สรปุ เนอื้ หา . แบบฝึกหดั
วิทยาศาสตรโ์ ลก
8
นา้ ผวิ ดิน
SURFACE WATER
สันติ ภยั หลบล้ี
สนั ติ ภัยหลบลี้ น้ำผิวดนิ
วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้
1. เพอ่ื ทำควำมเข้ำใจเก่ียวกบั กลไกและปจั จัยกำรไหลของนำ้ ผวิ ดนิ
2. เพื่อทรำบชนิด ระบบและรูปแบบของธำรนำ้
3. เพอ่ื ทำควำมเขำ้ ใจระบบกำรบรหิ ำรจดั กำรน้ำ ภยั พบิ ตั ิและกำรบรรเทำ
สารบัญ หนา้
1
สำรบัญ 2
1. วัฏจักรอทุ กวทิ ยำ (Hydrological Cycle) 5
2. ปัจจยั กำรไหลของธำรนำ้ (Factor of Stream Flow) 10
3. ชนดิ ของธำรนำ้ (Type of Stream) 21
4. ระบบและรูปแบบธำรน้ำ
25
(Drainage System and Pattern)
5. ภัยพิบตั นิ ำ้ ทว่ มและกำรบรรเทำ 33
48
(Flooding Hazard and Mitigation)
แบบฝกึ หัด
เฉลยแบบฝึกหัด
1
สันติ ภัยหลบลี้ นำ้ ผวิ ดิน
1
วฏั จักรอทุ กวทิ ยา
Hydrological Cycle
วัฏจักรอุทกวิทยา (hydrological cycle) หมำยถึง วัฏจักรกำร
เปลย่ี นแปลงสถำนะของนำ้ ระหว่ำงของเหลว ของแข็งและกำ๊ ซ ตำมสภำพแวดล้อม
ที่นำ้ อำศยั อยู่ ซึ่งกำรเปล่ยี นแปลงจำแนกได้ 4 รปู แบบ คือ (รูป 1)
1) การระเหย (evaporation) คือ กำรเปลี่ยนสถำนะของน้ำบน
พ้ืนผวิ โลกไปสู่บรรยำกำศท้ังในรูปของไอน้ำท่ีระเหยจำกแหล่งน้ำโดยตรง และการ
คายนา้ ของพชื (transpiration)
2) หยาดน้าฟ้า (precipitation) คือ กำรท่ีไอน้ำในชั้นบรรยำกำศ
ควบแนน่ (condensation) และตกลงมำในรปู ของฝน หมิ ะหรอื ลูกเหบ็ เปน็ ตน้
2
สันติ ภยั หลบลี้ น้ำผวิ ดนิ
รปู 1. วฏั จักรอุทกวทิ ยำ (hydrological cycle)
3) น้าท่า (runoff) คือ น้าผิวดิน (surface water) ที่ไหลอยู่ตำมธำร
น้ำ โดยธรรมชำติของน้ำจะไหลจำกท่ีสูงลงสู่ท่ีต่ำเสมอ หรือโดยส่วนใหญ่จะไหล
จำกเทอื กเขำสงู ลงสู่แหล่งน้ำตำ่ งๆ และมหำสมทุ ร
4. การซึมผา่ น (infiltration) เปน็ กำรซึมของน้ำผวิ ดินบำงสว่ น ผ่ำนชั้น
ดนิ และหนิ ต่ำงๆ ลงไปเป็น น้าใต้ดิน (groundwater)
จำกรูป 2 ถึงแม้ว่ำ น้าผิวดิน (surface water) จะมีปริมำณน้อยมำก
เม่ือเปรียบเทียบกับน้ำท่ีอยู่ในสภำพแวดล้อมอ่ืนๆ ในอุทกภำค แต่เน่ืองจำกน้ำผิว
ดิน โดยเฉพำะน้ำท่ำน้ันสัมพันธ์และจำเป็นต่อกำรดำรงชีวิตของมนุษย์อย่ำงมำก
ท้ังในกำรอุปโภค บริโภค ภัยพิบัติ ตลอดจนเป็นปัจจัยสำคัญของกระบวนกำร
เปล่ียนแปลงพ้ืนผิวโลก ดังนั้นจึงจำเป็นอย่ำงย่ิงที่เรำจะต้องศึกษำและทำควำม
เขำ้ ใจเกย่ี วกับนำ้ ผวิ ดิน
3
สนั ติ ภยั หลบล้ี นำ้ ผิวดนิ
รูป 2. สัดสว่ นของน้ำบนพน้ื ผวิ โลก
4
สันติ ภัยหลบล้ี น้ำผิวดนิ
2
ปจั จยั การไหลของธารน้า
Factor of Stream Flow
1) ความชันของธารน้า (gradient) มีควำมแตกต่ำงกันตลอดธำรน้ำ
โด ย ห ำ ก พิ จ ำร ณ ำ ห น้ า ตั ด ข้ า งต า ม ธ า รน้ า ( longitudinal profile)
นกั วิทยำศำสตร์พบวำ่ ธำรน้ำมีควำมชันสูงบริเวณ ต้นน้า (upstream) และควำม
ช้ันลดลงอย่ำงต่อเน่ืองไปทำง ปลายน้า (downstream) (รูป 3) ดังน้ันหำก
พิจำรณำควำมชนั ของธำรน้ำเปน็ หลัก นำ้ จะไหลเรว็ บริเวณต้นน้ำมำกกว่ำปลำยนำ้
2) ขนาดร่องน้า (channel size) ตรวจวัดได้จำกภำพตัดขวำง (cross
section) ของธำรน้ำในแต่ละตำแหน่งตำมหน้ำตัดข้ำงตำมธำรน้ำ โดยปกติบริเวณ
ต้นน้ำจะมีรอ่ งน้ำแคบกว่ำบริเวณปลำยน้ำ (รูป 3) จงึ ทำให้น้ำบริเวณต้นน้ำ น้ำจะ
ไหลเรว็ กวำ่ ปลำยน้ำ
5
สนั ติ ภัยหลบลี้ นำ้ ผวิ ดิน
รปู 3. หนำ้ ตดั ขำ้ งตำมธำรนำ้ และขนำดร่องน้ำในบริเวณต่ำงๆ ตำมธำรนำ้
3) อัตราน้าไหลในธารน้า (stream discharge) หมำยถึง ปริมำตรของ
น้ำท่ีไหลผ่ำนจุดใดๆ ต่อหนว่ ยเวลำ (ลูกบำศก์เมตร/วินำที) ประเมินไดต้ ำมสมกำร
(1) (รูป 4ก-ข) ดังนั้นหำกมีน้ำเติมเข้ำมำมำกขึ้น น้ำจะต้องไหลเร็วข้ึนเพ่ือระบำย
นำ้ ใหอ้ ยใู่ นสภำวะปกติ ทำใหค้ ำ่ อัตรำนำ้ ไหลในธำรนำ้ (Q) มคี ำ่ สงู ข้นึ
Q = VA สมการ (1)
กำหนดให้ Q คอื อัตรำนำ้ ไหล (ลูกบำศก์เมตร/วินำที) V คอื ควำมเรว็ นำ้ โดยเฉล่ยี
(เมตร/วินำท)ี A คอื ภำพตัดขวำงของธำรนำ้ (กว้ำงxลึก) (ตำรำงเมตร)
6
สนั ติ ภยั หลบล้ี นำ้ ผวิ ดนิ
4) ความหยาบธารน้า (stream roughness) ร่องน้ำโดยเฉพำะบรเิ วณ
ท้องน้ำจะมีควำมหยำบที่ไม่เท่ำกันตลอดธำรน้ำ โดยบริเวณต้นน้ำจะมีตะกอน
ขนำดใหญ่ตกทับถมอยู่มำก ทำให้ท้องน้ำหยำบมำกกว่ำปลำยน้ำซึ่งจะมีเพียงเศษ
ตะกอนขนำดเล็กที่ตกทับถมอยู่ ทำให้น้ำบริเวณปลำยน้ำนั้นไหลได้เร็วและ
รำบเรยี บกวำ่ บริเวณต้นน้ำ
5) ความหนืดของธารน้า (stream viscosity) ประเมินได้จำก เลขเรย์
โนลด์ (Reynolds Number) ซึ่งนำเสนอโดยออสบอร์น เรย์โนลด์ (Reynolds
O.) ในปี พ.ศ. 2426 [Reynolds, 1883] โดยคำนวณจำกอัตรำส่วนของแรงเฉื่อย
ต่อแรงของควำมหนดื ดงั แสดงในสมกำร (2)
Re = VD สมการ (2)
กำหนดให้ Re คือ เลขเรย์โนลด์ คือ ควำมหนำแน่นของน้ำ (กิโลกรมั /ลูกบำศก์
เมตร) V คอื ควำมเร็วของน้ำ (เมตร/วินำท)ี D คอื เส้นผำ่ นศูนย์กลำงภำคตัดขวำง
ของธำรน้ำ (เมตร) และ µ คอื แรงหนืดสมั บรู ณ์ (viscosity)
เลขเรย์โนลด์เป็นตัวเลขสำคัญที่ใช้จำแนกและแสดงรูปแบบกำรไหลของ
น้ำตำมธำรน้ำ เช่น ไหลแบบราบเรยี บ (laminar flow) (รูป 4ก) หรือ ไหลแบบ
ปั่นป่วน (turbulent flow) (รูป 4ข) เช่น กรณีเลขเรย์โนลด์มีค่ำต่ำ หมำยถึง
แรงหนดื สง่ ผลตอ่ กำรไหลของนำ้ ทำใหน้ ำ้ ไหลแบบรำบเรยี บ แตห่ ำกเลขเรย์โนลด์มี
ค่ำสูง บ่งช้ีว่ำแรงของควำมเฉื่อยจะส่งผลต่อกำรไหล ทำให้กำรไหลเป็นแบบ
ปนั่ ป่วน (รูป 4ค)
7
สันติ ภยั หลบลี้ นำ้ ผวิ ดนิ
รูป 4. แบบจำลองกำรไหลของน้ำตำมธำรน้ำ (ก) ไหลแบบรำบเรียบ (laminar
flow) (ข) ไหลแบบปั่นป่วน (turbulent flow) (ค) รูปแบบกำรไหลของ
นำ้ ตำมธำรน้ำจริง
8
สนั ติ ภัยหลบล้ี น้ำผวิ ดนิ
สืบเนื่องจำกกำรไหลของน้ำในธำรน้ำธรรมชำติท่ีไม่มีควำมสม่ำเสมอและ
ควำมหยำบของธำรน้ำ สง่ ผลให้กำรไหลของน้ำในธรรมชำติจึงเปน็ แบบปนั่ ปว่ นเป็น
ส่วนใหญ่ ซึ่งผลจำกกำรไหลแบบปั่นป่วนในบำงคร้ังทำให้เกิดกำรไหลของน้ำแบบ
กระแสตวัดข้ึนย้อนกลับ (eddies current) (รูป 5ก) ซึ่งสำมำรถควักหินท่ีมีรอย
แตกให้หลดุ ออกจำกหนิ ฐำนได้ เกิดเปน็ รหู รือหลมุ ใตท้ อ้ งนำ้ และเมอ่ื น้ำไหลผ่ำนจะ
เกิดเป็น กระแสน้าวน (whirlpools) (รูป 5ก) บริเวณหลุมใต้ท้องน้ำ และหำกมี
เศษกรวดอยู่ในหลุมเหล่ำน้ัน กรวดจะกลิง้ วนอยู่ในหลุมตำมกระแสน้ำวน เกิดกำร
ขดั สแี ละกัดกรอ่ นรอบหลมุ จนกระทง่ั พัฒนำเปน็ หลมุ ทรงกลมหลำกหลำยขนำดอยู่
ใตน้ ำ้ เรยี กว่ำ กมุ ภลกั ษณ์ หรือ บอ่ รูปหม้อ (pothole) (รปู 5ข)
รูป 5. (ก) รูปแบบกำรไหลของกระแสนำ้ ในธำรนำ้ (ข) กมุ ภลักษณ์
9
สันติ ภัยหลบลี้ นำ้ ผวิ ดนิ
3
ชนดิ ของธารนา้
Type of Stream
กำรเกดิ ธำรนำ้ เร่มิ ต้นจำกเมอื่ มีฝนตกลงมำ ในช่วงแรกน้ำจะซมึ ผ่ำนลงไป
ในชั้นดินด้ำนล่ำง ซึ่งต่อมำเมื่อดินอ่ิมน้ำ น้ำจะเริ่มสะสมตัวบนผิวดินเป็น แผ่นน้า
บาง (sheetwash) ไหลลงที่ต่ำในลักษณะแผ่นน้ำแผ่ซ่ำน (รูป 6ก) และน้ำจะกัด
เซำะพื้นดินอย่ำงช้ำๆ เป็นร่องน้ำขนำดเล็กและใหญ่ข้ึนตำมลำดับ (รูป 6ข) เช่น
ธารน้าสายเล็ก (rill) ลาห้วย (gulliy) แคว (tributary) และรวมตัวกัน
กลำยเป็น ธารน้า (stream) ซ่งึ จะไหลลงสู่ แม่น้า (river) ต่อไป โดยผลจำกกำร
กดั กรอ่ นและกำรพัฒนำรอ่ งน้ำทำให้เกดิ ตะกอนธารนา้ (stream load) ท่ีถกู พัด
พำมำตำมธำรน้ำ ซึ่งด้วยขนำดและน้ำหนักของตะกอนที่มคี วำมแตกต่ำงกัน ทำให้
ตะกอนถกู พดั พำไปตำมธำรน้ำในรูปแบบแตกตำ่ งกัน 3 รปู แบบ คือ (รปู 7)
10
สนั ติ ภัยหลบลี้ น้ำผิวดนิ
รูป 6. กำรเกดิ ธำรน้ำ
รปู 7. รปู แบบกำรถูกพดั พำของตะกอนโดยน้ำ
11
สันติ ภัยหลบล้ี น้ำผวิ ดิน
1) ตะกอนละลาย (dissolved load) คือ ไอออนท่ีได้จำกกำรผุพังทำง
เคมขี องหนิ ละลำยอยู่ในนำ้
2) ตะกอนแขวนลอย (suspended load) คือ ตะกอนขนำดเล็กและ
เบำพอท่จี ะลอยอยู่เหนือทอ้ งนำ้ ไปตำมกระแสนำ้ ได้
3) ตะกอนท้องน้า (bed load) คือ ตะกอนขนำดใหญ่ตำมท้องน้ำ
เคลื่อนที่ได้โดย การลากไปตามท้องน้า (traction) หรือ การกระโดดเป็นช่วง
(saltation)
โดยธรรมชำตินำ้ และตะกอนท่ีอยู่ในธำรน้ำนั้นจะไหลผ่ำนสภำพแวดล้อม
ต่ำงๆ ทำให้เกิดธำรน้ำท่ีมีลักษณะแตกต่ำงกัน 3 รูปแบบ คือ 1) ธำรน้ำตรง
(straight stream) 2) ธำรน้ำประสำนสำย (braided stream) และ 3) ธำรนำ้ โค้ง
ตวัด (meandering stream)
3.1. ธารน้าตรง (Straight Stream)
ธารน้าตรง (straight stream) เป็นธำรน้ำท่ีเกิดบริเวณหุบเขำบริเวณ
ตน้ น้ำซ่ึงโดยส่วนใหญ่จะเป็นพื้นท่ีสูง และโดยธรรมชำติของธำรน้ำที่จะปรับระดับ
ของท้องน้ำให้มีระดับใกล้เคียงกับ ระดับน้าอ้างอิง (base level) ซึ่งส่วนใหญ่
ระดับน้ำอ้ำงอิงมักจะเทียบได้กับ ระดับน้าทะเลปานกลาง (mean sea level)
ดังน้ันกระบวนกำรกรัดกร่อนในบริเวณต้นน้ำจะเป็น การกัดกร่อนในแนวดิ่ง
(downcutting) เป็นหลัก (รูป 8ก) ทำให้ธำรน้ำบริเวณต้นน้ำน้ันโดยส่วนใหญ่จะ
ไหลข้อนข้ำงตรง และร่องน้ำมีลักษณะเป็น หุบเหวลึก (canyon) (รูป 8ข-ค) ซึ่ง
ต่อมำเม่ือมีกำรุพังและปรับสภำพด้ำนข้ำงของหุบเหวลึก ร่องน้ำจะพัฒนำไปเป็น
ธำรน้ำท่ีมีภำพตัดขวำงคล้ำยกับตัว V ในภำษำอังกฤษ บำงครั้งจึงเรียกร่องน้ำ
12
สันติ ภัยหลบล้ี นำ้ ผวิ ดนิ
ลักษณะน้ีว่ำ ร่องน้ารูปตัววี (V-shape channel) (รูป 8ค) และบำงพื้นท่ียัง
สำมำรถพบน้ำตกและแก่งหินอยู่ตำมธำรน้ำตรงด้วย ซึ่งทั้งน้ำตกและแก่งหินน้ัน
เกิดจำกกำรกัดเซำะท้องน้ำในบริเวณท่ีมีหินแข็งไม่เท่ำกัน ในส่วนของควำมเร็วน้ำ
ในธำรน้ำตรงน้ัน น้ำจะมีควำมเร็วในกำรไหลไม่เท่ำกันในแต่ละพื้นท่ีตำม
ภำพตัดขวำงของธำรน้ำ โดยมคี วำมเร็วสงู ท่ีสดุ ตรงกลำงของธำรน้ำ (รปู 9ก)
รปู 8. รปู แบบกำรกัดกร่อนในแนวดง่ิ และลกั ษณะหบุ เหวลึกท่เี กิดจำกกำรกดั กร่อน
13
สนั ติ ภยั หลบล้ี นำ้ ผวิ ดิน
หากตอ้ งเดนิ ทางโดยเรอื ไปตามธารน้า ควรใหเ้ รอื อยู่กลาง
นา้ เพือ่ ใหก้ ารไหลของน้าเสริมใหเ้ รือแล่นเร็วขน้ึ แตห่ าก
เดนิ ทางทวนกระแสน้าควรอยใู่ กล้ตลง่ิ เพอื่ ลดแรงต้านทาน
ทเ่ี กดิ จาการไหลของนา้
รปู 9. ภำพตัดขวำงของธำร
น้ำแสดงควำมเร็ว
ของ (ก) ธำรน้ำตรง
(straight stream)
และ (ข) ธำรน้ำโค้ง
ตวัด (meandering
stream)
14
สันติ ภัยหลบลี้ นำ้ ผิวดนิ
3.2. ธารนา้ ประสานสาย (Braided Stream)
ธารน้าประสานสาย (braided stream) เกิดขึ้นเมื่อธำรน้ำตรงไหล
ออกมำจำกร่องเขำสู่พ้ืนท่ีรำบ ทำให้ธำรน้ำไม่มีร่องน้ำคอยควบคุมทิศทำงกำรไหล
ควำมเร็วของกระแสน้ำลดลงอย่ำงรวดเร็ว ทำให้ตะกอนจำนวนมำกตกทับทบ
บริเวณน้ี เกิดเป็นธำรน้ำแตกแขนงไหลลงตำมควำมลำดเอียงของพื้นท่ีคล้ำยกับ
ผมเปีย (รูป 10ก)
รปู 10. ภูมิลกั ษณ์ธำรน้ำประสำนสำยและธำรนำ้ โค้งตวดั
15
สนั ติ ภัยหลบลี้ นำ้ ผวิ ดิน
3.3. ธารน้าโค้งตวดั (Meandering Stream)
ธารน้าโค้งตวัด (meandering stream) เป็นรูปแบบธำรน้ำที่เกิดขึ้น
บริเวณปลำยน้ำ มีควำมชันของธำรน้ำต่ำมำกและระดับท้องน้ำใกล้เดียงกับ
ระดับน้ำทะเลปำนกลำง (รูป 3) สืบเนื่องจำกธำรน้ำชนิดน้ีจึงมีกำรกัดกร่อนใน
แนวรำบ มำกกวำ่ กัดกร่อนแนวดง่ิ และเนื่องจำกธำรน้ำมีกำรไหลแบบโคง้ ตวัด (รูป
10ข) ดังนัน้ ควำมเร็วของน้ำสูงที่สุดจะอยู่ที่โค้งนอกของธำรนำ้ และส่วนโค้งในจะมี
ควำมเรว็ ตำ่ ทีส่ ดุ เหมอื นกบั กำรขบั รถบนถนนโคง้ (รูป 9ข)
ผลจำกควำมเร็วของน้ำท่ีแตกต่ำงกันในแต่ละพ้ืนที่ ทำให้บรเิ วณโค้งนอก
ถกู กัดกร่อนได้ง่ำยจนทำให้เกิดเป็น ตลิ่งชัน (cut bank) (รูป 10ค) ในขณะท่ีโค้ง
ในของธำรน้ำซ่ึงมีควำมเร็วกำรไหลของน้ำท่ีต่ำ จะเป็นแหล่งสะสมตัวของตะกอน
พอกอยู่ริมตลิ่ง เรียกว่ำ เนินทรายรมิ ตลิ่ง (point bar) (รูป 10ง) ซ่ึงเม่ือมีกำรกัด
กร่อนและกำรสะสมตัวไปอย่ำงต่อเน่ือง ธำรน้ำจะโค้งตวัดเพ่ิมข้ึนอย่ำงต่อเนื่อง
จนกระท่ังเกิดกำรตัดธำรน้ำ (รปู 11ก) โดยจะแยกธำรน้ำโค้งตวัดเดิมออกจำกธำร
นำ้ หลัก เกิดเป็นทะเลสำบรูปร่ำงคล้ำยกับแอกเทียมวัว เรียกว่ำ ทะเลสาบรูปแอก
(oxbow lake) (รปู 11ข)
ผลจำกกำรกตรวจวัดแกว่งของธำรน้ำโค้งตวัด หินแข็งที่เคยอยู่ริมธำรน้ำ
จะถูกกัดกร่อนและเกิดกำรทับถมตะกอนซ้ำแล้วซ้ำเล่ำไปทั่วทุกพื้นท่ีซึ่งธำรน้ำเคย
ตวัดไปถึง ทำให้เกิดลักษณะภูมิประเทศเป็นท่ีรำบครอบคลุมพื้นท่ีกว้ำงขนำบไป
ตำมธำรน้ำเรียกว่ำ ท่ีราบน้าท่วมถึง (flood plain) (รูป 12ก-ข) ซ่ึงหำกมองใน
ภำพตัดขวำงของร่องน้ำ (รูป 3) จะพบว่ำร่องน้ำบริเวณปลำยน้ำอย่ำงร่องน้ำโค้ง
ตวัดน้ีจะมคี วำมกว้ำงโดดเด่นกวำ่ ควำมลึก ซึ่งเปน็ ผลมำจำกกำรกตรวจวัดแก่งของ
16
สันติ ภัยหลบล้ี นำ้ ผวิ ดนิ
ธำรน้ำ ทำให้ร่องน้ำน้ันมีรูปร่ำงคล้ำยกับตัว U ในภำษำอังกฤษ บำงครั้งจึงเรยี กว่ำ
รอ่ งนา้ รปู ตัวยู (U-shape channel) (รปู 3)
รปู 11. ววิ ัฒนำกำรกตรวจวัดแกว่งของธำรนำ้ โคง้ ตวัดและทะเลสำบรปู แอก
ในฤดูน้ำหลำกของทุกปี ปริมำณน้ำจะไหลหลำกมำมำกเกินกว่ำที่ร่องน้ำ
โค้งตวัดจะรับได้ ทำให้น้ำเอ่อล้นริมตล่ิงและท่วมบริเวณท่ีรำบน้ำท่วมถึงดังกล่ำว
17
สันติ ภยั หลบลี้ น้ำผวิ ดิน
ซ่งึ กลไกของกำรท่วมเรม่ิ จำกน้ำทเี่ คยไหลในรอ่ งน้ำด้วยควำมเร็วระดบั หน่งึ เม่อื เริ่ม
ที่จะเอ่อล้นออกจำกร่องน้ำ น้ำจะลดควำมเร็วลงอย่ำงรวดเร็วเน่ืองจำกพ้ืนที่กำร
ไหลของน้ำมีมำกขึ้นในที่รำบน้ำท่วมถึง ผลจำกกำรลดควำมเร็วกำรไหลของน้ำ
ตะกอนท่ีถูกพัดพำมำตำมธำรน้ำจะตกลงทับถมทันทีตำมขอบของร่องน้ำ (รูป 16)
เกิดเนินทรำยคล้ำยกับคันดินขนำบไปตำมร่องน้ำ เรียกว่ำ คันดินธรรมชาติ
(natural levee) (รูป 13)
คนั ดนิ ธรรมชาติ (natural levee) โดยสว่ นใหญม่ ีต้นไม้
หนาแน่น เน่ืองจากเป็นแหล่งสะสมตัวของดนิ อดุ มสมบรู ณ์
และชุ่มชนื้ ใกล้น้า
บำงครั้งพื้นท่ีบริเวณล้ำน้ำโค้งตวัดอำจมีกำรเปล่ียนระดับพื้นดินจำก
กระบวนกำรธรณีแปรสัณฐำน ทำให้เกิดกำรยกตัวของแผ่นดินเป็นบริเวณกว้ำง
หรือในช่วงยุคน้ำแข็งของโลก ทำให้ระดับน้ำทะเลปำนกลำงลดต่ำลง ทำให้ระดับ
ท้องน้ำของธำรน้ำโค้งตวัดอยู่สูงกว่ำระดับน้ำทะเลปำนกลำง ดังน้ันน้ำจึงเปลี่ยน
พฤติกรรมมำกดั กรอ่ นในแนวดิ่งคล้ำยกบั กำรกัดกร่อนต้นนำ้ บนภเู ขำ จนทำให้ธำร
น้ำโค้งตวัดน้ันลึกลง เรียกว่ำ ธารน้าโค้งตวัดร่องลึก (incised meandering
stream) (รูป 12ค) จำกน้ันเม่ือระดับท้องน้ำใกล้เคียงกับระดับน้ำทะปำนกลำง
น้ำจะกลับมำกตรวจวัดแกว่งและกัดกร่อนในแนวรำบอีกครั้ง ซึ่งผลจำก
กระบวนกำรปรับระดับของพ้ืนที่และพฤติกรรมกำรกัดกร่อนของน้ำนี้ ทำให้เกิด
ลักษณะภูมิประเทศเป็นตะพัก เรียกว่ำ ตะพักธารน้า (terrace) (รูป 12ก และ
รูป 12ง) [Christopherson, 1994]
18
สนั ติ ภยั หลบล้ี น้ำผิวดนิ
รูป 12. กระบวนกำรเกิดทร่ี ำบน้ำทว่ มถึง ธำรนำ้ โค้งตวดั ร่องลกึ และตะพักธำรนำ้
19
สนั ติ ภยั หลบล้ี นำ้ ผิวดิน
รปู 13. กระบวนกำรเกดิ คดั ดนิ ธรรมชำติ
20
สนั ติ ภยั หลบลี้ น้ำผิวดิน
4
ระบบและรูปแบบธารนา้
Drainage System and Pattern
4.1. ระบบธารนา้ (Drainage System)
เน่ืองจำกธำรน้ำประกอบด้วยธำรน้ำสำขำจำนวนมำกท่ีไหลลงมำรวมกัน
ดังนั้นในกำรบริหำรจัดกำรน้ำจึงมหี ลักกำรในกำร ลาดับธารน้า (stream order)
อย่ำงเป็นระบบ โดยกำหนดให้ธำรน้ำท่ีไหลออกจำกต้นน้ำหรือแหล่งกำเนิด
เรยี กวำ่ ธารนา้ สาขาท่ี 2 (1st order stream) ซ่ึงตอ่ มำเม่อื ไหลมำบรรจบกับธำร
น้ำอื่น รวมเรียกว่ำ ธารน้าสาขาท่ี 2 (2nd order stream) และจะมีกำรรวมกัน
ของธำรน้ำและเพม่ิ ลำดับของธำรน้ำไปอย่ำงตอ่ เนอื่ ง จนกระทง่ั ถงึ ปลำยน้ำ (รูป 14
ก) ดังน้ันหำกมีฝนตกบริเวณภูเขำ น้ำจะไหลจำกที่สูงลงสู่ แอ่งรับน้า (drainage
basin หรือ catchment area) หรือ ลุ่มน้า (watershed) ซ่ึงในแต่ละแอ่งจะ
21
สนั ติ ภัยหลบล้ี นำ้ ผิวดนิ
ถกู แบง่ โดย สนั ปนั นา้ (drainage divide) (รูป 14ข) โดยลุ่มน้ำน้ันอำจเรียกแบบ
แบ่งย่อยหรือรวมกันเป็นลุ่มน้ำขนำดใหญ่ได้ ข้ึนอยู่กับกำรใช้ลำดับธำรน้ำในกำร
พิจำรณำ เช่น ลุ่มน้ำของธำรน้ำสำขำที่ 1 จะมีขนำดเล็กและเป็นส่วนหนึ่งของลุ่ม
น้ำของธำรนำ้ สำขำท่ี 2 หรือ 3
รปู 14. ระบบธำรนำ้ (drainage system)
4.2. รูปแบบธารนา้ (Drainage Pattern)
ทิศทำงกำรไหลของธำรน้ำข้ึนอยู่กับภูมิประเทศที่เป็นผลมำจำกลักษณะ
ทำงธรณีวทิ ยำในแต่ละพ้ืนที่ ทำให้เกิด รปู แบบธารนา้ (drainage pattern) ท่ีมี
ลกั ษณะเฉพำะแตกต่ำงกนั ดงั น้ี (รูป 15)
รูปแบบธารน้า (drainage pattern) เปน็ หน่งึ ในข้อมลู ท่ี
สาคัญในการจาแนกชนิดของหนิ และโครงสรา้ งทาง
ธรณวี ิทยาในพื้นท่ตี ่างๆ
22
สันติ ภัยหลบล้ี นำ้ ผิวดนิ
รูป 15. รปู แบบธำรน้ำ [Christopherson, 1994]
1) รูปแบบก่ิงไม้ (dendritic pattern) เป็นรูปแบบท่ีพบมำกและโดด
เด่นท่ีสุด เกิดบริเวณท่ีมีหินชนิดเดียวกันหรือหินมีเนื้อแน่น มีมุมของธำรน้ำท่ีไหล
มำเชอื่ มกันเป็นมุมแหลม
2) รูปแบบตั้งฉาก (rectangular pattern) เป็นรูปแบบที่เกิดจำกธำร
น้ำไหลในบริเวณท่ีมีรอยแตกหินตัดตั้งฉำกกัน โดยธำรน้ำจะไหลขนำนกันมำตำม
แนวรอยแตกเปน็ มมุ ฉำกโดยสว่ นใหญ่
3) รปู แบบเถาองนุ่ (trellis pattern) เปน็ รปู แบบทพี่ บในพน้ื ทซี่ งึ่ มกี ำร
สลับชั้นกันระหว่ำงช้นั หนิ แขง็ และออ่ น
23
สันติ ภยั หลบล้ี น้ำผวิ ดนิ
4) รูปแบบรัศมี (radial pattern) เป็นรูปแบบที่เกิดจำกภูเขำลูกโดด
ธำรน้ำไหลจำกยอดเขำไหลแผ่กระจำยไปทกุ ทศิ ทำงลงมำดำ้ นลำ่ ง
5) รูปแบบขนาน (parallel pattern) เป็นรูปแบบที่โดยส่วนใหญ่พบ
ในบรเิ วณท่มี ีรอยแตกของหนิ ชดั เจนเพียงทศิ เดียว
6) รูปแบบวงแหวน (annular pattern) เป็นรูปแบบท่ีพบในพ้ืนที่ที่มี
โครงสร้ำงทำงธรณีวิทยำแบบ โดม (dome) หรือ แอ่งกะทะ (basin) (รูป 16)
และมีกำรกัดกรอ่ นจนเปน็ ตวั ควบคุมกำรไหลของน้ำ
อย่ำงไรก็ตำม เน่ืองจำกในแต่ละลุ่มน้ำน้ันอำจจะมีโครงสร้ำงทำง
ธรณีวิทยำหรือชนิดหินที่หลำกหลำย ทำให้ในแต่ละพ้ืนท่ีหรือลุ่มน้ำอำจ
ประกอบดว้ ยรูปแบบธำรนำ้ หลำกหลำยชนิดอยรู่ ่วมกนั ได้
รูป 16. แบบจำลองและสภำพจริงของชน้ั หินคดโค้งแบบโดมและแอ่งกะทะ
24
สนั ติ ภัยหลบลี้ นำ้ ผวิ ดิน
5
ภัยพบิ ตั ิน้าทว่ ม
Flood Hazard
5.1. น้าท่วม (Flood)
น้าท่วม (flood) หมำยถึง ภัยพิบัติท่ีเกิดจำกน้ำพ้ืนผิวมีปริมำณเกินกว่ำ
ทีรอ่ งน้ำจะรองรบั ได้ ทำให้นำ้ เออ่ ล้นออกจำกร่องนำ้ สร้ำงควำมเสียหำยให้กบั ชีวิต
และทรัพย์สินของมนุษย์ (รูป 17) โดยภัยพิบัติน้ำท่วมนั้นเกิดขึ้นได้จำกหลำย
สำเหตุ และส่งผลตอ่ แตกตำ่ งกัน ไดแ้ ก่
1) น้ำท่วมจำก พายุฝนฟ้าคะนอง (thunder storm) ทำให้เกิดน้ำ
หลำกจำกต้นน้ำลงมำอย่ำงรวดเร็วหรือเรียกว่ำ น้าท่วมฉับพลัน (flash flood)
แต่จะท่วมเพียง 2-3 ชั่วโมง และจะลดลงอย่ำงรวดเร็ว ซ่ึงน้ำท่วมรูปแบบนี้เป็น
สำเหตุกำรเสียชีวิตโดยสว่ นใหญ่
2) นำ้ ท่วมจำกฝนตกตลอดทงั้ วัน ทำให้เกดิ น้าท่วมขังในท้องถิ่น (local
flood) แต่จะทว่ มนำนเป็นสัปดำห์ และลดลงอย่ำงช้ำๆ
25
สันติ ภัยหลบล้ี น้ำผวิ ดนิ
3) น้ำท่วมจำก คล่ืนพายุซัดฝ่ัง (storm surge) เกิดจำกพำยุในทะเล
และหอบมวลนำ้ ขึ้นมำไหลหลำกบนพ้นื ทใ่ี กล้ชำยฝั่ง
4) สำเหตุอื่นๆ เช่น 4.1) การถล่มของก้อนน้าแข็งและปิดก้ันธารน้า
(glacier-jam flood) ทำให้เกิดน้ำท่วมขัง 4.2) กำรพังทลำยของเศษตะกอนท่ี
เคยก้นั นำ้ ด้ำนบนเอำไว้ หรอื 4.3) กำรกอ่ สรำ้ งขวำงธำรน้ำไหล เปน็ ต้น ซึง่ ปัจจบุ ัน
นักวทิ ยำศำสตร์ประเมนิ ภยั พิบตั นิ ำ้ ทว่ มโดยนยิ มใชต้ ัวบง่ ช้ี 2 ตวั แปร คอื 1) ไฮโดร
กราฟ (hydrograph) และ 2) ความถี่น้าทว่ ม (flood frequency)
รูป 17. น้ำทว่ มในประเทศไทย พ.ศ. 2554
26
สนั ติ ภยั หลบลี้ น้ำผิวดนิ
5.2. ไฮโดรกราฟ (Hydrograph)
ไฮโดรกราฟ (hydrograph) หมำยถึง กรำฟแสดงควำมสัมพันธ์ระหว่ำง
อัตราน้าไหลในธารนา้ (stream discharge) ในแตล่ ะช่วงเวลำซึง่ มสี ่วนประกอบ
ทีส่ ำคญั 3 สว่ น คอื (รปู 18)
1) ส่วนขึ้น (rising limb) ขึ้นอยู่กับปริมำณน้ำฝนที่ตก ระยะเวลำที่ฝน
ตก รวมทง้ั ควำมสำมำรถในกำรรบั นำ้ ของธำรน้ำซึง่ สัมพันธก์ บั ขนำดของพน้ื ทีร่ บั น้ำ
ควำมลำดชันของพื้นที่รบั น้ำ ประสิทธิภำพกำรระบำยน้ำของพ้ืนที่รับน้ำ ตลอดจน
ควำมช้ืนของดินในพ้ืนที่ ตัวอย่ำงเช่นหำกฝนตกหนักหรือธำรน้ำแคบ สิ่งกีดขวำง
มำกจะทำให้สว่ นขึน้ นั้นเพม่ิ ขึ้นอยำ่ งรวดเร็วในเวลำอนั สน้ั (รปู 18ข) แตห่ ำกมีพ้นื ที่
รับน้ำมำก ไม่มสี ่งิ กีดขวำงมำกนัก สว่ นข้นึ จะเพ่มิ ขึน้ อยำ่ งช้ำๆ (รปู 18ก)
2) ส่วนยอด (peak) แสดงถึงจุดสูงท่ีสุดของน้ำ ซ่ึงยอดจะแหลมหรือ
ป้ำนข้ึนอยู่กับลักษณะของร่องน้ำ โดยหำกน้ำไหลในปริมำณเท่ำกัน ร่องน้ำท่ีมีพืช
คลุมดินมำกจะดูดซับน้ำได้บำงส่วน ทำให้ส่วนยอดน้ันไม่สูงมำกนัก (รูป 18ก)
ในขณะที่ร่องน้ำท่ีถูกกีดขวำงหรือพ้ืนท่ีไม่มีป่ำไม้ปกคลุม ส่วนยอดจะสูงกว่ำปกติ
(รูป 18ข) เช่น ไฮโดรกรำฟในสภำวะร่องน้ำแบบปกติจะมีลักษณะเป็นยอดป้ำน
และเตี้ย แปลควำมหมำยได้ว่ำน้ำไหลผ่ำนพ้ืนท่ีแบบค่อยเป็นค่อยไป (รูป 18ก)
มำกกว่ำรอ่ งน้ำทมี่ ชี มุ ชนเมืองขยำยตวั มกี ำรจำกัดร่องนำ้ ทำใหเ้ วลำฝนตก น้ำจะมี
ระดับสูงขนึ้ อย่ำงรวดเร็วและสูงกวำ่ ร่องน้ำปกติ (รูป 18ข) เหมือนกับกำรไหลของ
น้ำแบบ นา้ ทว่ มฉบั พลนั (flash flood)
3) ส่วนลด (recession) แสดงถึงประสิทธิภำพกำรระบำยน้ำ ซ่ึงหำก
ส่วนลดมีควำมชันสูงแสดงว่ำร่องน้ำนั้นมีศักยภำพกำรระบำยน้ำดีกว่ำร่องน้ำที่มี
ควำมชนั ของส่วนลดตำ่ (รูป 18)
27
สนั ติ ภยั หลบล้ี นำ้ ผวิ ดิน
รูป 18. ไฮโดรกรำฟ (hydrograph)
28
สันติ ภยั หลบลี้ นำ้ ผิวดนิ
5.3. กราฟความถ่ีน้าท่วม (Flood Frequency Curve)
จำกข้อมูลน้ำท่วมในอดีตในหลำยพ้ืนท่ีทั่วโลก นักวิทยำศำสตรส์ รุปว่ำน้ำ
ท่วมขนำดใหญ่ (ควำมรุนแรงสูง) จะมี คาบอุบัติซ้า (return period) ยำวนำน
กว่ำนำ้ ท่วมขนำดเล็ก (ควำมรุนแรงตำ่ ) ดังนั้นกำรประเมินภยั พิบัตินำ้ ท่วมในแตล่ ะ
พืน้ ที่ จงึ สำมำรถแสดงไดใ้ นรูปของ กราฟความถี่นา้ ท่วม (flooding frequency
curve) (รูป 19) ซ่ึงเป็นกรำฟแสดงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงขนำดหรือระดับควำม
รุนแรงของภัยพิบัติน้ำท่วม (แกนต้ัง) และควำมถี่หรือคำบอุบัติซ้ำของกำรเกิดน้ำ
ท่วม (แกนนอน) ซึ่งในแต่ละพ้ืนที่รับน้ำหรือในแต่ละธำรน้ำจะมีกรำฟควำมถี่น้ำ
ท่วมท่แี ตกต่ำงกนั แสดงถงึ ระดับภัยพบิ ัติน้ำท่วมทแ่ี ตกตำ่ งกนั
วิธีกำรคำนวณเริ่มจำกกำรบันทึก อัตราน้าไหลในธารน้า (stream
discharge) สูงที่สุด ในแต่ละปี หลังจำกนั้นจัด ลาดับขนาดการเกิดน้าท่วม
(magnitude rank) จำกน้ำท่วมสูงที่สุดไปถึงน้ำท่วมต่ำที่สุด (ตำรำง 1) ซึ่งคำบ
อบุ ัติซ้ำโดยเฉลี่ย (R) ของกำรเกิดนำ้ ทว่ ม สำมำรถประเมินโดยใชส้ มกำร (3)
R = N +1 สมการ (3)
M
กำหนดให้ N คือ ช่วงเวลำท่ีมีกำรบันทึกภัยพิบัติน้ำท่วม และ M คือ ลาดับขนาด
การเกิดน้าท่วม (magnitude rank) นอกจำกน้ียังสำมำรถประเมินควำมน่ำจะ
เป็น (probability, P) ของกำรเกิดนำ้ ท่วมในแต่ละขนำดได้ตำมสมกำร (4)
P = 1 สมการ (4)
R
29
สันติ ภยั หลบล้ี นำ้ ผิวดิน
รูป 19. ตัวอยำ่ งกรำฟควำมถี่นำ้ ทว่ ม [www.carleton.edu]
ตาราง 1. ตัวอย่ำงกำรประเมินคำบอุบัติซ้ำโดยเฉล่ียของกำรเกิดน้ำท่วมในแม่น้ำ
ของรฐั แคลิฟอร์เนยี ประเทศสหรฐั อเมริกำ
ปนี า้ ทว่ ม อัตรานา้ ไหลในธารนา้ ลาดับขนาด คาบอบุ ตั ิซา้
(ค.ศ.) (stream discharge) (magnitude rank) (ปี)
สูงทสี่ ุด
1997 93,000 1 100
1907 71,000 2 50
1986 45,100 3 33
1956 42,000 4 25
1963 39,400 5 20
1958 29,300 10 10
30
สันติ ภัยหลบลี้ น้ำผิวดิน
1928 22,900 20 5
1914 18,200 30 3
1918 11,900 40 2.5
1910 9,640 50 2
1934 7,170 60 1.7
5.4. การบรรเทาภัยพิบตั นิ า้ ทว่ ม (Flood Mitigation)
1) การสร้างสิ่งป้องกันทางกายภาพ (physical barrier) เช่น กำร
สรำ้ ง คันดินเทยี ม (artificial levee) เพือ่ ไม่ใหน้ ้ำเอ่อล้นร่องน้ำได้ง่ำย (รูป 19ก)
กำรสร้ำง เขื่อน (dam) เพ่ือสะดวกในกำรบริหำรจัดกำรน้ำ แต่ทั้ง 2 วิธีนี้ต้องใช้
งบประมำณในกำรก่อสรำ้ งสงู อีกท้ังกำรสร้ำงคันดินเทียมนน้ั เปรยี บเสมือนกำรทำ
ให้ร่องน้ำกว้ำงข้ึน ซ่ึงจำกสมกำร (1) หำกอัตรำน้ำไหลในธำรน้ำคงท่ี (Q) เม่ือร่อง
นำ้ กว้ำงขนึ้ (A) น้ำในร่องน้ำจะไหลช้ำลง (V) ตะกอนจึงตกทับถมมำกกวำ่ ปกติ ทำ
ใหร้ ่องน้ำต้นื เขนิ เรว็ ขึ้น ซ่ึงกำรสร้ำงเข่ือนก็ไดร้ ับผลกระทบเชน่ เดียวกนั (รปู 19ข)
รปู 19. กำรบรรเทำภยั พบิ ตั นิ ำ้ ทว่ มด้วยส่ิงป้องกันทำงกำยภำพ
31
สันติ ภัยหลบลี้ นำ้ ผิวดนิ
2) การขุดลอกร่องน้า (channelization) เช่น กำรกำจัดขยะ กำรขุด
ลอกเศษตะกอนท้องน้ำให้ธำรน้ำลึกและกว้ำงขึ้น แต่อำจส่งผลต่อระบบนิเวศใน
ร่องนำ้ และอำจทำใหร้ อ่ งน้ำเสยี สมดลุ เกิดกำรพังของตล่ิงได้ง่ำย
3) การจัดพื้นท่ี (zoning and regulation) จัดทำแผนที่เสี่ยงน้ำท่วม
เพ่ือกำหนดพื้นท่ีรำบน้ำท่วมถึง จำกนั้นจึงจัดโซนเพื่อกันพื้นที่เสี่ยงน้ำท่วม เช่นใน
ประเทศสหรัฐอเมริกำกำหนดว่ำพื้นท่ีซ่ึงมีโอกำสเกิดน้ำท่วมในอีก 100 ปีข้ำงหน้ำ
สำมำรถสรำ้ งอำคำรหรือทพี่ ักอำศัยได้ แต่ต้องออกแบบตำมกฏหมำยทีร่ ะบุไว้อยำ่ ง
เคร่งครัด เพ่ือรองรบั ภัยพิบัตนิ ้ำท่วมท่ีอำจเกิดขึ้นได้ ในขณะทีพ่ ้ืนท่ีซงึ่ มีโอกำสเกิด
น้ำท่วมภำยใน 20 ปี จะไม่อนุญำตให้มีกำรสร้ำงสิ่งก่อสร้ำงโดยเด็ดขำด ซึ่งใน
สภำวะปกติจะใช้เป็นพ้ืนที่สำธำรณะท่ีไม่ได้รับผลกระทบมำกนักหำกเกิดน้ำท่วม
เช่น เป็นสนำมหญ้ำเพื่อกำรพักผ่อนของชุมชน ลำนกีฬำช่ัวครำว เป็นต้น
นอกจำกนี้ควรมีกำรกันพ้ืนทีส่ ่วนที่เป็น ทะเลสาบรูปแอก (oxbow lake) เพื่อใช้
กักเกบ็ นำ้ เมือ่ นำ้ ไหลมำมำกกว่ำปกติ
4) การติดตั้งระบบเตือนภัย (warning system) เช่น กำรให้ควำมรู้
เรื่องภัยพิบัติน้ำท่วมแก่ชุมชน ติดตั้งสถำนีตรวจวัดระดับน้ำ (gauging station)
หรือระบบตรวจวัดปริมำณน้ำฝนที่สะดวกในกำรใช้งำนและบำรุงรักษำง่ำยแก่
ประชำชนในแตล่ ะทอ้ งถิ่น เพอ่ื ใหใ้ นแต่ละพืน้ ทีส่ ำมำรถเตือนภัยได้ด้วยตัวเอง
32
สันติ ภยั หลบลี้ น้ำผวิ ดิน
แบบฝึกหัด
วัตถปุ ระสงคข์ องแบบฝึกหดั
แบบฝึกหัดน้ี มีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือให้ผู้อ่ำนมีโอกำส 1) ทบทวนเน้ือหำ และ 2)
ค้นควำ้ ควำมรเู้ พมิ่ เติม โดยผำ่ นกระบวนกำรส่อื สำรแบบถำม-ตอบ ระหว่ำงผู้เขียน-
ผู้อ่ำน เทำ่ นั้น โดยไม่มเี จตนำวเิ ครำะห์ขอ้ สอบเกำ่ หรอื แนวขอ้ สอบแต่อย่ำงใด
1) แบบฝึกหัดจบั คู่
คาอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้ำคำบรรยำยด้ำนขวำ และเติมในชอ่ งว่ำงด้ำนซ้ำย
ของแต่ละขอ้ ท่ีมคี วำมสัมพันธ์กนั
1. _____ abrasion ก. ปริมำณตะกอนมำก ปริมำณน้ำ
น้อย
2. _____ point bar
3. _____ saltation ข. เนินตะกอนติดเชิงเขำ
ค. ระดับต่ำที่สุดท่ีมีกระบวนกำร
4. _____ flood plain
5. _____ stream gradient กัดกร่อน
6. _____ alluvial fan ง. ควำมชันของธำรน้ำ
7. _____ braided stream จ. ธำรนำ้ สำยเดิม
ฉ. คันดินธรรมชำติ
ช. กำรกระโดดเป็นช่วงของตะกอน
ในธำรน้ำ
33
สันติ ภยั หลบลี้ นำ้ ผวิ ดิน
8. _____ natural levee ซ. กำรครดู ถหู ินทอ่ี ยู่กับท่ี
9. _____ oxbow lake ฌ. อยูใ่ นธำรนำ้ โค้งตวดั
10. _____ base level ญ. จมน้ำในฤดูนำ้ หลำก
2) แบบฝกึ หัดถกู -ผิด
คาอธิบาย : เติมเครื่องหมำย T หน้ำข้อควำมที่กล่ำวถูก หรือเติมเครื่องหมำย F
หนำ้ ขอ้ ควำมทกี่ ล่ำวผิด
1. _____ พลังงำนขับเคลื่อน วัฏจักรอุทกวิทยา (hydrological cycle)
มำจำกกำรสลำยตัวของธำตกุ ัมมันตรงั สีทีม่ อี ยู่ภำยในโลก
2. _____ ท่รี าบน้าท่วมถึง (flood plain) บำงคร้ังสำมำรถเกิดในบริเวณ
ร่องเขำแคบๆ ได้เชน่ กนั
3. _____ ความชันของธารน้า (gradient) สมั พันธ์กับอัตรำน้ำไหลในธำร
น้ำ (discharge)
4. _____ โดยท่ัวไป อัตราน้าไหลในธารน้า (stream discharge) จะ
สงู ขนึ้ ไปทำงปลำยนำ้
5. _____ หน้าตัดข้างตามธารน้า (longitudinal profile) จะมีลักษณะ
โคง้ ขึ้นคลำ้ ยกับสมกำรเอ็กโพเนลเชยี ลฟังก์ชน่ั เพิ่ม
6. _____ แม่น้ำขนำดใหญ่สำมำรถกัดกร่อนธำรน้ำได้ลึกกว่ำ ระดับน้า
อา้ งองิ (base level)
7. _____ ควำมเร็วของธำรนำ้ โดยปกติจะลดลงไปทำงปลำยนำ้
34
สนั ติ ภยั หลบลี้ นำ้ ผิวดนิ
8. _____ ตะกอนท้องน้า (bed load) สำมำรถถูกพัดพำโดย การ
กระโดดเปน็ ชว่ ง (saltation)
9. _____ พ้ืนท่ีในเมืองมีโอกำสเกิดน้ำท่วมได้ง่ำยกว่ำชนบท เนื่องจำกกำร
ระบำยนำ้ ในเมืองไม่ดเี ท่ำชนบท
10. _____ ธารน้า (stream) ท้ังหมดมีศักยภำพที่จะทำให้เกิดภัยพิบัติน้ำ
ทว่ มได้
11. _____ ธำรน้ำที่ไหลหำยลงไปในหลุมยุบ (sinkhole) เป็นตัวบ่งชี้ ภูมิ
ประเทศแบบคารส์ ต์ (karst topography)
12. _____ ถา้ (cave) โดยสว่ นใหญ่เกิดจำกกระบวนกำรละลำยหนิ ปนู ทีอ่ ยู่
ใตพ้ น้ื ผิวโลก
13. _____ ความชันของธารน้า (gradient) มีควำมชันเพิ่มมำกข้ึนไปทำง
ปลำยน้ำ
14. _____ ธารน้าประสานสาย (braided stream) เป็นธำรน้ำที่มี
ปริมำณตะกอนน้อยแตม่ ีปริมำณนำ้ มำก
15. _____ ระดับน้าอ้างอิง (base level) คือระดับต่ำท่ีสุดท่ีธำรน้ำ
สำมำรถกัดกร่อนร่องน้ำลงลึกไปได้ โดยปกติจะอ้ำงอิงจำก
ระดับนำ้ ทะเลปำนกลำง
16. _____ รูปร่ำง ขนำดและควำมหยำบสง่ ผลต่อควำมเร็วในกำรไหลของนำ้
17. _____ แม่น้ำโดยส่วนใหญ่พัดพำตะกอนในรูปแบบของสำรละลำย
(solution) มำกกว่ำกำรพัดพำแบบอนื่ ๆ
18. _____ ใน บ ำ งก ร ณี น้ ำ ท่ี ไห ล อ ยู่ ใน ร่ อ งน้ ำ ม ำ จ ำ ก น้ า ใต้ ดิ น
(groundwater)
35
สันติ ภัยหลบลี้ นำ้ ผิวดนิ
19. _____ น้าท่วมไหลหลาก (flash flood) เป็นผลมำจำกปริมำณน้ำฝน
ควำมยำวนำนทฝี่ นตก สภำพแวดลอ้ มบนพนื้ ผวิ ตลอดจนลกั ษณะ
ภมู ปิ ระเทศในแต่ละพืน้ ท่ี
20. _____ ทะเลสำบรูปแอก (oxbow lake) เป็นหลักฐำนที่แสดงถึงกำรก
ตรวจวดั แกวง่ ของธำรนำ้ ในอดีต
3) แบบฝกึ หัดปรนัย
คาอธิบาย : ทำเคร่ืองหมำย X หน้ำคำตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว จำก
ตัวเลือกท่กี ำหนดให้
1. วฏั จักรอทุ กวทิ ยา (hydrological cycle) คอื อะไร
ก. กำรเปลีย่ นแปลงสถำนะของน้ำ ข. ระบบกำรไหลของน้ำ
ค. กำรรับและให้น้ำของระบบใดๆ ง. ไมม่ ีขอ้ ใดถูก
2. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ รูปแบบธำรน้ำ (drainage pattern)
ก. แบบเถำองุ่น (trellis) ข. แบบตำมยำว (longitudinal)
ค. แบบกง่ิ ไม้ (dendritic) ง. แบบรัศมี (radial)
3. กำรกดั กรอ่ นและกำรสะสมตวั โดยธำรน้ำถกู ควบคุมโดยปัจจัยอะไรเป็นหลัก
ก. อตั รำนำ้ ไหลในธำรนำ้ ข. ควำมชนั ของธำรนำ้
ค. รูปรำ่ งรอ่ งน้ำ ง. ควำมเรว็
4. ข้อใดคอื สว่ นทแ่ี บ่งแอ่งตะกอนออกจำกกัน
ก. สันปนั นำ้ (drainage divide) ข. เนินทรำยรมิ ตลง่ิ (point bar)
ค. หบุ เขำ (valley) ง. คนั ดินธรรมชำติ (natural levee)
36
สันติ ภยั หลบลี้ น้ำผวิ ดนิ
5. ข้อใดกล่ำวถูกตอ้ งเกยี่ วกับ แอ่งรบั นา้ (drainage basin)
ก. ควำมยำวของแม่น้ำขนำดใหญ่ ข. ระดับต่ำที่สุดท่ีแม่น้ำสำมำรถ
กัดกรอ่ นได้
ค. ทะเลสำบหรือมหำสมุทรท่ีเป็น ง. พื้นท่ีโดยรวมท่ีรองรับน้ำจำก
ทำงออกของแม่น้ำ ธำรนำ้ และธำรนำ้ สำขำ
6. สภำพแวดล้อมกำรสะสมตัวของตะกอนบริเวณปำกแม่น้ำท่ีเชื่อมต่อกับทะเล
เรยี กว่ำอะไร
ก. ดนิ ดอนสำมเหล่ยี มปำกแมน่ ำ้ ข. เนินตะกอนรปู พดั
(delta) (alluvial fan)
ค. ลม่ิ ตะกอน (wedge) ง. เนนิ ทรำยริมตลิ่ง (point bar)
7. พนื้ ที่ใดมศี กั ยภำพในกำรทำเหมอื งทรำยกอ่ สร้ำง
ก. คนั ดนิ ธรรมชำติ ข. ทะเลสำบรปู แอก
(natural levee) (oxbow lake)
ค. ที่รำบนำ้ ทว่ มถึง (flood plain) ง. ไมม่ ขี ้อใดถกู
8. สภำพแวดล้อมแบบใดในทำงธรณีวิทยำที่มีศักยภำพในกำรใช้เป็น แก้มลิง ใน
งำนด้ำนกำรบรหิ ำรจัดกำรน้ำ
ก. เนินทรำยรมิ ตลงิ่ (point bar) ข. ทรี่ ำบนำ้ ทว่ มถงึ (flood plain)
ค. คนั ดนิ ธรรมชำติ ง. ทะเลสำบรูปแอก
(natural levee) (oxbow lake)
9. พนื้ ท่ใี ดไมค่ วรซ้ือหรือเลือกเปน็ ทอี่ ย่อู ำศยั
ก. เนนิ ทรำยรมิ ตลิ่ง (point bar) ข. ตล่ิงชัน (cut bank)
ค. ทรี่ ำบน้ำทว่ มถึง (flood plain) ง. ทะเลสำบรูปแอก (oxbow lake)
37
สันติ ภยั หลบลี้ นำ้ ผิวดิน
10. จุดสูงท่ีสดุ ตำมแนว ธารนา้ โค้งตวัด (meandering stream) คือพื้นท่ีใด
ก. คันดินธรรมชำติ ข. ช้นั กรวด (gravel bed)
(natural levee)
ค. ทอ้ งนำ้ (channel bottom) ง. เนินทรำยริมตลิ่ง (point bar)
11. รูปแบบธารนา้ (drainage pattern) แบบใดทมี่ รี ูปรำ่ งคล้ำยกับตน้ ไม้
ก. rectangular ข. radial
ค. derange ง. dendritic
12. ธารน้าแบบเถาองุน่ (trellis) โดยสว่ นใหญ่จะพฒั นำในสภำพแวดล้อมแบบใด
ก. คนั ดนิ ธรรมชำติ ข. ช้นั หินอัคนตี ำมแนวรำบ
ค. ชั้นหินตะกอนทีม่ ีกำรเอยี งเท ง. หินบะซอลตม์ แี นวรอยแตก
13. แนวของตะกอนที่สะสมตัวตำมขอบของธำรนำ้ เรยี กว่ำอะไร
ก. คันดนิ ธรรมชำติ ข. เนนิ ตะกอนรูปพัด
(natural levee) (alluvial fan)
ค. เนินทรำยริมตลง่ิ (point bar) ง. ทะเลสำบรปู แอก
(oxbow lake)
14. ความจขุ องธารน้า (stream capacity) ตรวจวัดได้จำกอะไร
ก. ปริมำตรของนำ้ ข. ควำมสำมำรถกัดกรอ่ น
ค. อตั รำนำ้ ไหลในธำรน้ำ ง. ควำมเรว็ ของน้ำ
15. ข้อใดกล่ำวถกู ต้องเกี่ยวกบั ธารน้าโค้งตวัด (meandering stream)
ก. มีเนินทรำยและกรวดจำนวน ข. เปน็ หบุ เขำแคบและลึก
มำกตำมธำรนำ้
ค. มีรอ่ งน้ำเด่ยี วทโ่ี คง้ ตวดั ชดั เจน ง. ธำรน้ำตรงยำวและมีน้ำตก
38
สนั ติ ภัยหลบล้ี นำ้ ผิวดิน
16. สภำพแวดลอ้ มแบบใดเกิดชัน้ หนิ แบบ ชัน้ ลาดแนวดนิ ดอน (foreset bed)
ก. เนินตะกอนรปู พัด ข. คนั ดนิ ธรรมชำติ
ค. เนนิ ทรำยรมิ ตล่งิ ง. ดนิ ดอนสำมเหลยี่ มปำกแมน่ ้ำ
17. ขอ้ ใดคือปจั จยั ควบคมุ ควำมเรว็ กำรไหลในธำรนำ้
ก. รปู รำ่ งร่องนำ้ ข. ควำมหยำบร่องนำ้
ค. ควำมชนั ของธำรน้ำ ง. ถูกทุกขอ้
18. อัตราน้าไหลในธารน้า (discharge) คอื อะไร
ก. ขึ้นอยู่กับขนำดและควำมชัน ข. ปริมำตรของน้ำท่ผี ่ำนจดุ ใดๆ ตอ่
ของรอ่ งนำ้ หนว่ ยเวลำ
ค. ข้ึนอยู่กับรูปร่ำงและควำม ง. ถกู ทุกข้อ
หยำบของร่องน้ำ
19. ข้อใดคือรปู แบบธำรนำ้ ทธี่ ำรน้ำไหลเข้ำ-ออกจำกทะเลสำบด้วยทิศทำงกำรไหล
ท่ีไม่สมำ่ เสมอ
ก. แบบรศั มี (radial) ข. แบบขนนก (pinnate)
ค. แบบต้งั ฉำก (rectangular) ง. แบบสับสน (derange)
20. watershed คอื อะไร
ก. ทะเลสำบที่ละลำยมำจำกธำร ข. พ้นื ที่รองรับนำ้ ของระบบแม่น้ำ
น้ำแขง็ ใดๆ
ค. พืน้ ท่ซี งึ่ ครอบคลมุ โดยน้ำทว่ ม ง. ไม่มีข้อใดถกู
21. ข้อใดคอื กระบวนกำรทำให้ ตะกอนท้องน้า (bed load) พดั พำตำมธำรนำ้
ก. กำรแขวนลอย (suspension) ข. กำรครูดถู (abrasion)
ค. กำรละลำย (solution) ง. กำรกระโดดเป็นช่วง (saltation)
39
สนั ติ ภัยหลบลี้ นำ้ ผิวดนิ
22. ข้อใดเทยี บเคยี งได้กับ ระดับนา้ อ้างองิ (base level) ในท้องถน่ิ
ก. ทะเลสำบ (lake) ข. ที่รำบนำ้ ทว่ มถงึ (flood plain)
ค. เนนิ ทรำยริมตลง่ิ (point bar) ง. ไมม่ ขี ้อใดถูก
23. ข้อใดคือภูมิลักษณ์ที่หลงเหลือจำกกำรกัดกร่อน ท่ีราบน้าท่วมถึง (flood
plain) ซึง่ สงู กว่ำระดับรอ่ งน้ำในปจั จุบัน
ก. ทะเลสำบรปู แอก ข. สะพำนธรรมชำติ
(oxbow lake) (natural bridge)
ค. ตล่งิ ชัน (cut bank) ง. ตะพักธำรนำ้ (terrace)
24. ขอ้ ใดคือ ทะเลสาบ (lake) ในทะเลทรำย
ก. playa ข. mesa
ค. pediment ง. inselberg
25. ธารนา้ (stream) สำมำรถทำให้ร่องนำ้ ลึกขน้ึ ด้วยกระบวนกำรใด
ก. runoff ข. meandering
ค. hydraulic action ง. headward erosion
26. เขือ่ น (dam) โดยส่วนใหญ่ส่งผลอยำ่ งไรกบั กระบวนกำรทำงนำ้
ก. เร่งกระบ วน กำรกรัดกร่อน ข. เร่งกระบ วนกำรกรัดกร่อน
บรเิ วณตน้ น้ำ บริเวณเหนือเข่อื น
ค. ไมส่ ่งผลต่อปลำยน้ำ ง. แอ่งนำ้ ถูกเติมเตม็ ด้วยตะกอน
27. พ้นื ท่ซี ง่ึ มีหนิ รำบเรียบสม่ำเสมอ โดยสว่ นใหญเ่ กิดรปู แบบธำรนำ้ แบบใด
ก. แบบกง่ิ ไม้ (dendritic) ข. แบบเถำองนุ่ (trellis)
ค. แบบรศั มี (radial) ง. ถกู ทกุ ข้อ
40
สนั ติ ภัยหลบล้ี น้ำผิวดิน
28. ขอ้ ใดคือธำรนำ้ อำยุแก่
ก. อำยุ ≥ 1,000 ปี ข. อำยุ ≥ 10,000 ปี
ค. อำยุ ≥ 100,000 ปี ง. ธำรน้ำมกี ำรกวดั แกวง่ มำก
29. ขอ้ ใดคอื ธำรนำ้ ทมี่ ปี ริมำณตะกอนมำกและมนี ำ้ น้อย
ก. mature ข. youthful
ค. meandering ง. braided
30. รูปแบบธารน้า (drainage pattern) แบบใดท่ีพบในพ้ืนที่ซ่ึงมีกำรสลับช้ัน
กนั ระหวำ่ งชน้ั หินแข็งและอ่อน
ก. แบบก่ิงไม้ (dendritic) ข. แบบสับสน (derange)
ค. แบบเถำองนุ่ (trellis) ง. ถกู ทกุ ข้อ
31. ข้อใดกล่ำวผิดเกี่ยวกับ ตะกอนธารนา้ (stream load)
ก. มีสีน้ำตำลจำกโคลนซ่ึงละลำย ข. ตะกอนบำงชนิดสำมำรถละลำย
มำกกบั ธำรนำ้ ไปตำมธำรนำ้
ค. ตะกอนขนำดใหญ่ถูกพัดพำโดย ง. ต ะก อน ขน ำด เล็ ก ส ำม ำรถ
กำรลำกตำมทอ้ งน้ำ (traction) แขวนลอยไปตำมธำรน้ำได้
32. พื้นท่ีใดมโี อกำสพบกระบวนกำร headwater erosion
ก. ปำกแม่นำ้ ข. ต้นน้ำ
ค. หนำ้ ตัดขำ้ งตำมธำรน้ำ ง. ไม่มขี อ้ ใดถกู
33. tributary คืออะไร
ก. ธำรนำ้ ทใ่ี ห้นำ้ กบั แมน่ ำ้ สำยอืน่ ข. แม่น้ำทแี่ หง้ แล้ว
ค. ทะเลสำบที่ใหน้ ้ำกับแมน่ ำ้ ง. พ้ืนท่ีรบั น้ำของระบบแม่น้ำ
41
สันติ ภัยหลบล้ี นำ้ ผวิ ดนิ
34. คนั ดินธรรมชาติ (natural levee) เกิดขน้ึ ได้อยำ่ งไร
ก. นำ้ ท่วมตลิ่ง ทำให้ตะกอนตกทับ ข. น้ำกัดกร่อนร่องน้ำทำให้มีขอบ
ถมทข่ี อบตลิ่ง สูงกว่ำดำ้ นขำ้ ง
ค. หนิ ผุพังและหลงเหลือกลำยเป็น ง. ธำรน้ำสำขำไหลขนำนกับธำร
คนั ดิน น้ำหลกั และสะสมตะกอน
35. ข้อใดคือ ควำมชันของธำรน้ำ (gradient) ที่ลดลง 10 เมตร ในช่วงระยะทำง
แนวรำบ 10 กโิ ลเมตร
ก. 2.5 เมตร/กโิ ลเมตร ข. 10 เมตร/กิโลเมตร
ค. 1 เมตร/กโิ ลเมตร ง. 20 เมตร/กโิ ลเมตร
36. กอ้ นกรวดขนำดใหญ่ (cobble) สำมำรถถกู พัดพำไปตำมธำรน้ำอย่ำงไร
ก. ตะกอนแขวนลอย ข. ตะกอนละลำย
(suspended load) (dissolved load)
ค. ตะกอนพื้นผิว (surface load) ง. ไม่มขี อ้ ใดถูก
37. ข้อใด ไมใ่ ช่ รปู แบบธำรน้ำ (drainage pattern)
ก. orbital ข. longitudinal
ค. braided ง. ถูกทกุ ขอ้
38. มวลของตะกอนท่ีสะสมอยูบ่ ริเวณปำกแม่นำ้ เรยี กวำ่ อะไร
ก. ลมิ่ ตะกอน (wedge) ข. เนนิ ตะกอนรูปพัด (alluvial fan)
ค. ดนิ ดอนสำมเหลี่ยม (delta) ง. ไมม่ ีขอ้ ใดถูก
39. เวลำโดยเฉล่ยี ของกำรเกดิ น้ำทว่ มในแตล่ ะระดบั ควำมรนุ แรงเรยี กวำ่ อะไร
ก. flood incidence ข. flood stage
ค. flood frequency ง. ไมม่ ีขอ้ ใดถูก
42
สนั ติ ภยั หลบล้ี นำ้ ผิวดนิ
40. ข้อใดคือวิธีกำรปอ้ งกนั ภัยพิบตั ินำ้ ท่วมทีม่ ีประสทิ ธิภำพ
ก. สรำ้ งคันดนิ ไปตำมแนวธำรนำ้ ข. สร้ำงเขื่อนตำมธำรน้ำ
ค. ยำ้ ยชมุ ชนจำกพนื้ ทีน่ ้ำท่วมถึง ง. ถูกทกุ ข้อ
41. นอกจำกโลก ดำวเครำะห์ดวงใดที่นักวิทยำศำสตร์พบหลักฐำนของกำรกัด
กร่อนโดยธำรน้ำ
ก. ดำวองั คำร (Mars) ข. ดำวศุกร์ (Venus)
ค. ดำวพฤหัสบดี (Jupiter) ง. ดำวพุธ (Mercury)
42. กำรลดระดบั ในแนวด่งิ ตำมธำรนำ้ เรียกว่ำอะไร
ก. อตั รำนำ้ ไหลในธำรน้ำ ข. รปู แบบธำรน้ำ
(discharge) (drainage pattern)
ค. ระดับนำ้ อำ้ งองิ (base level) ง. ควำมชันของธำรนำ้ (gradient)
43. ขอ้ ใดคอื ตะกอนท่ีเคล่อื นทโี่ ดยกำรกระโดดเป็นชว่ ง กล้งิ
ก. suspended load ข. solution load
ค. bed load ง. ไมม่ ขี ้อใดถกู
44. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ ปจั จยั ทส่ี ่งผลโดยตรงต่อรปู ร่ำงของดนิ ดอนสำมเหลยี่ มปำกแมน่ ้ำ
ก. ควำมรุนแรงของคล่ืนชำยฝง่ั ข. ปริมำณตะกอนทม่ี ำกับแม่นำ้
ค. ควำมกวำ้ งของบ่ำทวปี ง. ควำมรนุ แรงของนำ้ ขึน้ -นำ้ ลง
45. ขอ้ ใดคอื สำเหตุทำใหแ้ มน่ ำ้ บำงสำยไม่มีกำรพฒั นำอยำ่ งตอ่ เนื่องจำกอ่อนไปแก่
ก. ไห ล ผ่ ำ น หิ น ที่ มี ค ว ำ ม แ ข็ ง ข. ภู มิ อ ำ ก ำ ศ ไม่ ค งท่ี ใน แ อ่ ง
แตกต่ำงกนั ตะกอนขนำดใหญ่
ค. ระดบั น้ำทะเลเปล่ียนแปลง ง. ถกู ทกุ ข้อ
43
สันติ ภยั หลบลี้ นำ้ ผิวดนิ
46. ขอ้ ใดคือกระบวนกำรที่ธำรนำ้ เกดิ กำรเบีย่ งเบนขำ้ มไปยังระบบธำรน้ำขำ้ งเคยี ง
ก. stream larceny ข. stream piracy
ค. stream theft ง. ไม่มีข้อใดถกู
47. ทรำยทีส่ ะสมตัวอยโู่ คง้ ในของธำรน้ำเรยี กว่ำอะไร
ก. point bar ข. quick sand
ค. meandering bar ง. sand bar
48. ข้อใดคือตะกอนที่ตกสะสมบริเวณขอบของธำรนำ้ ในช่วงน้ำท่วม
ก. ดนิ ดอนสำมเหลี่ยมปำกแม่นำ้ ข. เนนิ ตะกอนรปู พัด
ค. คันดนิ ธรรมชำติ ง. เนินทรำยริมตลิ่ง
49. หำกแมน่ ้ำไหลลงทะเลสำบที่มีน้ำน่งิ ตะกอนจะสะสมตัวในรปู แบบใด
ก. ดนิ ดอนสำมเหลย่ี มปำกแม่นำ้ ข. เนินตะกอนรปู พดั
ค. คนั ดนิ ธรรมชำติ ง. เนนิ ทรำยริมตลงิ่
50. ตัวแปรใดท่ลี ดลงเม่อื พจิ ำรณำใกล้ ปลายนา้ (downstream)
ก. ควำมกวำ้ งของร่องน้ำ ข. ควำมชนั ของธำรน้ำ
ค. ควำมลึกของร่องนำ้ ง. ควำมเร็วของน้ำในธำรน้ำ
51. ตะพกั ธารนา้ (terrace) คอื ผลจำกกำรกดั กร่อนพ้นื ท่ีใด
ก. ท่ีรำบนำ้ ทว่ มถงึ (flood plain) ข. แม่นำ้
ค. เนนิ ตะกอนรูปพัด ง. ไม่มขี อ้ ใดถกู
52. ตะกอนขนำดใดที่สำมำรถพัดพำในแม่น้ำในรูปแบบ ตะกอนแขวนลอย
(suspended load)
ก. ดิน (clay) ข. ทรำย (sand)
ค. กรวด (gravel) ง. ถกู ทกุ ข้อ
44
สันติ ภัยหลบลี้ น้ำผวิ ดนิ
53. สภำพแวดลอ้ มแบบใดมีโอกำสเกดิ การไหลแบบป่ันปว่ น (turbulent flow)
ก. ไหลช้ำในรอ่ งน้ำตน้ื ข. ไหลเร็วในร่องน้ำลกึ
ค. ไหลเรว็ ในร่องน้ำตืน้ ง. ไหลชำ้ ในรอ่ งนำ้ ลึก
54. ขอ้ ใดคือปจั จัยในกำรกดั กรอ่ น (erosion) ทโ่ี ดดเด่นและสำคญั ที่สุด
ก. ธำรนำ้ (stream) ข. ธำรนำ้ แข็ง (glacier)
ค. ลม (wind) ง. คลน่ื (wave)
55. สนั ปันน้า (drainage divide) ใชแ้ บ่งอะไร
ก. แบง่ ล่มุ นำ้ (watershed) ข. แบ่งท่ีรำบนำ้ ท่วมถงึ (flood plain)
ค. แบ่งพน้ื ทวีป (continent) ง. แบ่งลำดบั ธำรนำ้ (stream order)
56. ขอ้ ใดคอื ภูมิประเทศคลำ้ ยกรวยทเี่ กดิ จำกตะกอนตกทับถมกันอยหู่ นำ้ รอ่ งเขำ
ก. alluvial fan ข. braided stream
ค. meandering stream ง. ถูกทกุ ขอ้
57. เนนิ ทรำยริมตลิ่งสะสมตัวในพนื้ ท่ีใดตำมธำรนำ้
ก. โคง้ ในของธำรนำ้ โคง้ ตวัด ข. โคง้ นอกของธำรน้ำโค้งตวัด
ค. กลำงทอ้ งนำ้ ง. บริเวณท่มี กี ระแสคล่ืนปั่นปวั่ น
58. ขอ้ ใดคอื พืน้ ทร่ี บั นำ้ จำกระบบแมน่ ้ำตำ่ งๆ
ก. water table ข. flood plain
ค. watershed ง. bedrock
59. รปู แบบธำรนำ้ แบบใดท่สี ำมำรถพบไดบ้ ริเวณภเู ขำไฟ
ก. แบบก่งิ ไม้ (dendritic) ข. แบบตัง้ ฉำก (rectangular)
ค. แบบรัศมี (radial) ง. ไมม่ ีข้อใดถูก
45
สนั ติ ภยั หลบล้ี นำ้ ผวิ ดนิ
60. หำกระดับน้ำทะเลเพ่ิมสูงขึ้นควำมชันของ หน้าตัดข้างตามธารน้า
(longitudinal profile) ของแมน่ ้ำในพ้นื ที่จะเปน็ อย่ำงไร
ก. เพิ่มขึ้น ข. ลดลง
ค. ช่วงแรกเพิ่มขึ้นหลังจำกนั้นจึง ง. ช่วงแรกลดลงหลังจำกนั้นจึง
ลดลง เพ่มิ ขึ้น
61. ข้อใดคือปริมำตรของนำ้ ทไี่ หลผำ่ นจดุ ใดๆ ตอ่ หน่วยเวลำ
ก. ควำมสำมำรถในกำรไหล ข. อตั รำนำ้ ไหลในธำรนำ้
(competence) (discharge)
ค. ควำมหนดื (viscosity) ง. ควำมจุ (capacity)
62. กำรไหลของน้ำรูปแบบใดที่สำมำรถพัดพำกรวด (gravel) ขนำดตำ่ งๆ ได้
ก. กำรไหลแบบรำบเรยี บ ข. กำรไหลแบบปนั่ ป่วน
ค. ขอ้ ก. และ ข. ถกู ง. ไมม่ ขี ้อใดถูก
63. ตะกอนซ่งึ เคลอื่ นที่โดยกำรหมุนกล้ิงและเลือ่ นไถลไปตำมธำรน้ำเรยี กวำ่ อะไร
ก. ตะกอนละลำย ข. ตะกอนแขวนลอย
(dissolved load) (suspended load)
ค. ตะกอนท้องน้ำ (bed load) ง. ไมม่ ีข้อใดถกู
64. ในสภำวะปกติ หน้าตัดข้างตามธารน้า (longitudinal profile) ของแม่น้ำ
จะเป็นอยำ่ งไร
ก. เส้นตรงตำมแนวนอน ข. เส้นตรงเฉียงลงจำกต้นน้ำสู่
ปลำยนำ้
ค. เส้นโค้งควำมชันลดลงไป ง. เส้นโค้งควำมชันเพิ่มขึ้นไปทำง
ทำงปลำยนำ้ ปลำยน้ำ
46
สันติ ภยั หลบลี้ นำ้ ผวิ ดิน
65. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ รูปแบบกำรไหลของแมน่ ำ้
ก. ไหลแบบฟนั เล่อื ย (serrated) ข. ไหลแบบตรง (straight)
ค. ไหลแบบประสำนสำย ง. ไหลแบบโคง้ ตวดั
(braided) (meandering)
66. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ ตวั แปรท่ีอธบิ ำยกำรโค้งตวดั (meandering) ของธำรนำ้
ก. ควำมหลำกหลำยของธำรน้ำ ข. ควำมยำวคลน่ื
ค. ควำมกว้ำง ง. รัศมีและควำมโค้ง
67. ตะกอนขนำด กรวด (gravel) ถูกพดั พำในแมน่ ำ้ ในรปู แบบใด
ก. ตะกอนแขวนลอย ข. ตะกอนละลำย
(suspended load) (dissolved load)
ค. ตะกอนทอ้ งนำ้ (bed load) ง. ถกู ทกุ ขอ้
68. รปู แบบธำรน้ำแบบใดทมี่ ีโอกำสพบไดใ้ นบรเิ วณท่ธี ำรน้ำไหลผ่ำนชน้ั หนิ ท่ีมรี อย
แตกควบคมุ ทิศทำงกำรไหลของธำรน้ำ
ก. แบบกง่ิ ไม้ (dendritic) ข. แบบตง้ั ฉำก (rectangular)
ค. แบบรัศมี (radial) ง. ไมม่ ขี อ้ ใดถกู
69. กำรพัดพำตะกอนทรำยด้วยแม่น้ำและทำให้ทรำยลอยเป็นระยะๆ ไปตำมท้อง
นำ้ เรียกวำ่ อะไร
ก. saltation ข. meandering
ค. suspension ง. rolling
70. ข้อใดคือกจิ กรรมโดยตรงของ น้าท่า (runoff)
ก. bed load ข. base level
ค. saltation ง. hydraulic action
47
สนั ติ ภัยหลบลี้ นำ้ ผิวดนิ
เฉลยแบบฝกึ หดั
1) แบบฝกึ หดั จับคู่ 3. ช 4. ญ 5. ง
1. ซ 2. ฌ 8. ฉ 9. จ 10. ค
6. ข 7. ก
3. F 4. T 5. F
2) แบบฝกึ หดั ถกู -ผิด 8. T 9. T 10. T
13. F 14. F 15. T
1. F 2. F 18. T 19. T 20. T
6. F 7. T 3. ง 4. ก 5. ง
8. ง 9. ข 10. ก
11. T 12. T 13. ก 14. ก 15. ค
18. ง 19. ง 20. ข
16. T 17. F 23. ง 24. ก 25. ง
28. ง 29. ง 30. ค
3) แบบฝกึ หัดปรนัย 33. ก 34. ก 35. ค
38. ค 39. ค 40. ง
1. ก 2. ข
48
6. ก 7. ข
11. ง 12. ค
16. ง 17. ง
21. ง 22. ก
26. ง 27. ก
31. ก 32. ข
36. ง 37. ง
สันติ ภยั หลบลี้ นำ้ ผวิ ดนิ
41. ก 42. ง 43. ค 44. ค 45. ค
46. ข 47. ก 48. ค 49. ก 50. ข
51. ก 52. ก 53. ข 54. ก 55. ก
56. ก 57. ก 58. ค 59. ค 60. ข
61. ข 62. ข 63. ค 64. ค 65. ก
66. ก 67. ค 68. ข 69. ก 70. ง
49