใจและ แก้ปัญหา (๕) การคัดแยก การจัดกลุ่ม จำแนกยานพาหนะตามวิธีการ เดินทางแบบต่างๆ (๑๖) การอธิบายเชื่อมโยงสาเหตุ และผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือ การกระทำ (๑๘) การมีส่วนร่วมในการลง ความเห็นจากข้อมูลอย่างมี เหตุผล มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถใน การคิดที่เป็นพื้นฐาน ในการเรียนรู้ ๑๐.๑ มีความสามารถ ในการคิดรวบยอด ๑๐.๑.๒ จับคู่และ เปรียบเทียบความ แตกต่างและความ เหมือนของสิ่งต่างๆ โดยใช้ลักษณะที่สังเกต พบ ๒ลักษณะขึ้นไป ๑๐.๑.๓ จำแนกและจัด กลุ่มสิ่งต่างๆ โดยใช้ ตั้งแต่สองลักษณะขึ้น ไปเป็นเกณฑ์ ๘. จับคู่และเปรียบเทียบความ เหมือนและแตกต่างของภาพ ยานพาหนะได้โดยใช้ลักษณะที่ สังเกตพบ ๒ ลักษณะขึ้นไป ๙. จำแนกและจัดกลุ่มสิ่งต่างๆ โดยใช้ตั้งแต่สองลักษณะขึ้นไป เป็นเกณฑ์ 10. นับและแสดงจำนวน 1 – 10 ได้
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๑๑ มีจินตนาการและ ความคิดสร้างสรรค์ ๑๑.๑ ทำงานศิลปะ ตามจินตนาการและ ความคิดสร้างสรรค์ ๑๑.๑.๑ สร้างผลงาน ศิลปะเพื่อสื่อสาร ความคิดความรู้สึกของ ตนเอง โดยมีการ ดัดแปลง แปลกใหม่ จากเดิมและมี รายละเอียดเพิ่มขึ้น ๑1. สร้างผลงานศิลปะเพื่อ สื่อสารความคิดความรู้สึกของ ตนเองโดยมีการดัดแปลงแปลก ใหม่จากเดิมและมีรายละเอียด เพิ่มขึ้นได้ ๑.๔.๓ จินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ (๑) การรับรู้และแสดงความคิด ความรู้สึกผ่านสื่อวัสดุ ของเล่น และชิ้นงาน
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม ผังความคิดแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ชั้นอนุบาลปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 18 คมนาคม หน่วย คมนาคม ๓. กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ 1. ประดิษฐ์ยานพาหนะจากเศษวัสดุ 2. วาดภาพ ระบายสี ท้าโมบายรถยนต์ 3. เป่าสี ปั้นดินน้ำมัน 4. ร้อยหลอดหรรษา 5. รูดสี ๑. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ 1. เคลื่อนที่เป็นยานพาหนะตามคำสั่ง 2. เคลื่อนไหวประกอบเพลงคมนาคม 3. เคลื่อนไหวเลียนแบบยานพาหนะ 4. เคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์ ไม้บล็อค 5. เคลื่อนไหวผู้นำผู้ตาม ๒. กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 1. ความหมายและความสำคัญของการคมนาคม 2.ประเภทของคมนาคม 3.การปฏิบัติตนในการใช้ยานพาหนะ 4.ประโยชน์ของการคมนาคม 5.โทษของการคมนาคม ๔. กิจกรรมเล่นตามมุม - การเล่นตามมุมประสบการณ์ ๕. กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง ๑. วิ่งหลบสิ่งกีดขวาง ๒. การเล่นเครื่องเล่นสนาม ๓. มอญซ่อนผ้า ๔.กาฟักไข่ ๕. วิ่งเก็บรูปยานพาหนะ ๖. กิจกรรมเกมการศึกษา 1.เกมจับคู่ภาพกับเงายานพาหนะ 2.เกมตารางความสัมพันธ์หน่วยคมนาคม 3.เกมแยกประเภทยานพาหนะ 4.เกมภาพตัดต่อการคมนาคม 5.เกมจับคู่ยานพาหนะ
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ชั้นอนุบาลปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 18 คมนาคม วันที่ 1 จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะ เพื่อให้เด็กสามารถ 1.เคลื่อนที่เป็น ยานพาหนะตามคำสั่ง ได้ 2.เคลื่อนไหวร่างกาย อย่างคล่องแคล่วได้ 3.ร่วมกิจกรรมอย่างมี ความสุขได้ (2) การเคลื่อนไหว อยู่กับที่ (1) การเคลื่อนไหว เคลื่อนที่ (2) การฟังและปฏิบัติ ตามคำแนะนำ (๔) การเล่นบทบาท สมมติเหตุการณ์ต่างๆ - ๑. เด็กฟังสัญญาณเคาะจังหวะช้า-เร็ว ในการ เคลื่อนไหว พื้นฐานโดยไม่ชนกัน ดังนี้ 1.1 เด็กหาพื้นที่ว่างให้กับตนเอง ครูเคาะจังหวะ ช้า ให้เด็กๆ เคลื่อนไหวอยู่กับที่ตามจังหวะช้า ครูเคาะ จังหวะเร็ว เด็กๆ เคลื่อนไหวตามจังหวะเร็ว เมื่อได้ยิน สัญญาณเคาะจังหวะ 2 ครั้งติดกัน ให้เด็กหยุด เคลื่อนไหวในท่านั้นทันที 1.2 เด็กเคลื่อนไหวเคลื่อนที่อย่างอิสระตาม จังหวะ ช้า เร็ว ไปรอบๆ บริเวณอย่างมีระดับ บน ล่าง สูง ต่ำ ทิศทาง ซ้าย ขวา หน้า หลัง โดยไม่ชนกัน เมื่อ ได้ยินสัญญาณ “หยุด” ให้หยุดเคลื่อนไหว ในท่านั้น ทันที ๒. เด็กเคลื่อนที่เป็นยานพาหนะตามที่ครูกำหนด และ ตามจังหวะที่ได้ยิน เมื่อได้ยินสัญญาณ “หยุด “ ให้ หยุดเคลื่อนไหวในท่านั้นทันทีแล้วเคลื่อนที่ไปยังสถานี ต่างๆที่เชื่อมโยงกับยานพาหนะนั้น เช่น ถ้าครู กำหนดให้เด็กเคลื่อนที่เป็นรถ เด็กต้องเคลื่อนที่และ ทำท่าขับรถ เมื่อครูบอกหยุด ให้วิ่งไปที่มุมสถานีรถ ถ้า ครูกำหนดรถไฟ ให้เด็กเกาะแถวกันเป็นรถไฟ และเมื่อ ครูบอก หยุด ให้เด็กวิ่งไปที่มุมสถานีรถไฟ ๓. ปฏิบัติตามข้อ ๒ ซ้ำ 4.เด็กนั่งพักในท่าสบาย 1.เครื่องเคาะจังหวะ สังเกต 1.การเคลื่อนที่เป็น ยานพาหนะตามคำสั่ง 2.การเคลื่อนไหว ร่างกายอย่าง คล่องแคล่ว 3.การร่วมกิจกรรม อย่างมีความสุข
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมเสริม ประสบการณ์ เพื่อให้เด็กสามารถ 1.บอกความหมายและ ความสำคัญของการ คมนาคมได้ 2.แสดงความคิดเห็น ร่วมกับครูและเพื่อนได้ 3.ปฏิบัติตามข้อตกลงได้ 1.การท่องคำคล้องจอง 2.แสดงความคิดเห็น ร่วมกับครูและเพื่อน 1.ความหมายและ ความสำคัญของการ คมนาคม 1. 1.เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันดังนี้ 1.1 ตั้งใจทำกิจกรรม 1.2 ไม่คุยกันในระหว่างทำกิจกรรม 2.เด็กและครูร่วมกันท่องคำคล้องจอง การคมนาคม 2.1 ครูท่องให้เด็กฟังก่อน 1 รอบ 2.2 เด็กท่องตามทีละวรรค 2.3 เด็กและครูท่องพร้อมกัน 3.ในคำคล้องจองพูดถึงอะไรบ้าง 4.ครูนำสมุดคมนาคมมาให้เด็กดูพร้อมอธิบายถึง ความหมายและความสำคัญของการคมนาคม 5.เด็กและครูสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 6.สรุปกิจกรรมโดยใช้คำถามดังนี้ 6.1 ตอนแรกเราทำอะไรไป ต่อมาทำอะไร สุดท้าย ทำอะไร 6.2 ความหมายของคมนาคมคืออะไร 6.3 คมนาคมมีความสำคัญอย่างไร 1.คำคล้องจองการ คมนาคม 2.สมุดคมนาคม สังเกต 1.การบอกความหมาย และความสำคัญของ การคมนาคม 2.การแสดงความ คิดเห็น ร่วมกับครูและ เพื่อน 3.การปฏิบัติตาม ข้อตกลง
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์/ การเล่นตามมุม เพื่อให้เด็กสามารถ 1.ประดิษฐ์ยานพาหนะ จากเศษวัสดุเหลือใช้ได้ 2.เล่นร่วมกับผู้อื่นได้ 3.เก็บของเข้าที่เมื่อใช้เสร็จ แล้วได้ 1.การประดิษฐ์ ยานพาหนะ จากเศษ วัสดุเหลือใช้ 2.การเล่นร่วมกับผู้อื่น - 1. ครูจัดเตรียมและแนะนำอุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรม ดังนี้ - ประดิษฐ์ยานพาหนะ - มุมหนังสือ จากเศษวัสดุเหลือใช้ - มุมบล็อก - มุมบทบาทสมมติ - มุมดนตรี - มุมเกมการศึกษา 2. ครูแนะนำการใช้อุปกรณ์ในการทำกิจกรรม การ รู้จักแบ่งปันให้กับเพื่อน พร้อมทั้งสาธิตกิจกรรม กิจกรรม 3.เด็กลงมือทำกิจกรรม ครูสังเกตพฤติกรรมการ ทำงานของเด็ก ครูสังเกต คอยอำนวยความสะดวก และดูแลความปลอดภัยระหว่างที่เด็กทำกิจกรรม 4. เมื่อใกล้หมดเวลา ครูให้สัญญาณโดยการร้องเพลง “เก็บของ” และให้เด็กช่วยกันเก็บของและทำความ สะอาด 5.เด็กและครูร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้จากการร่วมทำ กิจกรรม 1. เศษวัสดุเหลือใช้ 2.กาว สังเกต 1.การประดิษฐ์ ยานพาหนะ จากเศษ วัสดุเหลือใช้ 2.การเล่นร่วมกับผู้อื่น 3.การเก็บของเข้าที่ เมื่อใช้เสร็จแล้ว
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมกลางแจ้ง เพื่อให้เด็กสามารถ 1.วิ่งหลบสิ่งกีดขวางได้ 2.เล่นและทำกิจกรรม ร่วมกับผู้อื่นได้ 3.ดูแลตนเองให้ ปลอดภัยจากการเล่น ได้ ๑.3.4 การมีปฏิสัมพันธ์ มีวินัยมีส่วนร่วม และ บทบาทสมาชิกของ สังคม (4) การเล่นเครื่อง เล่นอย่างอิสระ - 1.เด็ก ๆ เข้าแถวเดินไปที่ลานอเนกประสงค์ 2.เด็กๆเตรียมความพร้อมร่างกาย ด้วยการสะบัดมือ หมุนไหล่ หมุนเข่า 3.เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง 3.1 ตั้งใจทำกิจกรรม 3.2 ไม่ผลักเพื่อน 4. แนะนำกิจกรรม และสาธิตวิธีการเล่นให้เด็กๆดู 5. เด็กทำกิจกรรมด้วยตนเอง 6. ให้สัญญาณหมดเวลา เด็กๆนั่งพักผ่อนคลาย กล้ามเนื้อ 7. ทำความสะอาดร่างกาย พร้อมกับเข้าห้องเรียน ลานสนามเด็กเล่น และ เครื่องเล่นสนาม สังเกต 1.การวิ่งหลบสิ่งกีด ขวาง 2.การเล่นและทำ กิจกรรมร่วมกับผู้อื่น 3.การดูแลตนเองให้ ปลอดภัยจากการเล่น
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมเกมการศึกษา เพื่อให้เด็กสามารถ 1.เล่นเกมจับคู่ภาพกับ เงายานพาหนะได้ 2.เล่นและทำกิจกรรม ร่วมกับผู้อื่นได้ 3.เก็บของเข้าที่เมื่อเล่น เสร็จได้ (13) การจับคู่สิ่งต่างๆ ๑. เกมจับคู่ภาพกับ เงายานพาหนะ ๑. ครูแนะนำเกมเกมจับคู่ภาพกับเงายานพาหนะ ๒. แบ่งเด็กเป็นกลุ่ม กลุ่มละประมาณ 4 - ๕ คน ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมารับเกมเกมจับคู่ภาพกับเงา ยานพาหนะ ๓. เด็กเล่นเกมโดยหมุนเวียนสลับเปลี่ยนกันในแต่ละ กลุ่มโดยทุกกลุ่มจะได้เล่นเกมเกมจับคู่ภาพกับเงา ยานพาหนะ 4. ครูให้สัญญาณหมดเวลา เด็กเก็บเกมการศึกษา 1.เกมจับคู่ภาพกับ เงายานพาหนะ สังเกต 1.การเล่นเกมจับคู่ภาพ กับเงายานพาหนะ 2.เล่นและทำกิจกรรม ร่วมกับผู้อื่นได้ 3.เก็บของเข้าที่เมื่อเล่น เสร็จได้
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม การเรียนรู้ชั้นอนุบาลปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 18 คมนาคม วันที่ 2 จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะ เพื่อให้เด็กสามารถ 1.เคลื่อนไหวประกอบ เพลงคมนาคมได้ 2.เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายอย่าง คล่องแคล่วได้ 3.ร่วมกิจกรรมกับ เพื่อนอย่างสนุกสนาน ได้ ๑. การเคลื่อนที่ เคลื่อนไหว ๒. การเคลื่อนไหว อยู่กับที่ ๓. การเคลื่อนไหว ประกอบเพลง - ๑. เด็กฟังสัญญาณเคาะจังหวะช้า-เร็ว ในการ เคลื่อนไหว พื้นฐานโดยไม่ชนกัน ดังนี้ 1.1 เด็กหาพื้นที่ว่างให้กับตนเอง ครูเคาะจังหวะ ช้า ให้เด็กๆ เคลื่อนไหวอยู่กับที่ตามจังหวะช้า ครูเคาะ จังหวะเร็ว เด็กๆ เคลื่อนไหวตามจังหวะเร็ว เมื่อได้ยิน สัญญาณเคาะจังหวะ 2 ครั้งติดกัน ให้เด็กหยุด เคลื่อนไหวในท่านั้นทันที 1.2 เด็กเคลื่อนไหวเคลื่อนที่อย่างอิสระตาม จังหวะ ช้า เร็ว ไปรอบๆ บริเวณอย่างมีระดับ บน ล่าง สูง ต่ำ ทิศทาง ซ้าย ขวา หน้า หลัง โดยไม่ชนกัน เมื่อ ได้ยินสัญญาณ “หยุด” ให้หยุดเคลื่อนไหว ในท่านั้น ทันที 2. เด็กๆ เคลื่อนไหวร่างกายประกอบเพลงคมนาคม ตามจินนาการ 3. เด็กๆนั่งพักในท่าสบาย 4. เตรียมทำกิจกรรมต่อไป 1.เพลงคมนาคม สังเกต 1.การเคลื่อนไหว ประกอบเพลงคมนาคม 2.การเคลื่อนไหวส่วน ต่างๆ ของร่างกาย อย่างคล่องแคล่ว 3.การร่วมกิจกรรมกับ เพื่อนอย่างสนุกสนาน
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมเสริม ประสบการณ์ เพื่อให้เด็กสามารถ 1.บอกประเภทของ คมนาคมได้ 2.แสดงความคิดเห็น ร่วมกับครูและเพื่อนได้ 3. ปฏิบัติตามข้อตกลง ได้ ๑. การอธิบายเชื่อมโยง สาเหตุและผลที่เกิดขึ้น ในเหตุการณ์หรือการ กระทำ ๒. การเห็นแบบอย่าง ของการเขียนที่ถูกต้อง ๓. การเขียนร่วมกัน ตามโอกาส 1.ประเภทของ คมนาคม 1.เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันดังนี้ 1.1 ตั้งใจทำกิจกรรม 1.2 ไม่คุยกันในระหว่างทำกิจกรรม 2.เด็กและครูร่วมกันท่องคำคล้องจอง การคมนาคม 2.1 ครูท่องให้เด็กฟังก่อน 1 รอบ 2.2 เด็กท่องตามทีละวรรค 2.3 เด็กและครูท่องพร้อมกัน 3. นำป้ายโมเดลคมนาคมออกมาให้เด็กๆดู พร้อม สนทนาพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับ ประเภทของคมนาคม 4.ให้เด็กๆออกมาแยก ประเภทของการคมนาคม 5.เด็กและครูร่วมกันสรุปกิจกรรมโดยใช้คำถาม ดังนี้ 5.1 ตอนแรกเราทำอะไรไป ต่อมาทำอะไร สุดท้าย ทำอะไร 5.2 คมนาคมมีกี่ประเภท 5.3 คมนาคมมีอะไรบ้าง ๑. คำคล้องจอง การคมนาคม ๒. โมเดลคมนาคม สังเกต 1.การบอกประเภท ของคมนาคม 2.การแสดงความ คิดเห็น ร่วมกับครูและ เพื่อน 3.การปฏิบัติตาม ข้อตกลง
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมศิลปะ สร้างสรรค์/และการ เล่นตามมุม 1.สร้างผลงานศิลปะ เพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของตนเอง ได้ 2.เล่นร่วมกับผู้อื่นได้ 3.แสดงความสนใจใน การทำกิจกรรมได้ 4.เก็บของเข้าที่เมื่อใช้ เสร็จแล้วได้ ๑.การท่องคำคล้องจอง ๒. การทำงานศิลปะ ๓. การเขียนภาพและเล่นกับสี 4. การปั้น ๕. การเล่นหรือทำกิจกรรม ร่วมกับกลุ่มเพื่อน ๖.การพูดสะท้อนความรู้สึก ของตนเอง 7. เล่นกับผู้อื่น อย่างปลอดภัย 8. สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่าน เสียงเพลงดนตรี - 1. ครูจัดเตรียมและแนะนำอุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรม ดังนี้ - วาดภาพยานพาหนะ - มุมหนังสือ ทางบกและระบายสี - มุมบล็อก -ทำโมบายรถยนต์โดย - มุมบทบาทสมมติ ตัดภาพรถยนต์ - มุมดนตรี - รูดสี - มุมเกมการศึกษา - ติดปะต่อเติมเลข 3 2. ครูแนะนำการใช้อุปกรณ์ในการทำกิจกรรม การ รู้จักแบ่งปันให้กับเพื่อน พร้อมทั้งสาธิตกิจกรรมบาง กิจกรรม แต่ถามประสบการณ์เดิมของเด็กว่าเด็กควร ทำกิจกรรมอย่างไร 3. เด็กวางแผน Plan/Do/Review เลือกทำกิจกรรม 3 กิจกรรม ตามความสนใจของตนเอง 4. เด็กทำกิจกรรมตามที่วางแผน ครูสังเกตพฤติกรรม การทำงานของเด็กกลุ่มที่ครูเลือกสังเกต คอยอำนวย ความสะดวก และดูแลความปลอดภัยระหว่างที่เด็กทำ กิจกรรม 5. เมื่อใกล้หมดเวลา ครูให้สัญญาณโดยการร้องเพลง “เก็บของ” และให้เด็กช่วยกันเก็บของและทำความ สะอาด 6. เด็กกลุ่มที่ครูเลือกสังเกตเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับ ผลงานของตนเอง และครูทำการบันทึก 7. ครูและเด็กร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้จากการร่วมทำ กิจกรรม - กระดาษ A๔ - สีเทียน - กรรไกร - ที่เจาะรู กระดาษ - ไม้แขวนเสื้อ - เชือก สีน้ำ - ใบงาน - กระดาษสี ๑. บล็อก ๒. หนังสือที่ เกี่ยวกับ ยานพาหนะ ๓. เครื่องดนตรี เครื่องเคาะ จังหวะ ๔. ชุดเครื่องแบบ คนขับรถโดยสาร คนขับรถ มอเตอร์ไซค์ หมวกกันน็อก ๕. เกมการศึกษา สังเกต 1.การสร้างผลงาน ศิลปะเพื่อสื่อสาร ความคิดความรู้สึกของ ตนเอง 2.การเล่นร่วมกับผู้อื่น 3.การแสดงความสนใจ ในการทำกิจกรรม 4.การเก็บของเข้าที่ เมื่อใช้เสร็จแล้ว
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมกลางแจ้ง เพื่อให้เด็กสามารถ 1.เล่นเครื่องสนาม อย่างถูกต้องได้ 2.เล่นและทำกิจกรรม ร่วมกับผู้อื่นได้ 3.ดูแลตนเองให้ ปลอดภัยจากการเล่น ได้ 1.เล่นเครื่องเล่นสนาม - 1.เด็ก ๆ เข้าแถวเดินไปที่ลานอเนกประสงค์ 2.เด็กๆเตรียมความพร้อมร่างกาย ด้วยการสะบัดมือ หมุนไหล่ หมุนเข่า 3.เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง 3.1 ตั้งใจทำกิจกรรม 3.2 ไม่ผลักเพื่อน 4.ให้เด็กเล่นเครื่องเล่นสนาม 5. ให้สัญญาณหมดเวลา เด็กๆนั่งพักผ่อนคลาย กล้ามเนื้อ 6. ทำความสะอาดร่างกาย พร้อมกับเข้าห้องเรียน 1.เครื่องเล่นสนาม สังเกต 1.การเล่นเครื่องสนาม อย่างถูกต้อง 2.การเล่นและทำ กิจกรรมร่วมกับผู้อื่น 3.การดูแลตนเองให้ ปลอดภัยจากการเล่น กิจกรรมเกมการศึกษา เพื่อให้เด็กสามารถ 1.เล่นเกมตาราง ความสัมพันธ์หน่วย คมนาคมได้ 2.เล่นและทำกิจกรรม ร่วมกับผู้อื่นได้ 3.เก็บของเข้าที่เมื่อเล่น เสร็จได้ เกมตาราความสัมพันธ์ หน่วยคมนาคม - ๑. ครูแนะนำเกมใหม่ เกมตารางความสัมพันธ์หน่วย คมนาคม ๒. แบ่งเด็กเป็นกลุ่ม กลุ่มละประมาณ 4 - ๕ คน ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมารับเกม ๓. เด็กเล่นเกมโดยหมุนเวียนสลับเปลี่ยนกันในแต่ละ กลุ่มโดยทุกกลุ่มจะได้เล่นเกมตาราความสัมพันธ์ หน่วยคมนาคม 4. ครูให้สัญญาณหมดเวลา เด็กเก็บเกมการศึกษา 1.เกมตาราง ความสัมพันธ์หน่วย คมนาคม 2.เกมเดิมที่เคยเล่น มาแล้ว สังเกต 1.การเล่นเกมตาราง ความสัมพันธ์หน่วย คมนาคม 2.การเล่นและทำ กิจกรรมร่วมกับผู้อื่น 3.การเก็บของเข้าที่ เมื่อเล่นเสร็จ
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ชั้นอนุบาลปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 18 คมนาคม วันที่ 3 จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะ เพื่อให้เด็กสามารถ 1.เคลื่อนไหวเลียนแบบ ยานพาหนะได้ 2.ปฏิบัติตามข้อตกลง ได้ 3.ร่วมกิจกรรมกับ เพื่อนอย่างสนุกสนาน ได้ ๑. การเคลื่อนไหว ตามเสียงจังหวะ ๒. การเคลื่อนไหว เคลื่อนที่ - 1.สร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรมดังนี้ 1.1 ตั้งใจทำกิจกรรม 1.2 ไม่หยอกล้อเล่นกัน 1.3 เคลื่อนไหวไปรอบๆโดยไม่ชนกัน 2. เด็กฟังสัญญาณเคาะจังหวะช้า-เร็ว ในการ เคลื่อนไหว พื้นฐานโดยไม่ชนกัน ดังนี้ 2.1 เด็กหาพื้นที่ว่างให้กับตนเอง ครูเคาะจังหวะ ช้า ให้เด็กๆ เคลื่อนไหวอยู่กับที่ตามจังหวะช้า ครูเคาะ จังหวะเร็ว เด็กๆ เคลื่อนไหวตามจังหวะเร็ว เมื่อได้ยิน สัญญาณเคาะจังหวะ 2 ครั้งติดกัน ให้เด็กหยุด เคลื่อนไหวในท่านั้นทันที 2.2 เด็กเคลื่อนไหวเคลื่อนที่อย่างอิสระตาม จังหวะ ช้า เร็ว ไปรอบๆ บริเวณอย่างมีระดับ บน ล่าง สูง ต่ำ ทิศทาง ซ้าย ขวา หน้า หลัง โดยไม่ชนกัน เมื่อ ได้ยินสัญญาณ “หยุด” ให้หยุดเคลื่อนไหว ในท่านั้น ทันที 3.เด็กๆเคลื่อนไหวเลียนแบบยานพาหนะตามชื่อที่ คุณครูบอก 4.เปลี่ยนชื่อยาพาหนะไปเรื่อยๆ จนหมดเวลา 5.เด็กนั่งพักเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ 6.เตรียมตัวทำกิจกรรมต่อไป เครื่องเคาะจังหวะ สังเกต 1.การเคลื่อนไหว เลียนแบบยานพาหนะ 2.การปฏิบัติตาม ข้อตกลง 3.การร่วมกิจกรรมกับ เพื่อนอย่างสนุกสนาน
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมเสริม ประสบการณ์ เพื่อให้เด็กสามารถ 1.บอกการปฏิบัติตนในการ ใช้ยานหนะที่ถูกต้องได้ 2. แสดงความคิดเห็น ร่วมกับครูและเพื่อนได้ 3.ปฏิบัติตามข้อตกลงได้ ฟังผู้อื่นพูดจนจบ และสนทนาโต้ตอบ อย่างต่อเนื่อง เชื่อมโยง กับเรื่องที่ฟัง การปฏิบัติตนในการ ใช้ยานหนะ 1.เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง ดังนี้ 1.1 ตั้งใจทำกิจกรรม 1.2 ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะทำกิจกรรม 2.เด็กและครูร่วมกันท่องคำคล้องจอง การคมนาคม 2.1 ครูท่องให้เด็กฟังก่อน 1 รอบ 2.2 เด็กท่องตามทีละวรรค 2.3 เด็กและครูท่องพร้อมกัน 3.ครูนำสมุดคมนาคมออกมาให้เด็กๆดู 4.สนทนาพูดคุยเกี่ยวกับการปฏิบัติตนในการใช้ ยานพาหนะ 5.สรุปกิจกรรมโดยใช้คำถาม ดังนี้ 5.1ตอนแรกเราทำอะไรไป ต่อมาทำอะไร สุดท้าย ทำอะไร 5.2 ควรปฏิบัติตัวยังไงในการใช้พาหนะ 1.คำคล้องจองการ คมนาคม 2.สมุดคมนาคม สังเกต 1.การบอกการปฏิบัติ ตนในการใช้ยานหนะที่ ถูกต้อง 2.การแสดงความ คิดเห็นร่วมกับครูและ เพื่อน 3.การปฏิบัติตามข้อ ตกลง
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์/ การเล่นตามมุม เพื่อให้เด็กสามารถ 1.สร้างผลงานศิลปะเพื่อ สื่อสารความคิดความรู้สึก ของตนเองได้ 2.เล่นร่วมกับผู้อื่นได้ 3.แสดงความสนใจในการ ทำกิจกรรมได้ 4.เก็บของเข้าที่เมื่อใช้เสร็จ แล้วได้ ๑. การใช้มือและตา สัมพันธ์กัน ๒. การใช้กล้ามเนื้อมัด เล็กวาด ระบายสีและ ปั้น ๓. การใช้สี 4. การใช้ภาษาใน การสื่อสาร ๕. การคิดสร้างสรรค์ ๖.การพูดสะท้อน ความรู้สึกของตนเอง 7. เล่นกับผู้อื่น อย่างปลอดภัย 8. สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่าน เสียงเพลงดนตรี - 1. ครูจัดเตรียมและแนะนำอุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรม ดังนี้ - เป่าสี - มุมหนังสือ -ปั้นดินน้ำมัน - มุมบล็อก - ร้อยหลอดหรรษา - มุมบทบาทสมมติ - ติดปะต่อเติมพยัญชนะ ค - มุมดนตรี - มุมเกมการศึกษา 2. ครูแนะนำการใช้อุปกรณ์ในการทำกิจกรรม การ รู้จักแบ่งปันให้กับเพื่อน พร้อมทั้งสาธิตกิจกรรมบาง กิจกรรม แต่ถามประสบการณ์เดิมของเด็กว่าเด็กควร ทำกิจกรรมอย่างไร 3. เด็กวางแผน Plan/Do/Review เลือกทำกิจกรรม3 กิจกรรม ตามความสนใจของตนเอง 4. เด็กทำกิจกรรมตามที่วางแผน ครูสังเกตพฤติกรรม การทำงานของเด็กกลุ่มที่ครูเลือกสังเกต คอยอำนวย ความสะดวก และดูแลความปลอดภัยระหว่างที่เด็กทำ กิจกรรม 5. เมื่อใกล้หมดเวลา ครูให้สัญญาณโดยการร้องเพลง “เก็บของ” และให้เด็กช่วยกันเก็บของและทำความ สะอาด 6. เด็กกลุ่มที่ครูเลือกสังเกตเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับ ผลงานของตนเอง และครูทำการบันทึก 7. ครูและเด็กร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้จากการร่วมทำ กิจกรรม - ไม้หุ้มสำลี - สีเทียน - กระดาษ A4 - สีน้ำ - ดินน้ำมัน - แผ่นรองปั้น - เชือก หลอดดูด - ใบงาน ๑. บล็อก ๒. หนังสือที่เกี่ยวกับ ยานพาหนะ ๓. เครื่องดนตรี เครื่องเคาะจังหวะ ๔. ชุดเครื่องแบบ คนขับรถโดยสาร คนขับรถมอเตอร์ไซค์ หมวกกันน็อก ๕. เกมการศึกษา เครื่องประกอบ จังหวะ สังเกต 1.การสร้างผลงาน ศิลปะเพื่อสื่อสาร ความคิดความรู้สึกของ ตนเอง 2.การเล่นร่วมกับผู้อื่น 3.การแสดงความสนใจ ในการทำกิจกรรม 4.การเก็บของเข้าที่ เมื่อใช้เสร็จแล้ว
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมกลางแจ้ง เพื่อให้เด็กสามารถ 1.เล่นมอญซ่อนผ้า อย่างถูกต้องได้ 2.เล่นและทำกิจกรรม ร่วมกับผู้อื่นได้ 3.ดูแลตนเองให้ ปลอดภัยจากการเล่น ได้ 1.มอญซ่อนผ้า - 1.เด็ก ๆ เข้าแถวเดินไปที่ลานอเนกประสงค์ 2.เด็กๆเตรียมความพร้อมร่างกาย ด้วยการสะบัดมือ หมุนไหล่ หมุนเข่า 3.เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง 3.1 ตั้งใจทำกิจกรรม 3.2 ไม่ผลักเพื่อน 4.อธิบายและสาธิตวิธีการเล่นให้เด็กๆดู 5.ให้เด็กๆเริ่มเล่นมอญซ่อนผ้า 6. ให้สัญญาณหมดเวลา เด็กๆนั่งพักผ่อนคลาย กล้ามเนื้อ 7. ทำความสะอาดร่างกาย พร้อมกับเข้าห้องเรียน 1.ผ้า 1 ผืน สังเกต 1.การเล่นมอญซ่อนผ้า อย่างถูกต้อง 2.การเล่นและทำ กิจกรรมร่วมกับผู้อื่น 3.การดูแลตนเองให้ ปลอดภัยจากการเล่น
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมเกมการศึกษา เพื่อให้เด็กสามารถ 1.เล่นเกมแยกประเภท ยานพาหนะได้ 2.เล่นและทำกิจกรรม ร่วมกับผู้อื่นได้ 3.เก็บของเข้าที่เมื่อเล่น เสร็จได้ 2.เล่นและทำกิจกรรม ร่วมกับผู้อื่นได้ 3.เก็บของเข้าที่เมื่อเล่น เสร็จได้ - ๑. ครูแนะนำเกมใหม่ เกมแยกประเภทยานพาหนะ ๒. แบ่งเด็กเป็นกลุ่ม กลุ่มละประมาณ 4 - ๕ คน ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมารับเกม ๓. เด็กเล่นเกมโดยหมุนเวียนสลับเปลี่ยนกันในแต่ละ กลุ่มโดยทุกกลุ่มจะได้เล่นเกมเกมแยกประเภท ยานพาหนะ 4. ครูให้สัญญาณหมดเวลา เด็กเก็บเกมการศึกษา 1. เกมแยกประเภท ยานพาหนะ สังเกต 1.การเล่นเกมแยก ประเภทยานพาหนะ 2.การเล่นและทำ กิจกรรมร่วมกับผู้อื่น 3.การเก็บของเข้าที่ เมื่อเล่นเสร็จ
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ชั้นอนุบาลปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 18 คมนาคม วันที่ 4 จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะ เพื่อให้เด็กสามารถ 1.เคลื่อนไหวประกอบ อุปกรณ์ ไม้บล็อกได้ 2.ปฏิบัติตามข้อตกลง ได้ 3.ร่วมกิจกรรมกับ เพื่อนอย่างสนุกสนาน ได้ 1.เคลื่อนไหวประกอบ อุปกรณ์ ไม้บล็อค - 1.สร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรมดังนี้ 1.1 ตั้งใจทำกิจกรรม 1.2 ไม่หยอกล้อเล่นกัน 1.3 เคลื่อนไหวไปรอบๆโดยไม่ชนกัน 2. เด็กฟังสัญญาณเคาะจังหวะช้า-เร็ว ในการ เคลื่อนไหว พื้นฐานโดยไม่ชนกัน ดังนี้ 2.1 เด็กหาพื้นที่ว่างให้กับตนเอง ครูเคาะจังหวะ ช้า ให้เด็กๆ เคลื่อนไหวอยู่กับที่ตามจังหวะช้า ครูเคาะ จังหวะเร็ว เด็กๆ เคลื่อนไหวตามจังหวะเร็ว เมื่อได้ยิน สัญญาณเคาะจังหวะ 2 ครั้งติดกัน ให้เด็กหยุด เคลื่อนไหวในท่านั้นทันที 2.2 เด็กเคลื่อนไหวเคลื่อนที่อย่างอิสระตาม จังหวะ ช้า เร็ว ไปรอบๆ บริเวณอย่างมีระดับ บน ล่าง สูง ต่ำ ทิศทาง ซ้าย ขวา หน้า หลัง โดยไม่ชนกัน เมื่อ ได้ยินสัญญาณ “หยุด” ให้หยุดเคลื่อนไหว ในท่านั้น ทันที 3. เด็กเริ่มเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์ ไม้บล็อก ทำ ไปเรื่อยๆจนหมดเวลา 4. นั่งพักเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ 1.เครื่องเคาะจังหวะ 2.ไม้บล็อค สังเกต 1.การเคลื่อนไหว ประกอบอุปกรณ์ ไม้ บล็อก 2.การปฏิบัติตาม ข้อตกลง 3.การร่วมกิจกรรมกับ เพื่อนอย่างสนุกสนาน
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมเสริม ประสบการณ์ เพื่อให้เด็กสามารถ 1.บอกประโยชน์ของ การคมนาคมได้ 2. แสดงความคิดเห็น ร่วมกับครูและเพื่อนได้ 3.ปฏิบัติตามข้อตกลง ได้ ฟังผู้อื่นพูดจนจบ และสนทนาโต้ตอบ อย่างต่อเนื่อง เชื่อมโยง กับเรื่องที่ฟัง ประโยชน์ของการ คมนาคม 1.เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง ดังนี้ 1.1 ตั้งใจทำกิจกรรม 1.2 ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะทำกิจกรรม 2.เด็กและครูร่วมกันท่องคำคล้องจอง การคมนาคม 2.1 ครูท่องให้เด็กฟังก่อน 1 รอบ 2.2 เด็กท่องตามทีละวรรค 2.3 เด็กและครูท่องพร้อมกัน 3.เด็กออกมาร่วนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ ของคมนาคมหน้าห้องทีละคน 4.ครูเขียนความคิดเห็นของเด็กๆลงในกระดาษชาร์จ 5.ครูสรุปความคิดเห็นของเด็กๆทั้งหมด 6.นำสมุดคมนาคมออกมาให้เด็กๆดู พร้อมบอกถึง ประโยชน์ของคมนาคม 7.สรุปกิจกรรมโดยใช้คำถาม ดังนี้ 7.1ตอนแรกเราทำอะไรไป ต่อมาทำอะไร สุดท้าย ทำอะไร 7.2 ประโยชน์คมนาคมมีอะไรบ้าง 1.คำคล้องจองการ คมนาคม 2. กระดาษชาร์จ 3. ปากกาเมจิก 4.สมุดคมนาคม สังเกต 1การบอกประโยชน์ ของการคมนาคมได้ 2.การแสดงความ คิดเห็น ร่วมกับครูและ เพื่อน 3.การปฏิบัติตาม ข้อตกลง
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมศิลปะ สร้างสรรค์/การเล่น ตามมุม เพื่อให้เด็กสามารถ 1.สร้างผลงานศิลปะ เพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของตนเองได้ 2.เล่นร่วมกับผู้อื่นได้ 3.แสดงความสนใจใน การทำกิจกรรมได้ 4.เก็บของเข้าที่เมื่อใช้ เสร็จแล้วได้ ๑. การทำงานศิลปะ ๒. การเขียนภาพและ เล่นกับสี ๓. การเล่นหรือทำ กิจกรรมร่วมกับกลุ่ม เพื่อน ๔.การพูดสะท้อน ความรู้สึกของตนเอง 5. เล่นกับผู้อื่น อย่างปลอดภัย 6. สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่าน เสียงเพลงดนตรี 1.ใช้สีเทียนระบายลง บนกระดาษแล้วใช้สี น้ำ ระบายสีทับลงบนสี เทียน 2.ร้อยหลอดหรรษา 3.ติดปะต่อเติมเลข 3 4. ขยำกระดาษ 1. ครูจัดเตรียมและแนะนำอุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรม ดังนี้ - ใช้สีเทียนระบายลงบน - มุมหนังสือ กระดาษแล้วใช้สีน้ำ - มุมบล็อก ระบายสีทับลงบนสีเทียน - มุมบทบาทสมมติ -ร้อยหลอดหรรษา - มุมดนตรี - ติดปะต่อเติมเลข 3 - มุมเกมการศึกษา - ขยำกระดาษ 2. ครูแนะนำการใช้อุปกรณ์ในการทำกิจกรรม การ รู้จักแบ่งปันให้กับเพื่อน พร้อมทั้งสาธิตกิจกรรมบาง กิจกรรม แต่ถามประสบการณ์เดิมของเด็กว่าเด็กควร ทำกิจกรรมอย่างไร 3. เด็กวางแผน Plan/Do/Review เลือกทำกิจกรรม3 กิจกรรม ตามความสนใจของตนเอง 4. เด็กทำกิจกรรมตามที่วางแผน ครูสังเกตพฤติกรรม การทำงานของเด็กกลุ่มที่ครูเลือกสังเกต คอยอำนวย ความสะดวก และดูแลความปลอดภัยระหว่างที่เด็กทำ กิจกรรม 5. เมื่อใกล้หมดเวลา ครูให้สัญญาณโดยการร้องเพลง “เก็บของ” และให้เด็กช่วยกันเก็บของและทำความ สะอาด 6. เด็กกลุ่มที่ครูเลือกสังเกตเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับ ผลงานของตนเอง และครูทำการบันทึก 7. ครูและเด็กร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้จากการร่วมทำ กิจกรรม - กระดาษ A4 - สีเทียน - สีน้ำ - ดินน้ำมัน - เชือก หลอดดูด - กระดาษสี - กาว - ใบงาน ๑. บล็อก ๒. หนังสือที่เกี่ยวกับ ยานพาหนะ ๓. เครื่องดนตรี เครื่องเคาะจังหวะ ๔. ชุดเครื่องแบบ คนขับรถโดยสาร คนขับรถมอเตอร์ไซค์ หมวกกันน็อก ๕. เกมการศึกษา สังเกต 1.การสร้างผลงาน ศิลปะเพื่อสื่อสาร ความคิดความรู้สึกของ ตนเอง 2.การเล่นร่วมกับผู้อื่น 3.การแสดงความสนใจ ในการทำกิจกรรม 4.การเก็บของเข้าที่ เมื่อใช้เสร็จแล้ว
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมกลางแจ้ง เพื่อให้เด็กสามารถ 1.เล่นกาฟักไข่อย่าง ถูกต้องได้ 2.เล่นและทำกิจกรรม ร่วมกับผู้อื่นได้ 3.ดูแลตนเองให้ปลอดภัย จากการเล่นได้ 1.การเล่นกาฟักไข่ - 1.เด็ก ๆ เข้าแถวเดินไปที่ลานอเนกประสงค์ 2.เด็กๆเตรียมความพร้อมร่างกาย ด้วยการสะบัดมือ หมุนไหล่ หมุนเข่า 3.เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง 3.1 ตั้งใจทำกิจกรรม 3.2 ไม่ผลักเพื่อน 4.อธิบายและสาธิตวิธีการเล่นให้เด็กๆดู 5.ให้เด็กๆเริ่มเล่นกาฟักไข่ 6. ให้สัญญาณหมดเวลา เด็กๆนั่งพักผ่อนคลาย กล้ามเนื้อ 7. ทำความสะอาดร่างกาย พร้อมกับเข้าห้องเรียน 1.ลูกบอล 2.เชือก สังเกต 1.การเล่นกาฟักไข่ อย่างถูกต้อง 2.การเล่นและทำ กิจกรรมร่วมกับผู้อื่น 3.การดูแลตนเองให้ ปลอดภัยจากการเล่น กิจกรรมเกมการศึกษา เพื่อให้เด็กสามารถ 1.เล่นเกมภาพตัดต่อการ คมนาคมอย่างถูกต้องได้ 2.เล่นและทำกิจกรรม ร่วมกับผู้อื่นได้ 3.เก็บของเข้าที่เมื่อเล่น เสร็จได้ 1.เกมภาพตัดต่อการ คมนาคม - ๑. ครูแนะนำเกมใหม่ เกมภาพตัดต่อการคมนาคม ๒. แบ่งเด็กเป็นกลุ่ม กลุ่มละประมาณ 4 - ๕ คน ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมารับเกม ๓. เด็กเล่นเกมโดยหมุนเวียนสลับเปลี่ยนกันในแต่ละ กลุ่ม โดยทุกกลุ่มจะได้เล่นเกมเกมภาพตัดต่อการ คมนาคม 4. ครูให้สัญญาณหมดเวลา เด็กเก็บเกมการศึกษา ๑. เกมภาพตัดต่อ คมนาคม ๒. เกมการศึกษาชุด เดิม สังเกต 1.การเล่นเกมภาพตัด ต่อการคมนาคมอย่าง ถูกต้อง 2.การเล่นและทำ กิจกรรมร่วมกับผู้อื่น 3.การเก็บของเข้าที่ เมื่อเล่นเสร็จ
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ชั้นอนุบาลปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 18 คมนาคม วันที่ 5 จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะ เพื่อให้เด็กสามารถ 1.เคลื่อนไหวผู้นำผู้ตาม ได้ 2.ปฏิบัติตามข้อตกลง ได้ 3.ร่วมกิจกรรมกับ เพื่อนอย่างสนุกสนาน ได้ 1.เคลื่อนไหวผู้นำผู้ตาม - 1.สร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรมดังนี้ 1.1 ตั้งใจทำกิจกรรม 1.2 ไม่หยอกล้อเล่นกัน 1.3 เคลื่อนไหวไปรอบๆโดยไม่ชนกัน 2. เด็กฟังสัญญาณเคาะจังหวะช้า-เร็ว ในการ เคลื่อนไหว พื้นฐานโดยไม่ชนกัน ดังนี้ 2.1 เด็กหาพื้นที่ว่างให้กับตนเอง ครูเคาะจังหวะ ช้า ให้เด็กๆ เคลื่อนไหวอยู่กับที่ตามจังหวะช้า ครูเคาะ จังหวะเร็ว เด็กๆ เคลื่อนไหวตามจังหวะเร็ว เมื่อได้ยิน สัญญาณเคาะจังหวะ 2 ครั้งติดกัน ให้เด็กหยุด เคลื่อนไหวในท่านั้นทันที 2.2 เด็กเคลื่อนไหวเคลื่อนที่อย่างอิสระตาม จังหวะ ช้า เร็ว ไปรอบๆ บริเวณอย่างมีระดับ บน ล่าง สูง ต่ำ ทิศทาง ซ้าย ขวา หน้า หลัง โดยไม่ชนกัน เมื่อ ได้ยินสัญญาณ “หยุด” ให้หยุดเคลื่อนไหว ในท่านั้น ทันที 3. ครูแนะนำกิจกรรมผู้นำผู้ตามโดยให้คนแรกของ แถวพาเพื่อนๆเต้น พอเพลงจบให้เปลี่ยนเป็นคนถัดไป มาเป็นผู้นำทำแบบนี้เรื่อยๆจนครบทุกคน และหมด เวลา 4. ให้เด็กนั่งพักผ่อนผ่อนคลายกล้ามเนื้อ 5.เตรียมตัวทำกิจกรรมถัดไป 1.เพลงเด็ก 2.เครื่องเคาะจังหวะ สังเกต 1.การเคลื่อนไหวผู้นำผู้ ตาม 2.การปฏิบัติตาม ข้อตกลง 3.การร่วมกิจกรรมกับ เพื่อนอย่างสนุกสนาน
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมเสริม ประสบการณ์ เพื่อให้เด็กสามารถ 1.บอกโทษของการ คมนาคมได้ 2. แสดงความคิดเห็น ร่วมกับครูและเพื่อนได้ 3.ปฏิบัติตามข้อตกลง ได้ 1.การท่องคำคล้องจอง 2.การสนทนาแลก เปลี่ยนความคิดเห็น โทษของการคมนาคม 1.เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง ดังนี้ 1.1 ตั้งใจทำกิจกรรม 1.2 ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะทำกิจกรรม 2.เด็กและครูร่วมกันท่องคำคล้องจอง การคมนาคม 2.1 ครูท่องให้เด็กฟังก่อน 1 รอบ 2.2 เด็กท่องตามทีละวรรค 2.3 เด็กและครูท่องพร้อมกัน 3.เด็กออกมาร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโทษของ การคมนาคมหน้าห้องทีละคน 4.ครูเขียนความคิดเห็นของเด็กๆลงในกระดาษชาร์จ 5.ครูสรุปความคิดเห็นของเด็กๆทั้งหมด 6.นำสมุดคมนาคมออกมาให้เด็กๆดู พร้อมบอกถึงประ โทษของการคมนาคม 7.1ตอนแรกเราทำอะไรไป ต่อมาทำอะไร สุดท้าย ทำอะไร 7.2 โทษของคมนาคมมีอะไรบ้าง 1.คำคล้องจอง การ คมนาคม 2.สมุดคมนาคม 3.กระดาษชาร์จ 4.ปากกาเมจิก 5.สมุดคมนาคม สังเกต 1.การบอกโทษของ การคมนาคม 2.การแสดงความ คิดเห็น ร่วมกับครูและ เพื่อน 3.การปฏิบัติตาม ข้อตกลง
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์/ กิจกรรมการเล่นตามมุม เพื่อให้เด็กสามารถ 1.สร้างผลงานศิลปะเพื่อ สื่อสารความคิดความรู้สึก ของตนเองได้ 2.เล่นร่วมกับผู้อื่นได้ 3.แสดงความสนใจในการ ทำกิจกรรมได้ 4.เก็บของเข้าที่เมื่อใช้เสร็จ แล้วได้ ๑. การประดิษฐ์ ๒.การตัด ๓. การปะ ติด 4. เล่นกับผู้อื่น อย่างปลอดภัย 5. สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่าน เสียงเพลงดนตรี - 1. ครูจัดเตรียมและแนะนำอุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรม ดังนี้ - ประดิษฐ์ถนนและการจราจร - มุมหนังสือ ในเมืองจากวัสดุเหลือใช้ - มุมบล็อก -ปั้นดินน้ำมัน - มุมบทบาทสมมติ - รูดสี - มุมดนตรี - ติดปะต่อเติมพยัญชนะ ค - มุมเกมการศึกษา 2. ครูแนะนำการใช้อุปกรณ์ในการทำกิจกรรม การรู้จัก แบ่งปันให้กับเพื่อน พร้อมทั้งสาธิตกิจกรรมบาง กิจกรรม แต่ถามประสบการณ์เดิมของเด็กว่าเด็กควร ทำกิจกรรมอย่างไร 3. เด็กวางแผน Plan/Do/Review เลือกทำกิจกรรม3 กิจกรรม ตามความสนใจของตนเอง 4. เด็กทำกิจกรรมตามที่วางแผน ครูสังเกตพฤติกรรม การทำงานของเด็กกลุ่มที่ครูเลือกสังเกต คอยอำนวย ความสะดวก และดูแลความปลอดภัยระหว่างที่เด็กทำ กิจกรรม 5. เมื่อใกล้หมดเวลา ครูให้สัญญาณโดยการร้องเพลง “เก็บของ” และให้เด็กช่วยกันเก็บของและทำความ สะอาด 6. เด็กกลุ่มที่ครูเลือกสังเกตเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับผลงาน ของตนเอง และครูทำการบันทึก 7. ครูและเด็กร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้จากการร่วมทำ กิจกรรม - เศษวัสดุเหลือใช้ ได้แก่ กล่องยาสีฟัน - สีต่างๆ - กาว - กรรไกร - เชือก - ใบงาน - ดินน้ำมัน - แผ่นรองปั้น ๑. บล็อก ๒. หนังสือที่เกี่ยวกับ ยานพาหนะ ๓. เครื่องดนตรี เครื่องเคาะจังหวะ ๔. ชุดเครื่องแบบ คนขับรถโดยสาร คนขับรถมอเตอร์ไซค์ หมวกกันน็อก ๕. เกมการศึกษา สังเกต 1.การสร้างผลงาน ศิลปะเพื่อสื่อสาร ความคิดความรู้สึกของ ตนเอง 2.การเล่นร่วมกับผู้อื่น 3.การแสดงความสนใจ ในการทำกิจกรรม 4.การเก็บของเข้าที่ เมื่อใช้เสร็จแล้ว
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมกลางแจ้ง เพื่อให้เด็กสามารถ 1.วิ่งเก็บรูปยานพาหนะ อย่างถูกต้องได้ 2.เล่นและทำกิจกรรม ร่วมกับผู้อื่นได้ 3.ดูแลตนเองให้ปลอดภัย จากการเล่นได้ ๑. การเล่นอิสระ ๒. การเคลื่อนไหวที่ ใช้การประสาน สัมพันธ์ของ กล้ามเนื้อใหญ่ ๓. การเล่นเครื่อง เล่นอย่างปลอดภัย - 1.เด็ก ๆ เข้าแถวเดินไปที่ลานอเนกประสงค์ 2.เด็กๆเตรียมความพร้อมร่างกาย ด้วยการสะบัดมือ หมุนไหล่ หมุนเข่า 3.เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง 3.1 ตั้งใจทำกิจกรรม 3.2 ไม่ผลักเพื่อน 4.แบ่งเด็กออกเป็น 2 ทีมเท่าๆกัน 5.อธิบายและสาธิตวิธีการเล่นให้เด็กๆดูดังนี้ 5.1 ครูจะมีรูปยานพหนะต่างๆ ทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ 5.2 ถ้าคุณครูบอกชื่อยานพาหนะไหน ให้คนแรก ของแต่ละแถววิ่งมาเก็บไปใส่ตะกร้าทีมตัวเอง พอเสร็จ แล้ววิ่งไปต่อด้านหลัง เปลี่ยนคนใหม่ไปเรื่อยๆ 6. ให้เด็กๆเริ่มทำกิจกรรม 7. ให้สัญญาณหมดเวลา เด็กๆนั่งพักผ่อนคลาย กล้ามเนื้อ 8. ทำความสะอาดร่างกาย พร้อมกับเข้าห้องเรียน 1.ภาพยานพาหนะ 2.ตะกร้า สังเกต 1.การวิ่งเก็บรูป ยานพาหนะอย่าง ถูกต้อง 2.การเล่นและทำ กิจกรรมร่วมกับผู้อื่น 3.การดูแลตนเองให้ ปลอดภัยจากการเล่น
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ พัฒนาการ กิจกรรมเกมการศึกษา เพื่อให้เด็กสามารถ 1.เล่นเกมจับคู่ ยานพาหนะอย่างถูกต้อง ได้ 2.เล่นและทำกิจกรรม ร่วมกับผู้อื่นได้ 3.เก็บของเข้าที่เมื่อเล่น เสร็จได้ 1.เกมจับคู่ยานพาหนะ 2.การเล่นร่วมกับผู้อื่น - ๑. ครูแนะนำเกมใหม่ เกมจับคู่ยานพาหนะ ๒. แบ่งเด็กเป็นกลุ่ม กลุ่มละประมาณ 4 - ๕ คน ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมารับเกม ๓. เด็กเล่นเกมโดยหมุนเวียนสลับเปลี่ยนกันในแต่ละ กลุ่ม โดยทุกกลุ่มจะได้เล่นเกมเกมจับคู่ยานพาหนะ 4. ครูให้สัญญาณหมดเวลา เด็กเก็บเกมการศึกษา 1.เกมจับคู่ ยานพาหนะ 2.เกมเดิมที่เคยเล่น มาแล้ว สังเกต 1.การเล่นเกมจับคู่ ยานพาหนะอย่าง ถูกต้อง 2.การเล่นและทำ กิจกรรมร่วมกับผู้อื่น 3.การเก็บของเข้าที่ เมื่อเล่นเสร็จ
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม ภาคผนวก
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม การคมนาคม ขับรถ ขับเรือ รถไฟ ขับมอเตอร์ไซต์ ขับจักรยาน ขับดีดี จะกลับถึงบ้าน เมื่อขับยวดยาน ควรระวังเอย คำคล้อง จอง
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม แบบสังเกตพฤติกรรมเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ หน่วยเรียนรู้ที่ 18 คมนาคม เลขที่ ชื่อ –สกุล พัฒนาการ หมาย เหตุ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา ๑. การเล่นท้ากิจกรรม และปฏิบัติต่อ ผู้อื่น อย่างปลอดภัย ๒. การวิ่งหลบหลีกสิ่งกีดขวางได้อย่าง คล่องแคล่ว ๓. การใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนวเส้นโค้ง ได้ 4. ความสนใจ มีความสุขและแสดงท่าทาง/ เคลื่อนไหวประกอบเพลงจังหวะและดนตรี ๕. การเก็บของเล่นของใช้อย่าง เรียบร้อยด้วย ตนเอง ๖. การเล่นหรือท้างานร่วมมือกับเพื่อนอย่างมี เป้าหมาย 7. การฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบ อย่างต่อเนื่อง เชื่อมโยงกับเรื่องที่ฟัง ๘. การจับคู่และเปรียบเทียบความแตกต่าง และความเหมือนของสิ่งต่างๆโดยใช้ลักษณะที่ สังเกตพบสองลักษณะขึ้น ๙. การจำแนกและจัดกลุ่มสิ่งต่างๆโดยใช้ ตั้งแต่สองลักษณะขึ้นไปเป็นเกณฑ์ ๑๐. การนับและแสดงจำนวน๑–๑๐ ๑ 1. การสร้างผลงานศิลปะเพื่อ สื่อสาร ความคิด ความรู้สึกของตนเอง โดยมีการ ดัดแปลงใหม่จากเดิมและมี รายละเอียด เพิ่มขึ้น 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม เลขที่ ชื่อ –สกุล พัฒนาการ หมายเหตุ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา ๑. การเล่นท้ากิจกรรม และปฏิบัติต่อ ผู้อื่นอย่าง ปลอดภัย ๒. การวิ่งหลบหลีกสิ่งกีดขวางได้อย่างคล่องแคล่ว ๓. การใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนวเส้นโค้งได้ 4. ความสนใจ มีความสุขและแสดงท่าทาง/เคลื่อนไหว ประกอบเพลงจังหวะและดนตรี ๕. การเก็บของเล่นของใช้อย่าง เรียบร้อยด้วยตนเอง ๖. การเล่นหรือท้างานร่วมมือกับเพื่อนอย่างมี เป้าหมาย 7. การฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบอย่าง ต่อเนื่อง เชื่อมโยงกับเรื่องที่ฟัง ๘. การจับคู่และเปรียบเทียบความแตกต่างและความ เหมือนของสิ่งต่างๆโดยใช้ลักษณะที่สังเกตพบสอง ลักษณะขึ้น ๙. การจำแนกและจัดกลุ่มสิ่งต่างๆโดยใช้ตั้งแต่สอง ลักษณะขึ้นไปเป็นเกณฑ์ ๑๐. การนับและแสดงจำนวน๑–๑๐ ๑ 1. การสร้างผลงานศิลปะเพื่อ สื่อสาร ความคิด ความรู้สึกของตนเอง โดยมีการดัดแปลงใหม่จากเดิม และมี รายละเอียดเพิ่มขึ้น 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21
สัปดาห์ที่ 18 คมนาคม เลขที่ ชื่อ –สกุล พัฒนาการ หมายเหตุ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา ๑. การเล่นท้ากิจกรรม และปฏิบัติต่อ ผู้อื่น อย่างปลอดภัย ๒. การวิ่งหลบหลีกสิ่งกีดขวางได้อย่าง คล่องแคล่ว ๓. การใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนวเส้นโค้งได้ 4. ความสนใจ มีความสุขและแสดงท่าทาง/ เคลื่อนไหวประกอบเพลงจังหวะและดนตรี ๕. การเก็บของเล่นของใช้อย่าง เรียบร้อยด้วย ตนเอง ๖. การเล่นหรือท้างานร่วมมือกับเพื่อนอย่างมี เป้าหมาย 7. การฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอ บ อย่างต่อเนื่อง เชื่อมโยงกับเรื่องที่ฟัง ๘. การจับคู่และเปรียบเทียบความแตกต่างและ ความเหมือนของสิ่งต่างๆโดยใช้ลักษณะที่สังเกต พบสองลักษณะขึ้น ๙. การจำแนกและจัดกลุ่มสิ่งต่างๆโดยใช้ตั้งแต่ สองลักษณะขึ้นไปเป็นเกณฑ์ ๑๐. การนับและแสดงจำนวน๑–๑๐ ๑ 1. การสร้างผลงานศิลปะเพื่อ สื่อสาร ความคิด ความรู้สึกของตนเอง โดยมีการ ดัดแปลงใหม่จากเดิมและมี รายละเอียดเพิ่มขึ้น 22 23 24 25 26 27 คำอธิบาย ครูสังเกตพฤติกรรมเด็กรายบุคคล จดบันทึกสรุปเป็นรายสัปดาห์ระบุระดับคุณภาพเป็น ๓ ระดับ คือ ระดับ ๓ ดี ระดับ ๒ ปานกลาง ระดับ ๑ ควรส่งเสริม