ประวัติลุ่มน้ำแม่หาด
ดอยเต่า
คำนิยม
อำเภอดอยเต่า มีประวัติศาสตร์การก่อตั้งมายาวนาน ทั้งกลุ่มลุ่มน้ำ
แม่หาด และกลุ่มลุ่มน้ำปิง ซึ่งมีศิลปวัฒนธรรม ประเพณีสืบทอด รุ่น
ต่อรุ่น นับว่ามีความ สำคัญอย่างยิ่ง ที่จะก่อให้เกิดความรัก ความ
ผูกพันและความภาคภูมิใจในสังคม ของตนเอง ทำให้ได้ทราบถึง
รากเหง้าของตนเอง เป้าหมายสำคัญทำให้เกิดความ ภาคภูมิใจใน
ประวัติการต่อสู้ของชุมชน ที่มีคุณค่า ทำให้เกิดความรักและผูกพัน
ใน วิถีชีวิตของชุมชน ความรักและหวงแหนในสิ่งที่บรรพบุรุษของ
ตนเอง ได้สร้างสม ความภาคภูมิใจ ถือเป็นการสร้างกระบวนการ
เรียนรู้จากสิ่งที่ใกล้ตนเอง สามารถจะสัมผัสได้ ขอชื่นชมนักเรียน
ชั้น ม. 4 ทุกคน ที่ได้รวบรวมข้อมูลประวัติศาสตร์อำเภอดอยเต่า
โดยนำมาจัดทำหนังสืออ่านเพิ่มเติมท้องถิ่นและการเผยแพร่ความรู้
ในชั้นหนังสือ ออนไลน์ เป็นเอกสารทางวิชาการที่มีคุณค่ายิ่ง และ
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คงจะ สร้างสรรค์ผลงานที่มีประโยชน์ต่อ
นักเรียน และบุคคลทั่วไปที่สนใจศึกษาในเรื่อง ประวัติและความ
เป็นมาของของอำเภอดอยเต่า ต่อไป
ว่าที่ร้อยตรีหญิงเอื้อมพร หาญสนามยุทธ
ตำแหน่ง ครู คศ.3
ก
คำนำ
หนังสือประวัติความเป็นมาเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของ
วิชาการงานอาชีพชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เปิดโอกาสให้คนที่อยากรู้หรือ
อยากจะศึกษาเรื่องราวต่างๆของแม่หาด เพื่อให้เป็นประโยชน์กับผู้ที่
อยากจะศึกษาเรื่องราวของประวัติความเป็นมาของน้ำแม่หาด ผู้จัดทำ
หวังว่า หนังสือเล่มนี้จะให้ประโยชน์กับผู้อ่านหรือนักเรียนที่ กำลังหา
ข้อมูลเรื่องนี้อยู่หากมีข้อมูลผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้
และอภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
สารบัญ ข
คำนำ หน้าที่
สารบัญ ก
สารบัญภาพประกอบ
ต้นกำเนิดน้ำแม่หาด ข
ประวัติลุ่มน้ำแม่หาด
เส้นทางของน้ำแม่หาด ค
โครงการเพิ่มปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำแม่ตูบ
ความเป็นมาของผ้าทอกระเหรี่ยง 1
เอกลักษ์ลวดลาย
เรียบเรียง 2
6
7
13
14
22
ค
สาระบัญภาพประกอบ
หน้า
ภาพที่ 1 ต้นกำเนิดน้ำแม่หาด..............................................................................................1
ภาพที่ 2 ประวัติน้ำแม่หาด.....................................................................................................2
ภาพที่ 3 น้ำแม่หาด ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า.......................................................3
ภาพที่ 4 น้ำแม่หาด ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า.......................................................4
ภาพที่ 5 น้ำแม่หาด ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า.......................................................5
ภาพที่ 6 น้ำแม่หาด ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า.......................................................5
ภาพที่ 7 เส้นทางของน้ำแม่หาด..........................................................................................6
ภาพที่ 8 อ่างเก็บน้ำแม่ตูบ ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า.........................................7
ภาพที่ 9 อ่างเก็บน้ำแม่ตูบ ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า........................................8
ภาพที่ 10 อ่างเก็บน้ำแม่ตูบ ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า......................................9
ภาพที่ 11 อ่างเก็บน้ำแม่ตูบ ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า.......................................9
ภาพที่ 12 สัมภาษณ์คนในหมู่บ้านเกี่ยวกับน้ำแม่หาด..............................................10
ภาพที่ 13 สัมภาษณ์คนในหมู่บ้านเกี่ยวกับน้ำแม่หาด...............................................11
ภาพที่ 14 สัมภาษณ์คนในหมู่บ้านเกี่ยวกับน้ำแม่หาด...............................................12
ภาพที่ 15 ผ้าทอกระเหรี่ยง...................................................................................................13
ภาพที่ 16 ลวดลายผ้าทอกระเหรี่ยง..................................................................................14
ภาพที่ 17 ผ้าทอกระเหรี่ยง....................................................................................................15
ภาพที่ 18 ถุงย่าม......................................................................................................................16
ภาพที่ 19 ชุดเดรสกระเหรี่ยง...............................................................................................17
ภาพที่ 20 เครื่องปั่ นฝ้าย.......................................................................................................18
ภาพที่ 21 ผ้าห่มขนขาว..........................................................................................................19
ภาพที่ 22 ชุดสำหรับ..............................................................................................................20
ภาพที่ 23 ชุดสำหรับแต่งงาน.............................................................................................21
1
ต้นกำเนิดน้ำแม่หาด
ภาพที่ 1 ต้นกำเนิดน้ำแม่หาด ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า
ที่มา : นางสาว กัญญารัตน์ ปู่สุข
น้ำตกแม่หาดเป็นน้ำตกที่ไม่ค่อยมีคนรู้จัก เนื่องมาจากอำเภอเวียง
แหง เป็นอำเภอที่ตั้งอยู่ห่างไกลตัวเมืองเชียงใหม่ พื้นที่ของอำเภอ
ตั้งอยู่บนเทือกเขาสูงตามแนวตะเข็บชายแดนไทย-พม่า ทำให้มีเส้น
ทางที่คดเคี้ยว ภายหลังมีการค้นพบ “พระมาลา” หรือหมวกของ
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เมื่อครั้งทรงเสด็จทัพผ่านเส้นทางนี้
ทำให้เกิดการท่องเที่ยว
2
ประวัติลุ่มน้ำแม่หาด (ต่อ)
ภาพที่ 2 ประวัติน้ำแม่หาด ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า
ที่มา : นางสาว ปณิดา มณีศรี
ลำน้ำเก่าที่อยู่คู่กับบ้านเรามานาน จนถึงวันนั้น น้ำแม่หาดเป็นเสมือนสาย
เลือดของคนดอยเต่า โดยเฉพาะดอยเต่าต้านทิศใต้ พื้นที่ตำบลโปงทุ่ง ตำบล
ดอยเต่า ได้ใช้น้ำแม่หาดหล่อเลี้ยงวิตมาโดยตลอด ไม่ว่าจะใช้บริโภคอุปโภค
ใช้ในการเกษตร ทำนาปลูกข้าว ทำสวนลำไยสวนหอม สร้างรายได้ให้กับคน
ดอยเด่านับเป็นเงินหลายสิบล้านบาทต่อปี และยังเป็นแหล่งอาหารที่อุดม
สมบูรณ์ มีทั้งกุ้งหอยปูปลา ให้คนดอยเต่าจับกินเป็นอาหารตลอดทั้งปี
3
ภาพที่ 3 น้ำแม่หาด ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า
ที่มา : นาย ปฐมพงศ์ เรืองธารา
นอกจากน้ำแม่หาดจะเป็นสายน้ำที่เปรียบเสมือนสายเลือดที่หล่อเลี้ยงชีวิตของ
คนดอยเต่าแล้ว ยังเป็น แหล่งอารยะธรรมที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของภาคเหนือ
เนื่องจากมีร่องรอยการถลุงเหล็ก และซากปรักหักพัง สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ โดยเฉพาะ
ซากปรักหักพังของวัดวาจารามของคนยุคก่อน ๆ ตั้งอยู่เรียงรายไปตาม สายน้ำ
เริ่มแต่ลุ่มน้ำแม่หาดจนถึงปากแม่น้ำแม่หาดบริเวณลุ่มน้ำแม่ปิงเลยทีเดียว
4
ภาพที่ 4 น้ำแม่หาด ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า
ที่มา : นาย ธนกร ไหวยะ
น้ำแม่หาด เป็นน้ำขนาดเล็ก มีน้ำไหลตลอดปี น้ำอยู่ในเขตตำบลแม่ลาน
อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน ไหลจากยอดเขาผ่านตำบลแม่ลาน อำเภอลี้ จังหวัด
ลำพูน ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า ไหลลงสู่น้ำแม่ปิง ในเขตตำบลท่าเดื่อ
อำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ รวมเป็นระยะทางไม่ต่ำกว่า100 กิโลเมตร
น้ำแม่หาดเป็นเสมือนสายเลือดของคนดอยเต่า โดยเฉพาะดอยเต่าด้านทิศ
ใต้ พื้นที่ ตำบลโปงทุ่ง ตำบลดอยเต่า ได้ใช้น้ำแม่หาดหล่อเลี้ยงชีวิตมาโดย
ตลอด ไม่ว่าจะใช้ บริโภค ใช้ในการเกษตร ทำนาปลูกข้าว ทำสวนลำไยสวน
หอม สร้าง รายได้ให้กับคนดอยเต่า
5
ภาพที่ 5 น้ำแม่หาด ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า
ที่มา : นาย ธนกฤต เดินเมือง
ภาพที่ 6 น้ำแม่หาด ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า
ที่มา : นาย วัชรนันท์ ปัญต๊ะ
6
เส้นทางของน้ำแม่หาด
ภาพที่ 7 เส้นทางของน้ำแม่หาด
ที่มา : อินเทอร์เน็ต
1. เดินทางจากตัวเมืองเชียงใหม่ ผ่านทางอำเภอหางดง , อำเภอสันป่าตอง,
กิ่งอำเภอดอยหล่อ, อำเภอจอมทอง จนถึงอำเภอฮอด ระยะทางประมาณ
๙๑ กิโลเมตร จากอำเภอฮอดเลี้ยวซ้ายไปทางอำเภอดอยเต่าประมาณ ๔๐
กิโลเมตร จากอำเภอดอยเต่าถึงที่ตั้งโครงการฯ บ้านแม่บวนเหนือประมาณ
๑๘ กิโลเมตร รวมระยะทางประมาณ ๑๔๙ กิโลเมตร
2. เดินทางตัวเมืองเชียงใหม่ไปทางจังหวัดลำพูน ถึงสามแยกดอยติ ระยะ
ทางประมาณ ๓๐ กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายไปทางอำเภอบ้านโฮ่ง ถึงสามแยกแม่
ตื่น ระยะทางประมาณ ๘๓ กิโลเมตร เลี้ยวขวาไปทางอำเภอดอยเต่า
ประมาณ ๓๓ กิโลเมตร เข้าที่ตั้งโครงการฯ บ้านแม่บวนเหนือ ประมาณ ๑
กิโลเมตร รวมระยะทางประมาณ ๑๔๘ กิโลเมตร
โครงการเพิ่มปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำแม่ตูบ (ต่อ) 7
ภาพที่ 8 อ่างเก็บน้ำแม่ตูบ ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า
ที่มา : นางสาว ณัฐธิดา แสงเพง
โครงการเพิ่มปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำแม่ตูบ จังหวัดเชียงใหม่
โครงการเพิ่มปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำแม่ตูบ ตำบลโป่งทุ่ง อำเภอ
ดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ พระราชดำริเมื่อ พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงมีพระราชดำริหาทางช่วยเหลือและเสด็จไป
ทอดพระเนตรบริเวณที่จะก่อสร้างอ่างเก็บน้ำแม่ตูบ เมื่อวันที่ 9
กุมภาพันธ์ 2520 วัตถุประสงค์ของโครงการ
เพื่อเพิ่มปริมาณน้ำต้นทุนในอ่างเก็บน้ำแม่ตูบ สำหรับการเกษตร
และการอุปโภค-บริโภค ให้มีปริมาณเพียงพอต่อความต้องการใช้น้ำ
ในปัจจุบัน
ศึกษาความเป็นไปได้ของแนวทางเลือกต่าง ๆ และพิจารณาหา
แนวทางที่เหมาะสมในการเพิ่มปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำแม่ตูบ
8
ภาพที่ 9 อ่างเก็บน้ำแม่ตูบ ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า
ที่มา : นางสาว หนึ่งฤทัย เสนาลัย
ศึกษาความเหมาะสมและผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการเพิ่ม
ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำแม่ตูบ สภาพทั่วไป สภาพภูมิประเทศ
โครงการอ่างเก็บน้ำแม่ตูบ ตั้งอยู่ในเขตลุ่มน้ำแม่หาด ซึ่งเป็นลุ่มน้ำ
สาขาฝั่ งซ้ายของลุ่มน้ำปิง ลำน้ำแม่ตูบมีต้นน้ำจากดอยแดงทางตอน
เหนือของอำเภอดอยเต่า ไหลลงมาทางทิศใต้บรรจบกับลำน้ำแม่หาด
แล้วไหลลงทะเลสาบดอยเต่า (อ่างเก็บน้ำเขื่อนภูมิพล) สภาพ
ภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นภูเขาสูงสลับกับที่ราบริมลำน้ำ และที่ดอน
ราษฎรใช้พื้นที่ตามแนวลำน้ำสาขาต่าง ๆ ทำการเพาะปลูก สภาพภูมิ
อากาศ สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปของพื้นที่โครงการอยู่ในเขตร้อนชื้น
ฤดูฝนมีฝนตกปานกลาง ฤดูหนาวมีอากาศหนาวเย็น สถิติปริมาณน้ำ
ฝนในเขตอำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างปี พ.ศ. 2502 ถึง
พ.ศ. 2541 มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปี 972.70 มิลลิเมตร จำนวนวันที่
ฝนตกเฉลี่ย 96.60 วัน อัตราการระเหยเฉลี่ยทั้งปี 904.90 มิลลิเมตร
9
ภาพที่ 10 อ่างเก็บน้ำแม่ตูบ ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า
ที่มา : นาย กิตติพัฒน์ จินาใจ
ภาพที่ 11 อ่างเก็บน้ำแม่ตูบ ตำบลโปงทุ่ง อำเภอดอยเต่า
ที่มา : นางสาว สิรินทิพย์ ปู่จันทร์
10
ภาพที่ 12 สัมภาษณ์คนในหมู่บ้านเกี่ยวกับน้ำแม่หาด ชื่อ ลุงลวน อายุ 69
ที่มา : นาย อรรถกร ปาสอน
11
ภาพที่ 13 สัมภาษณ์คนในหมู่บ้านเกี่ยวกับน้ำแม่หาด ชื่อ ลุงลวน อายุ 69
ที่มา : นาย ธิติวัฒน์ อินทรมงคล
12
ภาพที่ 14
13
ความเป็นมาของผ้าทอกระเหรี่ยง
ภาพที่ 15 ผ้าทอกระเหรี่ยง
ที่มา : นางสาว กรณิศา จินาต๊ะ
ผ้าทอกะเหรี่ยงเป็นภูมิปัญญาการทอผ้ากี่เอว ด้วย
เทคนิคที่มีเอกลักษณ์เฉพาะชาวกะเหรี่ยงเผ่าปกา
กะญอ ซึ่งเป็นชนเผ่ากะเหรี่ยงในจังหวัดตาก มีการ
เลี้ยงชีพตนเองและครอบครัวด้วยการทอผ้า ที่เรียกว่า
การกี่เอว ซึ่งเป็นวิธีการทอผ้าที่มีความเป็นเอกลักษณ์
สูง มีการสืบทอดมายาวนานกว่าร้อยปี โดยครั้งเมื่อ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
14
เอกลักษณ์ลวดลาย
ภาพที่ 16 ลวดลายผ้าทอกระเหรี่ยง
ที่มา : นางสาว ปิยฉัตร แก้วจา
มีลักษณะเป็นลวดลายดั้งเดิมที่ปรากฎบนผืนผ้าทอ
กะเหรี่ยงที่สืบทอดต่อกันมา จากบรรพบุรุษหลายชั่ว
อายุคน เป็นลวดลายที่พบได้ในกะเหรี่ยงโปวและปกา
กะญอแทบทุกพื้นที่เช่น ลักษณะ ลายเป็นสี่เหลี่ยม
ขนมเปียกปูนรูปแบบต่างๆ ลายดอกไม้ลายเส้นตรง
ลายกากบาท เป็นต้น ชื่อของลวดลายผ้า ทอกะเหรี่ยง
นั้นอาจไม่มีชื่อหรือความหมาย
15
ภาพที่ 17
ที่มา :
16
ภาพที่ 18
ที่มา :
17
ภาพที่ 19
ที่มา :
18
ภาพที่ 20
ที่มา :
19
ภาพที่ 21
ที่มา :
20
ภาพที่ 22
ที่มา :
21
ภาพที่ 23
ที่มา :
22
เรียบเรียงโดย
นาย กิตติพัฒน์ จินาใจ เลขที่ 2
นาย วัชรนันท์ ปัญต๊ะ เลขที่ 4
นาย ธิติวัฒน์ อินทรมงคล เลขที่ 7
23
เรียบเรียงโดย
นาย รตนภูมิ ชาติสิริภูมิ เลขที่ 8
นาย อรรถกร ปาสอน เลขที่ 10
นาย ธนกฤต เดินเมือง เลขที่ 12
24
เรียบเรียงโดย
นาย ธนกร ไหวนะ เลขที่ 13
นาย ธีระพัฒน์ ปู่ดอก เลขที่ 14
นาย ปฐมพงศ์ เรืองธารา เลขที่ 15
25
เรียบเรียงโดย
นาย นรเชษฐ์ ยะปะละ เลขที่ 16
นางสาว ณัฐธิดา แสงเพง
เลขที่ 17
นางสาว กรณิศา จินาต๊ะ
เลขที่ 18
26
เรียบเรียงโดย
นางสาว ปิยฉัตร แก้วตา
เลขที่ 24
นางสาว กัญญารัตน์ ปู่สุข
เลขที่ 26
นางสาว ชนิดา จันทร์เดือน
เลขที่ 27
27
เรียบเรียงโดย
นางสาว ชวัลลักษณ์ สุวรรณภาพ
เลขที่ 28
นางสาว ปณิดา มณีศรี
เลขที่ 29
นางสาว วิลาสินี ปู่เงิน
เลขที่ 32
28
เรียบเรียงโดย
นางสาว สิรินทิพย์ ปู่จันทร์ นางสาว หนึ่งฤทัย เสนาลัย
เลขที่ 33 เลขที่ 34
นางสาว สุรดา ใหม่แก้ว นางสาว อุไรอร ติ๊บมา
เลขที่ 35 เลขที่ 36