The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการศึกษานักเรียนเป็นรายกรณี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by vitamilk, 2021-09-28 22:37:59

รายงานการศึกษานักเรียนเป็นรายกรณี

รายงานการศึกษานักเรียนเป็นรายกรณี

รายงานการศกึ ษานกั เรียนเปน็ รายกรณี

โดย
นายขวญั ชัย เณรแตง
รหัสนกั ศกึ ษา 604145002 หมเู่ รยี น 60/12
สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา

ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
หนว่ ยฝกึ ประสบการณ์ โรงเรยี นเทศบาล ๔ (เชาวนปรชี าอทุ ศิ )

ศูนยฝ์ กึ ประสบการณ์วชิ าชีพครู คณะครศุ าสตร์
มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม

คำนำ

รายงานการศึกษานักเรียนเป็นรายกรณี (Case study ) ฉบับนี้ เป็นการศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล อย่าง
ละเอียด ต่อเนื่อง โดยใช้เทคนิควิธีการที่หลากหลายในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อหาสาเหตุ ของ
ปัญหาของเด็กชายเก่งกล้า สามารถ (นามสมมุติ) อันจะนำไปสู่การดำเนินการให้ความช่วยเหลือ และพัฒนา
เด็กชายเก่งกล้า สามารถ (นามสมมุติ) ให้สามารถปรับตัวทางด้านการเรียนการสอนรูปแบบ Online ในช่วง
สถานการณ์โควดิ -19 ใหม้ ีความกระตือรือร้นในการเข้าเรียนได้อยา่ งมีความสุข ขอขอบคณุ โรงเรียนเทศบาล ๔
(เชาวนปรชี าอทุ ศิ ) และคณะครทู ีใ่ หข้ ้อมูลและสนบั สนนุ เพื่อเปน็ ประโยชนต์ ่อการวนิ จิ ฉัยปญั หา และสามารถ
เสนอแนะแนวทางการแก้ไข พร้อมทั้งให้การดูแล ช่วยเหลือ เด็กชายเก่งกล้า สามารถ (นามสมมุติ) ได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม ผู้ศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะเอื้อ ประโยชน์ต่อการเรียนรู้ และพัฒนาตนของ
นักศึกษาและผู้ที่สนใจ ด้วยการเป็นแหล่งข้อมูลสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ช่วยเหลือและส่งเสริมผู้เรียนและ
เยาวชนของชาตหิ ากมขี ้อบกพรอ่ งประการใดก็ขอน้อมรบั ไว้ เพื่อปรับปรงุ พฒั นาให้ดขี ึ้นตอ่ ไป

นายขวญั ชัย เณรแตง

นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

สารบญั ก

คำนำ 1
สารบัญ 2
การศึกษารายกรณ(ี Case Study) 2
จดุ มุง่ หมายของการศึกษารายกรณี 3
ประโยชน์ของการศึกษารายกรณี 5
การเลอื กนักเรียนเพอ่ื ทำการศกึ ษารายกรณี 5
รายงานการศึกษานักเรยี นเป็นรายกรณี 5
ชื่อนักเรียนที่ศึกษา 5
ผศู้ ึกษา 5
ระยะเวลาในการศึกษา 5
สาเหตุของการศึกษา 6
เคร่ืองมอื และเทคนิคท่ีใช้ในการรวบรวมข้อมูล 6
ข้อมูลท่ีได้จากการสังเคราะห์ข้อมูล 9
การวิเคราะห์และวนิ จิ ฉัยปญั หา 10
ขอ้ เสนอแนะ
ภาคผนวก

การศึกษารายกรณ(ี Case Study)

การศึกษารายกรณี หมายถึง การศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับบุคคล อย่างลึกซึ้งและวิเคราะห์ ถึง
สาเหตุที่ทำให้บุคคลมีพฤติกรรมเช่นนั้น หรือมีพฤติกรรมแปลกไปว่ามีสาเหตุมาจากอะไร รวมทั้ง แปล
ความหมายของพฤติกรรมนัน้ ๆ ว่ามีความสัมพันธ์กับปัญหา และการปรับตัวของบุคคลอย่างไร (พนม ลิ้ม อา
รีย์. 2538: 8) ซึ่งสอดคล้องกับกมลรัตน์ หล้าสุวงษ์ (2529: 3) ได้กล่าวว่า การศึกษาบุคคลเป็นรายกรณี คือ
การศึกษารายละเอียดต่าง ๆ ที่สำคัญของหน่วยใดหน่วยหนึ่งในสังคม เช่น บุคคล กลุ่ม ชุมชนสถาบัน ฯลฯ
โดยเฉพาะในปัจจุบัน มักเน้นศึกษารายละเอียดของแต่ละบุคคล การศึกษารายละเอียดของแต่ละ บุคคลนี้
จะต้องศึกษาต่อเนื่องกันไปในระยะเวลาหนึ่ง แล้วนำรายละเอียดที่ได้มาวิเคราะห์ตีความ เพื่อให้ เข้าใจถึง
สาเหตุของ พฤติกรรม ซึ่งอาจจะเป็นพฤติกรรมที่เป็นปัญหาหรือไม่เป็นปัญหาก็ได้ พัฒนาการด้าน ต่าง ๆ
ความสามารถพิเศษด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายๆ ด้าน ถ้าในรายที่เป็นปัญหา จะได้ใช้เป็นแนวทาง ในการที่จะ
ช่วยเหลือหรอื แกไ้ ข แต่ถ้าในรายทไี่ ม่เป็นปญั หาจะได้ใช้เปน็ แนวทางในการปอ้ งกนั ส่งเสริม หรอื นำไปเป็นแบบ
ฉบับแก่บุคคลอ่ืนตอ่ ไปในปจั จบุ ัน และในอนาคต

นันทิกา แย้มสรวล (2529:7) ได้สรุปความคิดรวบยอดของการศึกษารายกรณีว่าเป็นวิธีการศึกษา
บุคคลอย่างละเอียดทุกด้านต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน เป็นการรวบรวมข้อมูลทุกด้านของบุคคลมาจัดไว้ อย่าง
เป็นระบบเพื่อใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวินิจฉัยปัญหาเพื่อช่วยให้มองเห็น บุคลิกภาพรวม
ของบุคคลจนสามารถเข้าใจถงึ ธรรมชาติของบุคคลและสาเหตขุ องปัญหาอย่างชดั เจนแล้ว นำขอ้ มลู มาพิจารณา
วางแผนให้การช่วยเหลือ แนะแนวให้บุคคลพยายามแก้ไขและพัฒนาสภาพชีวิตของ ตนใหส้ ามารถดำเนินชีวิต
อยู่ในสังคมได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

สุภาพรรณ โคตรจรัส (2528: 1) กลา่ วว่า การศกึ ษารายกรณเี ปน็ การศึกษาและวิเคราะหส์ ง่ิ หนึ่ง สง่ิ ใด
โดยละเอียดอาจเป็นการศึกษาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง กลุ่มบุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ชุมชนใดชุมชนหนึ่ง 2 หรือ
สถาบันใดสถาบันหนึ่ง การศึกษารายกรณีมิได้หมายความเฉพาะการรวบรวมข้อมูลประวัติของบุคคล ที่ถูก
ทำการศึกษาเท่านั้นแต่ยังต้องรวมถึงการนำข้อมูลเหล่านี้มาวิเคราะห์จัดหมวดหมู่และหา ความสัมพันธ์เพ่ือ
นำไปสู่การวินิจฉัยการให้ขอ้ เสนอแนะเพือ่ ดำเนนิ การและการติดตามผลตามลำดับ

จากแนวคิดข้างต้น จึงสรุปได้ว่า การศึกษารายกรณี หมายถึง การศึกษาสาเหตุของพฤติกรรม ของ
บุคคลอย่างละเอียด โดยใช้เครื่องมือในการแนะแนวเพื่อหาทางช่วยเหลือป้องกันและส่งเสริมเพื่อให้ บุคคลท่ี
ถูกศึกษานัน้ สามารถดำเนินชวี ิตอยใู่ นสงั คมอย่างมีความสขุ

จดุ มุ่งหมายของการศึกษารายกรณี

1. เพื่อสืบค้นหาสาเหตุที่ทำให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมที่ผิดปกติ ซึ่งทางโรงเรียนจะได้ให้ความช่วยเหลือและ แก้ไข
ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
2. เพื่อให้ทราบถงึ สภาพปัญหา และสาเหตุของปญั หาทเี่ กิดขึน้ จริงเกยี่ วกบั นักเรียน
3. เพอ่ื สืบค้นรปู แบบของพัฒนาการของนักเรยี น ทั้งในดา้ นร่างกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ สงั คม และจติ ใจ
4. เพื่อช่วยให้นักเรียนได้เกิดความเข้าใจในตนเอง สามารถพัฒนาวางแผนชีวิตและตัดสินใจเลือกแนวทาง
การศกึ ษาต่อ และเลอื กอาชีพทีเ่ หมาะสม
5. เพอ่ื ชว่ ยใหผ้ ูป้ กครองเข้าใจในตัวเด็กของตนได้ดขี ้ึน
6. เพ่อื ชว่ ยให้ครูเขา้ ใจนกั เรียนไดอ้ ยา่ งละเอียด ลึกซึ้ง และถกู ตอ้ ง

ประโยชนข์ องการศกึ ษารายกรณี

ในวิธีการศึกษารายกรณี ที่นำมาใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นรายบุคคลเพื่อให้การแนะแนวนั้น จัดเป็น
กลวิธที ่ีมี ประโยชนต์ ่อผทู้ ่ีนำมาใชแ้ ละบคุ คลทเ่ี กย่ี วข้องเป็นอย่างมากซง่ึ จำแนกออกได้ ดังน้ี
1. ประโยชนต์ ่อครหู รอื ผูแ้ นะแนวที่เปน็ ผู้ศึกษาโดยตรง

1.1 ชว่ ยใหค้ รหู รอื ผู้แนะแนวได้ทราบรายละเอียด เกย่ี วกบั ตวั นักเรยี นอย่างกวา้ งขวางทำให้รู้จัก และ
เข้าใจธรรมชาตขิ องมนุษยอ์ ย่างแท้จรงิ

1.2 ช่วยให้ครูและผู้แนะแนวเข้าใจถึงสาเหตุและเง่ือนไขต่างๆ ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมท่ีเป็นปัญหา ทำ
ใหม้ องเหน็ ล่ทู างทจ่ี ะช่วยเหลอื แกไ้ ขปญั หาใหก้ ับนักเรียนได้อย่างเหมาะสม

1.3 ช่วยใหค้ รูและผู้แนะแนวมีความรแู้ ละมีทกั ษะในการใช้เคร่ืองมือและกลวธิ ีตา่ งๆ ในการเกบ็ ข้อมลู
เก่ียวกับตวั นักเรียน และยังชว่ ยให้เป็นคนที่มีเหตผุ ล รจู้ กั เกบ็ ข้อมลู อย่างมีระบบ ร้จู กั แก้ปญั หาโดย ใช้ข้อมูลท่ี
ไดร้ วบรวมไว้มาประกอบในการพิจารณาตดั สินใจ

2. ประโยชนต์ อ่ นกั เรียนทเี่ ป็นผ้ไู ด้รบั การศึกษา
2.1 ช่วยให้นักเรียนได้เกิดความเข้าใจตนเอง ยอมรับความเป็นจริงเกี่ยวกับตัวเองมีการปรับปรุง

ตนเอง หรอื แกไ้ ขปญั หาของตน เพอื่ ชว่ ยใหม้ ีสภาพชีวิตทด่ี ขี ึ้น
2.2 ช่วยใหน้ กั เรียนมีกำลังใจและมคี วามเตม็ ใจที่จะดำเนินชีวติ ต่อไปอย่างมีความหวัง

3. ประโยชน์ตอ่ คณะครแู ละโรงเรียน
3.1 ช่วยใหค้ รูรจู้ ักและเขา้ ใจนักเรียนของตนดีขนึ้ ยินดใี หค้ วามร่วมมอื ในการช่วยเหลอื แกไ้ ข ปญั หาให้

นกั เรยี น
3.2 ช่วยให้โรงเรียนได้ทราบความเท็จจริงต่างๆ เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการของตัวเด็กทำ ให้

สามารถนำข้อเท็จจริงเหล่านั้นมาใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมและการใช้บริการ ด้าน
ต่างๆ แกน่ ักเรยี นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
4. ประโยชนต์ ่อผปู้ กครองของนักเรียนทไี่ ดร้ ับการศึกษา

4.1 ชว่ ยให้ผูป้ กครองเข้าใจเด็กของตนดขี ึน้ ทำใหส้ ามารถปฏบิ ตั ติ ่อบุตรได้อยา่ งเหมาะสม
4.2 ช่วยให้ผู้ปกครองเกิดความสบายใจ เพราะตระหนักได้ว่า โรงเรียนมคี วามตัง้ ใจและจริงใจใน การ
ป้องกัน ชว่ ยเหลอื แก้ไขและสง่ เสริมพัฒนานักเรยี น

การเลือกนักเรียนเพ่ือทำการศึกษารายกรณี

ในการศึกษารายกรณีนั้นครูสามารถเลือกนักเรียนได้หลายประเภท ไม่จำเป็นจะต้องเลือกเฉพาะ
นักเรียนท่ี มีปัญหาเท่านั้นขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายในการศึกษาของครูว่า ต้องการทราบเรื่องอะไรครูควรเลือก
นักเรยี นเพ่ือ ทำการศกึ ษารายกรณีสามารถจำแนกได้ดังน้ี

1. นักเรียนท่ีประสบผลสำเร็จในด้านการเรียนดีเยี่ยม
2. นักเรยี นที่มคี วามสามารถพิเศษบางอย่าง เช่น ศิลปะ ดนตรี ฯลฯ
3. นกั เรียนทีม่ ีปัญหามาก
4. นักเรยี นทม่ี คี วามทะเยอทะยานมีกำลงั ใจเข้มแขง็ ท่จี ะเอาชนะอุปสรรค
5. นักเรยี นทเ่ี รียนอ่อนไม่สมารถทจี่ ะทำงานในระดบั ทีเ่ รยี นอยู่ได้

6. นกั เรยี นที่มีพฤตกิ รรมดเี ด่นสมควรเอาเป็นตัวอย่าง
7. นกั เรยี นท่ีมีพฤติกรรมปกติธรรมดาท่วั ๆ ไป

รายงานการศึกษานักเรียนเป็นรายกรณี

1. ชือ่ นกั เรยี นท่ศี กึ ษา ช้นั ท่ีกำลงั ศกึ ษา

เดก็ ชายเก่งกล้า สามารถ (นามสมมุติ) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6/3

2. ผู้ศกึ ษา

นายขวญั ชัย เณรแตง

3. ระยะเวลาในการศกึ ษา

1 กรกฎาคม 2564 ถึงวนั ที่ 31 สงิ หาคม 2564 (ระยะเวลา 2 เดอื น)

4. สาเหตขุ องการศกึ ษา

ข้าพเจ้าเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู โดยรับผิดชอบการสอนวิชาวิทยาการคำนวณ
ระดับชั้นประถมศึกษาท่ี 6 โรงเรียนเทศบาล ๔ (เชาวนปรีชาอุทิศ) เนื่องด้วยสถานการณ์ โควิด-19 จึงต้อง
จัดการเรียนการ สอนเป็นรูปแบบ Online ซึ่ง เด็กชายเกง่ กล้า สามารถ (นามสมมุติ) ไม่ได้อยู่ในกลุ่มท่ีจัดการ
เรียน การสอนออนไลน์ และได้พบว่าเด็กชายเก่งกล้า สามารถ (นามสมมุติ) ไม่เคยส่งงานตั้งแต่เปิดเทอมจน
งานปัจจบุ นั

ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้าพเจ้าจึงมีความประสงค์ที่จะศึกษาพฤติกรรมของ เด็กชายเก่งกล้า สามารถ
(นามสมมุติ) เป็นรายกรณีเพื่อปรับเปลย่ี น แกไ้ ขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ซึง่ หากนกั เรียนได้รับการแก้ไขก็จะ
ช่วยให้นักเรยี น สามารถปรับตัวทางด้านการเรียนการสอนรปู แบบ Online ในช่วง สถานการณ์โควิด-19 ให้มี
ความกระตอื รอื ร้นใน การเข้าเรียนมากยงิ่ ขึน้

5. เคร่อื งมือและเทคนคิ ทีใ่ ชใ้ นการรวบรวมข้อมลู

5.1 แบบรายงานการพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี นรายบุคคล (ปพ.6)

5.2 การสงั เกต

5.3 การสัมภาษณ์

6. ขอ้ มลู ทีไ่ ดจ้ ากการสงั เคราะห์ข้อมลู

6.1 ข้อมูลส่วนตัว

เดก็ ชายเก่งกลา้ สามารถ (นามสมมุติ) เกิดวนั ที่ 21 เมษายน 2553 ปจั จบุ นั อายุ 11 ปี

เช้อื ชาติไทย สัญชาติไทย ศาสนาพทุ ธ มผี ิวสองสี รูปรา่ งอว้ น สงู 150 เซนติเมตร นำ้ หนัก 70
กิโลกรัม อาศัยอยู่ กับ บิดามารดาและพี่ชาย ค่าใช้จ่ายมาโรงเรียนวันละ 20 บาท บ้านที่อาศัยอยู่
ปจั จุบันเป็นของตนเอง มีงานพเิ ศษ ช่วยที่บา้ นทำหมขู าย ไม่มีโรคประจำตวั

6.2 ขอ้ มลู ครอบครวั

เด็กชายเก่งกล้า สามารถ (นามสมมุติ) อาศัยอยู่บ้านกับบิดา มารดาและพ่ีชายบิดาและ
มารดาทำงานขายเนื้อหมู ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวอยู่ในระดับปานกลาง บิดามารดาต้อง
ทำงาน เพ่ือหาเงินเล้ียงดู ครอบครวั และสง่ ลูกทงั้ สองในดา้ นการศกึ ษา

6.3 ข้อมลู สขุ ภาพ

6.3.1 สุขภาพกาย ไมม่ ีโรคประจำตัว

6.3.2 สุขภาพจิต เป็นคนรา่ เริง ชอบพดู คยุ เขา้ กบั เพ่ือนได้ดี

6.4 ข้อมลู ด้านการเรยี น

ผลการเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 1-2 อยูใ่ นเกณฑ์แย่ มพี ฤตกิ รรมขาดเรียน ไม่
คอ่ ยตั้งใจเรียนชอบพูดคุยในเวลาเรียน

6.5 ข้อมลู ทางสังคม

เด็กชายเก่งกล้า สามารถ (นามสมมุติ) เป็นคนร่าเริงสนุกสนานเข้ากับเพื่อนและคนรอบข้าง
ได้อย่าง ดี เวลาอยู่ที่โรงเรียนชอบทำกิจกรรมร่วมกันกับเพื่อนๆ เช่น นั่งคุย เล่นโทรศัพท์เข้ากับ
เพอื่ นๆในห้องไดท้ กุ คน (ได้พบเหน็ และสอบถาม เดก็ ชายเกง่ กลา้ สามารถ (นามสมมตุ ิ) เนือ่ งจากเด็ก
นกั เรยี นไดถ้ กู นัดหมายมา เน่อื งจากนักเรียนไมท่ ำงาน และไม่เขา้ เรยี น Online )

6.6 ความสนใจ งานอดเิ รก และประสบการณ์ในด้านตา่ งๆ

6.6.1 มีความสนใจเกย่ี วกับการเล่นเกมโทรศัพท์

6.6.2 งานอดิเรก คอื เลน่ เกม และเล่นอนิ เทอรเ์ น็ต

6.7 เป้าหมายและความคาดหวงั ในอนาคต
6.7.1 อยากดแู ลพอ่ แม่ใหด้ ที ีส่ ดุ
6.7.2 อยากมีเงนิ จำนวนมาก

6.8 ความภาคภมู ใิ จ ปญั หาและอุปสรรคในการดำเนินชวี ติ
6.8.1 ความภาคภูมใิ จคือ การได้รับการยอมรับจากกลุม่ เพ่ือน
6.8.2 ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินชีวิตคือ ปัญหาทางด้านการเรียน ขาดความ

กระตือรือร้น ทำให้มีผลต่อการเรยี นในวชิ าตา่ งๆ
6.9 ทัศนคตขิ องบุคคลรอบขา้ งทมี่ ตี ่อนกั เรียน
- บิดา , มารดา
เด็กชายเก่งกล้า สามารถ (นามสมมุติ) พูดจาสุภาพเมื่อเวลาไม่พอใจจะแสดงอาการเงียบไม่พูดจา
เวลาวา่ งทอ่ี ยบู่ ้านชอบ วงิ่ เลน่ กบั เพื่อน เลน่ โทรศัพท์ ช่วยทีบ่ า้ นทำหมู
- อาจารยท์ ่ปี รกึ ษา มคี วามคิดเห็นต่อเดก็ ชายเกง่ กลา้ สามารถ (นามสมมุติ) ดงั น้ี
ดา้ นการเรียน
เกณฑอ์ ยใู่ นระดบั แย่ แตจ่ ะเปน็ เด็กทที่ ำงานช้าเพราะชอบพูด ชวนเพ่อื นคยุ
ดา้ นพฤตกิ รรมและลักษณะนิสัย
ชอบพดู คุย และชวนเพือ่ นภายในหอ้ งคยุ ในเวลาที่มกี ารเรยี นการสอน
ดา้ นสุขภาพร่างกาย
มีสุขภาพรา่ งกายสมบรู ณแ์ ขง็ แรงดี
ด้านสังคมและการอยรู่ ่วมกบั เพอื่ นในชน้ั เรยี น
สามารถปรบั ตัวเขา้ กบั เพอ่ื นไดท้ ุกกลมุ่
ส่งิ ท่ีอยากใหป้ รบั ปรุง
- ควรเพ่ิมความสนใจ ความกระตือรือร้นในการเรยี นและการสง่ งาน

7. การวิเคราะห์และวนิ จิ ฉยั ปญั หา

การทเี่ ด็กชายเกง่ กล้า สามารถ (นามสมมตุ ิ) ไม่ให้ความสนใจ ไมเ่ ขา้ เรยี นและไม่สง่ งานในหลายๆวิชา
เนอื่ งมาจาก

7.1 การขาดแรงกระตุ้นทางการเรียนจากครอบครัว เนื่องจากทางครอบครัวไม่ค่อยมีเวลา กวดขัน
สอน การบ้านและให้คำปรึกษาในเรื่องเรียน เนื่องจากบิดา มารดาต้องทำงาน จึงไม่มีเวลา ที่จะให้ความใส่ใจ
ในเรื่องการเรียนสักเท่าไร ทำให้ การท่ีเด็กชายเก่งกล้า สามารถ (นามสมมุติ) ขาดแรงจูงใจในการเรียน ไม่
อยากเข้าเรียนไมท่ ำงาน ไม่ทบทวนบทเรียน ไม่อ่านหนังสือและหันไปสนใจส่ิงอนื่ แทน

7.2 ไม่ชอบการเรียนออนไลน์ รู้สึกว่าการเรียนออนไลน์ครูผู้สอนให้งานเยอะและรู้สึกว่า ตัวเองไม่
คอ่ ยเขา้ ใจเนือ้ หาท่เี รยี น

8. การช่วยเหลือ ส่งเสริม และพฒั นา

8.1 ผู้ศึกษาสอบถามปัญหาที่ไม่เข้าเรียนออนไลน์กับ เด็กชายเก่งกล้า สามารถ (นามสมมุติ) เพื่อ
สอบถาม เหตุผลท่ีไม่เข้าการเรียนการสอนแบบออนไลน์ เนื่องจากลืมรหัสเฟส และมีปัญหาเกี่ยวกับ
อนิ เทอร์เน็ต (จากการสอบถาม เด็กชายเก่งกล้า สามารถ (นามสมมตุ )ิ )

8.2 ผู้ศึกษาให้คำปรึกษาแก่ เด็กชายเก่งกล้า สามารถ (นามสมมุติ) เพื่ออธิบายสร้างความเข้าใจ
เกี่ยวกับ เหตุผลที่ต้องจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ สร้างแรงจูงใจคอยแจ้งงานและคะแนนให้ เด็กชาย
เก่งกล้า สามารถ (นามสมมุติ) ทราบอยู่เรื่อยๆ ติดต่อสอบถาม เพื่อเป็นการกระตุ้นและเตือนในทางด้านการ
เข้าเรียนและการสง่ งาน

9. การตดิ ตาม

ถึงแม้ว่าการศึกษาครั้งนี้ยังไม่เสร็จสิ้นสมบูรณ์ ในขณะที่เขียนรายงานนี้ผู้ศึกษาหวังว่าการช่วยเหลือ
พัฒนาปรบั ปรงุ พฤติกรรมเด็กชายเก่งกลา้ สามารถ (นามสมมตุ )ิ จะได้ผลสำเร็จเป็นอยา่ งดี ทงั้ น้เี พราะจากการ
สงั เกต พฤตกิ รรมในปัจจบุ นั ของ เดก็ ชายเกง่ กล้า สามารถ (นามสมมุต)ิ ในรายวชิ าวทิ ยาการคำนวณ ชั้นระถม
ศึกษาปีที่ 6 ซึ่งข้าพเจ้าได้สงั เกต พบว่า เด็กชายเก่งกล้า สามารถ (นามสมมุติ) มีความสนใจในการเรียนมาก
ขึ้นสังเกตได้จากคอยโทรสอบถามงานและ คะแนนอยู่เรื่อยๆ ถึงแม้ว่าเขาจะไม่ได้ส่งชิ้นงานตามที่กำหนดแต่
เขาก็ทยอย ทำส่งทหี ลังและเขายงั ตง้ั ใจทำช้ินงาน ซง่ึ สงั เกตได้จากชน้ิ งานทเี่ ริ่มสง่

10.ข้อเสนอแนะ

10.1 สำหรับนักเรียน เนื่องจากครอบครัวของ เด็กชายเก่งกล้า สามารถ (นามสมมุติ) ไม่ค่อยมีเวลา
พบปะกัน เนื่องจากบิดามารดาต้องทำงาน กว่าจะกลับมาจากทำงานก็เปน็ เวลาเย็น บางวันก็กลับค่ำซึ่งมีส่วน
ทำให้ เด็กชายเกง่ กล้า สามารถ (นามสมมุติ) ไม่มีผู้กวดขันทางการเรยี น ดังนั้นบิดามารดาควรให้เวลาและเอา
ใจใส่ในการเรียนของ เดก็ ชายเก่งกล้า สามารถ (นามสมมตุ ิ) ให้มากขึน้ โดยการสอนและกระตุน้ เตอื นใหเ้ ขาเข้า
เรียน และทบทวนบทเรยี น และให้กำลังใจเม่ือเด็กชายเกง่ กล้า สามารถ (นามสมมุติ) ทำชิ้นงานได้สำเร็จ เพื่อ
เป็นแรงเสริมให้อยากเรียนรู้มาก ยิ่งขึ้น รวมทั้งคอยติดต่อประสานงานกับครูในโรงเรียนอย่างใกล้ชิด เกี่ยวกับ
เร่อื งการเรยี น

10.2 สำหรับครูประจำวิชาควรช่วยดูแล สังเกต กระตุ้นและจูงใจให้ เด็กชายเก่งกล้า สามารถ (นาม
สมมุติ) อย่างใกล้ชิดคอยกระตุ้นให้เขาเข้าเรียนและคอยเตือนให้เขาส่งงาน ควรลดภาระงานเนื่อง ด้วย
สถานการณ์โควิด 19 ที่ทำให้นักเรียนต้องเรียนออนไลน์ซึ่งอาจทำให้นักเรียนต้องอยู่กับโทรศัพท์ เป็น
เวลานานๆซ่งึ อาจทำใหเ้ หนอ่ื ยล้าและท้อแทก้ ับการเรยี นมากกว่าเดมิ

10.3 สำหรับครูที่ปรึกษา มีความสำคัญมากในการที่จะช่วยเหลือ เด็กชายเก่งกล้า สามารถ (นาม
สมมุติ) เนื่องจากเป็นบุคคลที่ใกล้ชิดและได้รับความไว้วางใจ ดังนั้นครูที่ปรึกษาควรท ำหน้าที่ในการ
ประสานงานกับผู้ท่ี เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด โดยขอความร่วมมือจากครูผู้สอนทุกวิชา และครอบครัว ในการ
แกป้ ัญหา

ภาคผนวก

แบบสังเกตพฤติกรรม
ชื่อนักเรียน เดก็ ชายเด็กชายเก่งกล้า สามารถ (นามสมมตุ ิ) ชั้น ป.6/3
วันที่ 7 สงิ หาคม 2564
สถานทสี่ งั เกต โรงเรียนเทศบาล ๔ (เชาวนปรชี าอุทศิ )
พฤตกิ รรม

เด็กชายเก่งกล้า สามารถ (นามสมมุติ) ไม่ได้อยู่ในกลุ่มที่จัดการเรียน การสอนออนไลน์ และได้พบว่า
เด็กชายเก่งกลา้ สามารถ (นามสมมตุ )ิ ไม่เคยส่งงานตงั้ แต่เปิดเทอมจนงานปจั จบุ ัน
ความคดิ เห็น

เดก็ ชายเกง่ กล้า สามารถ (นามสมมตุ ิ) ไม่ชอบการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ จงึ ทำให้ไม่เขา้ เรียน
และไม่สนใจท่จี ะทำช้ินงานส่ง
ขอ้ เสนอแนะ

เดก็ ชายเกง่ กล้า สามารถ (นามสมมุติ) ควรมีความมุ่งมนั่ ต้งั ใจในการเรยี นมากขึ้น ครผู สู้ อนตอ้ งสรา้ ง
แรงจูงใจใน การเรยี นให้กับเขามากข้ึน ช่วยกระตุ้นให้กลา้ คิดคดิ กลา้ ทำ ให้มคี วามมั่นใจในตวั เองมาก ยงิ่ ขึ้น

ลงช่อื .......................................................................... ผสู้ งั เกต
(นายขวัญชัย เณรแตง)

วนั ที่ 7 เดอื น สิงหาคม พ.ศ. 2564


Click to View FlipBook Version