The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aeffeesocial, 2021-06-22 06:44:47

แร่ประกอบหิน Rock-forming Mineral

Chapter 2 Rock-forming Mineral - mitrearth

สรปุ เน้ือหา . แบบฝกึ หัด

วิทยาศาสตรโ์ ลก

2

แร่ประกอบหนิ

ROCK-FORMING MINERAL

สันติ ภัยหลบลี้

สันติ ภยั หลบลี้ แรป่ ระกอบหนิ

วตั ถุประสงค์การเรยี นรู้
1. เพอื่ จำแนกแร่ประกอบหนิ ทส่ี ำคัญของโลก
2. เพ่อื ทรำบคณุ สมบตั ทิ ำงกำยภำพของแรป่ ระกอบหินในแต่ละชนิด
3. เพ่อื เขำ้ ใจวฏั จักรกำรเกดิ หินชนดิ ต่ำงๆ ในเบื้องตน้

สารบญั หนา้
1
สำรบัญ 2
1. แร่ (Mineral) 4
2. หมวดแร่ซลิ ิเกต (Silicate Class) 10
3. หมวดแร่ไมใ่ ชซ่ ิลเิ กต (Non-Silicate Class) 13
4. คณุ สมบตั ิทำงกำยภำพ (Physical Property) 26
5. หนิ (Rock) 29
42
แบบฝึกหดั
เฉลยแบบฝึกหดั

1

สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหนิ

1

แร่

Mineral

แร่ (mineral) หมำยถึง ธำตุ หรือ สำรประกอบ ของแข็งท่ีเกิดขึ้นเอง
ตำมธรรมชำติ มีโครงสร้ำงผลึกคงที่ มีสูตรเคมีแน่นอน และมีคุณสมบัติทั้งทำง
กำยภำพและเคมีท่ีเฉพำะตัว เช่น แร่ทองคำ แร่ควอตซ์ เป็นต้น นักวิทยำศำสตร์
จำแนกแร่ตำมมลู คำ่ ออกเป็น 2 กลมุ่ คอื

1. แร่เศรษฐกิจ (economic mineral) หมำยถึง แร่ท่ีมีมูลค่ำทำง
เศรษฐกิจ หรือใช้ประโยชน์ในทำงอุตสำหกรรมได้ เช่น แร่โลหะ อโลหะ เช้ือเพลิง
และแรร่ ัตนชำติ เป็นตน้

2. แร่ประกอบหิน (rock forming mineral) หมำยถึง แร่ท่ีไม่ได้มี
มูลค่ำมำกนัก แต่เป็นองค์ประกอบสำคัญของหิน เช่น แร่ควอตซ์ เฟลด์สปำร์ โอลิ

2

สนั ติ ภยั หลบลี้ แร่ประกอบหิน

วีน และแร่แคลไซต์ เป็นต้น ซึ่งโดยส่วนใหญ่เกิดจำกกำรรวมตัวกันตำมสัดส่วน
ต่ำงๆ ของธำตุหลักท่ีมีมำกในแผ่นเปลือกโลกจำนวน 8 ธำตุ ได้แก่ ธำตุออกซิเจน
ซิลิกอน อะลูมิเนียม เหล็ก แคลเซียม โพแทสเซียม โซเดียมและธำตุแมกนีเซียม
เป็นตน้ (รปู 1)

รปู 1. ธำตทุ ่ีมีมำกในแผ่นเปลอื กโลก

ปัจจุบันนักวิทยำศำสตร์ค้นพบแร่ท่ีมีอยู่ในโลกแล้วจำนวน 3,000-4,000
ชนิด แต่มีเพียง 20-40 ชนิด เท่ำน้ัน ที่เป็นแร่ประกอบหิน อย่ำงไรก็ตำม ปริมำณ
ของแร่ประกอบหินทั้งหมดคิดเป็นสัดส่วนประมำณ 95% ขององค์ประกอบแผ่น
เปลือกโลก ซ่ึงนักวิทยำศำสตร์จำแนกแร่ประกอบหินออกเป็น 2 หมวดแร่
(mineral class) คือ หมวดแร่ซิลิเกต (silicate class) และ หมวดแร่ไม่ใช่ซิลิ
เกต (non-silicate class)

3

สันติ ภยั หลบล้ี แร่ประกอบหิน

2

หมวดแรซ่ ิลเิ กต

Silicate Class

หมวดแร่ซิลิเกต (silicate class) คือ หมวดแร่ที่มี แร่ซิลิกา (SiO4)
เป็นองค์ประกอบหลัก ซ่ึงถือเป็นหมวดแร่ประกอบหินที่มีควำมสำคัญ เน่ืองจำก
ประมำณ 95% ของแร่ท่ีมีอยู่ในโลกเป็นแร่ซิลิกำ โดยแร่ซิลิกำเกิดจำกธำตุซิลิกอน
จำนวน 1 ตัว และธำตอุ อกซเิ จนจำนวน 4 ตวั รวมตัวกันในรูปแบบสำมเหลี่ยมของ
ซิลิกอนแอนไอออน ที่มีประจุรวมของในแต่ละสำมเหลี่ยมเป็น -4 (รูป 2) ซ่ึง
สำมเหล่ียมของซิลิกอนแอนไอออน จะเป็นพ้ืนฐำนในกำรเช่ือมต่อกับธำตุไอออน
อื่นๆ เช่น เหล็ก แมกนีเซียม โปแตสเซียม เป็นต้น เพื่อก่อตัวเป็นแร่ซิลิกำท่ีมี
ลกั ษณะเฉพำะแตกต่ำงกันไป โดยนักวทิ ยำศำสตร์จำแนกหมวดแรซ่ ิลิเกตออกเป็น
6 กลมุ่ แร่ (group) ตำมรปู แบบกำรเรยี งตัวของแรซ่ ิลกิ ำ (รูป 3)

4

สนั ติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหนิ

รูป 2. กำรจบั ตวั กนั ของธำตซุ ิลกิ อนและออกซเิ จนเปน็ แร่ซลิ กิ ำ [Khattak O.]

รูป 3. รูปแบบกำรจับตัวกันของแรซ่ ิลกิ ำ
5

สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหิน

1) กลุ่มแร่โอลิวีน (olivine group) เกิดจำกแร่ซิลิกำจับตัวกันแบบ ปิ
รามิดฐานสามเหล่ียมโดด (isolated tetrahedral) (รูป 3) มีแร่โดดเด่น 2 ชนิด
คือ 1) แรโ่ อลิวีน (olivine) (รูป 4ก) มีสีเขยี วมะกอก ซึ่งเป็นแร่องค์ประกอบสำคัญ
ของแผ่นเปลือกโลกมหำสมุทร (oceanic crust) และเน้ือโลกตอนบน (upper
mantle) และ 2) แร่กำร์เนต (garnet) (รูป 4ข) มีสีแดงเลือดหมู เป็นแร่
องคป์ ระกอบสำคญั ของแผ่นเปลือกโลกทวปี (continental crust)

รูป 4. แรโ่ อลวิ ีนและแร่กำรเ์ นต

2) กลุ่มแร่ไพรอคซีนและแอมฟิโบล (pyroxene and amphibole
group) เกิดจำกแรซ่ ิลิกำจับตัวกนั แบบ สายโซ่ (chain) มีแร่โดดเด่น 2 ชนิด คือ
1) แร่ไพรอคซีน (pyroxene) (รูป 5) เป็นแร่ซิลิกำแบบ สายโซ่เด่ียว (single
chain) (รูป 3) เป็นแร่องค์ประกอบสำคัญของแผ่นเปลือกโลกมหำสมุทรและเนื้อ
โลก และ 2) แร่แอมฟิโบล (amphibole) (รูป 5) เป็นแร่ซิลิกำแบบ สายโซ่คู่
(double chain) (รปู 3)

6

สันติ ภยั หลบลี้ แร่ประกอบหนิ

รูป 5. แร่ไพรอคซีนและแร่แอมฟิโบล

3) กลุ่มแร่ไมกา (mica group) เกิดจำกแร่ซิลิกำจับตัวกันแบบ แผ่น
(sheet) (รูป 3) มีแร่โดดเด่น 3 ชนิด คือ 1) แร่ดิน (clay mineral) 2) แร่มัสโค
ไวต์ หรือ แร่กลีบหินขำว (muscovite) และแร่ไบโอไทต์ หรือ แร่กลีบหินดำ
(biotite) (รปู 6) และ 3) แร่คลอไรต์ (chlorite) ซึ่งโดยส่วนใหญ่มีสีเขียว บำงครั้ง
เรยี กวำ่ แร่กลีบหินเขยี ว

4) กลุ่มแร่ควอตซ์ (quartz group) เกิดจำกแร่ซิลิกำเพียงอย่ำงเดียว
จับตัวกันแบบ โครงข่าย (framework) (รูป 3) แร่จัดโครงสร้ำงผลึกโดยกำรจับ
ต่อของปิรำมิดฐำนสำมเหล่ียมด้วยกันเอง โดยออกซเิ จนในทุกปิรำมดิ ใชร้ ่วมกับปริ ำ
มดิ ขำ้ งเคียง แรค่ วอตซเ์ ปน็ แรท่ ่พี บมำกท่ีสดุ ของแผน่ เปลอื กโลกทวปี (รปู 7ก)

5) กลุ่มแร่เฟลด์สปาร์ (feldspar group) (รูป 7ข) ลักษณะโครงสร้ำง
ผลึกคลำ้ ยกับแร่ควอตซ์ พบมำกท่ีสุดในแผ่นเปลือกโลกมหำสมุทร แบ่งยอ่ ยเป็น 3
ชนิด คือ 1) เฟลด์สปำร์ชนิดโปแตสเซียม (potassium feldspar, KALSi3O8) 2)
เฟลด์สปำร์ชนิดโซเดียม (sodium feldspar, NaAlSi3O8) หรือเรียกว่ำ แร่อัลไบต์

7

สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหนิ

(albite) และ 3) เฟลด์สปำร์ชนิดแคลเซียม (calcium feldspar, CaAl2Si2O8)
หรือเรียกว่ำ แร่อะนอร์ไทต์ (anorthite) สำหรับแร่เฟลด์สปำร์ชนิดโปแตชเซียมมี
แร่โด ดเด่ น 3 แ ร่ ได้ แก่ แร่ออร์โท เค ลส (orthoclase) แร่ไม โค รไค ล น์
(microcline) และแร่ซำนิดีน (sarnidine) ถึงแม้ว่ำมีสูตรเคมีที่เหมือนกันแต่แร่
ดังกลำ่ วมรี ะบบผลึกทแี่ ตกตำ่ งกัน

6) กลุม่ แร่ทัวร์มาลีน (tourmaline group) เกิดจำกแร่ซิลิกำจับตัวกัน
แบบ วงแหวน (ring) มีแรโ่ ดดเด่น คอื แรท่ วั ร์มำลีน (tourmaline) (รปู 7ค)

รูป 6. แรม่ ัสโคไวต์และไบโอไทต์
8

สนั ติ ภัยหลบลี้ แรป่ ระกอบหนิ

รปู 7. แร่โดดเดน่ ในกล่มุ แรค่ วอตซ์ เฟลด์สปำรแ์ ละทวั รม์ ำลนี

9

สนั ติ ภัยหลบล้ี แรป่ ระกอบหิน

3

หมวดแรไ่ มไ่ ช่ซลิ ิเกต

Non-Silicate Class

นอกจำกหมวดแร่ซิลิเกต ซึ่งถือเป็นหมวดแร่ประกอบหินที่สำคัญ หินที่
พบในเปลือกโลกยังประกอบด้วย หมวดแร่ไม่ใช่ซิลิเกต (non-silicate class)
จำนวนมำก ซึ่งด้วยปริมำณที่มีมำกพอสมควร นักวิทยำศำสตร์จึงสำมำรถจำแนก
หมวดแร่ไมใ่ ชซ่ ิลิเกตออกเป็น 6 กลุ่มแร่ ไดแ้ ก่ (รูป 8)

1) กลุ่มแร่คาร์บอเนต (carbonate group) (รูป 8ก) ประกอบด้วยแร่
คัลไซด์ (calcite, CaCO3) และแรโ่ ดโลไมต์ (dolomite, CaMg (CO3)2)

2) กลุ่มแร่เฮไลด์ (halide group) ได้แก่ แร่เฮไลด์ (NaCl) หรือเกลือ
แกลง (รปู 8ข) และแร่ฟลูออไรท์ (CaF2) (รปู 8ค)

10

สันติ ภยั หลบล้ี แรป่ ระกอบหิน

รปู 8. หมวดแร่ไมใ่ ชซ่ ิลิเกต

3) กลุ่มแร่ออกไซด์ (oxide group) แร่ที่สำคัญในกลุ่มแร่น้ี คือ แร่
ฮีมำไทต์ (hematite, Fe2O3) หรือแร่เหล็กแดง และแร่แมกนีไทต์ (magnetite,
Fe3O4) หรอื เหล็กดำ รวมทั้งแร่อ่นื ๆ อกี บำงส่วน เช่น แรร่ ไู ทล์ (Rutile, TiO2) (รูป
8ง-ฉ) ซ่ึงกลุ่มแรอ่ อกไซดถ์ ือเปน็ กลมุ่ แรท่ ี่มคี วำมสำคัญทำงเศรษฐกจิ เนอื่ งจำกเป็น
สินแร่ที่เปน็ แหล่งกำเนดิ ของเหลก็ โครเมียม แมงกำนสี ดบี ุก ทงั สเตน เป็นตน้

11

สนั ติ ภัยหลบล้ี แรป่ ระกอบหิน

4) กลุ่มแร่ซัลไฟด์ (sulfide) แร่ซัลไฟด์ท่ีสำคัญคือ แร่ไพไรต์ (pyrite,
FeS2) (รูป 8ช) แรก่ ำลีนำ (galena, PbS) ซึ่งเปน็ ซัลไฟด์ของตะกั่ว แรส่ ฟำเลอไรท์
(sphalerite, ZnS) ซึ่ ง เป็ น ซั ล ไฟ ด์ ข อ ง สั ง ก ะ สี แ ล ะ แ ร่ ช ำ ล โค ไพ ไร ต์
(chalcopyrite, CuFeS2) ซ่ึงเป็นซัลไฟด์ของทองแดง ดังนั้นกลุ่มแร่ซัลไฟด์จึงเป็น
สนิ แรท่ เี่ ปน็ แหล่งกำเนดิ ของตะก่ัว สงั กะสีและทองแดง เปน็ ตน้

แรไ่ พไรต์ (pyrite) มีฉายาวา่ ทองคนโง่ (fool's gold)
เน่อื งจากมีสคี ลา้ ยกบั ทองคา

5) กลุ่มแร่ซัลเฟต (sulfate group) ในธรรมชำติมีเพียง 2 ชนิด ท่ี
สำคัญ ได้แก่ แร่แอนไฮไดรต์ (anhydrite, CaSO4) และแร่ยิปซ่ัม (gypsum,
CaSO42H2O) (รูป 8ซ) ซึ่งกลุ่มแร่ซัลเฟตเกิดจำกกำรระเหยของน้ำทะเลหรือ
ทะเลสำบทีอ่ ่ิมตวั ดว้ ยสำรละลำยเหล่ำนี้

6) กลุ่มแร่ฟอสเฟต (phosphate) แร่ฟอสเฟตสำคัญท่ีพบในธรรมชำติ
คอื แรอ่ พำไทต์ (apatite, Ca5(PO4)3(F,OH,Cl)) (รูป 8ฌ) ซ่ึงเป็นแหล่งแร่ที่ให้ธำตุ
ทีเ่ ป็นส่วนประกอบสำคัญในปยุ๋

7) กลมุ่ ธาตุธรรมชาติ (native element) เช่น เพชร ทองคำ ทองแดง
เป็นต้น

12

สันติ ภัยหลบล้ี แรป่ ระกอบหิน

4

คณุ สมบตั ิทางกายภาพ

Physical Property

ปัจจุบันนักวิทยำศำสตร์นิยมใช้คุณสมบัติทำงกำยภำพเป็นตัวบ่งช้ีควำม
เฉพำะของแรใ่ นแตล่ ะชนดิ และใชจ้ ำแนกแร่ ซึ่งมีหลำกหลำยคณุ สมบตั ิ ดังนี้

1) สี (color) เป็ นคุณ สมบัติท่ี เกิดจำกปฏิ กิริยำของแสงต่อ 1)
องค์ประกอบทำงเคมี 2) มลทินภำยในแร่ 3) กำรจัดเรียงอะตอม และ 4) ควำม
ผิดปกติของโครงสร้ำงภำยในแร่ โดยแร่ในแต่ละชนิดจะมีสีเฉพำะตัว แต่แร่บำง
ชนิดสำมำรถเกิดข้ึนได้หลำยสี เช่น แร่ควอตซ์ปกติใสไม่มีสี แต่อำจเกิดสีต่ำงๆ ได้
เนื่องจำกมีมลทินเจือปน (รูป 9ก) ดังนั้นสีจึงเป็นคุณสมบัติท่ีใช้จำแนกแร่ใน
เบื้องต้นเท่ำนั้น และหำกจำเป็นต้องจำแนกแร่จำกสีของแร่ จึงควรพิจำรณำอย่ำง
ระมัดระวัง

13

สันติ ภยั หลบลี้ แร่ประกอบหิน

2) สีผง (streak) คือ สีท่ีเกิดจำกกำรขูดขีดแร่บนแผ่นกระเบื้องหรือ
แผ่นสีผง (streak plate) (รูป 9ข) ซึ่งทำให้มีสีติดกับแผ่นสีผง ซึ่งอำจไม่
เหมอื นกับสีแร่เดิม เชน่ แรฮ่ ีมำไทต์ซง่ึ มีสีแดงเม่ือขดู กับแผ่นสีผงจะมีสีนำ้ ตำลแดง

รูป 9. (ก) แรค่ วอทซ์หลำกหลำยสี (ข) สีผงของแร่ชำลโคไพไรต์ [Miller M.]

3) ความแข็ง (hardness) หมำยถึง ควำมทนทำนของแร่ต่อกำรถูกขูด
ขีด กำรตรวจวัดควำมแข็งอ้ำงอิงตำมระดับควำมแข็งของ มาตราโมส์ (Mohs’
scale) ดงั แสดงในตำรำง 1

4) ความถ่วงจาเพาะ (specific gravity) หมำยถึง อัตรำส่วนระหว่ำง
น้ำหนักของสำรต่อน้ำหนักของนำ้ บริสุทธทิ์ ่ีมีปริมำตรเทำ่ กัน ควำมถ่วงจำเพำะเป็น
คณุ สมบัตปิ ระจำของแร่ซึง่ ข้ึนอยู่กับนำ้ หนกั อะตอมและกำรจดั ตัวของอะตอม แรท่ ่ี
มีควำมถ่วงจำเพำะสูงจะมีน้ำหนักมำก เช่น ทองคำ (ควำมถ่วงจำเพำะ = 19.3)
เงิน (ควำมถ่วงจำเพำะ = 10.5) สว่ นแร่ท่ีพบโดยทว่ั ไป เชน่ เฟลดส์ ปำร์และแร่แคล
ไซต์ มีควำมถว่ งจำเพำะอยู่ระหว่ำง 2.6-2.95 โดยมคี ่ำเฉล่ยี ประมำณ 2.7

14

สนั ติ ภัยหลบล้ี แร่ประกอบหนิ

ตาราง 1. ควำมแขง็ ของแรต่ ำมมำตรำโมส์ (Mohs’ scale)

ชนดิ แร่ ความแขง็ การตรวจสอบ

แร่ทัลก์ 1 ออ่ นล่นื มือ เลบ็ ขดู ขีดเปน็ รอยได้งำ่ ย

แรย่ ปิ ซั่ม 2 เล็บขูดขดี เป็นรอย แตผ่ ิวฝดื มอื

แร่แคลไซต์ 3 เหรียญสีแดงขดู ขีดเปน็ รอย

แรฟ่ ลอู อไรท์ 4 มดี หรือตะไบขูดขดี เป็นรอย

แร่อพำไทต์ 5 กระจกขูดขดี เปน็ รอย

แรอ่ อรโ์ ธเคลส 6 ขูดขีดกระจกจะเป็นรอยบนกระจก

แร่ควอตซ์ 7 ขดู ขีดกระจกจะเป็นรอยบนกระจกได้งำ่ ย

แรโ่ ทแปซ 8 ขูดขดี แรท่ ม่ี คี วำมแขง็ 1-7 เป็นรอย

แรค่ อรันดัม 9 ขดู ขีดแรท่ ม่ี คี วำมแข็ง 1-7 เป็นรอย

แร่เพชร 10 ขูดขีดแรท่ ่มี คี วำมแขง็ 1-7 เป็นรอย

แร่ท่ีมคี วามแข็งเท่ากนั อาจขดู ขดี และใหร้ อยซึ่งกันและกนั
แรท่ ี่เนื้อรว่ น ไม่ได้หมายความวา่ แรน่ นั้ อ่อน

แรช่ นดิ เดยี วกันอาจมคี วามแขง็ ในทศิ ทางตา่ งๆ ไมเ่ ท่ากัน

5) ความวาว (luster) หมำยถึง คุณสมบัติในกำรสะท้อนแสงของแร่ท้ัง
จำกบนพ้ืนผิวแรแ่ ละภำยในผลึกแร่ ควำมวำวมหี ลำยรูปแบบ (รปู 10) ได้แก่ [กรม
ทรพั ยำกรธรณี: www.dmr.go.th]

5.1) วาวแบ บ เพ ชร (adamantine) (รูป 10ก) เนื องจำกควำม
หนำแน่นของผลึกสูงมำก แสงจึงสำมำรถสะท้อนออกจำกผลึกได้อย่ำงมี

15

สนั ติ ภัยหลบลี้ แรป่ ระกอบหิน

ประสิทธิภำพ มีควำมโปร่งใสหรือโปร่งแสง โดยส่วนใหญ่เป็น แร่อัญมณี
(gemstone) เช่น เพชร แร่เซอรูสไซต์ (cerussite) และแร่เซอร์คอน (zircon)
เปน็ ต้น

5.2) วาวแบบด้าน (dull) (รูป 10ข) หรือไม่มีควำมวำว เกิดจำกแร่มี
คุณสมบัติหกั เหแสงออกไปทุกทศิ ทกุ ทำง เชน่ แรค่ ำโอลีไนต์

5.3) วาวแบบน้ามัน (greasy) มีควำมวำวคล้ำยจำระบี เช่น แร่โอปอล
(opal) (รปู 10ค) และแร่คอร์เดยี ไรต์ (cordierite)

5.4) วาวแบบโลหะ (metallic) (รูป 10ง) ผิวแรจ่ ะมันวำวเหมือนโลหะ
มกั เปน็ แร่ทมี่ กี ำมะถนั เป็นองค์ประกอบ เช่น แร่กำลีนำและแร่ไพไรต์

5.5) วาวแบบไข่มุก (pearly) (รูป 10จ) มีลกั ษณะโปรง่ ใสเล็กนอ้ ย เช่น
แร่มัสโคไวต์และแรส่ ตลิ ไบต์ (stilbite)

5.6) วาวคล้ายยางสน (resinous) (รปู 10ฉ) มีควำมวำวคล้ำยข้ีผง้ึ หรือ
เทียนไข เช่น แรอ่ ำพัน (amber)

5.7) วาวแบบใยไหม (silky) (รูป 10ช) แรม่ ีกำรเรียงตัวของเส้นใยขนำด
เล็กและมีลักษณะคล้ำยเส้นไหม เช่น แร่แอสเบสตอส (asbestos) หรือแร่ใยหิน
แรย่ ูลีไซต์ (ulexite) และแร่ซำตินสปำร์ (satin spar)

5.8) วาวแบบข้ีผ้ึง (waxy) (รูป 10ซ) เป็นควำมวำวคล้ำยกับข้ีผึ้ง เช่น
แร่หยก (jade) และแร่คำลซิโดนี (chalcedony)

5.9) วาวแบบแก้ว (vitreous) เป็นควำมวำวท่ีพบมำกในแร่ เกิดจำก
กำรหักเหหรือกำรสะท้อนแสงของแร่ที่มีดัชนีหักเหต่ำ เช่น แร่แคลไซต์ (calcite)
แร่ควอตซ์ (quartz) แร่โทแพซ (topaz) แร่ทัวร์มำลีน (tourmaline) และแร่
ฟลูออไรท์ (fluorite) เป็นต้น

16

สนั ติ ภยั หลบล้ี แรป่ ระกอบหนิ

รูป 10. ควำมวำวของแร่
17

สนั ติ ภัยหลบลี้ แรป่ ระกอบหนิ

6) รอยแตกเรียบ (cleavage) หมำยถึง รอยแยกของแร่ตำมแนวแตก
ของผลึกแร่ซึ่งจะสัมพันธ์กับโครงสร้ำงอะตอม โดยตัดขนำนกับระนำบกำรจับตัว
ของอะตอม (atomic plane) แนวแตกเป็นคุณสมบตั ทิ ส่ี ำคญั เน่อื งจำกแร่ในแต่ละ
ชนดิ จะมีลักษณะกำรแตกเฉพำะ ไดแ้ ก่ (รูป 11ก)

6.1) รอยแตกแนวเดียว แร่สำมำรถแตกและแยกออกเป็นแผ่นๆ ได้ง่ำย
เชน่ แร่ไมกำ (รปู 6ก-ข)

6.2) รอยแตก 2 แนว มี 2 แบบ คือ แนวรอยแตกต้ังฉำกกัน เช่น แร่
ออรโ์ ทเคลส และแนวรอยแตกไม่ตงั้ ฉำกกนั เชน่ แรแ่ อมฟโิ บล

6.3) รอยแตก 3 แนว มี 2 แบบ คือ แนวรอยแตกต้ังฉำกกัน ทำให้แร่
แตกเป็นลูกบำศก์ เช่น แร่กำลีนำ (รูป 10ง) และแนวรอยแตกไม่ตั้งฉำก ทำให้แร่
แตกเป็นสี่เหลี่ยมขนมเปยี กปูน เช่น แรแ่ คลไซต์

6.4) รอยแตก 4 แนว คือแนวรอยแตกท่ีคล้ำยกับรูปสำมเหล่ียมด้ำน
ประกบกันเปน็ รปู ออกตะฮีดรอน เชน่ แร่ฟลอู อไรท์

7) ความเหนียว (tenacity) คือ คุณสมบัติของแร่เน่ืองจำกแรงยึด
ระหว่ำงอะตอม ทำให้แร่มีควำมเหนียวแตกต่ำงกัน ได้แก่ 7.1) เปราะร่วน
(brittle) เช่น แร่ฟลูออไรท์และแร่ควอตซ์ 7.2) เหนียว (tough) เช่น แร่ใยหิน
(รูป 12ก) 7.3) ทุบหรือรีดเป็นแผ่นบางได้ (maleable) เช่น ทองคำ เงินและ
ทองแดง 7.4) มีดตัดออกได้ (sectile) เช่น แร่แกรไฟต์ ยิปซ่ัมและแร่ทัลก์ 7.5)
บิดโค้งงอได้โดยไม่กลับรูปเดิม (flexible) เช่น แร่ยิปซั่มและแร่ทัลก์ และ 7.6)
บดิ ใหโ้ ค้งงอไดโ้ ดยกลับรปู เดมิ ได้ (elastic) เชน่ แรไ่ มกำ

8) รอยแยก (fracture) คือ ลักษณะกำรแตกของแร่ซ่ึงไม่เป็นระนำบ
เรียบและไม่มีทิศทำงที่แน่นอนเหมือนกับรอยแตกเรียก โดยส่วนใหญ่เกิดโดยรอบ

18

สันติ ภยั หลบล้ี แรป่ ระกอบหิน

บริเวณท่ีมีควำมผิดปกติหรือมีมลทินในผลึกแร่ รูปแบบของรอยแยกที่พบบ่อยมี
หลำกหลำยแบบ เช่น 8.1) รอยแยกแบบโค้งเว้า (conchoidal) หรือรอยแยก
แบบฝำหอย เช่น รอยแยกในหินออปซิเดียน (รูป 12ข) ซ่ึงมีองค์ประกอบเป็นแร่
ควอตซ์ 8.2) รอยแยกแบบเสี้ยน (splintery) เช่น แร่ไครโซไทล์ (chrysotile)
และ 8.3) รอยแยกแบบแบบขรขุ ระ (uneven) เช่น แรแ่ มกนีไทต์ เปน็ ต้น

รูป 11. (ก) ชนิดของรอยแตกเรียบในแร่ [Rygel M.C.] (ข) รอยแตกเรียบของ แร่
แคลไซต์ [John J.St.]

19

สันติ ภยั หลบลี้ แร่ประกอบหนิ

รูป 12. ตัวอย่ำงคุณสมบัติทำงกำยภำพของแร่ (ก) ควำมเหนียว (tenacity) (ข)
รอยแยก (fracture)

9) ลักษณะผลึก (crystal habit) ผลึกแร่ในธรรมชำติมีท้ังผลึกขนำด
ใหญ่ที่สำมำรถมองเห็นชัดเจนด้วยตำเปล่ำ หรือมีขนำดเล็ก หรือขนำดเล็กมำกจน
ต้องดูด้วยกล้องจุลทัศน์ นอกจำกนี้ผลึกแร่ยังอำจเกิดซ้อนกันหรือรวมกันเป็นกลุ่ม
หรือในกรณีของแร่บำงชนิดอำจไม่แสดงหน้ำผลึกท่ีชัดเจน แต่ซ่อนควำมเป็นผลึก
หรอื คณุ สมบตั ิผลกึ ไวภ้ ำยในแร่ และนอกจำกน้นั ยงั แสดงลกั ษณะรูปร่ำงเฉพำะแบบ
(habit) ซึ่งนักวิทยำศำสตร์นำมำใช้ประโยชน์ในกำรจำแนกหรือศึกษำวิจัยแร่ด้วย
เช่นกัน โดยในกำรจำแนกแร่ นักวิทยำศำสตร์แบ่งย่อย ลักษณะผลึก (crystal
habit) ของแรด่ ังแสดงตวั อยำ่ งในตำรำง 2 และรูป 13

10) รูปผลึก (crystal form) เกิดจำกกำรจัดตัวอย่ำงเป็นระเบียบของ
โครงสร้ำงภำยในแร่ รูปผลึกประกอบด้วยหน้ำผลึกที่เป็นระนำบเรียบด้ำนต่ำงๆ
ประกอบกันขึ้นเป็นรูปทรงทำงเรขำคณิต แร่บำงชนิดอำจมีรูปผลึกเฉพำะตัวเพียง

20

สันติ ภยั หลบล้ี แร่ประกอบหนิ

รูปเดยี ว บำงชนดิ อำจมีรูปผลกึ ได้หลำยรูป นกั วิทยำศำสตร์จำแนกรูปผลกึ ออกเป็น
6 ระบบ ตำมกำรวำงตวั และควำมยำวของแกนผลกึ ดงั น้ี (รูป 14)

10.1) ระบบไอโซเมตริก (isometric system) มีแกน 3 แกน เท่ำกัน
และตดั กันทีก่ ่ึงกลำงเป็นมุมฉำก รูปผลกึ เหมือนลกู เตำ๋ เช่น แรก่ ำลนี ำ เปน็ ต้น

10.2) ระบบเตตระโกนอล (tetragonal system) มีแกน 3 แกน ตัด
ตั้งฉำกกันท่ีก่ึง กลำง 2 แกนยำวเท่ำกัน แกนท่ี 3 อำจจะยำวหรือสั้นกว่ำ รูปหน้ำ
ตดั ของแรเ่ ปน็ รปู ส่ีเหลี่ยมจตรุ สั เช่น แรด่ ีบุก เปน็ ต้น

ตาราง 2. ลกั ษณะผลกึ (crystal habit) ของแร่

ผลกึ คาอธิบาย ตัวอย่าง

1. ผลึกชดั มองเหน็ ผลกึ ชดั เจน แรค่ วอตซ์

(crystallised)

2. ผลึกไม่ชดั ผลึกไมช่ ัดเจน และไมส่ มบรู ณ์ แร่แคลไซต์

(crystalline)

3. เข็ม (acicular) เรียวยำวคล้ำยกับเข็มและ แรน่ ำโทรไลท์

เรยี งรวมกนั

4. ใบมดี (bladed) แผ่นแบนยำวแบบใบมีด แร่สติบไนต์

5. กง่ิ ไม้ (dendritic) เกดิ ตำมระนำบชน้ั หนิ แร่แมงกำนสี

6. รังตำข่ำย ผลึกแร่เกำะขัดกันไป-มำ ไม่ แร่รูไทล์

(recticulated) เป็นระเบยี บ

7. รัศมี (radiated) กระจำยออกจำกจุดกึ่งกลำง แรส่ ตปิ ไนต์

เป็นแบบรศั มี

21

สันติ ภยั หลบล้ี แรป่ ระกอบหิน

8. เม็ดถั่วเขยี ว เม็ดกลมขนำดเมด็ ถ่ัวเขียว แร่ไลโมไนท์
(pisolitic)
แท่งขนำดใหญ่กว่ำรูปเข็มและ แรฮ่ อร์นเบลนด์
9. รอยแตกรูปเสำ
(columnar joint) เรียงรวมกัน

10. เสน้ ใย (fibrous) เส้นใยอำจจะแข็งหรอื อ่อนนมุ่ แรใ่ ยหนิ
11. พวงองุ่น
กลมหรือกลมคร่ึงซีกเกิดเกำะ แรค่ ำลซโิ ดนี
(botryoidal)
12. ไต (reniform) รวมกนั
13. ฝำชี (mammillary)
14. แผ่นซอ้ นกนั มนเรยี บคล้ำยกบั ไต แร่ฮีมำไทต์

(foliated) มนโคง้ เต้ียครง่ึ ซีก แรฮ่ ีมำไทต์
15. แผ่นบำง
แผ่นหรือกำบบำงซ้อนกนั แร่ยปิ ซัม่
(micaceous)
16. แผน่ หนำ (tabular) แผ่นบำงมำกซ้อนกัน ลอก แรไ่ มกำ
หลดุ ออกได้ง่ำย
17. มวลเมลด็ (granular) แผ่นหนำยึดกันแน่น แยกออก แร่วลุ แฟรมไมต์
ไม่ได้
18. รูปหนิ งอก เม็ดเล็กเกำะกันแน่นแบบเม็ด แรแ่ มกเนไทต์
(stalactitic) นำ้ ตำล
เปน็ แท่งกรวยเคลอื บพอกซอ้ น แร่คำลซิโดนี
19. จีโอด (geode) ตอ่ กนั
ก้อนหินข้ำงในเป็นโพรง มีแร่ แร่ควอตซ์
ตกผลกึ ภำยใน

22

สนั ติ ภยั หลบล้ี แรป่ ระกอบหิน

รปู 13. ตวั อยำ่ งลกั ษณะผลกึ (crystal habit) ของแร่
23

สนั ติ ภยั หลบลี้ แรป่ ระกอบหิน

รปู 14. รูปผลึก (crystal form) ของแร่

10.3) ระบบออร์โธรอมบิก (orthorhombic system) มีแกน 3 แกน
ตัดตั้งฉำกท่ีก่ึงกลำงแต่ยำวไม่เท่ำกัน รูปหน้ำตัดของแร่เป็นรูปสี่เหล่ียมผืนผ้ำ เช่น
แรโ่ ทแปซและแร่กำมะถัน เปน็ ต้น

24

สนั ติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหนิ

10.4) ระบบโมโนคลีนิก (Monoclinic system) มีแกน 3 แกนยำวไม่
เทำ่ กนั เลย 2 แกนตดั ตัง้ ฉำกกัน ส่วนแกนท่ี 3 ตัดทำมุมกับ 2 แกนแรก เช่น แร่ยิป
ซม่ั และแรอ่ อรโ์ ทเคลส เป็นตน้

10.5) ระบบไตรคลีนิก (triclinic system) มีแกน 3 แกน ไม่เท่ำกัน
และตัดไม่ตง้ั ฉำกกนั เช่น แร่ไมโครคลำยน์และแร่เทอรค์ วอยซ์ เป็นตน้

10.6) ระบบเฮกซะโกนอล (hexagonal system) มีแกน 4 แกน 3
แกนอยู่ในแนวรำบ ยำวเท่ำกัน และตัดทำมุม 60 องศำ ซ่ึงกันและกัน แกนท่ี 4
ยำวหรอื ส้นั กว่ำและต้ังฉำกกับ 3 แกนแรก เชน่ แรค่ วอตซ์และแร่คอรนั ดมั เปน็ ตน้

11) คุณสมบัติอื่นๆ เช่น 11.1) ความเป็นแม่เหล็ก (magnetism) แร่บำง
ชนิดใช้แม่เหล็กดูดติด เช่น แร่ฮีมำไทต์และแร่แมกนีไทต์ 11.2) การเกิดฟอง
(effervescence) คือ คุณสมบัติของกลุ่มแร่คำรบ์ อเนต (carbonate group) ซึ่ง
จะเกิดฟองฟู่เมื่อถูกกรดไฮโดรคลอริก (hydrochloric) 11.3) การเรืองแสง
(fluorescence) แร่บำงชนิดอำจมีคุณสมบัติเรืองแสงเป็นสีต่ำงๆ เม่ือส่องด้วย
แสงอัลตรำไวโอเลต เช่น แร่ชีไลต์ 11.4) ความยืดหยุ่น (elasticity) 11.5)
รสชาติ (taste) เช่น แร่เฮไลด์มีรสเค็ม 11.6) กลิ่น (odor) เช่น แร่คำโอลีไนต์มี
กลิ่นเหมือนกับดิน 11.7) ความสามารถในการให้แสงผ่าน (diaphaneity) เช่น
โปร่งใส (transparent) สำมำรถมองผ่ำนทะลุก้อนแร่ได้อย่ำงชัดเจน โปร่งแสง
(translucent) แสงผ่ำนได้ แต่ไม่สำมำรถมองผ่ำนได้ ทึบแสง (opaque) แสงผ่ำน
ไม่ได้ เปน็ ต้น 11.8) ผวิ สัมผัส (feel) เชน่ แรท่ ลั ก์ลื่นคลำ้ ยกับสบู่

นอกจำกนี้ แร่ยังสำมำรถจำแนกได้จำกกำรวิเครำะห์คุณสมบัติทำงเคมี
ซึง่ มมีควำมถูกต้องสูง เนื่องจำกสำมำรถจำแนกองค์ประกอบแร่เป็นธำตุได้ แต่โดย
สว่ นใหญไ่ มค่ อ่ ยนยิ มเนือ่ งจำกกำรตรวจสอบยงุ่ ยำกกวำ่ คณุ สมบตั ทิ ำงกำยภำพ

25

สนั ติ ภยั หลบลี้ แร่ประกอบหิน

5

หนิ

Rock

หิน (rock) หมำยถึง วัสดุท่ีเป็นของแข็งซึ่งเกิดขึ้นเองตำมธรรมชำติ โดย
ส่วนใหญ่เป็นสำรอนินทรีย์ซึ่งประกอบด้วย แร่ชนิดเดียวกันหรือหลำยชนิดรวมตัว
กัน แต่ในบำงกรณีอำจมีอินทรียวัตถุร่วมด้วย เช่น ถ่ำนหิน (coal) โดยหินที่
กระจำยอยู่ตำมพื้นท่ีต่ำงๆ ของโลกจะมีควำมแตกต่ำงกันไป ขึ้นอยู่กับวัตถุต้น
กำเนิดและสภำพแวดล้อมของกำรเกิดหินดังกล่ำว โดยนักวิทยำศำสตร์จำแนกหิน
ในเบื้องต้นตำมกระบวนกำรเกิดออกเปน็ 3 ชนิด คอื (รปู 15)

1) หินอัคนี (igneous rock) คือ หินที่เกิดจำกกำรเย็นและตกผลึกของ
แมกมำ (magma) ท้ังจำกกำรปะทุมำบนพ้ืนผิวโลกหรือจำกกำรแทรกดันและเย็น

26

สนั ติ ภยั หลบล้ี แรป่ ระกอบหนิ

ตัวอยู่ภำยในแผ่นเปลือกโลก ซ่ึงแร่ประกอบหินท่ีสำคัญของหินอัคนี ได้แก่ แร่
ควอตซ์ เฟลดส์ ปำร์ ไมกำ ไพรอคซนี แอมฟโิ บลและแร่โอลวิ ีน เปน็ ต้น

2) หินตะกอน (sedimentary rock) หรอื อำจเรียกวำ่ หินช้นั คือ หินที่
เกิดจำกกำรทับถมของตะกอนซ่ึงเกิดจำกกำรผุพังของหินท่ีมีอำยุแก่กว่ำ ซึ่งแร่
ประกอบหินที่สำคัญของหินตะกอน ได้แก่ แร่ควอตซ์ เฟลด์สปำร์ แคลไซต์ โดโล
ไมต์ ยปิ ซม่ั และแรเ่ ฮไลด์ เป็นต้น

3. หินแปร (metamorphic rock) คือ หินท่ีแปรสภำพไปจำกหินเดิม
ท้ังจำกหินอัคนี หินตะกอนรวมท้ังหินแปร โดยกำรกระทำของควำมร้อน ควำมดัน
และปฏิกิริยำเคมี โดยกำรแปรสภำพหินเกิดในรูปของแข็ง โดยไม่มีกำรหลอม
ละลำยซ่ึงแร่ประกอบหินที่สำคัญของหินแปร ได้แก่ แร่ควอตซ์ เฟลด์สปำร์ ไมกำ
กำรเ์ นต ไพรอคซนี และแร่ไคยำไนต์ เป็นตน้

จำกรูป 15 บ่งช้ีวำ่ หินสำมำรถเปล่ียนแปลงไป-มำเป็นหนิ ชนิดอ่ืนหรือหิน
ชนิดเดิมได้ เรียกว่ำ วัฏจักรหิน (rock cycle) ซ่ึงกำรเกิดหินชนิดใหม่ในแต่ละ
ชนดิ ตอ้ งผำ่ นกระบวนกำรเฉพำะตัว ได้แก่ (ดรู ูป 5 ประกอบ)

▪ หิ น ท่ี เป ล่ี ย น ม ำเป็ น หิ น อั ค นี ต้ อ งผ่ ำน ก ระ บ ว น ก ำรต ก ผ ลึ ก
(crystallization) และกำรแข็งตวั เปน็ ของแขง็ (solidification)

▪ หินที่เปล่ียนมำเป็นหินตะกอน ต้องผ่ำนกระบวนกำรผุพังอยู่กับที่
(weathering) กำรพัดพำ (transportation) กำรสะสมตัว (deposition)
ก ำรอั ด แ น่ น (compaction) ก ำรป ระ ส ำน (cementation) แ ล ะ
กระบวนกำรแขง็ เป็นหิน (lithification)

▪ หินท่ีเปล่ียนมำเป็นหินแปร ต้องผ่ำนกระบวนกำรให้ควำมร้อน (heat)
และ/หรือ ควำมดนั (pressure) เปน็ ต้น

27

สนั ติ ภัยหลบลี้ แรป่ ระกอบหนิ

รปู 15. วฏั จักรหนิ (rock cycle)
28

สันติ ภยั หลบล้ี แร่ประกอบหนิ

แบบฝึกหัด

วัตถุประสงคข์ องแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือให้ผู้อ่ำนมีโอกำส 1) ทบทวนเน้ือหำ และ 2)
ค้นควำ้ ควำมรู้เพิม่ เติม โดยผ่ำนกระบวนกำรส่ือสำรแบบถำม-ตอบ ระหว่ำงผู้เขียน-
ผู้อำ่ น เท่ำนั้น โดยไมม่ ีเจตนำวิเครำะห์ข้อสอบเก่ำหรือแนวขอ้ สอบแตอ่ ยำ่ งใด

1) แบบฝึกหัดจบั คู่
คาอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้ำชื่อแร่ด้ำนขวำ และเติมในช่องว่ำงด้ำนซ้ำยของ
แตล่ ะข้อที่มีระดบั ควำมแขง็ ตำม มาตราโมส์ (Mohs’ Scale) ตรงกัน (H1-H10)

1. ____ H1 ก. แรแ่ คลไซต์ (calcite)
2. ____ H2 ข. แร่อพำไทต์ (apatite)
3. ____ H3 ค. เพชร (diamond)
4. ____ H4 ง. แร่ทัลก์ (talc)
5. ____ H5 จ. แร่เฟลด์สปำร์ (feldspar)
6. ____ H6 ฉ. แร่ฟลูออไรท์ (fluorite)
7. ____ H7 ช. แร่คอรนั ดมั (corundum)
8. ____ H8 ซ. แร่โทแพซ (topaz)
9. ____ H9 ฌ. แรค่ วอตซ์ (quartz)
10. ____ H10 ญ. แร่ยปิ ซ่มั (gypsum)

29

สันติ ภยั หลบล้ี แร่ประกอบหนิ

2) แบบฝกึ หดั ถกู -ผดิ
คาอธิบาย : เติมเครื่องหมำย T หน้ำข้อควำมที่กล่ำวถูก หรือเติมเครื่องหมำย F
หน้ำขอ้ ควำมท่ีกล่ำวผิด

1. ____ เพชรพบเฉพำะในทวีปแอฟรกิ ำใตเ้ ทำ่ นน้ั
2. ____ แร่ (mineral) ประกอบด้วย สารประกอบ (compound)
3. ____ หมวดแร่ซิลิเกต (silicate class) ทั้งหมดประกอบด้วยธำตุ

ซลิ กิ อน-ออกซเิ จนทจ่ี บั ตัวกนั ในหลำยรูปแบบ
4. ____ โดยคำจำกัดควำม นำ้ เป็นแรช่ นิดหน่ึง
5. ____ โดยคำจำกดั ควำม ปโิ ตรเลียมเปน็ แร่ชนดิ หน่ึง
6. ____ โดยคำจำกัดควำม ถ่ำนหินเปน็ แร่ชนิดหนง่ึ
7. ____ เพชร (diamond) เกิดจำกธำตุคำร์บอนท่ีอย่ใู นสถำนะควำมดนั สงู

มำกในระดับลึกภำยในโลก
8. ____ อะตอมสำมำรถใหแ้ ละรับนิวตรอนได้
9. ____ อะตอมสำมำรถใหแ้ ละรับอิเล็กตรอนได้
10. ____ แร่บำงชนดิ สำมำรถขูดขดี ด้วยเลบ็ ได้
11. ____ ธำตทุ ี่พบมำกทส่ี ดุ ในแผน่ เปลอื กโลกคอื ธำตคุ ำร์บอน
12. ____ ความแข็ง (hardness) คือควำมต้ำนทำนของวัสดุต่อกำรแตกหัก

หรือถูกขดู ขดี
13. ____ ความหนาแน่น (density) สะท้อนถึงน้ำหนักและกำรจัดเรียงตัว

ของอะตอมในแร่
14. ____ สำรประกอบท้ังหมดมีโครงสรำ้ งผลกึ

30

สนั ติ ภัยหลบลี้ แรป่ ระกอบหิน

15. ____ เกลอื ในทำงธรณีวทิ ยำคือ แร่เฮไรต์ (halite)
16. ____ แรท่ ั้งหมดแสดงคณุ สมบตั ิ ความแข็ง (hardness)
17. ____ แรท่ ้งั หมดแสดงคณุ สมบัติ รอยแยก (fracture)
18. ____ แร่แคลไซต์ (calcite) สำมำรถขดู ขดี แก้วเป็นรอยได้
19. ____ หมวดแร่ซิลิเกต (silicate class) เป็น แร่ประกอบหิน (rock-

forming mineral)
20. ____ เพชร (diamond) และ แกรไฟต์ (graphite) คือ พหุสัณฐาน

(polymorph) ของธำตุซิลกิ อนบริสุทธ์ิ

3) แบบฝกึ หดั ปรนัย
คาอธิบาย : ทำเคร่ืองหมำย X หน้ำคำตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว จำก
ตวั เลอื กทก่ี ำหนดให้

1. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ พันธะยดึ เหนย่ี วอะตอม

ก. โควำเลนต์ (covalent) ข. อนิ ทรยี ์ (organic)

ค. โลหะ (metallic) ง. ไอออนิก (ionic)

2. อะตอมของธำตใุ ดทอ่ี ยู่ร่วมกบั ธำตุอ่ืนๆ ได้มำกที่สุด

ก. ออกซเิ จน ข. ซิลิกอน (silicon)

ค. คลอรนี (chlorine) ง. ซัลเฟอร์ (sulfur)

3. ข้อใดคือพนั ธะยึดเหนี่ยวอะตอมของไม้ พลำสติกหรอื คน

ก. โควำเลนต์ (covalent) ข. อินทรีย์ (organic)

ค. โลหะ (metallic) ง. ไอออนกิ (ionic)

31

สันติ ภัยหลบลี้ แร่ประกอบหนิ

4. ขอ้ ใดคอื พนั ธะยึดเหนย่ี วอะตอมของของแร่

ก. โควำเลนต์ (covalent) ข. อินทรีย์ (organic)

ค. โลหะ (metallic) ง. ไอออนกิ (ionic)

5. ธำตุใดทีโ่ ดยสว่ นใหญม่ ปี ระจลุ บในแผ่นเปลอื กโลก

ก. ออกซเิ จน (oxigen) ข. ธำตุเหลก็ (iron)

ค. ซลิ ิกอน (silicon) ง. ซลั เฟอร์ (sulfur)

6. ธำตุใดท่โี ดยสว่ นใหญม่ ีประจุบวกในแผน่ เปลือกโลก

ก. ออกซิเจน (oxigen) ข. ธำตเุ หล็ก (iron)

ค. ซลิ กิ อน (silicon) ง. ซัลเฟอร์ (sulfur)

7. ข้อใดส่อื ถงึ น้ำหนกั ของธำตุ

ก. จำนวนโปรตอน ข. จำนวนอเิ ล็กตรอน

ค. จำนวนนิวตรอน ง. จำนวนโปรตอนรวมกับนวิ ตรอน

8. ขอ้ ใดเปลี่ยนแปลงไดง้ ่ำยกบั ปฏกิ ริ ยิ ำทำงเคมี

ก. จำนวนโปรตอน ข. จำนวนอเิ ลก็ ตรอน

ค. จำนวนนวิ ตรอน ง. จำนวนโปรตอนรวมกับนิวตรอน

9. ไอโซโทป (isotope) ของธำตมุ คี วำมแตกต่ำงกนั อย่ำงไร

ก. จำนวนโปรตอน ข. จำนวนอเิ ล็กตรอน

ค. จำนวนนวิ ตรอน ง. จำนวนโปรตอนรวมกบั นวิ ตรอน

10. ข้อใดคือแรท่ ีพ่ บมำกท่ีสดุ ในห้องครัว

ก. แป้ง (flour) ข. เฮไรต์ (halite)

ค. น้ำตำล (sugar) ง. มสั ตำด (mustard)

32

สันติ ภยั หลบล้ี แรป่ ระกอบหนิ

11. เหตใุ ด ปโิ ตรเลยี ม (petroleum) จึงไมจ่ ดั อยใู่ นกล่มุ ของ แร่ (mineral)

ก. องคป์ ระกอบทำงเคมีไม่ชัดเจน ข. ไมใ่ ช่ของแขง็

ค. ไมม่ ีโครงสร้ำงผลกึ ง. ถูกทกุ ข้อ

12. ขอ้ ใดคอื คณุ สมบัตทิ ำงกำยภำพของแร่

ก. ควำมมนั วำว (luster) ข. สีผง (streak)

ค. ควำมแขง็ (hardness) ง. ถกู ทุกข้อ

13. ข้อใดกล่ำวผดิ เก่ยี วกับ รอยแตกเรียบ (cleavage)

ก. แร่บำงชนิ ดมีรอยแตก > 1 ข. แร่โดยส่วนใหญ่เกิดรอยแตกได้

ระนำบ ง่ำย

ค. ระนำบรอยแตกสะท้อนแสงไดด้ ี ง. แรแ่ ตกหกั งำ่ ยตำมรอยแตก

14. อะตอมทีม่ ปี ระจุบวกหรอื ประจุลบเรียกว่ำอะไร

ก. กมั มันตภำพรังสี ข. ไอออน

ค. ธำตุ ง. ไอโซโทป

15. คณุ สมบัตใิ ดสัมพันธก์ บั ระนำบทเ่ี ปรำะบำงระหว่ำงอะตอมในแร่

ก. ควำมแข็ง (hardness) ข. รอยแยก (fracture)

ค. ควำมหนำแน่น (density) ง. รอยแตกเรยี บ (cleavage)

16. ข้อใดสัมพันธ์กบั ควำมแข็งแรงของพนั ธะยดึ เหนย่ี วระหวำ่ งอะตอมของแร่

ก. ควำมแขง็ (hardness) ข. รอยแยก (fracture)

ค. ควำมหนำแน่น (density) ง. รอยแตกเรยี บ (cleavage)

17. คณุ สมบัติใดที่น่ำเชอ่ื ถือนอ้ ยทีส่ ุดในกำรจำแนกชนดิ ของแร่

ก. ควำมแข็ง (hardness) ข. สี (color)

ค. ควำมหนำแนน่ (density) ง. รอยแตกเรยี บ (cleavage)

33

สนั ติ ภัยหลบล้ี แรป่ ระกอบหิน

18. แรก่ ลุ่มใดพบมำกท่สี ดุ ในแผ่นเปลอื กโลก

ก. กลุ่มแร่ออกไซด์ ข. กลมุ่ แร่คำรบ์ อเนต

(oxide group) (carbonate group)

ค. หมวดแรซ่ ิลิเกต ง. กลุ่มแร่ซลั ไฟต์

(silicate class) (sulfide group)

19. แร่ประกอบหนิ (rock-forming mineral) ที่สำคัญไดแ้ กแ่ ร่ชนิดใดบำ้ ง

ก. ไพไรต์ เฮไรต์ ยิปซั่ม ข. ควอตซ์ เฟลดส์ ปำร์ ไมกำ

ค. เหล็ก อวี ำพอไรท์ แคลไซต์ ง. ถกู ทุกข้อ

20. พันธะยึดเหนี่ยวอะตอมที่ใช้อิเล็กตรอนร่วมกันกับอะตอมข้ำงเคียงเรียกว่ำ

พนั ธะอะไร

ก. โควำเลนต์ (covalent) ข. อนิ ทรยี ์ (organic)

ค. โลหะ (metallic) ง. ไอออนกิ (ionic)

21. ข้อใดกล่ำวถูกเกี่ยวกบั ควำมหนำแน่นของแร่

ก. นำ้ หนกั /ปรมิ ำตร ข. น้ำหนักเมื่อเปรยี บเทียบกับนำ้

ค. ข้อ ก. และ ข. ถกู ง. ไมม่ ีขอ้ ใดถกู

22. ข้อใดคืออญั มณี (gemstone) ที่อยใู่ นกลมุ่ แรอ่ อกไซด์ของธำตอุ ะลูมนิ ัม

ก. แรโ่ ทแพซ (topaz) ข. แซฟไฟร์ (sapphire)

ค. เพชร (diamond) ง. ถูกทกุ ขอ้

23. ขอ้ ใดกล่ำวถกู เกี่ยวกับ แร่ไพไรต์ (pyrite)

ก. เปน็ หมวดแร่ซิลเิ กต ข. ละลำยนำ้ ได้

ค. เป็นสินแร่เหลก็ ท่ีสำคัญ ง. ไมม่ ีข้อใดถกู

34

สนั ติ ภยั หลบลี้ แรป่ ระกอบหนิ

24. แรถ่ กู จำแนกบนพ้ืนฐำนของอะไร

ก. อะตอมประจุลบ (anion) ข. ควำมเขม้ ข้นของโลหะ

ค. อะตอมประจบุ วก (cation) ง. ควำมเขม้ ข้นของออกซเิ จน

25. กล่มุ แร่ชนิดใดละลำยนำ้ ได้

ก. ซิลเิ กต (silicate class) ข. เฮไลด์ (halide group)

ค. ซลั ไฟต์ (sulfide group) ง. ออกไซด์ (oxide group)

26. แรช่ นิดมอี งคป์ ระกอบสำคัญเปน็ ธำตุเหล็ก

ก. แร่เฟลดส์ ปำร์ (feldspar) ข. แร่ฮมี ำไทต์ (hematite)

ค. แร่ควอตซ์ (quartz) ง. แร่ยิปซ่ัม (gypsum)

27. กลมุ่ แรช่ นิดใดเปน็ แหลง่ กำเนดิ ของฝนกรด (acid rain)

ก. ซลั เฟต (sulfate group) ข. ไนเตรต (nitrates group)

ค. ซลั ไฟต์ (sulfide group) ง. ซิลิเกต (silicate class)

28. ปจั จยั ใดทีส่ ง่ ผลตอ่ สีท่แี ตกต่ำงกันของแร่

ก. กำรผพุ งั (weathering) ข. กำรปนเปื้อนทำงเคมี

(chemical impurity)

ค. กำรเคลือบพนื้ ผิว (coating) ง. ถูกทกุ ขอ้

29. หินปนู (limestone) และหนิ โดโลไมต์ (dolomite) เกิดจำกกลมุ่ แรช่ นดิ ใด

ก. ซลิ เิ กต (silicate class) ข. ซัลเฟต (sulfate group)

ค. คำร์บอเนต (carbonate group) ง. ออกไซด์ (oxide group)

30. แร่ชนิดใดสำมำรถแตกออกเป็นแผน่ ได้งำ่ ย

ก. แรไ่ มกำ (mica) ข. แร่ควอตซ์ (quartz)

ค. แร่เฮไรต์ (halite) ง. แรแ่ คลไซต์ (calcite)

35

สันติ ภยั หลบลี้ แร่ประกอบหนิ

31. กลุ่มแร่ชนิดใดมคี ุณสมบัตวิ ำวแสง มีนำ้ หนกั รอยแตกชดั เจนและละลำยนำ้ ได้

ก. ซลิ ิเกต (silicate class) ข. เฮไลด์ (halide group)

ค. คำร์บอเนต (carbonate group) ง. ออกไซด์ (oxide group)

32. กลุม่ แรช่ นดิ ใดท่ีมคี วำมแข็งสงู ท่ีสดุ

ก. ซิลิเกต (silicate class) ข. ซัลเฟต (sulfate group)

ค. คำร์บอเนต (carbonate group) ง. เฮไลด์ (halide group)

33. ทองคา (gold) เพชร (diamond) และ แกรไฟต์ (graphite) จัดอยู่ในกลุ่ม

แร่ชนิดใด

ก. ธำตธุ รรมชำติ (native element) ข. ซลั เฟต (sulfate group)

ค. คำรบ์ อเนต (carbonate group) ง. ออกไซด์ (oxide group)

34. แรค่ วอตซ์ (quartz) จัดอยใู่ นหมวดแรซ่ ลิ ิเกตแบบใด

ก. สำยโซค่ ู่ (double chain) ข. โครงสรำ้ ง (framework)

ค. สำยโซ่ (chain) ง. แผ่น (sheet)

35. แร่ไมกา (mica) จัดอยใู่ นหมวดแรซ่ ลิ ิเกตแบบใด

ก. สำยโซค่ ู่ (double chain) ข. โครงสรำ้ ง (framework)

ค. สำยโซ่ (chain) ง. แผ่น (sheet)

36. แร่ฮอนเบลนด์ (hornblende) จดั อยูใ่ นหมวดแร่ซิลเิ กตแบบใด

ก. สำยโซค่ ู่ (double chain) ข. โครงสรำ้ ง (framework)

ค. สำยโซ่ (chain) ง. แผน่ (sheet)

37. ขอ้ ใดคอื หมวดแรซ่ ลิ เิ กตท่ีสำมำรถแตกเปน็ แผ่นได้ชัดเจนท่ีสุด

ก. แผน่ (sheet) ข. สำยโซ่ (chain)

ค. โครงสร้ำง (framework) ง. ไมม่ ีข้อใดถูก

36

สนั ติ ภยั หลบล้ี แรป่ ระกอบหิน

38. กลุ่มแร่ชนิดใดโดยส่วนใหญ่จะมีควำมหนำแน่นสูง มีควำมเป็นโลหะ มันวำว

และมผี ลึกเปน็ ลกู บำศก์

ก. ซลั ไฟต์ (sulfide group) ข. ซลั เฟต (sulfate group)

ค. คำร์บอเนต (carbonate group) ง. ออกไซด์ (oxide group)

39. ข้อใดคอื หมวดแร่ซิลิเกตแบบสายโซ่ (tetrahedral chain)

ก. แร่ดินและไมกำ ข. แร่โอลวิ นี และกำรเ์ นต

ค. แร่แอมฟโิ บลและไพรอคซนี ง. แรเ่ ฟลด์สปำร์

40. แรช่ นดิ ใดมี รอยแตกเรยี บ (cleavage) นอ้ ยท่สี ุด

ก. แรไ่ มกำ (mica) ข. แร่เฮไรต์ (halite)

ค. แรค่ วอตซ์ (quartz) ง. ถูกทกุ ขอ้

41. แรโ่ อลวิ นี (olivine) จดั อยู่ในหมวดแรซ่ ิลเิ กตชนดิ ใด

ก. แผ่น (sheet) ข. สำยโซ่ (chain)

ค. โครงสร้ำง (framework) ง. ไมม่ ีข้อใดถูก

42. แรช่ นดิ ใดมคี วำมแขง็ (hardness) ต่ำทีส่ ดุ

ก. แร่เฟลด์สปำร์ (feldspar) ข. แร่ยปิ ซ่มั (gypsum)

ค. แร่แคลไซต์ (calcite) ง. แรโ่ ทแพซ (topaz)

43. กำรแตกของแร่ไปเป็นแนวทำงเดยี วกนั อยำ่ งเปน็ ระบบเรียกวำ่ อะไร

ก. ควำมแขง็ เปรำะ (brittleness) ข. รอยแยก (fracture)

ค. ควำมแข็ง (hardness) ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก

44. ขอ้ ใดคอื อะตอมสูญเสยี อเิ ล็กตรอนไป

ก. ไอโซโทป (isotope) ข. ธำตุธรรมชำติ (native element)

ค. นวิ ตรอน (neutron) ง. ไอออน (ion)

37

สนั ติ ภัยหลบล้ี แร่ประกอบหิน

45. กลุ่มแรช่ นิดใดสำมำรถเกดิ รอยแตกเรยี บ (cleavage) โดดเดน่ ทสี่ ุด

ก. ซลิ เิ กต (silicate class) ข. คำรบ์ อเนต (carbonate group)

ค. ซลั ไฟต์ (sulfide group) ง. ถูกทุกข้อ

46. ข้อใดคือธำตุมมี มี ำกท่ีสุดในแผน่ เปลอื กโลก

ก. เหล็กและแมกนเี ซียม ข. ทรำยและดิน

ค. ซิลกิ อนและออกซิเจน ง. โซเดยี มและไนโตรเจน

47. แร่แอมฟิโบล (amphibole) และ แร่ไพรอคซีน (pyroxene) จัดอยู่ใน

หมวดแร่ซลิ เิ กตแบบใด

ก. สำยโซ่คู่ (double chain) ข. โครงสร้ำง (framework)

ค. สำยโซ่ (chain) ง. แผน่ (sheet)

48. ข้อใดคอื หมวดแรซ่ ิลิเกตแผน่ (sheet silicate)

ก. แรไ่ มกำและแรด่ นิ ข. แร่เฟลดส์ ปำร์และแร่ควอตซ์

ค. แรไ่ พรอคซนี และแรแ่ อมฟโิ บล ง. แรโ่ อลวิ นี และแรเ่ ฟลด์สปำร์

49. ขอ้ ใดคอื คณุ สมบตั ิทน่ี ักวิทยำศำสตร์ใชค้ ดั แยกแร่ทองคำออกจำกวสั ดอุ ื่น

ก. ควำมแข็ง (hardness) ข. รอยแยก (fracture)

ค. ควำมหนำแนน่ (density) ง. รอยแตกเรยี บ (cleavage)

50. ธำตใุ ดคอื 1 ใน 8 ของธำตุท่พี บมำกในแผน่ เปลอื กโลก

ก. ธำตุเหล็ก (iron) ข. ธำตแุ คลเซยี ม (calcium)

ค. ธำตุโซเดียม (Na) ง. ถกู ทุกขอ้

51. อัญมณโี ดยส่วนใหญ่ (ยกเวน้ เพชร) จดั อย่ใู นกลุ่มแรช่ นิดใด

ก. ซลิ เิ กตและออกไซด์ ข. ซัลเฟตและคำรบ์ อเนต

ค. ซลั เฟตและธำตุธรรมชำติ ง. ซลั ไฟต์และออกไซด์

38

สนั ติ ภยั หลบล้ี แร่ประกอบหิน

52. คณุ สมบัติใดสัมพนั ธ์โดยตรงกับควำมใกล้ชิดของอะตอมในแร่

ก. ควำมแขง็ (hardness) ข. รอยแยก (fracture)

ค. ควำมหนำแนน่ (density) ง. รอยแตกเรียบ (cleavage)

53. อะตอมจะกลำยเปน็ ไอออนเมอื่ ใด

ก. ไดร้ บั หรือสญู เสียมวล ข. ไดร้ บั หรอื สญู เสียโปรตอน

ค. ได้รับหรอื สญู เสยี นิวตรอน ง. ไดร้ ับหรือสูญเสียอเิ ลก็ ตรอน

54. ขอ้ ใดคอื ปจั จัยสำคญั ที่ควบคมุ ควำมแตกตำ่ งของเนอ้ื หิน

ก. องคป์ ระกอบแมกมำต้ังตน้ ข. อตั รำของกำรเยน็ ตัวแมกมำ

ค. ปริมำณแมกมำ ง. ควำมดันแมกมำ

55. นอกเหนือจำกหมวดแร่ซิลิเกต (silicate class) กลุ่มแร่ชนิดใดเป็น แร่

ประกอบหนิ (rock-forming mineral) ท่ีสำคัญ

ก. ออกไซด์ (oxide group) ข. ซัลเฟต (sulfate group)

ค. คำร์บอเนต (carbonate group) ง. ถูกทุกข้อ

56. อัตรำสว่ นระหว่ำงนำ้ หนกั แรแ่ ละนำ้ ในปรมิ ำตรเท่ำกันหมำยถงึ ขอ้ ใด

ก. ควำมถว่ งจำเพำะ (specific gravity) ข. รอยแตกเรยี บ (cleavage)

ค. มวลอะตอม (atomic mass) ง. ควำมแข็ง (hardness)

57. กลมุ่ แรช่ นิดใดพบมำกท่ีสุดในแผน่ เปลือกโลก

ก. ออกไซด์ (oxide group) ข. ซิลิเกต (silicate class)

ค. เฮไลด์ (halide group) ง. ซลั เฟต (sulfate group)

58. แร่ชนิดใดพบมำกทสี่ ดุ บนโลก

ก. แรฮ่ มี ำไทต์ (hematite) ข. แร่แอมฟิโบล (amphibole)

ค. แรแ่ คลไซต์ (calcite) ง. แรค่ วอตซ์ (quartz)

39

สันติ ภยั หลบลี้ แร่ประกอบหนิ

59. แรโ่ ดยส่วนใหญ่เกิดจำกกำรรวมกนั ของธำตุด้วยพนั ธะยึดเหนย่ี วแบบใด

ก. ไอออนกิ (ionic) ข. โควำเลนต์ (covalent)

ค. โลหะ (metallic) ง. ถกู ทุกข้อ

60. ข้อใดคือกลุ่ม แร่ประกอบหิน (rock forming mineral) ท่ีพบมำกท่ีสุดใน

แผน่ เปลอื กโลก

ก. แร่แคลไซต์ (calcite) ข. แร่เฟลด์สปำร์ (feldspar)

ค. แรค่ วอตซ์ (quartz) ง. แร่ดิน (clay)

61. ข้อใดคอื แนวโน้มกำรแตกตำมแนวระนำบอยำ่ งเปน็ ระบบของแร่

ก. กำรตกผลึก (crystallization) ข. รอยแตกเรยี บ (cleavage)

ค. รอยแยก (fracture) ง. กำรผุพงั (weathering)

62. ข้อใดคือพนั ธะยดึ เหนย่ี วอะตอมของเครื่องบนิ ไอพ่น

ก. โควำเลนต์ (covalent) ข. อินทรยี ์ (organic)

ค. โลหะ (metallic) ง. ไอออนกิ (ionic)

63. คณุ สมบัติใดท่ที ำให้ผลึกเกลือแตกเปน็ เม็ดเล็กๆ ได้งำ่ ย

ก. ควำมแขง็ (hardness) ข. รอยแยก (fracture)

ค. ควำมหนำแนน่ (density) ง. รอยแตกเรียบ (cleavage)

64. คณุ สมบตั ใิ ดทีส่ ง่ ผลตอ่ กำรผุพงั (weathering) ของแร่น้อยท่ีสุด

ก. ควำมแข็ง (hardness) ข. รอยแยก (fracture)

ค. ควำมหนำแนน่ (density) ง. สี (color)

65. ความแข็ง (hardness) หมำยถึงอะไร

ก. ควำมต้ำนทำนกำรแปรสภำพทำงเคมี ข. ควำมยำกในกำรแตกหัก

ค. ควำมตำ้ นทำนต่อกำรขดู ขดี ง. ควำมหยำบ

40

สนั ติ ภยั หลบล้ี แรป่ ระกอบหิน

66. ข้อใดคืออัญมณีท่ีเป็น กลุ่มแร่ออกไซด์ (oxide group) ของ ธาตุอะลูมินัม

(aluminum)

ก. แร่โทแพซ (topaz) ข. ทบั ทิม (ruby)

ค. เพชร (diamond) ง. เพทำย (zircon)

67. ข้อใดคือคุณสมบัติท่ีทำให้ แร่ควอตซ์ (quartz) แตกหักไปตำมแนวพ้ืนผิวที่

รำบเรียบ

ก. ควำมแข็ง (hardness) ข. รอยแยก (fracture)

ค. ควำมหนำแน่น (density) ง. รอยแตกเรียบ (cleavage)

68. กล่มุ แร่ชนดิ ใดพบมำกทสี่ ุดในธรรมชำติ

ก. ซิลิเกต (silicate class) ข. ซัลเฟต (sulfate group)

ค. คำรบ์ อเนต (carbonate group) ง. ออกไซด์ (oxide group)

69. กลมุ่ แร่ชนิดใดที่มี รอยแตกเรยี บ (cleavage) ชดั เจนและหยดกรดฟูเ่ ป็นฟอง

ก. ซิลเิ กต (silicate class) ข. ซัลเฟต (sulfate group)

ค. คำรบ์ อเนต (carbonate group) ง. ออกไซด์ (oxide group)

70. ขอ้ ใดคอื คณุ สมบตั ิของแร่ควอตซ์ (quartz)

ก. สำมำรถขดู ขดี แกว้ ได้ ข. ละลำยได้ในกรด

ค. มีรอยแตกเรยี บชัดเจน ง. หนำแน่น 5 กรมั /ตร.ซม.

41

สันติ ภยั หลบลี้ แรป่ ระกอบหิน

เฉลยแบบฝกึ หัด

1) แบบฝึกหัดจับคู่ 3. ก 4. ฉ 5. ข
1. ง 2. ญ 8. ซ 9. ช 10. ค
6. จ 7. ฌ
3. T 4. F 5. F
2) แบบฝึกหดั ถกู -ผดิ 8. T 9. T 10. T
13. T 14. F 15. T
1. F 2. F 18. F 19. T 20. F

6. F 7. T 3. ก 4. ง 5. ก
8. ข 9. ก 10. ข
11. F 12. T 13. ข 14. ข 15. ง
18. ค 19. ข 20. ก
16. T 17. T 23. ง 24. ก 25. ข
28. ง 29. ค 30. ก
3) แบบฝกึ หดั ปรนัย 33. ก 34. ข 35. ง
38. ก 39. ค 40. ค
1. ข 2. ก
42
6. ค 7. ง

11. ง 12. ง

16. ก 17. ข

21. ค 22. ข

26. ข 27. ค

31. ข 32. ก

36. ก 37. ข

สันติ ภัยหลบล้ี แรป่ ระกอบหนิ

41. ง 42. ค 43. ง 44. ง 45. ข
46. ข 47. ค 48. ก 49. ค 50. ง
51. ง 52. ก 53. ค 54. ง 55. ค
56. ก 57. ข 58. ง 59. ก 60. ง
61. ข 62. ค 63. ง 64. ค 65. ค
66. ข 67. ง 68. ก 69. ค 70. ก

43


Click to View FlipBook Version