คํานํา หนังสืออนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา เลมนี้ จัดทําขึ้นเนื่องในวาระ ครบรอบการสถาปนาเขตยานนาวา 100 ป สํานักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร ไดรวบรวมประวัติความเปนมาของเขตยานนาวาตั้งแตอดีต จนถึงปจจุบัน โดยแนะนําสถานที่สําคัญ แหลงทองเที่ยว สถานที่พักผอน รานคา รานอาหาร ผลิตภัณฑ OTOP และอุตสาหกรรมในพื้นที่ เพื่อเผยแพร ประชาสัมพันธใหประชาชน หนวยงานตางๆ และผูที่สนใจทั่วไป ไดรูจักและ สงเสริมเศรษฐกิจในพื้นที่ ตามวิสัยทัศนของเขตยานนาวา “แหลงเศรษฐกิจใหม ประชารวมใจ เปนเมืองนาอยู” ซึ่งไดรับความรวมมืออยางดีจากภาคธุรกิจ หนวยงานองคกรในพื้นที่และขอขอบคุณแหลงขอมูลตางๆ ที่ทางคณะจัดทําได ขออนุเคราะหเนื้อหาและภาพถาย ผูที่สนใจสามารถเขาเยี่ยมชมงาน ฉลอง ๑๐๐ ป ยานนาวา ที่จัดขึ้นระหวางวันที่ 12 – 18 สิงหาคม 2557 ณ บริเวณหนา ศูนยการคาเซ็นทรัล พระราม 3 ถึงคอมมูนิตี้มอลล ดิ อัพ ถนนรัชดาภิเษก คณะผูจัดทํา สิงหาคม ๒๕๕๗ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๑
๒ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๓ ๙ ๑๙ ๓๓ ๔๓ ๗๕ ๗๙ ๘๓ ๘๙
เขตยานนาวาในอดีต เขตยานนาวาในอดีตมีพื้นที่กวางใหญ ถูกโอบลอมดวยคุงน้ําเจาพระยา มีชื่อ เรียกขานวา "บานทวาย" เนื่องจากมีชาวทวายอาศัยอยูกันเปนชุมชน และเปนศูนยกลาง ของชาวบานตางถิ่นนําสิ่งของ มา วัว ควาย มาแลกเปลี่ยนซื้อขาย โดยสวนใหญมีการซื้อ ขายควาย จนไดอีกชื่อหนึ่งวา “บานคอกควาย” ขณะนั้นบานทวาย(บานคอกควาย) อยู ในการปกครองของนครเขื่อนขันธ ในหมูบานมีวัดเกาแกที่สรางตั้งแตครั้งสมัยอยุธยา คือ วัดคอกควาย ไดรับการยก ฐานะขึ้นเปนพระอารามหลวงในสมัยกรุงธนบุรี ตั้งชื่อใหมเปน “วัดคอกกระบือ” ในสมัย รัชกาลที่ 3 ไดทําการปฏิสังขรณวัดคอกกระบือใหม ไดสราง “สําเภาเจดีย” ขึ้น และได ขนานนามพระอารามวา “วัดยานนาวา” จึงนับไดวา “สําเภาเจดีย” เปนสัญลักษณ แสดงถึงการติดตอคาขายจากชาวตางชาติ โดยเฉพาะชาวจีนลองเรือสําเภามาคาขาย โดย มีกลุมคนไทยพื้นเมือง ชาวทวาย ชาวจีน ชาวมุสลิม อาศัยอยูบริเวณนี้อยางหนาแนน ประเทศไทยไดปฏิรูปการบริหารราชการแผนดินเปนแบบประเทศตะวันตก เมื่อ พ.ศ. ๒435 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โดยสถาปนาการ ปกครองสวนกลางขึ้นเปนกระทรวงตาง ๆ และยกฐานะกรมพระนครบาลขึ้นเปน กระทรวงนครบาล ทําหนาที่ปกครองราชธานีและพื้นที่มณฑลกรุงเทพมหานคร ๔ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
ในชวงปลายรัชสมัยของพระองค ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติลักษณะการปกครอง ทองที่ พ.ศ.๒๔๕๗ ใหมีการจัดตั้งพื้นที่การปกครองเปนอําเภอ มณฑลกรุงเทพมหานคร ไดแบงการปกครอง ออกเปนอําเภอชั้นใน 8 อําเภอ ไดแก อําเภอพระนคร อําเภอ สามเพ็ง อําเภอบางรัก อําเภอปทุมวัน อําเภอดุสิต อําเภอบางกอกนอย อําเภอ บางกอกใหญ และอําเภอบางลําภูลาง และอําเภอชั้นนอก 8 อําเภอ ไดแก อําเภอบาง ซื่อ อําเภอบางเขน อําเภอบางกะป อําเภอบางขุนเทียน อําเภอราษฎรบูรณะ อําเภอ ตลิ่งชัน อําเภอภาษีเจริญ และอําเภอหนองแขม ตอมาเมืองนครเขื่อนขันธไดรับการจัดตั้งเปนจังหวัดพระประแดง และในรัชสมัย พระบาทสมเด็จ พระมงกุฏเกลาเจาอยูหัวไดประกาศขยายมณฑลกรุงเทพมหานครออกไป และแบงเขตออกเปน จังหวัดตางๆ ไดแก จังหวัดพระนคร จังหวัดธนบุรี จังหวัด นนทบุรี จังหวัดมีนบุรี จังหวัดพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ และไดโปรดเกลา ฯ ใหเสนาบดีกระทรวงนครบาล ออกประกาศยกเลิกอําเภอชั้นใน 7 อําเภอ และตั้งขึ้น ใหม 25 อําเภอ เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2458 ในการจัดตั้งอําเภอใหมในครั้งนี้ไดยกเอา อําเภอบานทวาย ซึ่งแตกอนอยูในเขตจังหวัดพระประแดงมาจัดตั้งเปน อําเภอบาน ทวาย จังหวัดพระนคร ดวยอําเภอบานทวายมีสําเนียงภาษาตางดาว จึงตั้งชื่อใหมวา “อําเภอยานนาวา” ขึ้นกับกระทรวงมหาดไทยมีนายอําเภอเปนผูปกครอง โดยถือหลัก ตั้งชื่อตามวัดยานนาวา ซึ่งตั้งอยูในพื้นที่ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2511 ไดยายที่ทําการอําเภอยานนาวา จากหัวมุมถนน สาทรมาบริเวณตึกโรงฆาสัตวถนนตก (ปจจุบันคือโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ) ป พ.ศ.2515 ไดมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองอีกครั้งตามประกาศคณะ ปฏิวัติ ฉบับที่ 335 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2515 ไดเปลี่ยนจากอําเภอยานนาวา อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๕
เปนเขตยานนาวาและแบงการปกครองเปน 8 แขวง ไดแก แขวงชองนนทรี แขวงบางโพงพาง แขวงยานนาวา แขวงทุงมหาเมฆ แขวงทุงวัดดอน แขวงบางคอแหลม แขวงบางโคล และแขวงวัดพระยาไกร วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2516 กรุงเทพมหานคร ไดจัดตั้งเขตจํานวน 24 เขต ไดแก เขตพระนคร เขตดุสิต เขตหนองจอก เขตบางรัก เขตบางกะป เขตปทุมวัน เขตปอมปราบศัตรูพาย เขตพระโขนง เขตมีนบุรี เขตลาดกระบัง เขตยานนาวา เขตสัมพันธวงศ เขตพญาไท เขตธนบุรี เขตบางกอกใหญ เขตหวยขวาง เขตคลองสาน เขตตลิ่งชัน เขตบางกอกนอย เขตบางขุนเทียน เขตภาษีเจริญ เขตหนองแขม เขตราษฎรบูรณะ ป พ.ศ. 2521 ตามประกาศกรุงเทพมหานคร ไดใหมีการแบงพื้นที่ เขตยานนาวา จัดตั้งสํานักงานเขตยานนาวา สาขา 1 (สาทร) และสํานักงานเขตยานนาวา สาขา 2(บางคอแหลม)ขึ้นดูแลพื้นที่บางสวนเพื่ออํานวยความสะดวกในการติดตอราชการ วันที่ 17 กุมภาพันธ 2529 เขตยานนาวาไดยายที่ทําการจากเดิมมาตั้งอยู อาคาร 4 ชั้น เลขที่ 209 ถนนนนทรี แขวงชองนนทรี เขตยานนาวา โดยคุณแคทเทอรีน บุบผาบุรี ไดบริจาคที่ดินสรางอาคารสํานักงานเขตยานนาวา ๖ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
การเปลี่ยนแปลงพื้นที่การปกครองเขตยานนาวาจนถึงปจจุบัน เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2532 กระทรวงมหาดไทย ไดมีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ การปกครอง ของเขตยานนาวา โดยตั้งเขตสาทรและบางคอแหลม การแบงพื้นที่การ บริหารในครั้งนี้ บริเวณวัดยานนาวาที่เปนสัญลักษณของเขตยานนาวา ในปจจุบันอยูใน พื้นที่เขตสาทร แบงเขตการบริหารดังนี้ เขตยานนาวา มีพื้นที่การบริหาร รวม 2 แขวง คือ แขวงชองนนทรีและ แขวงบางโพงพาง เขตสาทร มีพื้นที่การบริหาร รวม 3 แขวง คือ แขวงยานนาวา แขวงทุงวัดดอน และแขวงทุงมหาเมฆ เขตบางคอแหลม มีพื้นที่การบริหาร รวม 3 แขวง คือ แขวงบางคอแหลม แขวงวัดพระยาไกร และแขวงบางโคล อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๗
๑๐ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๑๑
๑๒ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๑๓
๑๔ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๑๕
๑๖ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๑๗
๑๘ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
๒๐ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๒๑
๒๒ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๒๓
๒๔ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๒๕
๒๖ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๒๗
๒๘ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๒๙
๓๐ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๓๑
๓๒ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
๓๔ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๓๕
๓๖ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๓๗
๓๘ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๓๙
๔๐ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๔๑
๔๒ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
๔๔ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๔๕
๔๖ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา
อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา ๔๗
๔๘ อนุสาร ๑๐๐ ป ยานนาวา