The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การตรวจราชการตามนโนบายของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (รอบที่ 2) 7วาระเร่งด่วน (Quick Win) ของกระทรวงศึกษาธิการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by info_dlict, 2021-10-07 00:04:35

การตรวจราชการตามนโนบายของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

การตรวจราชการตามนโนบายของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (รอบที่ 2) 7วาระเร่งด่วน (Quick Win) ของกระทรวงศึกษาธิการ

วาระที่ 3 Big Data พัฒนาการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและไม่ซ้าซ้อน เพ่ือให้ได้
ขอ้ มลู ภาพรวมการศกึ ษาของประเทศท่มี ีความครบถว้ น สมบูรณ์ ถูกต้องเป็นปจั จุบัน และสามารถน้ามาใช้
ประโยชน์ไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ

๑) ผลการขบั เคล่ือนนโยบาย
จากการดาเนินงานที่ผ่านมา สพป.ลาปาง เขต 1 ได้ดาเนินการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศเพ่ือ

ประกอบการดาเนินงานในการวางแผน การบริหารจัดการ ในรูปแบบที่หลากหลาย เช่นเอกสารสถิติข้อมูล
สารสนเทศ การเผยแพร่บนระบบ Website ของสานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 โดย
แยกเป็นข้อมูลแต่ละรายการ แต่ละกลุ่มเป็นผู้จัดทา ไม่มีการเชื่อมโยง และไม่มีการบูรณาการในการใช้ข้อมูล
เป็นฐานเดียวกัน ทาให้การดาเนินงานในการวางแผนการจัดการศึกษาด้านต่าง ๆ ใช้ข้อมูลไม่เป็นไปในฐาน
เดียวกันมีความซ้าซอ้ นของข้อมูล จึงทาให้เกดิ ความไมเ่ ชอ่ื ม่ันในขอ้ มลู ทไ่ี ด้วางแผนไว้

สพป.ลาปาง เขต 1 จึงเห็นถึงความสาคัญของการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา
กลาง (Big Data) ซ่ึงต้องมีระบบสารสนเทศท่ีถูกต้องและรวดเร็วแม่นยา ดังนั้น ถ้ามีระบบสารสนเทศที่ดีจะ
ช่วยให้การจัดเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดทาสารสนเทศ การรับและส่งต่อข้อมูลและสารสนเทศทั้งภายในและ
ภายนอกองค์กร ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศดาเนินการเช่ือมโยงอย่างมีระบบ เพื่อประโยชน์ในการเพ่ิม
ประสิทธิภาพในการทางาน การลดเวลาขั้นตอนการทางาน สามารถกล่ันกรองสารสนเทศท่ีตรงกับค วาม
ต้องการได้ทันที ตลอดจนถึงการใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ ในการสร้างมาตรการประกันคุณภาพการศึกษา และ
เพ่ิมคุณภาพในการบรหิ ารจัดการขององคก์ ร ใหเ้ กิดประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล

สพป.ลาปาง เขต 1 ได้มีการพัฒนาโปรแกรมนาเสนอข้อมูล “ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
จัดการ สพป.ลาปาง เขต 1 (Big Data)” ตอบสนองตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และสานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน เรอื่ ง “การพฒั นาระบบขอ้ มลู สารสนเทศของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
(Big Data)” โดยมีการเผยแพร่โปรแกรมผ่านหน้าเว็บไซต์ของ สพป.ลาปาง เขต1 http://www.lpg1.go.th
หรือ http://lpg1.go.th/Bigdata/ ประกอบไปด้วยข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา 4 ด้าน คือ ข้อมูล
พื้นฐาน ข้อมูลนักเรียน ข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษา และข้อมูลคุณภาพการศึกษา มีผลการ
ดาเนนิ งานจากการจดั เกบ็ ขอ้ มูลในโปรแกรมตา่ งๆ ที่สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ออกแบบ
จัดทาระบบในการจัดเก็บข้อมูล ให้ทางโรงเรียนและสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา เป็นผู้จัดเก็บและยืนยันใน
ระบบเป็นประจาทุกปีการศึกษาตามรอบระยะเวลาท่ีกาหนด จึงได้นาข้อมูลจากการจัดเก็บมาเช่ือมโยง เข้า
ด้วยกันเป็นโปรแกรม “ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ สพป.ลาปาง เขต 1 (Big Data)” เพ่ือใช้ใน
การบริหารจัดการด้านการศึกษาของ สพป.ลาปาง เขต 1 จากการพัฒนาโปรแกรม สามารถแสดงข้อมูลให้
ทราบได้ ประกอบด้วย

1. ข้อมูลพื้นฐานโรงเรยี น (DMC , EMIS)
2. ข้อมูลนักเรียน (DMC)
3. ข้อมลู ครูและบคุ ลากร (EMIS)
4. ขอ้ มลู บุคลากรในสานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา (P-OBEC)
5. ขอ้ มลู ครุภณั ฑ์ (M-OBEC)
6. ขอ้ มูลทด่ี นิ และส่ิงก่อสรา้ ง (B-OBEC)
7. ข้อมูลคุณภาพทางการศึกษา (NT , ONET)
8. ขอ้ มลู พกิ ดั แผนท่โี รงเรยี น (GIS)

2
สพป.ลาปาง เขต 1 ได้ดาเนินการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ระบบสารสนเทศเพ่ือการ
บรหิ ารจัดการ สพป.ลาปาง เขต 1 (Big Data)” ในช่องต่างๆ ดงั น้ี
1. ทางหน้าเวบ็ ไซต์ สพป.ลาปาง เขต 1 ที่ www.lpg1.go.th

2. แจ้งประชาสัมพันธใ์ ห้แกข่ ้าราชการครแู ละบคุ ลากรในสังกดั สพป.ลาปาง เขต 1

3
3. แจ้งประชาสัมพันธ์และนาเสนอการใช้งานระบบฯ ในการประชุมผู้บริหารสถานศึกษา
ประจาเดือน คร้ังที่ 1/2563 เม่ือวันที่ 20 มกราคม 2563 เวลา 13.00 น.-16.30 น.

4. ประชาสัมพันธ์และนาเสนอการใช้งานระบบฯ ผ่านการประชุมทางไกล VDO
Conference - Youtube ช่อง Lampang1TV

และ สพป.ลาปาง เขต 1 ดาเนินการสรุปผลการดาเนินงาน “ระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
สพป.ลาปาง เขต 1 : (Big Data)” เผยแพร่ในระบบออนไลน์ท่ี http://gg.gg/f68d1

4

2) ข้อค้นพบ / ปัญหาอปุ สรรค
1. ข้อมูลต่างๆ ท่ี สพฐ.จัดเก็บ อยู่กระจัดกระจาย ซ้าซ้อน ต่างกลุ่มต่างเก็บ ไม่เป็นฐานเดียว

ทาใหข้ ้อมลู ไดม้ าไม่สมบูรณ์ ไม่ตรงกนั นาไปใช้งานตอ่ ไดย้ าก
2. บุคลากรที่สามารถพัฒนาโปรแกรมได้ในหน่วยงาน มีจานวนน้อย มีภาระงานหลายด้าน

จงึ พัฒนาโปรแกรมไดล้ า่ ช้า และมีระยะเวลาจากดั
3. ขาดแคลนบุคลากรท่ีมีความรู้และความเชี่ยวชาญในการพัฒนาโปรแกรมโดยตรง จึงต้องขอ

ความร่วมมือไปยังโรงเรียนในสังกัดที่มีบุคลากรท่ีมีความรู้ ร่วมมาเป็นคณะทางานระดับสานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา ในการวางแผน ออกแบบการดาเนินงาน ซึ่งมีภารกิจท่ีต้องปฏิบัติงานนอกเวลาเน่ืองจากมีหน้าที่
หลกั ในการจดั การเรยี นการสอน

4. ข้อจากัดเรื่องระเบียบ กฎหมาย ในการดาเนินการจัดซ้ือ จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ในการ
ใช้งานท่ีทันสมัย ซึ่งไม่สามารถดาเนินการได้ทันที เพ่ือทันต่อระยะเวลาที่กาหนด เนื่องจากบางรายการเป็น
ประเภทครุภัณฑ์ ไม่สามารถจัดซอื้ ได้

3) วธิ กี ารแก้ไขปัญหา ท่เี กดิ ข้ึนจากการดา้ เนนิ การตามประเดน็ นโยบาย
1. หน่วยงานต้นสงั กัดควรมกี ารบูรณาการข้อมูลร่วมกนั และเป็นฐานขอ้ มูลเดยี วกนั
2. ควรมีการอบรม พัฒนาบุคลากร ให้มีความรู้ ความสามารถ เพมิ่ สมรรถนะและทักษะในการใช้

เทคโนโลยีทีท่ นั สมยั อย่างต่อเนือ่ งสมา่ เสมอ
3. ควรสนับสนุนงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ท่ีทันสมัยและเพียงพอในการดาเนินงาน

อยา่ งต่อเนือ่ ง สม่าเสมอ

4) ข้อเสนอแนะตอ่ ผ้บู ริหาร ในการดา้ เนินการตามประเด็นนโยบาย (ถ้ามโี ปรดระบ)ุ
1. หน่วยงานต้นสังกัด ควรมีการเช่ือมโยงข้อมูลสนเทศของแต่ละสานัก /ศูนย์/กลุ่มงาน ไว้เป็น

ฐานข้อมูลกลาง เพ่อื ลดภาระการจัดเก็บขอ้ มลู ตา่ งๆของโรงเรยี น และการซ้าซ้อนของขอ้ มลู
2. หนว่ ยงานต้นสงั กดั ควรมกี ารบรู ณาการขอ้ มูลร่วมกนั และเป็นฐานขอ้ มลู เดียวกัน
3. ควรมกี ารอบรม พฒั นาบคุ ลากร ให้มีความรู้ ความสามารถ เพ่มิ สมรรถนะและทักษะในการใช้

เทคโนโลยีที่ทันสมัยอยา่ งตอ่ เนอ่ื งสมา่ เสมอ
4. ควรสนับสนุนงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ที่ทันสมัยและเพียงพอในการดาเนินงาน

อยา่ งตอ่ เนือ่ ง สม่าเสมอ
5. สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 มุ่งหวังว่าการจัดทาระบบโปรแกรม

เช่ือมโยงข้อมูลในเบื้องต้น จะมีการพัฒนาต่อยอดให้ครอบคลุมทุกรายการ ทั้งน้ี ข้ึนอยู่กับการสนับสนุนของ
ผู้บงั คับบัญชาตามลาดับไดเ้ หน็ ถงึ ความสาคญั และให้การสนบั สนุนการดาเนนิ งานเปน็ ไปอย่างตอ่ เนื่อง

6. การประชาสัมพันธ์ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับทราบ เข้าถึง และใช้บริการข้อมูลในระบบ ที่ได้
ดาเนนิ การให้เกดิ ความคมุ้ ค่า และเหน็ ความสาคญั ของการจัดเก็บขอ้ มูล

5

5) ผลส้าเร็จของงาน
5.1 ปจั จัยความส้าเร็จ
5.1.1 มีการสร้างความตระหนักในความสาคัญของการจัดทาข้อมูลสารสนเทศทาง

การศึกษา ให้มีความถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน ให้แก่บุคลากรในสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 อย่างตอ่ เน่อื งสมา่ เสมอทุกปีการศึกษา

5.1.2 มกี ารตรวจสอบความครบถว้ น ถูกต้องของข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา และมีการ
ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ตามวงรอบของปฏิทินการศึกษาในการจัดเก็บข้อมูล( 1.ข้อมูล ณ วันท่ี 10
มิ.ย. 2. ข้อมูล ณ วนั ที่ 10 พ.ย. และ 3. ข้อมลู ส้ินปกี ารศึกษา ณ วันที่ 30 มี.ค.)

5.1.3 มีการรับรอง และยืนยันข้อมูลระดับปฏิบัติจากผู้บริหารของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องใน
การจัดทาขอ้ มลู

5.1.4 ผู้บรหิ ารสงู สุดขององค์กรทุกระดับ ให้ความสาคัญในการจัดทาข้อมูลสารสนเทศทาง
การศกึ ษา พร้อมขับเคล่ือน มอบนโยบายและแนวทางปฏบิ ัตใิ หบ้ คุ ลากรทางการศึกษาและโรงเรียนในสังกัดถือ
ปฏิบัติ

5.2 จดุ แข็ง
5.2.1 โรงเรียนในสังกัดทุกโรงเรียนให้ความร่วมมือในการดาเนินงานจัดทาข้อมูลสารสนเทศ

อย่างจริงจัง และให้ความสาคัญกับความถูกต้อง ครบถ้วน ส่งผลต่อผลลัพธ์ที่ได้จากการพิจารณาจัดสรร
งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ ได้ตรงตามความต้องการจาเป็นและขาดแคลน เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาของ
โรงเรยี น

5.2.2 บุคลากรผรู้ ับผิดชอบได้รับการพัฒนาจากหนว่ ยงานในการจัดเกบ็ ขอ้ มูลอยา่ งสม่าเสมอ
5.2.3 หน่วยงานต้นสังกัดมีการพัฒนาระบบตรวจสอบ ยืนยันข้อมูลตามความถูกต้อง
ครบถว้ นของข้อมูล ตามลาดบั
5.2.4 ได้รับความร่วมมือจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับผิดชอบในการจัดทาข้อมูลให้เป็นไปตาม
ระยะเวลาทกี่ าหนด และสามารถมขี ้อมลู ท่คี รบถว้ น ถกู ต้องไว้ใช้ในการวางแผนการบริหารการจัดการศึกษาได้
อยา่ งรอบด้าน
5.2.5 หน่วยงานมีเครือข่ายในการช่วยเหลือ สนับสนุน ให้ข้อเสนอแนะ กรณีพบปัญหาในการ
ดาเนินงาน และไดร้ ับการกากบั ตดิ ตาม แก้ไขปญั หาทพ่ี บจากการดาเนนิ งานอยา่ งสมา่ เสมอ
5.3 นวัตกรรม
สพป.ลาปาง เขต 1 มีนวัตกรรมที่เกิดจากการพัฒนาโปรแกรมในการนาเสนอข้อมูล
สารสนเทศ ครอบคลุมภารกิจการดาเนินงาน 4 ด้าน เพ่ือเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ผู้เกี่ยวข้อง ได้ใช้ข้อมูลใน
เชิงบูรณาการร่วมกันอย่างเป็นรูปธรรม คือ ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการ สพป.ลาปาง เขต 1
(Big Data)”
5.4 ประโยชน์หรอื ผลกระทบทางบวกแกผ่ ู้เรียน
5.4.1 นาข้อมูลมาช่วยในการวางแผนการจัดการเรยี นการสอนของผู้บริหาร ครู และบุคลากร
ท่เี กยี่ วขอ้ ง
5.4.2 นาข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนไปพัฒนาวางแผนการจัดการเรียนการ
สอนของผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรท่ีเก่ียวขอ้ งใหเ้ ทา่ ทนั การเปลยี่ นแปลงในยคุ เทคโนโลยี
5.4.3 นาข้อมูลท่ีได้มาใช้วางแผนในการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษา ให้เกิดการพัฒนา
ใหด้ ยี ่งิ ขนึ้ แกผ่ ้เู รียนได้ตามศักยภาพ และเหมาะสม

6

5.4.5 นาข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดทาแผนงาน/โครงการ/ /กิจกรรมการจัดการเรียน
การสอนให้เหมาะสมและเป็นไปตามความต้องการในการพฒั นาการจัดการศึกษา

5.4.6 นาข้อมูลมาใช้ในการบริหารจัดการสถานศึกษาได้อย่างรอบด้าน เพ่ือให้เกิดการพัฒนา
เปลยี่ นแปลงรู้เทา่ ทันโลกยคุ โลกาภิวัฒน์

5.4.7 นาขอ้ มลู มาชว่ ยในการวางแผนสง่ เสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การ
จดั หาสอ่ื วสั ดุ อุปกรณ์ เพือ่ สนบั สนุนการจัดการเรยี นการสอนอยา่ งหลากหลาย

5.4.8 สถานศึกษาสามารถนาข้อมูลพื้นฐาน เช่น ข้อมูลครุภัณฑ์ ที่ดินส่ิงก่อสร้าง จานวน
นักเรียน ประชากรวัยเรียน สถิติการเบิกจ่ายงบประมาณ ของสถานศึกษา มาวางแผนการดาเนินงาน
ครอบคลุมภารกิจงานทุกด้านในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนให้เกิดคุณภาพตามมาตรฐาน
การจัดการศึกษา

5.5 ตน้ แบบ หรอื แบบอย่างทีด่ ี
สพป.ลาปาง เขต 1 ได้พัฒนา “ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ สพป.ลาปาง

เขต 1 Big Data” โดยนาเทคโนโลยี Big Data มาใช้เป็นเคร่ืองมือเพ่ือเชื่อมโยงข้อมูลเพ่ือให้บริการแก่
ผู้เก่ียวข้องได้ใช้ข้อมูลร่วมกันในการวางแผนการดาเนินงานการพัฒนาการศึกษาให้กับโรงเรียนในสังกัด และ
เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ผู้สนใจได้รับทราบและเข้าถึงข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน ตลอดจนข้อมูลผลการ
ดาเนินงาน เพื่อให้เป็นไปตามนโยบาย จุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ และสานักงานคณะกรรมการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ในการเปิดโอกาสการเข้าถึงการจัดการศึกษาให้แก่ทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒน า
การศกึ ษาใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

จากการวิเคราะห์ข้อมูล คุณภาพและประสิทธิภาพของ “ระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการ
บริหาร สพป.ลาปาง เขต 1 : (BIG DATA)” โดยใช้เครื่องมือในการกากับ ติดตามและประเมินผลในระบบ
ตา่ งๆ ของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ไดแ้ ก่

1. การประเมินตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ( KRS)
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562/2563

2. การติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของสานักงานเขต
พ้นื ที่การศกึ ษา ตามมาตรฐานสานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562/2563

3. การติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาตามตัวช้ีวัดแผนปฏิบัติราชการ ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2562/2563

4. การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562/2563
ซ่ึงผลจากการติดตามและประเมินผลในระบบต่าง ๆ จากหน่วยงานต้นสังกัด พบว่า ผลการประเมินตัวชี้วัด
และมาตรฐานการปฏิบัติงานในระบบต่างๆ ของ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อยู่ในระดับ
คุณภาพดีเย่ียม วิเคราะห์ได้ว่า “ระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการ สพป.ลาปาง เขต 1 : (BIG
DATA)” สามารถตอบสนองนโยบายและจุดเน้น ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ใน
ประเด็นตวั ชว้ี ัดทางดา้ นการบรหิ ารจัดการข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาและการบริหารจัดการการศึกษา ได้
อยา่ งดเี ยย่ี ม

7

สรุปได้ว่า “ระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการ สพป.ลาปาง เขต 1 : (Big Data)””
ซ่ึงสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ได้ดาเนินการพัฒนามาน้ัน สานักงาน
เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาและสถานศึกษาในสังกัด สามารถนาเอามาเป็นเคร่ืองมือในการสนับสนุนงานบริหารจัดการ
ใน 4 งานหลกั ไดแ้ ก่ บริหารงานวิชาการ บรหิ ารงานงบประมาณ บริหารงานบุคคล และบริหารงานท่ัวไป ให้
บรรลผุ ลไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพและเกดิ ประสทิ ธผิ ลต่อการพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา
เอกสารแสดงถึงความส้าเร็จจากการด้าเนนิ งาน

1. สพป.ลาปาง เขต 1 ผา่ นการประเมินผลการดาเนนิ งานตามภารกจิ งานในระดับดีเยยี่ ม
ประจาปกี ารศกึ ษา 2562 และ 2563 ในการบริหารจัดการขอ้ มลู สารสนเทศเปน็ สว่ นหน่ึงในหัวขอ้
การประเมิน

2. บุคลากรผูร้ บั ผิดชอบในการพฒั นาระบบโปรแกรมขอ้ มูลไดร้ บั รางวลั “เหรยี ญทอง
รองชนะเลิศ รางวัลทรงคุณค่า OBEC AWARDS ระดับชาติ และระดับภาค ประจาปีการศึกษา 2562
บคุ ลากร 38 ค(2) ยอดเย่ยี ม ด้านบรหิ ารจดั การ”

3. มขี ้นั ตอนการให้บริการข้อมลู สารสนเทศ สพป.ลาปาง เขต 1
4. มีหน่วยงานทางการศึกษาอื่น ๆ มาศึกษาดูงานการดาเนนิ งาน

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22


Click to View FlipBook Version