The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

พิมพ์อังกฤษ-01

พิมพ์อังกฤษ-01

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี น
พมิ พภ์ าษาองั กฤษ

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

สว่ นประกอบต่าง ๆ ของเครอ่ื งพมิ พด์ ดี ภาษาองั กฤษ

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

สว่ นประกอบต่าง ๆ ของเครอ่ื งพมิ พด์ ดี ภาษาองั กฤษ

ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครอื่ งพิมพด์ ีด

1. ดอง้ัากมฤปษัดแคร่ (Carriage Return Lever) ลักษณะเป็นด้ามเหล็กหรืออะลูมิเนียมโค้งย่ืนออก
จากแคร่ อยดู่ า้ นซา้ ยมอื เม่อื ตอ้ งการขน้ึ บรรทดั ใหม่ใหป้ ัดแคร่ดว้ ยมอื ซา้ ย เสรจ็ แล้วมอื จะตอ้ งกลบั มาวาง
ทแ่ี ป้นเหยา้ ตามเดมิ

2. ลูกบิดซ้าย-ขวา (Left-Right Cylinder Knob) ทาหน้าทป่ี ้อนกระดาษเขา้ ไปในเคร่อื งและคลาย
กระดาษเมอ่ื ตอ้ งการนากระดาษออกจากเครอ่ื ง โดยการหมนุ ลกู บดิ ลกู ยางใหญ่ดว้ ยมอื ซา้ ยหรอื ขวา

3. ป่ ุมปรบั ระยะบรรทดั (Variable Release Lever) เป็นปุ่มสาหรบั ปรบั ระยะบรรทดั ให้ชิดหรอื
หา่ งกวา่ ระยะบรรทดั ทต่ี งั้ ไว้ ผพู้ มิ พส์ ามารถกดป่มุ เพอ่ื ปรบั ระยะบรรทดั ไดต้ ามตอ้ งการ

4. ก้านฟรีบรรทดั (Platen Release) เป็นกา้ นสาหรบั โยกใหล้ กู ยางเลก็ และลูกยางใหญ่คลายออก
จากกนั เพ่อื ใหห้ ลวมไม่จบั กระดาษ ลูกยางใหญ่จะหมุนฟรไี ดโ้ ดยรอบ เพ่อื ใหส้ ามารถถอดกระดาษออก
จากเครอ่ื งพมิ พไ์ ดส้ ะดวก

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

สว่ นประกอบต่าง ๆ ของเครอ่ื งพมิ พด์ ดี ภาษาองั กฤษ

ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครื่องพิมพด์ ีด

5. ปอ่งัุมกปฤษล่อยแคร่ซ้าย-ขวา (Left & Right Carriage Release) จะติดอยู่ท่ีแคร่ทัง้ สองข้าง
ทงั้ ดา้ นซ้ายและดา้ นขวา ใชเ้ ม่อื ตอ้ งการเล่อื นแคร่ไปทางซา้ ยสุด หรอื ขวาสุด จะกดปุ่มซ้ายหรอื ขวาแคร่
กจ็ ะเลอ่ื นไปไดต้ ามตอ้ งการ

6. ก้านล้างแคร่จากดั ตอนทงั้ หมด ซ้าย-ขวา (Left & Right Total Tabulator Clearing) ผูพ้ มิ พ์
สามารถลา้ งแครจ่ ากดั ตอนทต่ี งั้ ไวท้ งั้ หมด โดยกดกา้ นลา้ งแครจ่ ากดั ตอนดา้ นซา้ ยหรอื ขวากไ็ ด้ ระยะจากดั
ตอนทต่ี งั้ ไวท้ งั้ หมดจะลบหายไป

7. ท่ีตงั้ ระยะบรรทดั (Line Spacer) เป็นลอ้ วงกลมสามารถตงั้ ระยะบรรทดั ไดต้ ามตอ้ งการ
8. แผงนากระดาษ (Paper Guide) เป็นแผ่นเหล็กเล่ือนไปมาได้ตามต้องการ ก่อนใส่กระดาษ
ตอ้ งเลอ่ื นแผงนากระดาษไปทเ่ี ลข 0 (ศนู ย)์ เพอ่ื สะดวกในการจดั หน้ากระดาษ (ดา้ นซา้ ย) ใหต้ รงกนั

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

สว่ นประกอบต่าง ๆ ของเครอ่ื งพมิ พด์ ดี ภาษาองั กฤษ

ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเคร่ืองพิมพด์ ีด

9. ปอ่งัุมกกฤนั้ษระยะซ้ายหรือกนั้ หน้า (Left Margin) ผู้พมิ พ์สามารถตงั้ กนั้ ระยะซ้าย (กนั้ หน้า) จาก
ขอบกระดาษรมิ สดุ โดยเลอ่ื นป่มุ กนั้ หน้าไปอยใู่ นตาแหน่งทต่ี อ้ งการ

10. แนวระดบั บรรทดั (Line Indicator) เป็นแนวเสน้ ประอยู่บนแผ่นพลาสตกิ หน้าแคร่ใชป้ ระโยชน์
ในการปรบั แนวระดบั บรรทดั ใหต้ รงในแนวนอน

11. แผงรองกระดาษ (Paper Rest) อาจเป็นแผงพลาสตกิ หรอื แผงเหลก็ จะดงึ ขน้ึ หรอื กดพบั ลงได้
ใชเ้ ป็นทร่ี องแผน่ กระดาษขณะพมิ พ์ เพอ่ื ไม่ใหก้ ระดาษพบั หรอื งอลง และยงั ใชเ้ ป็นเครอ่ื งวดั ความยาวของ
กระดาษพมิ พไ์ ดอ้ กี ดว้ ย

12. แผงรองลบ (Erasing Table) เป็นแผน่ เหลก็ แบนราบ ใชเ้ ป็นทร่ี องเพอ่ื ลบคาทพ่ี มิ พผ์ ดิ

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

สว่ นประกอบต่าง ๆ ของเครอ่ื งพมิ พด์ ดี ภาษาองั กฤษ

ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครอ่ื งพิมพด์ ีด

13. ปอ่งัมุ กกฤนั้ษระยะขวาหรือกนั้ หลงั (Right Margin) ก่อนทจ่ี ะพมิ พง์ านขนั้ ผลติ ทุกครัง้ ผูพ้ มิ พจ์ ะตอ้ ง
กนั้ ระยะหน้า-หลงั ใหเ้ หมาะสมเพ่อื ความสวยงาม ถา้ เลอ่ื นป่มุ กนั้ หลงั ไปไวท้ จ่ี ุดใด เม่ือพมิ พไ์ ปถงึ จดุ นนั้ จะ
มเี สยี งกระดง่ิ ดงั ขน้ึ เพ่อื เตอื นใหผ้ ูพ้ มิ พท์ ราบว่ากระดาษใกลห้ มดบรรทดั จะพมิ พต์ ่อไปไดอ้ กี เพยี ง 2-3
ตวั อกั ษร ถา้ ตอ้ งการพมิ พต์ ่อจนหมดคาจะตอ้ งกดแป้นขอตวั อกั ษรแลว้ พมิ พใ์ หจ้ บคา ซ่งึ ผพู้ มิ พจ์ ะตอ้ งคอย
ระวงั อยา่ พมิ พจ์ นตกขอบกระดาษ

14. ก้านคลายกระดาษ (Paper Release Lever) บางครัง้ เม่ือป้อนกระดาษเข้าเคร่ือง อาจใส่
กระดาษไมต่ รง จาเป็นตอ้ งปรบั กระดาษไมใ่ หเ้ อยี ง โดยโยกกา้ นคลายกระดาษเขา้ หาตวั เพอ่ื ใหล้ กู ยางป้อน
กระดาษคลายออก แลว้ จงึ ปรบั กระดาษใหต้ รง เสรจ็ แลว้ โยกกา้ นคลายกระดาษลงจงึ เรม่ิ พมิ พ์

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

สว่ นประกอบต่าง ๆ ของเครอ่ื งพมิ พด์ ดี ภาษาองั กฤษ

ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครอื่ งพิมพด์ ีด

15. คองัากนฤทษบั กระดาษ (Paper Holding Bar) ใชส้ าหรบั ทบั กระดาษพมิ พ์ให้แนบตดิ กบั ลูกยางใหญ่
เพ่ือสะดวกในการพิมพ์ บนคานทับกระดาษจะมี Scale ตัวเลข สาหรับบอกขนาดความกว้างของ
กระดาษพมิ พเ์ พอ่ื สะดวกในการหาจดุ ศนู ยก์ ลาง และกาหนดระยะกนั้ หน้า-กนั้ หลงั งา่ ยขน้ึ

16. ลูกยางทบั กระดาษ (Paper Bail Rolls) ปกติลูกยางทบั กระดาษท่ตี ิดอยู่กบั คานทบั กระดาษ
จะมี 2 ลกู (บางยห่ี อ้ จะมี 3-4 ลกู ) ใชส้ าหรบั ทบั กระดาษพมิ พใ์ หย้ ดึ แนบตดิ กบั ลกู ยางใหญ่ เม่อื ใสก่ ระดาษ
เรยี บรอ้ ยแลว้ ใหเ้ อาคานทบั กระดาษลง โดยเลอ่ื นลกู ยาง (2 ลกู ) ใหแ้ บ่งกระดาษออกเป็น 3 สว่ นเทา่ ๆ กนั

17. ที่จบั บตั ร (Card Holder) ใชป้ ระโยชน์เมอ่ื ตอ้ งการพมิ พก์ ระดาษแผน่ เลก็ ๆ
18. ป่ มุ ตงั้ ระยะ (Tabulator Setting) Tab + อยู่ดา้ นขวาของตวั เคร่อื ง ใชส้ าหรบั ตงั้ ระยะจากดั ตอน
หรอื ย่อหน้า เม่อื ต้องการตงั้ ระยะจากดั ตอนเพ่อื พมิ พ์บญั ชร (Column) หรอื พมิ พต์ าราง (Table) ต่าง ๆ
ใหต้ งั้ ระยะโดยกด Tab + เพอ่ื จะไดพ้ มิ พต์ รงกนั ทกุ บรรทดั ในแตล่ ะบญั ชรตามความตอ้ งการ

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

สว่ นประกอบต่าง ๆ ของเครอ่ื งพมิ พด์ ดี ภาษาองั กฤษ

ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครอื่ งพิมพด์ ีด

19. แองปั ก้นฤถษอยหลงั (Back Space) อยู่ทางขวามือ ใช้สาหรบั กดให้แคร่เล่ือนไปขา้ งหน้า กดแป้น
1 ครงั้ เท่ากบั 1 ตวั อกั ษร บางครงั้ พมิ พ์แล้วตวั อกั ษรกระโดดเล่อื นออกไป ก็สามารถกดแป้ นถอยหลงั
ใหก้ ลบั ทเ่ี ดมิ ได้ และแป้นถอยหลงั ยงั ใชป้ ระโยชน์ในการพมิ พว์ างศนู ยไ์ ดอ้ กี ดว้ ย

20. แป้นยกแคร่อกั ษรบนซ้าย-ขวา (Left & Right Shift Key) อยู่ส่วนล่างของเคร่อื งพมิ พท์ ัง้ ซ้าย
และขวา สาหรบั ภาษาองั กฤษถ้าตอ้ งการพมิ พ์อกั ษรตวั ใหญ่ สญั ลกั ษณ์พเิ ศษ หรอื เลขเศษส่วนบางตวั
จะตอ้ งยกแป้นอกั ษรบนทุกครงั้ ถา้ เป็นภาษาไทยในแต่ละแถว (Row) จะมตี วั อกั ษรแถวล่างและแถวบน
ไมเ่ หมอื นกนั

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

สว่ นประกอบต่าง ๆ ของเครอ่ื งพมิ พด์ ดี ภาษาองั กฤษ

ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครือ่ งพิมพด์ ีด

21. กอง้าั กนฤปษรบั น้าหนักการพิมพ์ (Touch Control) เป็นปุ่มควบคุมความหนักเบาของแป้นท่ีดดี ลงไป
โดยมเี คร่อื งหมาย + และ – เชน่ ถา้ ตอ้ งการพมิ พง์ านทใ่ี สส่ าเนาหลาย ๆ ฉบบั แป้นทด่ี ดี จะตอ้ งมนี ้าหนกั
เพ่อื ใหง้ านพมิ พช์ ดั เจนทุกฉบบั จะตอ้ งโยกไปทป่ี ่มุ + (หนกั ) ถา้ ตอ้ งการพมิ พเ์ พยี ง 1-2 ฉบบั ใหโ้ ยกกา้ น
ปรบั น้าหนกั ไปทป่ี ่มุ – (เบา)

22. คานเว้นวรรค (Space Bar) จะอยู่ตอนล่างสุดของแป้นอกั ษร วธิ เี คาะคานเว้นวรรคท่ถี ูกต้อง
ใหเ้ คาะดว้ ยน้ิวหวั แมม่ อื ซา้ ยหรอื ขวาเทา่ นนั้

23. แป้นลอ็ กอกั ษรบน/อกั ษรตวั ใหญ่ (Shift Lock) เม่อื ตอ้ งการพมิ พแ์ ป้นอกั ษรตวั บน (ตวั ใหญ่)
ตดิ ต่อกนั หลาย ๆ คา หรอื เป็นประโยค เช่น ช่อื บรษิ ทั ฯ ใหก้ ดแป้นลอ็ กแคร่ เพ่อื พมิ พ์ตวั อกั ษรบนหรอื
อักษรตัวใหญ่ เม่ือพิมพ์เสร็จแล้วให้กดแป้ นล็อกแคร่ (Shift Lock) อีกครัง้ หน่ึงแคร่จะตกลงมา
กจ็ ะสามารถพมิ พต์ วั อกั ษรไดต้ ามปกติ

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

สว่ นประกอบต่าง ๆ ของเครอ่ื งพมิ พด์ ดี ภาษาองั กฤษ

ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเคร่ืองพิมพด์ ีด

24. กอง้ัากนฤปษรบั ผ้าหมึกพิมพ์ (Ribbon Adjuster) เม่อื ต้องการพมิ พ์กระดาษไข จะต้องปรบั ผ้าหมกึ
ไมใ่ หย้ กขน้ึ มฉิ ะนนั้ กระดาษไขทพ่ี มิ พจ์ ะไมท่ ะลุ เมอ่ื นามาอดั สาเนาตวั อกั ษรทพ่ี มิ พจ์ ะเลอื นลาง ไมช่ ดั เจน
จงึ จาเป็นตอ้ งโยกกา้ นปรบั ผา้ หมกึ พมิ พ์ไปอยู่ทช่ี ่อง สขี าว เม่อื พมิ พ์กระดาษไขเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้
ตอ้ งการพมิ พง์ านอ่นื ต่อไป ใหโ้ ยกกา้ นปรบั ผา้ หมกึ ไปทช่ี อ่ ง สนี ้าเงนิ ผา้ หมกึ จะยกขน้ึ ตามเดมิ

25. แป้นขอตัวอกั ษร (Margin Release) เม่ือพิมพ์ข้อความไปเกือบสุดบรรทดั และได้ยินเสยี ง
กระดง่ิ เตอื นสุดกนั้ หลงั ให้กดปุ่มขอตวั อกั ษรแลว้ พมิ พ์จนหมดคาจงึ ปัดขน้ึ บรรทดั ใหม่ ระวงั อย่าพมิ พ์
เลยออกไปจนตกขอบกระดาษ

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

สว่ นประกอบต่าง ๆ ของเครอ่ื งพมิ พด์ ดี ภาษาองั กฤษ

ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเคร่อื งพิมพด์ ีด

26. ปอ่งัมุ กปฤลษดระยะหรือป่ มุ Tab – (Tabulator Clearing) เมอ่ื ตอ้ งการลา้ งแครจ่ ากดั ตอนออกเป็นแหง่ ๆ
ใหก้ ด Tap เลอ่ื นไปยงั ตาแหน่งทต่ี อ้ งการ แลว้ กดป่มุ Tab – (ลบ) เพอ่ื ปลดระยะทต่ี งั้ ไวอ้ อกทลี ะจุดจนหมด

27. คาน Tab (Tabulator) Tap เป็นคานยาวสาหรับกดให้แคร่เล่ือนไปหยุดตรงจุดท่ีตัง้ ย่อหน้า
หรอื ตงั้ ระยะจากดั ตอนไว้

28. ฝาครอบเครื่อง (Top Cover) ใช้ป้องกนั ฝ่ ุนละอองหรอื เศษผงท่จี ะตกลงไปในเคร่อื ง รวมทงั้
ป้องกนั กา้ นอกั ษรและตวั พมิ พด์ ดี ไม่ใหอ้ ุดตนั จากเศษยางลบหรอื ฝ่นุ ละออง เม่อื ตอ้ งการเปล่ียนผา้ หมกึ พมิ พ์
ทาความสะอาด หรอื ซ่อมเครอ่ื งพมิ พก์ ส็ ามารถเปิดฝาครอบเครอ่ื งออกได้

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

สว่ นประกอบต่าง ๆ ของเครอ่ื งพมิ พด์ ดี ภาษาองั กฤษ

ส่วนต่าง ๆ ท่ีสาคญั และใช้

เน่ือปงรจะาจกาส่วนต่าง ๆ ของเคร่อื งพมิ พด์ ดี มมี ากมาย นักเรยี นอาจจาไม่ไดท้ งั้ หมด ฉะนนั้ ในระยะแรก
นกั เรยี นจะตอ้ งพยายามจดจาสว่ นต่าง ๆ ทส่ี าคญั และใชเ้ ป็นประจาในเคร่อื งพมิ พด์ ดี ก่อน จะไดไ้ ม่สบั สน
ไดแ้ ก่

1. แผงนากระดาษ (Paper Guide) ตงั้ ทเ่ี ลข 0 เม่อื ใส่กระดาษเขา้ เคร่อื ง ใหข้ อบกระดาษด้านซ้าย
ตรงกนั โดยใส่กระดาษให้ชิดแผงนากระดาษทุกครงั้ หากใส่กระดาษไม่ตรง ผลคืองานพิมพ์ออกม า
ขอบกระดาษดา้ นซา้ ยจะไมต่ รงกนั

2. ป่ ุมกัน้ หน้า-กัน้ หลงั ซ้ายและขวา (Left & Right Margin) ใช้สาหรับตัง้ กัน้ ระยะหน้า-หลัง
ของกระดาษ เพอ่ื เป็นจดุ เรมิ่ ตน้ และจุดสน้ิ สดุ การพมิ พ์ โดยสามารถเล่อื นป่มุ กนั้ หน้าและกนั้ หลงั ไปยงั จดุ ท่ี
ตอ้ งการ

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

สว่ นประกอบต่าง ๆ ของเครอ่ื งพมิ พด์ ดี ภาษาองั กฤษ

ส่วนต่าง ๆ ที่สาคญั และใช้

3. คปราะนจทาับกระดาษ (Paper Holding Bar) ใช้ทบั กระดาษให้เรียบ และแนบติดกับลูกยางใหญ่
ก่อนนากระดาษเขา้ เครอ่ื งควรยกคานทบั กระดาษขน้ึ เสยี กอ่ น มฉิ ะนนั้ กระดาษอาจจะย่นหรอื ขาดได้

4. ลูกยางทบั กระดาษ (Paper Bail Rolls) จะตดิ อย่กู บั คานทบั กระดาษ เม่อื นากระดาษเขา้ เคร่อื ง
แลว้ ใหป้ รบั เลอ่ื นลกู ยางทบั กระดาษ (2 ลกู ) แบง่ กระดาษออกเป็นสามสว่ นเทา่ ๆ กนั

5. ระยะบรรทดั (Line Spacer) ใช้สาหรบั ตงั้ ความถ่ี-ห่างระหว่างบรรทดั อยู่ดา้ นซ้ายของเคร่อื ง
เป็นลอ้ เล่อื นได้ และมตี วั เลขบอกระยะบรรทดั ซง่ึ สามารถมองเหน็ ไดช้ ดั เจนว่าเป็นระยะบรรทดั 1, 1.5, 2, 2.5
และ 3 ถ้าต้องการฝึกพิมพ์ข้อความจบั เวลา ให้ตงั้ ระยะบรรทดั 2 (Double Space) ถ้าพิมพ์จดหมาย
ใหต้ งั้ ระยะบรรทดั เดย่ี ว (Single Space)

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

สว่ นประกอบต่าง ๆ ของเครอ่ื งพมิ พด์ ดี ภาษาองั กฤษ

ส่วนต่าง ๆ ที่สาคญั และใช้

6. ปป่ รุมะบจิดา ลูกยางใหญ่ (Left & Right Cylinder Knob) ใชส้ าหรบั ป้อนกระดาษเขา้ เคร่อื ง และปรบั
กระดาษขน้ึ -ลง ใชม้ อื หมนุ ลกู บดิ ไดท้ งั้ มอื ซา้ ยและมอื ขวา

7. ด้ามปัดแคร่ (Carriage Return Lever) ใชม้ อื ซ้ายปัดแคร่เม่อื ขน้ึ บรรทดั ใหม่ โดยให้น้ิวมอื ทงั้
4 น้ิวชดิ กนั แตะทป่ี ลายดา้ มปัดแคร่ น้ิวหวั แม่มอื พบั งอลงเลก็ น้อย ใชข้ อ้ มอื ปัดให้แรงพอสมควร มอื ทป่ี ัด
ไมต่ อ้ งตามแครไ่ ปจนสดุ สว่ นมอื ขวาวางทแ่ี ป้นเหยา้

8. ก้านคลายกระดาษ (Paper Release Lever) ใชเ้ ม่อื ตอ้ งการปรบั กระดาษใหเ้ สมอกนั ก่อนพมิ พ์
หรอื เมอ่ื ตอ้ งการถอดกระดาษออกจากเครอ่ื งพมิ พ์

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

สว่ นประกอบต่าง ๆ ของเครอ่ื งพมิ พด์ ดี ภาษาองั กฤษ

ส่วนต่าง ๆ ท่ีสาคญั และใช้

9. Tปaรbะจ–าหรือ Tab + (Tabulator Clearing and Setting) เม่อื ต้องการตงั้ Tab ย่อหน้าใหม่ ให้ลบ
Tab ทต่ี งั้ ไวท้ งั้ หมดออก โดยกดป่มุ ลา้ งแครจ่ ากดั ตอนออกทงั้ หมด ซง่ึ จะอย่ดู า้ นซ้ายและขวาของแคร่ แลว้
เคาะคานเวน้ วรรคตงั้ ย่อหน้าใหมใ่ นตาแหน่งทต่ี อ้ งการ แลว้ กด Tab + ถา้ ตอ้ งการลบ Tab ออกเพยี งแห่ง
เดยี ว ใหก้ ด Tab เลอ่ื นแครไ่ ปยงั ตาแหน่งทต่ี อ้ งการ แลว้ กดป่มุ Tab –

10. แป้นถอยหลงั (Back Space) จะอยู่แป้นสุดท้ายของแป้นพิมพ์แถวท่ี 2 ใช้เม่อื ต้องการพมิ พ์
วางศนู ยห์ วั ขอ้ หรอื ขอ้ ความ หรอื เมอ่ื พมิ พแ์ ลว้ ตวั อกั ษรกระโดดกส็ ามารถกดแป้นถอยหลงั กลบั มาได้

11. คานเว้นวรรค (Space Bar) อยู่ใต้แป้นพมิ พ์แถวล่างสุด ใชเ้ ม่อื ต้องการเคาะเวน้ วรรค โดยใช้
น้วิ หวั แมม่ อื ซา้ ยหรอื ขวาเท่านนั้

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

ประวตั เิ ครอ่ื งพมิ พด์ ดี องั กฤษ

เครอ่ื งพมิ พด์ ดี มวี วิ ฒั นาการต่อเน่ืองกนั มาหลายยุคสมยั เครอ่ื งพมิ พด์ ดี เคร่อื งแรกมตี น้ กาเนิดมาจาก
ประเทศองั กฤษ คือในปี ค.ศ. 1714 สมเด็จพระนางเจ้าแอนน์แห่งประเทศอังกฤษ ได้พระราชทาน
นิมิตสทิ ธเิ คร่อื งมอื ชนิดหน่ึงซ่ึงสามารถเขยี นตวั อกั ษรได้ทลี ะตวั หรือต่อเน่ืองกันไปได้เร่อื ย ๆ ให้กบั
เฮนร่ี มิล วิศวกรชาวอังกฤษ เม่ือวันท่ี 17 มกราคม 1714 (พ.ศ. 2257) จากนัน้ ข่าวคราวเร่ือง
เคร่ืองพิมพ์ดีดก็หายไป แต่จากแนวความคิดของเฮนร่ี มิล ได้ผลักดันให้วิลเล่ียม ออสตินเบิท
ชาวอเมริกา คิดค้นและประดิษฐ์เคร่อื งมือเขยี นหนังสอื ชนิดหน่ึงข้นึ มาจนได้รบั สทิ ธิบัตร เคร่อื งมือ
ดงั กล่าวเรยี กว่า เคร่อื งมอื เขยี นหนังสอื (Writing Machine) ลกั ษณะเป็นรูปสเ่ี หลย่ี ม วธิ ีการพมิ พแ์ ป้นจะ
หมนุ คลา้ ยหน้าปัดนาฬกิ า แตย่ งั พมิ พไ์ ดช้ า้ กวา่ การเขยี นดว้ ยมอื

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

ประวตั เิ ครอ่ื งพมิ พด์ ดี องั กฤษ

ปี ค.ศ. 1867 ครสิ โตเฟอร์ ลาทมั โชลส์ (Christopher Latham Sholes) นักประดษิ ฐ์ชาวอเมรกิ า
ซ่งึ เป็นผูท้ ช่ี อบประดษิ ฐ์เคร่อื งมอื ต่าง ๆ เป็นงานอดเิ รก ขณะทค่ี ้นคดิ ประดษิ ฐ์เคร่ืองมอื ประทบั ตวั เลข
หน้าหนังสอื อยู่นัน้ ไดอ้ ่านเร่อื งเกย่ี วกบั การประดษิ ฐเ์ คร่อื งมอื ชนิดหน่ึงของจอห์น แพรตต์ ซง่ึ มลี กั ษณะ
คล้ายกบั สง่ิ ประดษิ ฐ์ของเขามาก จงึ ได้รบั คาแนะนาจากเพ่อื น ๆ ให้ทาการทดลองประดษิ ฐ์เคร่อื งมอื
เขยี นหนังสือข้นึ ต่อจากนัน้ ได้ประดิษฐ์เคร่อื งมือท่พี ิมพ์ตวั หนังสอื และตัวเลขได้ แล้วปรบั ปรุงแก้ไข
จนสมบูรณ์สามารถใช้งานได้ โดยตัง้ ช่ือว่า Type-writer ต่อมาได้ขายลิขสิทธิใ์ ห้กับบริษัทเรมิงตัน
และได้มีการปรับปรุงมาตรฐานจนสามารถพิมพ์ได้รวดเร็วข้ึน หลังจากนั้นจึงมีเคร่ืองพิม พ์ดีด
ทไ่ี ดม้ าตรฐานออกส่ตู ลาดทวั่ ไป เคร่อื งพมิ พด์ ดี ยห่ี อ้ ต่าง ๆ ทไ่ี ดร้ บั ความสาเรจ็ ในการผลติ ออกจาหน่าย
ในสหรฐั อเมรกิ า คอื ยห่ี อ้ เรมงิ ตนั รอยลั อนั เดอรว์ ดู สมธิ โคโรน่า และ ไอ บี เอม็ สว่ นในประเทศทางดา้ นยโุ รป
เช่น ประเทศเยอรมนี มยี ห่ี อ้ โอลมิ เปีย แอดดเ์ ลอร์ ออฟตมิ ่า ประเทศอติ าลี มโี อลเิ วตต้ี และฮอลแลนด์
มเี ฮอรเ์ มสส์ เป็นตน้

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

ประวตั เิ ครอ่ื งพมิ พด์ ดี องั กฤษ

เคร่อื งพมิ พด์ ดี ภาษาองั กฤษเขา้ มาในเมอื งไทยครงั้ แรกเม่อื ปี พ.ศ. 2419 เปิดแสดงใหป้ ระชาชนชม
ณ บริษัทแรมเซย์ ห้างชนั้ นาของกรุงเทพฯ ในยุคนัน้ หลังจากนัน้ อีกสบิ กว่าปี จึงได้มีการประดิษฐ์
เครอ่ื งพมิ พด์ ดี ภาษาไทยขน้ึ และใชก้ นั ตอ่ ๆ มาจนถงึ ทกุ วนั น้ี

ปั จจุบันน้ีเคร่ืองพิมพ์ดีดนับว่าเป็ นอุปกรณ์สานักงานขัน้ พ้ืนฐานท่ีนามา ประยุกต์ใช้กับ
เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ ซง่ึ เป็นอุปกรณ์ทท่ี นั สมยั ประหยดั เวลา แรงงาน และค่าใชจ้ ่าย ฉะนั้น ผูป้ ิบิ ตั งิ าน
จงึ มคี วามจาเป็นต้องมคี วามรูพ้ ้นื ฐานในการพมิ พด์ ดี เป็นอย่างดี เพ่อื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการทางาน
ใหส้ งู ขน้ึ

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

ระเบยี บปิบิ ตั ใิ นหอ้ งพมิ พ์

ข้อควร

1. ตปรฏงิบตตั อ่ ิ เวลา ไมเ่ ขา้ หอ้ งสาย
2. นงั่ ประจาเครอ่ื งตามหมายเลขทน่ี งั่ ของตนเอง
3. เปิดและพบั ผา้ คลมุ เครอ่ื งใหเ้ รยี บรอ้ ย วางในทท่ี เ่ี หมาะสม หรอื ใชว้ างรองแบบพมิ พ์
4. ตรวจดคู วามเรยี บรอ้ ยของเครอ่ื งพมิ พแ์ ละบนโต๊ะพมิ พ์
5. ใสก่ ระดาษรองพมิ พก์ ่อนการพมิ พง์ านทกุ ครงั้
6. หลงั การใชเ้ ครอ่ื งควรโยกกา้ นคลายกระดาษขน้ึ เพอ่ื ยดื อายกุ ารใชง้ านของลกู ยาง
7. เมอ่ื เลกิ ใชเ้ ครอ่ื ง ควรเลอ่ื นแครไ่ วต้ รงกลาง และคลมุ ผา้ ใหเ้ รยี บรอ้ ย เพอ่ื ป้องกนั ฝ่นุ ละออง
8. ดแู ลความเรยี บรอ้ ยภายในหอ้ ง เชน่ สวติ ชไ์ ฟฟ้า เครอ่ื งปรบั อากาศ ฯลฯ
9. เลอ่ื นเกา้ อไ้ี วใ้ ตโ้ ต๊ะก่อนลกุ ออกไป

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

ระเบยี บปิบิ ตั ใิ นหอ้ งพมิ พ์

ข้อห้าม

1. หา้ มเขา้ หอ้ งเรยี นก่อนไดร้ บั อนุญาต
2. หา้ มนาอาหาร ของขบเคย้ี ว และเครอ่ื งดม่ื ทุกชนดิ เขา้ มารบั ประทานในหอ้ งเรยี น
3. หา้ มเปลย่ี นทน่ี งั่ ก่อนไดร้ บั อนุญาต
4. หา้ มโยกยา้ ยเครอ่ื งพมิ พด์ ดี โดยเดด็ ขาด
5. หา้ มขดี เขยี นขอ้ ความใด ๆ บนเครอ่ื งพมิ พด์ ดี โต๊ะเกา้ อ้ี หรอื ผา้ คลมุ เครอ่ื ง
6. หา้ มเคาะแป้นอกั ษรก่อนใสก่ ระดาษพมิ พ์
7. หา้ มพมิ พโ์ ดยไมใ่ สก่ ระดาษรองพมิ พ์
8. หา้ มไวเ้ ลบ็ ยาว เพราะจะทาใหพ้ มิ พช์ า้ งานพมิ พไ์ มม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การสรา้ งกจิ นิสยั ทด่ี ใี นการพมิ พ์

การพบั ผา้ คลมุ เครื่อง

1. ใชม้ อื ทงั้ สองขา้ งจบั มมุ ผา้ คลมุ เครอ่ื งทงั้ สองดา้ นยกขน้ึ
2. พลกิ ผา้ กลบั วางบนเครอ่ื งพมิ พใ์ หผ้ า้ สว่ นบนพบั ลงมา
3. พบั ปีกผา้ คลมุ เครอ่ื งทงั้ สองขา้ ง (ตามรอยตะเขบ็ ) เขา้ หากนั
4. พบั สว่ นทเ่ี หลอื ดา้ นลา่ งตลบขน้ึ ไปเป็น 2 สว่ น
5. พบั ผา้ แบ่งเป็น 3 สว่ นเทา่ ๆ กนั โดยพบั จากดา้ นซา้ ยไปขวา
6. เม่อื พบั เสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ ใหเ้ กบ็ ไวใ้ นลน้ิ ชกั โต๊ะพมิ พด์ ดี หรอื วางไวด้ า้ นขวามอื ของเคร่อื งพมิ พ์

เพอ่ื ใชร้ องแบบพมิ พ์

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การสรา้ งกจิ นิสยั ทด่ี ใี นการพมิ พ์

การพบั ผา้ คลมุ เคร่ือง

ภาพแสดงการพบั ผา้ คลมุ เครื่อง

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การสรา้ งกจิ นิสยั ทด่ี ใี นการพมิ พ์

ท่านัง่

1. ปรบั เกา้ อใ้ี หเ้ หมาะกบั ผพู้ มิ พ์ ไมส่ งู หรอื ต่าเกนิ ไป
2. นงั่ ตวั ตรง หลงั พงิ พนกั เกา้ อ้ี
3. เทา้ วางราบกบั พน้ื เทา้ ขา้ งหน่งึ เยอ้ื งไปขา้ งหน้าเลก็ น้อย
4. อยา่ นงั่ กม้ ศรี ษะมากเกนิ ไป ตามองแบบ อยา่ แอบมองแป้น
5. งอน้ิวมอื และขอ้ มอื ต่าขนานกบั เครอ่ื งพมิ พ์ เพอ่ื สะดวกในการพมิ พ์
6. ไม่ควรนัง่ ชิดเคร่อื งพมิ พ์ดดี มากเกินไป เพราะจะทาให้ขอ้ ศอกกางขณะพิมพ์ควรให้แขนหรือ

ขอ้ ศอกชดิ ลาตวั
7. ไม่ควรนัง่ ห่างเคร่ืองพมิ พ์ดดี มากเกินไป เพราะจะทาให้แขนเหยยี ดตรง พิมพ์ไม่ถ นัด แลดู

ไมส่ วยงาม ควรนงั่ หา่ งจากโตะ๊ พมิ พป์ ระมาณ 1 คบื

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การสรา้ งกจิ นิสยั ทด่ี ใี นการพมิ พ์

ท่านัง่

ภาพแสดงท่านัง่ ที่ถกู ต้อง

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การสรา้ งกจิ นิสยั ทด่ี ใี นการพมิ พ์

การใส่และถอด

1. กการระใดสาก่ ษรพะิมดาพษ์ พมิ พ์ ควรปิบิ ตั ดิ งั น้ี
1.1 ยกรางทบั กระดาษขน้ึ
1.2 ใช้มอื ซ้ายจบั กระดาษให้น้ิวช้แี ละน้ิวหวั แม่มอื อยู่ด้านบน น้ิวท่เี หลืออกี 3 น้ิว (น้ิวกลาง
นาง กอ้ ย) อยดู่ า้ นลา่ ง
1.3 ใสก่ ระดาษเขา้ เคร่อื ง ใหช้ ดิ แผงนากระดาษ บดิ ลูกยางใหญ่ขน้ึ ดว้ ย มอื ขวาเพียงครงั้ เดยี ว
เพอ่ื ใหก้ ระดาษโผลข่ น้ึ มาเหนอื ลกู ยาง
1.4 โยกกา้ นคลายกระดาษขน้ึ เพอ่ื จดั กระดาษใหต้ รง
1.5 เสรจ็ แลว้ โยกก้านคลายกระดาษลง และปรบั เล่อื นลูกยางทค่ี านทบั กระดาษแบ่งกระดาษ
ออกเป็น 3 สว่ น

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การสรา้ งกจิ นิสยั ทด่ี ใี นการพมิ พ์

การใส่และถอด

2. กการระถดอาษดกพริมะพด์าษพมิ พ์ ควรปิบิ ตั ดิ งั น้ี
2.1 ใชม้ อื ขวาโยกกา้ นคลายกระดาษขน้ึ
2.2 มอื ซา้ ยจบั มมุ ซา้ ยของกระดาษ แลว้ ดงึ ออกจากเครอ่ื งพมิ พ์

ภาพแสดงการใส่และถอดกระดาษออกจากเคร่ืองพิมพด์ ีด

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การสรา้ งกจิ นิสยั ทด่ี ใี นการพมิ พ์

การตงั้ ระยะกนั้ หน้า-กนั้ หลงั

1. ป่มุ ตงั้ ระยะกนั้ หน้า-กนั้ หลงั เป็นป่มุ เลอ่ื นไดอ้ ยทู่ างซา้ ยและขวาของเครอ่ื งพมิ พ์
2. ใสก่ ระดาษใหต้ รงแผงนากระดาษตรงเลข 0
3. ถา้ ตอ้ งการตงั้ ระยะกนั้ หน้า 15 ใหเ้ ลอ่ื นป่มุ กนั้ หน้าดา้ นซา้ ยไปทเ่ี ลข 15
4. ต้องการตัง้ ระยะกัน้ หลังท่ี 85 ให้เล่ือนปุ่มกัน้ หลังด้านขวาไปท่ีเลข 85 หมายความว่า

แตล่ ะบรรทดั จะเรมิ่ พมิ พท์ เ่ี ลข 15 และสน้ิ สดุ การพมิ พท์ เ่ี ลข 85
5. การตัง้ ระยะกัน้ หน้า-หลัง จะใช้เม่ือต้องการพิมพ์ข้อความ หรืองานขนั้ ผลิตต่าง ๆ ขนาด

ความกวา้ งของกระดาษจะตอ้ งสมั พนั ธก์ บั ความยาวของขอ้ ความทพ่ี มิ พเ์ ป็นสาคญั

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การสรา้ งกจิ นิสยั ทด่ี ใี นการพมิ พ์

การวางแบบพิมพ์

1. วางแบบพมิ พด์ า้ นขวามอื ใหห้ วั แบบพมิ พเ์ อยี งออกจากเครอ่ื งพมิ พเ์ ลก็ น้อย
2. แบบพมิ พค์ วรอยใู่ นระดบั สายตาของผพู้ มิ พ์
3. ถา้ มแี ผงสาหรบั วางแบบพมิ พ์ จะตอ้ งวางใหห้ า่ งพอสมควร เพอ่ื ใหส้ ามารถอา่ นขอ้ ความไดช้ ดั เจน
4. ขณะปัดแครจ่ ะตอ้ งระวงั ไมใ่ หแ้ ผงวางแบบพมิ พต์ กจากโต๊ะ

ภาพแสดงการวางแบบพิมพ์

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การสรา้ งกจิ นิสยั ทด่ี ใี นการพมิ พ์

การตงั้ แทบ็

การพมิ พข์ อ้ ความหรอื งานขนั้ ผลติ ต่าง ๆ โดยทวั่ ไปจะมยี อ่ หน้าตรงกนั ทกุ บรรทดั ให้ปิบิ ตั ดิ งั น้ี
1. ก่อนตัง้ Tab ให้ลบ Tab ท่ีตัง้ ค้างไว้ออกทัง้ หมด โดยกดปุ่มลบแท็บรวม ทางด้านซ้ายมือ

หรอื ขวามอื
2. เคาะคานเวน้ วรรคเพอ่ื ตงั้ Tab ยอ่ หน้าตรงจดุ ทต่ี อ้ งการ แลว้ กดป่มุ Tab +
3. เมอ่ื ตอ้ งการยอ่ หน้าใหก้ ดคาน Tab แลว้ ปลอ่ ย กจ็ ะไดต้ าแหน่งยอ่ หน้าทต่ี งั้ ไวต้ ามตอ้ งการ
4. เม่อื ตอ้ งการลบ Tab ออกเพยี งแห่งเดยี ว ใหก้ ด Tab เล่อื นแคร่ไปยงั ตาแหน่งทต่ี อ้ งการ แลว้ กด

ป่มุ Tab – เวน้ วรรคจากดั ตอนทต่ี งั้ ไวจ้ ะหายไป

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การสรา้ งกจิ นิสยั ทด่ี ใี นการพมิ พ์

การปัด

1. คแคว่ารม่ อื ซ้ายลง ให้น้ิวชดิ ตดิ กนั ทงั้ 4 น้ิว (น้ิวช้ี กลาง นาง ก้อย) ตรงกลาง น้ิวช้แี ตะทป่ี ลายด้าม
ปัดแคร่

2. งอน้ิวมอื เลก็ น้อย ปัดแครใ่ หไ้ ดจ้ งั หวะรวดเรว็ ใหแ้ ครเ่ ลอ่ื นไปจนสดุ บรรทดั
3. มอื ทป่ี ัดแครไ่ มต่ อ้ งตามแครไ่ ปจนสดุ บรรทดั
4. ไม่ควรจบั ด้ามปัดแคร่ หรือปัดแคร่ด้วยสนั มือ หรือปัดโดยใช้น้ิวเพียงสองน้ิว เ พราะมีกาลงั

ไมเ่ พยี งพอ ทาใหแ้ ครเ่ ลอ่ื นไปไมส่ ดุ

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การสรา้ งกจิ นิสยั ทด่ี ใี นการพมิ พ์

การวางนิ้ วและการก้าวนิ้ ว

1. การวางน้ิว
1.1 วางน้วิ ประจาทแ่ี ป้นเหยา้ (A S D F J K L ;) โดยโคง้ น้ิวมอื เลก็ น้อย
1.2 อยา่ วางขอ้ มอื พกั บนเครอ่ื งพมิ พ์
1.3 ไม่ควรยกข้อมือสูง หรือห้อยข้อมือต่าจนติดคานเว้นวรรค เพราะเม่ือเคาะแป้น อักษร
จะทาใหต้ วั อกั ษรทพ่ี มิ พก์ ระโดดเวน้ วรรคไป

2. การกา้ วน้วิ หรอื สบื น้ิว
2.1 กา้ วน้วิ ใหร้ วดเรว็ และแมน่ ยา
2.2 เมอ่ื กา้ วน้ิวไปทแ่ี ป้นอกั ษรใดแลว้ ตอ้ งกา้ วน้วิ กลบั มาทแ่ี ป้นเหยา้ (Home Keys) โดยเรว็

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การสรา้ งกจิ นิสยั ทด่ี ใี นการพมิ พ์

การวางนิ้ วและการก้าวนิ้ ว

ภาพแสดงการวางนิ้วและการก้าวนิ้วท่ีถกู ต้อง

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การสรา้ งกจิ นิสยั ทด่ี ใี นการพมิ พ์

การเคาะแป้นอกั ษร และการใช้แป้นยก

1 กแาครรเ่ คาะแป้นอกั ษร
1.1 อย่าเคาะแป้นพมิ พพ์ รอ้ มๆ กนั หลายแป้น หรอื เคาะแป้นเรว็ เกนิ ไป จะทาใหต้ วั อักษรเบยี ด
หรอื ทบั กนั
1.2 เมอ่ื พมิ พผ์ ดิ อยา่ ถอยกลบั มาพมิ พซ์ ้า
1.3 อยา่ เคาะหรอื ดดี แป้นอกั ษรหนกั หรอื เบาเกนิ ไป พยายามดดี แป้น ใหน้ ้าหนกั ลงสม่าเสมอ

2 การใชแ้ ป้นยกแคร่ ใหป้ ิบิ ตั ดิ งั น้ี
2.1 เม่อื ต้องการใช้แป้นยกแคร่พมิ พ์แป้นอกั ษรบน หรอื พมิ พ์อกั ษรตวั ใหญ่ (Capital Letter)
ถา้ เคาะแป้นดว้ ยน้ิวมอื ซา้ ย ใหใ้ ชน้ ้วิ กอ้ ยขวากดแป้นยกแครจ่ นสดุ แลว้ จงึ พมิ พ์
2.2 เมอ่ื พมิ พเ์ สรจ็ แลว้ ใหป้ ลอ่ ยป่มุ ยกแคร่ แลว้ กา้ วน้วิ กอ้ ยขวากลบั มาทต่ี าแหน่งแป้นเหยา้ ทนั ที
มฉิ ะนนั้ ตวั อกั ษรจะกระโดดลอยขน้ึ หรอื ตกลงไปไมต่ รงแนวระดบั บรรทดั

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การสรา้ งกจิ นิสยั ทด่ี ใี นการพมิ พ์

การเคาะแป้นอกั ษร และการใช้แป้นยก

2แ.ค3ร่ ในทางตรงขา้ ม ถา้ ตอ้ งการพมิ พอ์ กั ษรตวั ใหญ่ดว้ ยน้ิวมอื ขวา กใ็ หใ้ ชน้ ้ิวก้อยซา้ ยกดแป้นยก
แครจ่ นสดุ เมอ่ื พมิ พเ์ สรจ็ แลว้ ปลอ่ ยป่มุ ยกแคร่ แลว้ กา้ วน้วิ กอ้ ยซา้ ยกลบั มาทต่ี าแหน่งแป้นเหยา้ ตามเดมิ

ภาพแสดงการเคาะนิ้วที่ถกู ต้อง ภาพแสดงการยกแป้นอกั ษรบน

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การสรา้ งกจิ นิสยั ทด่ี ใี นการพมิ พ์

การเปลี่ยนผา้ หมกึ พิมพ์

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การสรา้ งกจิ นิสยั ทด่ี ใี นการพมิ พ์

การลบ

1. หคมาผนุ ิดลกู บดิ ใหข้ อ้ ความทจ่ี ะลบมาอยทู่ แ่ี ผงเหลก็ รองลบ
2. เล่ือนแคร่ให้ข้อความท่ีพิมพ์ผิดไปอยู่สุดระยะซ้ายหรือขวา เพ่ือป้ องกันมิให้เศษ ยางลบ

ตกลงไปในเครอ่ื ง
3. ใช้ยางลบสาหรบั ลบตัวพิมพ์ดีดลบต้นฉบับท่ีพิมพ์ และใช้ยางลบอ่อนสาหรับลบแ ผ่นสาเนา

(ควรลบแผน่ สาเนาก่อน)
4. ค่อย ๆ ลบอย่างประณีต ระวังอย่าไปลบถูกตัวอักษรอ่ืนท่ีอยู่ติดกัน ซ่ึงอาจป้อ งกันโดยใช้

แผงรองลบ (Eraser Shield) กไ็ ด้
5. เมอ่ื ลบดว้ ยยางลบแขง็ ทล่ี บตวั พมิ พด์ ดี แลว้ ควรลบดว้ ยยางลบอ่อนอกี ครงั้ หน่ึง เพอ่ื จะไดด้ เู นียน

ไมข่ รขุ ระหรอื เป็นขยุ

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การสรา้ งกจิ นิสยั ทด่ี ใี นการพมิ พ์

การลบ
คาผิด

ภาพแสดงการลบโดยใช้แผงรองลบ

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การแกไ้ ขเครอ่ื งพมิ พด์ ดี อยา่ งงา่ ย

เมอ่ื เกดิ ปัญหาเครอ่ื งพมิ พด์ ดี ขดั ขอ้ งเลก็ น้อย เชน่ ผา้ หมกึ ไม่เดนิ -ไมก่ ลบั คานเวน้ วรรคไม่เดนิ แป้น
ถอยหลงั เสยี ตวั อกั ษรฝืด เหล่าน้ีเป็นต้น เม่อื นักเรยี นประสบปัญหาเคร่อื งพมิ พ์ดดี ขัดขอ้ งหรอื เสยี มาก
ควรแจง้ ครผู สู้ อนเพ่อื ใหช้ า่ งมาแกไ้ ข แต่ถา้ เครอ่ื งเสยี หรอื ขดั ขอ้ งเพยี งเลก็ น้อย ครูผสู้ อนและนกั เรยี นอาจ
ชว่ ยกนั ดแู ลแกไ้ ข โดยปิบิ ตั ดิ งั น้ี

1. ผา้ หมกึ ไมเ่ ดนิ สาเหตุอาจเกดิ จาก
1.1 แกนเดนิ เฟืองผา้ หมกึ หกั
1.2 สปรงิ เกบ็ หรอื สบั เฟืองผา้ หมกึ หลดุ
1.3 สปรงิ ตวั ลา่ งใตต้ ลบั ผา้ หมกึ หลดุ
1.4 เหลก็ เกย่ี วคนั เรง่ หลดุ

2. ผ้าหมึกไม่กลบั อาจเกิดจากสปริงตัวสบั และตวั เก็บซ่ึงอยู่ท่ีเฟืองเดินผ้าหมึก ข้างใดข้างหน่ึง
แขง็ เกนิ ไป ตอ้ งเปลย่ี นใหม่

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การแกไ้ ขเครอ่ื งพมิ พด์ ดี อยา่ งงา่ ย

3. ผา้ หมกึ ไมย่ ก ใหป้ รบั ขาตวั ยก ถา้ ยงั ไมข่ น้ึ ตอ้ งเปิดเครอ่ื งเพอ่ื หาสาเหตขุ อง เครอ่ื งขดั ขอ้ ง
4. ถ้าก้านพมิ พ์แป้นอกั ษรต่าง ๆ พมิ พ์แล้วฝืดหรอื ตดิ ให้หยอดน้ามนั เล็กน้อย เพ่อื ช่วยให้พมิ พ์

ลน่ื ขน้ึ
5. แป้นถอยหลังเสีย อาจเกิดจากลวดเก่ียวแป้นถอยหลังหลุดหรือหัก ให้ยกแคร่ดูแล้วเก่ียว

เขา้ ไปอยา่ งเดมิ
6. Tab + และ Tab – เสยี อาจเกดิ จากคนั ส่งหลุด ให้ยกเคร่อื งหงายขน้ึ และเสยี บลวดทข่ี าคนั ส่ง

กจ็ ะสามารถใชง้ านไดต้ ามปกติ

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การแกไ้ ขเครอ่ื งพมิ พด์ ดี อยา่ งงา่ ย

สาเหตุของเคร่อื งพมิ พด์ ดี ขดั ขอ้ งทเ่ี ป็นปัญหามากอกี อยา่ งหน่ึง คอื พมิ พแ์ ลว้ หนกั กา้ นพมิ พด์ ดี คา้ ง
และฝืด อาจจะเกดิ ไดจ้ ากหลายสาเหตุ คอื

1. กา้ นพมิ พเ์ ป็นสนิมเพราะไมไ่ ดห้ ยอดน้ามนั
2. ฝ่นุ ละอองจบั ตรงกา้ นตวั อกั ษร ทาใหพ้ มิ พแ์ ลว้ ตดิ และฝืด
3. ตะขอเกย่ี วกา้ นพมิ พช์ ารุด
4. กา้ นพมิ พต์ วั อกั ษรคดงอ
5. ไมม่ กี ารลา้ งเครอ่ื งโดยการทาความสะอาดกา้ นพมิ พ์

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การบารงุ รกั ษาเครอ่ื งพมิ พห์ รอื เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์

การดแู ลรกั ษาเครื่องพิมพด์ ีด

1. กป่อระนจใาชว้เนัคร่อื งพมิ พ์ดดี ให้เปิดผ้าคลุมเคร่อื งพบั ให้เรยี บร้อย เก็บในล้นิ ชกั โต๊ะ หรอื วางบนโต๊ะ
ดา้ นขวามอื เพอ่ื รองแบบพมิ พ์

2. ตรวจดคู วามเรยี บรอ้ ยของเครอ่ื งก่อนเรมิ่ พมิ พ์
3. ทาความสะอาดเคร่อื งพมิ พ์ โดยใช้แปรงอ่อนด้ามยาวปัดทาความสะอาดรอบ ๆ เคร่อื งพิมพ์

และเลอ่ื นแครไ่ ปทางซา้ ยและขวา ปัดฝ่นุ ละอองและเศษยางลบออกจากเครอ่ื งพมิ พ์
4. ทาความสะอาดบรเิ วณโต๊ะพมิ พด์ ดี โดยใชม้ อื ซา้ ยยกเครอ่ื งตะแคงขน้ึ มอื ขวาใชผ้ า้ เชด็ ฝ่นุ ละออง

และเศษยางลบออกจากใตเ้ ครอ่ื ง และเชด็ บรเิ วณโต๊ะพมิ พใ์ หส้ ะอาดอกี ครงั้ หน่ึง

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การบารงุ รกั ษาเครอ่ื งพมิ พห์ รอื เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์

การดแู ลรกั ษาเครือ่ งพิมพด์ ีด

5. บปนระโจตา๊ะวพนั มิ พด์ ดี ไมค่ วรมสี ง่ิ ของเครอ่ื งใชท้ ไ่ี มจ่ าเป็นตอ้ งใชใ้ นงานพมิ พด์ ดี เพราะจะดเู กะกะรกรุงรงั
ทาใหว้ างแบบพมิ พไ์ มส่ ะดวก

6. เมอ่ื เลกิ ใชเ้ ครอ่ื ง ใหย้ กลกู ยางทบั กระดาษและกา้ นคลายกระดาษขน้ึ เพอ่ื ไมใ่ ห้ ลูกยางทบั กระดาษ
กดลกู ยางใหญ่ เพราะจะทาใหอ้ ายกุ ารใชง้ านสนั้ ลง

7. เมอ่ื พมิ พง์ านเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ ใหเ้ ลอ่ื นแครพ่ มิ พแ์ ละป่มุ กนั้ หน้า-กนั้ หลงั ไปอยตู่ รงกลางเครอ่ื ง
8. คลมุ ผา้ คลมุ เครอ่ื งใหเ้ รยี บรอ้ ย เพอ่ื ป้องกนั ฝ่นุ ละอองเขา้ เครอ่ื ง

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การบารงุ รกั ษาเครอ่ื งพมิ พห์ รอื เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์

การดแู ลรกั ษาเครอ่ื งพิมพด์ ีดประจาวนั

1. ทาความสะอาดเคร่อื งโดยใช้แปรงด้ามยาวปัดฝ่ ุนละอองและเศษยางลบออกจากส่วนต่าง ๆ
ภายในเครอ่ื ง หรอื ใชผ้ า้ แหง้ หมาด ๆ ค่อย ๆ เชด็ ใหส้ ะอาด

2. ทาความสะอาดลูกยางเลก็ ลูกยางใหญ่ โดยใชผ้ า้ ชุบแอลกอฮอลเ์ ชด็ ถูตามแนวยาวของลูกยาง
เพอ่ื ลกู ยางจะไดไ้ มแ่ หง้ เกนิ ไป

3. ถา้ เครอ่ื งตดิ หรอื ฝืด ควรหยอดน้ามนั เพอ่ื ใหพ้ มิ พล์ น่ื ขน้ึ
4. ใชด้ นิ น้ามนั ชนดิ พเิ ศษดดู สงิ่ สกปรกโดยกดลงบนตวั พมิ พ์ จะทาใหฝ้ ่นุ ละอองหลุดออกไดโ้ ดยงา่ ย
5. ตรวจสอบผา้ หมกึ พมิ พ์ ถา้ เก่าหรอื ขาดเป็นรูจะต้องเปลย่ี น เพราะผา้ หมกึ ทข่ี าดอาจหลุดเขา้ ไป

อดุ ตวั พมิ พท์ าใหต้ วั อกั ษรขาดหายไป

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การบารงุ รกั ษาเครอ่ื งพมิ พห์ รอื เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์

การดแู ลรกั ษาเคร่อื งพิมพด์ ีดประจาเดือน

1. ตรวจดผู า้ หมกึ แต่ละเครอ่ื งวา่ สมควรจะตอ้ งเปลย่ี นผา้ หมกึ พมิ พห์ รอื ยงั
2. ใชแ้ ปรงปัดเศษยางลบ หรอื ฝ่นุ ละอองออกจากตวั เครอ่ื ง หรอื จะใชเ้ ครอ่ื งเป่าทาความสะอาดกไ็ ด้
3. ควรหยอดน้ามนั ในบางชน้ิ สว่ นเพอ่ื การหลอ่ ลน่ื จะไดไ้ มเ่ ป็นสนมิ และพมิ พไ์ มฝ่ ืดหรอื ตดิ
4. ตรวจดสู ว่ นประกอบตา่ ง ๆ วา่ มชี น้ิ สว่ นใดชารดุ จะไดแ้ จง้ ผดู้ แู ลหอ้ ง

การดแู ลรกั ษาเคร่ืองพิมพด์ ีด

1. คปวระรจถาอปดี ล้างเคร่ืองพิมพ์ดีดเป็นประจาทุกปี (ช่วงปิดภาคเรียน) โดยใช้แปรงปัดเคร่ืองขจัด
คราบน้ามนั เศษฝ่นุ ละออง และเศษยางลบทต่ี กคา้ งอยใู่ นเครอ่ื งพมิ พอ์ อกใหห้ มด

2. หยอดน้ามนั หลอ่ ลน่ื ใหเ้ ครอ่ื งทางานไดโ้ ดยไมต่ ดิ ขดั
3. ตรวจเชก็ สภาพของเครอ่ื งพมิ พด์ ดี ทุกเครอ่ื งใหอ้ ยใู่ นสภาพทใ่ี ชง้ านไดด้ ี
4. จดั ทาบตั รประจาเครอ่ื ง และประจาโต๊ะใหต้ รงกนั จะไดบ้ นั ทกึ การตรวจซ่อมประจาปีไดถ้ กู ตอ้ ง

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การบารงุ รกั ษาเครอ่ื งพมิ พห์ รอื เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์

การดแู ลรกั ษาเครื่องคอมพิวเตอร์

1. กเบาอื้ รงดตแู ้นลรกั ษาฮารด์ แวร์ (Hard ware) คอื อุปกรณ์ต่างๆ ทงั้ ภายในและภายนอกคอมพวิ เตอร์
1.1 การดแู ลรกั ษาความสะอาด
1.1.1 ไม่ควรทาความสะอาดเคร่อื งขณะทเ่ี คร่อื งยงั เปิดอยู่ ถ้าจะทาความสะอาดเคร่อื ง
ควรปิดเครอ่ื งทง้ิ ไว้ 5 นาที ก่อนลงมอื ทาความสะอาด
1.1.2 อยา่ ใชผ้ า้ เปียก ผา้ ชมุ่ น้า เชด็ คอมพวิ เตอร์ ใหใ้ ชผ้ า้ แหง้ เชด็
1.1.3 อยา่ ใชส้ บู่ น้ายาทาความสะอาดใดๆ กบั คอมพวิ เตอรเ์ พราะจะทาใหร้ ะบบของเคร่อื ง
เกดิ ความเสยี หาย
1.1.4 ไมค่ วรฉีดสเปรยใ์ ดๆ ไปทค่ี อมพวิ เตอร์ แป้นพมิ พ์ และอุปกรณ์ต่างๆ
1.1.5 ไมค่ วรใชเ้ ครอ่ื งดดู ฝ่นุ กบั คอมพวิ เตอรแ์ ละอุปกรณ์ประกอบอน่ื ๆ
1.1.6 ใชอ้ ปุ กรณ์ทาความสะอาดทค่ี มู่ อื แนะนาไวเ้ ทา่ นนั้

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การบารงุ รกั ษาเครอ่ื งพมิ พห์ รอื เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์

การดแู ลรกั ษาเครือ่ งคอมพิวเตอร์

เบอื้ งต1้น.1.7 ไมค่ วรดม่ื น้าชา กาแฟ เครอ่ื งดม่ื ตา่ งๆ ในขณะทใ่ี ชค้ อมพวิ เตอร์
1.1.8 ไมค่ วรกนิ ของขบเคย้ี ว อาหารใดๆ ขณะทางานดว้ ยเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์

1.2 การตงั้ เครอ่ื ง
1.2.1 ไม่ควรตัง้ เคร่ืองไว้ในมุมอับ ควรมีท่ีระบายความร้อนหรือตัง้ ไว้ในห้ องท่ีมี
เครอ่ื งปรบั อากาศ
1.2.2 ไมค่ วรตงั้ เครอ่ื งไวช้ ดิ กาแพง
1.2.3 ควรใชพ้ ดั ลมเป่าถา้ ไมม่ มี มุ ตงั้ จรงิ ๆ

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การบารงุ รกั ษาเครอ่ื งพมิ พห์ รอื เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์

การดแู ลรกั ษาเคร่ืองคอมพิวเตอร์

2. กเบาอื้ รงดตแู ้นลรกั ษาซอฟตแ์ วร์ (Software)
2.1 การลงโปรแกรม ลงเฉพาะทเ่ี ราใช้ ไมค่ วรลงมากเกนิ ไป จะทาใหเ้ ครอ่ื งอดื หรอื ชา้ ได้
2.2 ไม่ควรเก็บขอ้ มูล เอกสาร ไฟล์ต่างๆ ไว้ใน Drive C ควรเก็บไว้ใน Drive D หรอื Drive
ทไ่ี ดแ้ บ่งพารต์ ชิ นั ไว้
2.3 Drive C ควรลงเฉพาะโปรแกรมตา่ งๆ เท่านนั้
2.4 ควรตดิ ตงั้ โปรแกรมป้องกนั ไวรสั
2.5 หมนั่ ตรวจเชก็ ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ดั การลบทง้ิ ในถงั ขยะหรอื Recycle Bin และจดั การลบทง้ิ ซ้าอกี ครงั้
2.6 ตรวจสภาพฮารด์ ดสิ ก์
2.7 จดั เรยี งขอ้ มูลเพ่อื ให้การทางานของเคร่อื งคอมพวิ เตอร์มปี ระสทิ ธภิ าพมากท่ีสุดด้วยการ
Defragment disk

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การบารงุ รกั ษาเครอ่ื งพมิ พห์ รอื เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์

สาเหตทุ ่ีทาให้เครอ่ื งคอมพิวเตอร์

1. คเสวียาหมารย้อน ต้องระบายความรอ้ นท่เี กิดจากอุปกรณ์ต่าง ๆ ออกไปใหเ้ ร็ว โดยใชพ้ ดั ลมระบาย
ความรอ้ น
- ใชเ้ พาเวอรซ์ พั พลายในขนาดทถ่ี กู ตอ้ ง
- ใช้งานเคร่ืองในสถานท่ีท่ีมีอุณหภูมิปลอดภัย คือ อุณหภูมิไม่สูงจนเกินไป อ ย่าตัง้ เคร่ือง
ในบรเิ วณทม่ี แี สงแดดสอ่ งถงึ เป็นเวลานาน ๆ

2. ฝ่ นุ ทาความสะอาดฝ่นุ ทแ่ี ผงวงจร โดยใหช้ า่ งเป่าฝ่นุ ทาความสะอาด 3 เดอื น / ครงั้

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การบารงุ รกั ษาเครอ่ื งพมิ พห์ รอื เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์

วิธีการดแู ลรกั ษาจอภาพ

1. อ(Mยoา่ nใหitoว้ rตั )ถุหรอื น้าไปกระทบหน้าจอคอมพวิ เตอร์
2. ควรเปิดไฟทจ่ี อก่อนทเ่ี ปิดไฟท่ี CPU เพอ่ื boot เครอ่ื ง
3. ไมค่ วรปิดๆ เปิดๆ เครอ่ื งตดิ ๆ กนั เมอ่ื ปิดเครอ่ื งแลว้ ทง้ิ ระยะไวเ้ ลก็ น้อยกอ่ นเปิดใหม่
4. ควรปรบั ความสว่างของจอภาพใหเ้ หมาะสมกบั สภาพของหอ้ งทางาน เพราะถา้ สว่างมากเกนิ ไป

ยอ่ มทาใหจ้ อภาพอายสุ นั้ ลง
5. อยา่ เปิดฝาหลงั Monitor ซ่อมเอง เพราะจะเป็นอนั ตรายจากกระแสไฟฟ้าแรงสงู
6. เม่อื มกี ารเปิดจอภาพท้งิ ไว้นาน ๆ ควรจะมกี ารเรยี กโปรแกรมถนอมจอภาพ (Screen Sever)

ขน้ึ มาทางาน เพอ่ื ยดื อายกุ ารใชง้ านของจอภาพ
7. ไมค่ วรเอาน้วิ หรอื สงิ่ ของอน่ื ๆ ไปจม้ิ หรอื สมั ผสั กบั สว่ นจอแสดงผล

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1

ความรพู้ น้ื ฐานในการเรยี นพมิ พภ์ าษาองั กฤษ

การบารงุ รกั ษาเครอ่ื งพมิ พห์ รอื เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์

วิธีการดแู ลรกั ษาจอภาพ

8. เ(Mช็ดonอiยto่าrง)เบามือโดยเช็คไปทิศทางเดยี วกนั คือจากซ้ายไปขวา หรือบนลงล่าง กดน้าหนักมือ
เลก็ น้อย อยา่ วนไปวนมา และอยา่ หนกั มอื เกนิ ไปอาจทาใหจ้ อเสยี หายได้


Click to View FlipBook Version