The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการปฏิบัติงานโครงการโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้
(School as Learning Community : SLC) เพื่อพัฒนำสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่
โรงเรียนน ำร่องรุ่นที่ 1 ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ.2564
โรงเรียนบ้ำนโป่งขวำก อ ำเภอห้ำงฉัตร กลุ่มเครือข่ายเมืองยาว – แม่สัน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปำง เขต 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by info_dlict, 2021-10-23 09:45:17

รายงานผลการปฏิบัติงานโครงการโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้

รายงานผลการปฏิบัติงานโครงการโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้
(School as Learning Community : SLC) เพื่อพัฒนำสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่
โรงเรียนน ำร่องรุ่นที่ 1 ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ.2564
โรงเรียนบ้ำนโป่งขวำก อ ำเภอห้ำงฉัตร กลุ่มเครือข่ายเมืองยาว – แม่สัน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปำง เขต 1

1



คำนำ

การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ การจัดการศึกษาจะต้องส่งเสริมสนับสนุน
ผเู้ รยี นให้มคี วามคิดทเี่ ป็นเหตเุ ป็นผลในการทางาน ส่งั สมความรู้และทกั ษะท่ีจาเปน็ ในการทางาน ร้จู ัก
การแสวงหาโอกาสและช่องทางในการทางาน สารวจและก้าวเข้าสู่โลกแห่งการทางานของผู้เรียน
จะต้องผ่านการเรียนรู้ มีประสบการณ์ที่จะตัดสินใจเรียนรู้และเข้าสู่อาชีพในอนาคต โดยโรงเรียน
จะตอ้ งมคี วามเขา้ ใจในการออกแบบหลักสตู รและการเรยี นการสอน รวมถงึ วิธกี ารจดั กิจกรรมส่งเสริม
การเรียนรู้ ซึ่งปัจจัยสาคัญที่สุด คือ ความเป็นผู้นาของผู้บริหารโรงเรียนและสมรรถนะในการจัดการ
เรียนรู้ของครู สอดคล้องกับองค์ประกอบของระบบการศึกษาของประเทศที่ประสบผลสาเร็จ ในการ
พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพมี 8 ประการ คือ การมีวิสัยทัศน์และภาวะผู้นาท่ีเข้มแข็ง การตั้งมาตรฐาน
ระดับสูง มีความมุ่งม่ัน ต้ังใจ ลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา การได้มาและคงไว้ซึ่งครูและผู้บริหาร
โรงเรียนท่ีมีคุณภาพ ความร่วมมือในการทางานของทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องกัน การบริหารและ
การจัดการที่ดีมีความรับผิดชอบ การสร้างแรงจูงใจในการเรียนแก่นักเรียนและการมุ่งเน้นพัฒนาเพอื่
อนาคตในระดับโลก นอกจากน้ัน ผลงานวิจัยการพัฒนาโรงเรียนที่ประสบผลสาเร็จของประเทศญปี่ นุ่
ที่สามารถสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ตามวิสัยทัศน์ร่วมของผู้บริหารโรงเรียน ครู และผู้เก่ียวข้อง
กับการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน ด้วยการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ ที่ได้ให้นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้
ร่วมกัน ครูได้เรียนรู้ร่วมกันเพื่อพัฒนาวิชาชีพ รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องในพ้ืนท่ี
เข้ารว่ มปฏริ ปู โรงเรยี นโดยมีทมี ผูช้ ้ีแนะและเปน็ พเ่ี ล้ยี งเข้าไปหนนุ เสริมการเรียนรู้ในโรงเรียน

โรงเรียนบ้านโป่งขวาก สพป.ลาปางเขต 1 ได้เข้าร่วมโครงการสร้างโรงเรียนเป็นชุมชนแห่ง
การเรียนรู้ (School as Learning Community : SLC) ภายใต้การสนับสนุนและให้คาปรึกษาจาก
ศึกษานิเทศก์ สพป.ลาปาง เขต 1 ด้วยหลักการท่ีมุ่งเน้นสนับสนุนให้นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้อย่าง
มีคุณภาพ มีสิทธิในการเรียนรู้และเข้าถึงคุณภาพการเรียนรู้ที่สูงข้ึน ตามแนวทางของการปกครอง
ในระบอบสังคมประชาธิปไตย (Social Democracy) นอกจากนี้ยังเป็นสถานท่ีที่ครู (Model
Teacher) ได้เรียนรู้ร่วมกัน จากช้ันเรียนของตนเองโดยมีผู้ปกครอง และคนในชุมชนท้องถิ่นมี
ส่วนร่วม และให้ความร่วมมือในการปฏิรูปโรงเรียน โดยมีวัตถุประสงค์ ประการแรกเพ่ือพัฒนา
โรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้และพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ผ่านกระบวนการ ประการ
ต่อมาเพื่อพัฒนาศักยภาพครูในการพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่โดยใช้กระบวนการเรียนรู้
แบบร่วมมือรวมพลัง (Collaborative Leaning) การพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson Study) และ
การโค้ช (Coach) และประการสุดท้ายเพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศแบบร่วมมือพัฒนาวิชาชีพในการ
สง่ เสรมิ พัฒนาโรงเรยี นเป็นชมุ ชนแห่งการเรียนรเู้ พื่อพฒั นาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่

รายงานผลการดาเนินงานโครงการสร้างโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as
Learning Community : SLC) ฉบับนี้จึงได้รวบรวมผลการดาเนินงาน รวมไปถึงผลการเข้าสังเกต



การจัดการเรียนรู้ ครูคู่บัดดี้ (PLC) และภาพกิจกรรม อีกทั้งเป็นหลักฐานในการขอรับเกียรติบัตรของ
ครูผู้สอน (Model Teacher) หวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหาร ครูและผู้ท่ีสนใจ
สามารถนาไปปรับใช้เปน็ กรณีศึกษาและพฒั นาต่อไป

โรงเรียนบา้ นโป่งขวาก
โรงเรียนเปน็ ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้
(School as Learning Community : SLC)

สำรบัญ ค

คำนำ หน้ำ
สำรบัญ ก
รำยงำนผลกำรขับเคลอื่ นโรงเรยี นเป็นชุมชนแหง่ กำรเรียนรู้ ค
1
โครงการ/กิจกรรม 1
ความสาคญั ของผลงานหรือนวตั กรรมทน่ี าเสนอ 1
จดุ ประสงคแ์ ละเป้าหมายของการดาเนินงาน 2
กระบวนการ หรือขนั้ ตอนการดาเนินงาน 3
ผลการดาเนินการ/ผลสาฤทธิ์/ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับ 4
ปัจจยั ความสาเรจ็ 5
บทเรยี นที่ได้รบั (Lesson Learned) 6
การเผยแพร่ (ภาพประกอบ) 7

1

รำยงำนผลกำรปฏิบตั ิงำนโครงกำรโรงเรยี นเป็นชุมชนแห่งกำรเรยี นรู้
(School as Learning Community : SLC) เพ่อื พัฒนำสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่

โรงเรยี นนำรอ่ งรุ่นท่ี 1 ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2564
โรงเรียนบ้ำนโปง่ ขวำก อำเภอหำ้ งฉัตร กลุ่มเครอื ขำ่ ยเมืองยำว – แม่สนั

สำนกั งำนเขตพนื้ ทก่ี ำรศึกษำประถมศึกษำลำปำง เขต 1
********************************************************

1. โครงกำร/กิจกรรม
การส่งเสริมโรงเรยี นเป็นชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (School as Learning Community : SLC)

2. ควำมสำคญั ของผลงำนหรอื นวตั กรรมทน่ี ำเสนอ
ตามที่โรงเรียนบ้านโป่งขวาก ได้รับการคัดเลือกจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษา

ข้ันพ้ืนฐาน ให้เข้าร่วมโครงการ การส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning
Community : SLC) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ในปีการศึกษา 2563 ซ่ึงเป็นแนวคิดทาง
การศึกษาของประเทศญี่ปุ่นมากว่า 20 ปี ท่ีส่งผลให้เกิดการปฏิรูปโรงเรียนในประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่
ระดับฐานราก ก่อนท่ีจะได้รับความสนใจและขยายเครือข่ายออกไปในประเทศอ่ืนทางภาคพ้ืนเอเชีย
ตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนถึงนอกทวีปอย่างประเทศเม็กซิโก จนในท่ีสุดได้เกิดเป็น
เครือขา่ ยในระดับนานาชาติ ภายใต้ชือ่ ว่า “The International Network for School as Learning
Community”ใหเ้ ปน็ โรงเรียนของศตวรรษท่ี 21 ที่มงุ่ ทงั้ คณุ ภาพและความเท่าเทียมกนั ของการศึกษา
เกิดข้ึนได้ด้วยกระบวน School as Learning Community และวิสัยทัศน์ของโรงเรยี นบ้านโป่งขวาก
ตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาระยะ 4 ปี พ.ศ.2563 – 2566 ได้กาหนดไว้ว่า โรงเรียนบ้านโป่งขวาก
จัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนและจาก
รายงานการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม ระดบั การศึกษาปฐมวัยและระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
มีข้อเสนอแนะให้ผู้เรียนควรได้รับการปรับปรุงและพัฒนาในด้านความสามารถในการคิดวิ เคราะห์
คิดสงั เคราะห์ คิดสรา้ งสรรคแ์ ละฝึกด้านวินยั เพือ่ การพัฒนาสนู่ วัตกรรมหรือแบบอย่างทด่ี ีดา้ นการจัด
ประสบการณ์ท่เี นน้ เด็กเป็นสาคญั และด้านกระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ

จากความสาคัญดังกล่าวโรงเรียนบ้านโป่งขวาก ได้เล็งเห็นความสาคัญของการพัฒนา
กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ เดก็ และผู้เรียนเป็นสาคญั เพือ่ ให้ก้าวทนั ต่อเหตกุ ารณ์และการ
เปล่ียนแปลงที่เก่ียวข้องกับวิทยาการใหม่ๆ สู่การเป็นพลเมืองรุ่นใหม่ที่มีสมรรถนะ ดังน้ันโรงเรียนจึง
ได้จัดทาโครงการนขี้ ้ึน

2

3. จดุ ประสงค์และเปำ้ หมำย ของกำรดำเนินงำน
3.1 วตั ถุประสงค์
3.1.1 เพื่อให้ผู้บริหารโรงเรียน มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถบริหารจัดการโรงเรียนเปน็

ชุมชนแหง่ การเรียนรู้
3.1.2 เพื่อให้ครูผู้สอน มีความรู้ ความเข้าใจ มีหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ที่มี

กระบวนการเรยี นรู้ 5 ข้นั (5 steps)
3.1.3 เพื่อให้ครูผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะตามศตวรรษท่ี

21 และสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ ร่วมพลัง (Collaborative
Learning)

3.1.4 เพอ่ื ให้ผู้เรยี นมที ักษะตามศตวรรษที่ 21 และสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่
3.1.5 เพ่อื ใหช้ ุมชนมสี ว่ นรว่ มในการจัดการเรยี นรูแ้ ละมีความพงึ พอใจตอ่ โรงเรียน
3.1.6 เพอ่ื ใหโ้ รงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรยี นรู้อย่างแทจ้ ริงและเป็นแบบอย่างท่ีดีแกโ่ รงเรียน
อ่ืนๆ
3.2 เปำ้ หมำยกำรดำเนนิ งำน
3.2.1 เป้ำหมำยเชิงปริมำณ

3.2.1.1 ครโู รงเรยี นบา้ นโปง่ ขวาก จานวน 10 คน รว่ มจดั กิจกรรม Open Class
3.2.1.2 ชมุ ชนและคณะครูจากโรงเรยี นในกล่มุ เครอื ขา่ ยเมืองยาวแมส่ นั รว่ มกจิ กรรม
Open Class
3.2.2 เป้ำหมำยเชิงคุณภำพ
3.2.2.1 ร้อยละ 100 ของผู้บริหารโรงเรียน มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถบริหาร
จดั การโรงเรยี นเปน็ ชุมชนแหง่ การเรียนรู้
3.2.2.2 ร้อยละ 80 ของครูผู้สอน มีความรู้ ความเข้าใจ มีหน่วยการเรียนรู้ แผนการ
จดั การเรยี นรู้ ท่มี กี ระบวนการเรียนรู้ 5 ขน้ั (5 steps)
3.2.2.3 ร้อยละ 80 ของครูผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาผู้เรียนให้มี
ทักษะตามศตวรรษท่ี 21 และสมรรถนะพลเมืองรุน่ ใหม่ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ รว่ มพลัง
(Collaborative Learning)
3.2.2.4 รอ้ ยละ 80 ของผ้เู รียนมีทักษะตามศตวรรษที่ 21 และสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่
3.2.2.5 ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนร้แู ละมีความพึงพอใจต่อโรงเรยี น ในระดับ
ดีมาก
3.2.6 โรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่โรงเรียนอ่ืนใน
ปีการศกึ ษาน้เี ป็นต้นไป

3

4. กระบวนกำรหรือข้นั ตอนกำรดำเนินงำน
กระบวนการหรอื ขั้นตอนการดาเนินงาน ใช้กระบวนการ APICE และการนิเทศในรูปแบบ 5ร

รปู แบบกำรนิเทศเอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) 5 ข้ันตอน
ขน้ั ตอนที่ 1 ศึกษาสภาพและความตอ้ งการ
(Assessing Needs : A)
ข้นั ตอนที่ 2 การวางแผนการนเิ ทศ
(Planning : P)
ขน้ั ตอนที่ 3 การให้ความรูก้ ่อนการนเิ ทศ
(Informing : I)
ข้นั ตอนที่ 4 การนิเทศแบบโค้ช
(Coaching : C)
ขน้ั ตอนที่ 5 การประเมนิ ผลการนเิ ทศ
(Evaluating : E)

รปู แบบกำรบริหำรจัดกำรแบบมสี ่วนร่วม 5 ร
ร่วมศกึ ษำ

นาทีมบริหารและบคุ ลากร ศึกษาปญั หา/ความต้องการ
รว่ มวำงแผน

วางแผน/ออกแบบ วธิ ีการ/ส่ือ/นวัตกรรม/เครอ่ื งมือ เพอื่ นามาพัฒนา/แก้ปญั หาขององค์กร
ร่วมปฏบิ ัติ

นาทมี บรหิ ารและบุคลากร ปฏบิ ตั ติ ามนโยบาย ผ่านโครงการ/กจิ กรรมของกลมุ่ ตา่ งๆ
รว่ มสรปุ

วเิ คราะห์/สังเคราะห์/สรปุ ผลการดาเนนิ งาน
ร่วมแลกเปลี่ยนเรยี นรู้

แลกเปลีย่ น/ชืน่ ชม/ยกย่อง/เผยแพร่ผลการปฏิบัติงานที่ดี

4

4.1 ศึกษาทบทวนทาความเขา้ ใจ “โรงเรยี นเป็นชุมชนแห่งการเรยี นรู้” และนวตั กรรมทเี่ กีย่ วข้อง
4.2 วางแผนกาหนดปฏทิ ินการดาเนินงานและแผนการเบิกจา่ ยงบประมาณร่วมกบั สพท.
4.3 แต่งต้ังคณะกรรมการการดาเนินงานโครงการโรงเรียนท่ีเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา
สมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ระดบั โรงเรียน
4.4 Model Teacher ออกแบบแผนการสอน 2 แผน พรอ้ มกาหนด วัน เวลา ทจี่ ะดาเนนิ การสอน
และนาเสนอแผนการสอนทีอ่ อกแบบกบั Buddy Teacher เพื่อขอคาแนะนาและนาไปปรับปรงุ
4.5 Model Teacher ทบทวนแผนการสอนและผลิตส่อื นวัตกรรม เพ่ือใชใ้ นการสอน
4.6 โรงเรยี นดาเนินการจดั ส่อื วัสดุตามความตอ้ งการของ Model Teacher
4.7 Model Teacher จัดการเรียนการสอนในแผนการสอนท่ีออกแบบ โดยเปิดช้ันเรียนให้
Buddy Teacher ทีมหนุนเสริมของทีมโรงเรียน ทีมหนุนเสริมของ สพท. ร่วมสังเกตการณ์การสอน
และรว่ มสะท้อนผล
4.8 โรงเรยี นจัดกิจกรรมเปิดช้นั เรยี น ใหช้ มุ ชนเข้ารว่ มสังเกตการณ์การสอนในชนั้ เรียน
4.9 นาเสนอผลงานวิจัยในหัวข้อ รูปแบบการส่งเสริมโรงเรียน SLC เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมือง
รุ่นใหมร่ ะดบั สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาลาปางเขต 1

5. ผลกำรดำเนนิ กำร/ผลสัมฤทธ์ิ/ประโยชน์ทไี่ ด้รบั
5.1 ระบผุ ลสำเร็จของกำรดำเนินงำนที่เกดิ จำกกระบวนกำรหรอื ขน้ั ตอนกำรดำเนนิ งำนทสี่ ง่ ผล

ต่อกำรพัฒนำคุณภำพผู้เรียน
5.1.1 ผู้บริหารโรงเรียน มีความรู้ ความเข้าใจและบริหารจัดการโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการ

เรียนรู้ มีรปู แบบการบริหารจดั การทเี่ หมาะสมกบั บรบิ ทของโรงเรยี น
5.1.2 ครูผ้สู อนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ มหี น่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ ที่มีกระบวนการ

เรียนรู้ 5 ข้ัน (5 steps) และครูผู้สอนทุกท่านมีแผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ีเมาะสมกับระดับช้ันเรียน มีส่ือ
การเรียนร้ทู หี่ ลากหลาย ท่สี อดคล้องกบั มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ัดของแตล่ ะวชิ า/แตล่ ะระดับช้ัน

5.1.3 ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะตามศตวรรษที่ 21 และ
สมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่

5.1.4 ผเู้ รียนมที กั ษะตามศตวรรษท่ี 21 และสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่
5.2 ระบปุ ระโยชน์ท่ไี ดร้ ับจำกกำรดำเนนิ งำน/นวตั กรรม

5.2.1 ชุมชนมีสว่ นรว่ มในการจดั การเรียนร้แู ละมีความพงึ พอใจต่อโรงเรยี น
5.2.2 โรงเรียนเป็นชุมชนแหง่ การเรยี นรู้อยา่ งแท้จรงิ และเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีแกโ่ รงเรยี นอื่นๆ

5

6. ปจั จยั ควำมสำเร็จ
การขับเคลื่อนโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community :

SLC) อาศัยปัจจัยในการขับเคลื่อนสู่ความสาเร็จ กล่าวคือ ประการแรก การสนับสนุนของผู้บริหาร
สถานศึกษาเป็นผู้นาทางด้านวิชาการ มีรูปแบบการบริหารจัดการที่เหมาะสมตามบริบทของโรงเรียน
ให้การสนับสนุน และให้โอกาสครูได้ออกแบบทดลองการเรียนรู้ และในทุกข้ันตอนของการพัฒนา
บทเรียนร่วมกัน อาทิการสนับสนุนด้านงบประมาณในการดาเนินงาน การจัดส่ิงอานวยความสะดวก
การกาหนดนโยบายให้ชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพเป็นวัฒนธรรมการทางานของโรงเรียน แต่งต้ัง
คณะทางานในระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ และระดับโรงเรียนเพ่ือติดตามการดาเนินงานชุมชนการ
เรียนรู้วิชาชีพ ตลอดจนการร่วมสังเกตการเรียนรู้ตามสภาพจริงอย่างเข้าใจ และให้กาลังใจอย่า ง
กัลยาณมิตร ประการต่อตาม Teamwork ครูทางานร่วมกันภายตามแนวคิด PLC (Professional
Learning Community : PLC) โดยการพัฒนาครูผ่านกระบวนการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson
Study) ในรูปแบบการจัดการเรียนรู้ภายใต้การส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา
สมรรถนะพลเมืองรุ่มใหม่(School as Learning Community : SLC) ยึดหลักการเป็นประชาธปิ ไตย
ในการทางานร่วมกัน เกิดเป็นกระบวนการเน้นการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน Analyze มีการจับคู่ครูคู่
บัดดี้ในการจัดการเรียนรู้ ร่วมคิด ร่วมทา ภายใต้กระบวนการ Plan Do See มีการ Reflect และ
Redesign จัดทาแผนการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม สอดคล้องตามมาตรฐาน รายวิชา และ
ผู้เรียน ประการท่ีสาคัญอีกหนึ่งประการ คือการวางแผนและเตรียมความพร้อมด้านปัจจัยพื้นฐาน
ต่างๆ ยึดหลัก สะดวก สมาร์ท สร้างสรรค์ เสริมสุข และสาเร็จไปพร้อมกัน มีสารสนเทศเป็นปัจจุบัน
การปฏิบตั กิ ารจริง ดว้ ยความเตม็ ใจ เตม็ ที่ เตม็ ศักยภาพ ม่งุ หวงั ประโยชน์ตอ่ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั รวมไป
ถึงชุมชน ผู้ปกครองท่ีพร้อมเปิดใจ ยอมรับและเปิดโอกาสให้ครูได้จัดการเรียนรู้แบบใหม่ อย่างเข้าใจ
และให้ความร่วมมือในหลายกิจกรรมที่ได้ขอความร่วมมือเป็นสัญญาลักษณ์แสดงการเป็นชุมชนแห่ง
การเรียนรู้อย่างแท้จริง ประการสุดท้าย การสนับสนุนของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลาปาง เขต 1 ท่ีเป็นที่ปรึกษา ให้คาชี้แนะท้ังในเรื่องการตรวจสอบความถูกต้องของแผนการจัดการ
เรียนรู้ การใช้สื่อ การเรียนรู้ และการเข้าร่วมสังเกตการณ์เรียนรู้ในห้องเรียนติดตามเอาใจใส่อย่าง
ต่อเนื่องและเมตตา ดังท่ีกล่าวมานี้เป็นปัจจัยส่งผลต่อการส่งเสริมการขับเคลื่อนโรงเรียนเป็นชุมชน
แห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community : SLC) โรงเรียนบา้ นโป่งขวาก ส่งผลต่อผู้เรียนที่
ความกล้า กล้าทา กล้าท่ีจะเรียนรู้ มีความรับผิดชอบ เป็นคนเก่ง คนดี ด้วยปัจจัยแห่งการร่วมแรง
ร่วมใจท่ีมุ่งมั่นและเข้าใจในครั้งน้ี จะสามารถขับเคลื่อนไปได้อย่างเข้มแข็ง มีความสุข ดังคากล่าวของ
ทา่ นผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านโปง่ ขวาก “SLC โอกาสดีของพวกเรา”

6

7. บทเรียนทไี่ ดร้ ับ (Lesson Learned)
การบริหารจัดการที่เป็นระบบ ส่งผลให้การทางานประผลผลสาเร็จ กล่าวคือ ผู้บริหาร

สถานศึกษาเป็นผู้นาทางด้านวิชาการ มีการจัดการบริหารที่เป็นระบบ ร่วมไปถึงมีการสนับสนุน
ส่งเสริมการพัฒนาครู ในการขับเคล่ือนโครงการโดยเปิดใจ เปิดโอกาส ในการเสนอ ปรับเปล่ียน ด้วย
หลกั ประชาธิปไตย ครูมกี ารพฒั นาตนเอง มีความพร้อมในการจดั เตรยี มแผนการจดั การเรยี นรู้ ส่ือการ
เรียนรู้ ที่มีความหลากหลาย เหมาะสมกับผู้เรียน ตรงตามมาตรฐานการเรียนรู้ เกิดการนิเทศร่วมกัน
ของผู้บริหาร ครู ไม่ใช่การจับผิดแต่เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยหลัก Professional Learning
Community (PLC) ร่วมกันแก้ไขปัญหา ปรับเปลี่ยน และจัดทาสารสนเทศที่สามรถนาไปใช้ได้
รว่ มกนั เปน็ ขอ้ มูลทส่ี าคัญในการนาไปสู่การพฒั นา สง่ ผลใหผ้ ู้เรยี นมีความเปลี่ยนแปลงจากสภาพการ
เรียนรู้เดิมคือ ห้องเรียนแบบ PASSIVE CLASSROOM เป็น ห้องเรียนแบบ ACTIVE CLASSROOM
นักเรียนมีความกระตือรือร้น ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ กล้าคิด กล้าแสดงออก เป็นนักสังเกต และแก้ไขปัญหาท่ี
เกิดขึน้ ได้ อย่างเป็นระบบตามทักษะการเรียนรู้ตามศตวรรษท่ี 21

การเปิดใจยอมรับ เพ่ือก้าวสู้การพัฒนาโดยมองความหลากหลาย คือความท้าทายที่ครูต้อง
ออกแบบการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน และเพ่ือครูกัลยาณมิตรที่ดีผูกด้วยไมตรีจิตแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน
โดยยดึ แนวคิด ทกุ คนเปน็ ครู เราเรียนร้จู ากความผิดพลาด เพอื่ เปน็ บทเรยี นท่ีสรา้ งโอกาสส่กู ารพัฒนา
ร่วมกัน

การทางานร่วมกันเป็นทีม (teamwork) ร่วมมือร่วมใจกันในการแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับ
นักเรียน โดยเริ่มต้นจากการร่วมกันสะท้อนปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับนักเรียนของตน จากน้ันจะร่วมกัน
วางแผน ออกแบบการจัดการเรียนรู้ คิดหาเทคนิควิธีการจัดการเรียนร้ใู หม่ ๆ เพื่อนาไปจัดการเรียนรู้
แกป้ ัญหาท่ีเกิดข้นึ กับนักเรียน ร่วมกนั ผลิตสอ่ื และเครื่องมือวัดและประเมนิ ผลผู้เรียน รว่ มกันสะท้อน
ความคิดเห็น และให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์จากการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน เพ่ือนาไปพัฒนา
ปรับปรุงให้ดีย่ิงขนึ้

ความรับผิดชอบร่วมกัน (Responsibility) ครูมีความรับผดิ ชอบต่อภาระงานในการแก้ปัญหา
ท่ีเกิดข้ึนกับนักเรียนร่วมกัน ใช้เวลาหลังเลิกเรียนและในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ ในการเตรียมแผนการ
จัดการเรียนรู้การผลิตส่ือ การสร้างเคร่ืองมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ตลอดจนฝึก
ซักซ้อมการจัดการเรียนรู้ก่อนนาไปใช้สอนจริงเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุดไม่ใช่การเตรียมการ
เพือ่ รบั การนิเทศ แต่เปน็ ความร่วมเม่อื เพ่อื พฒั นาการจัดกระบวนการเรยี นรูร้ ว่ มกันอยา่ งมคี วามสขุ

การให้ความร่วมมือของชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง และองค์การส่วน
ท้องถิ่น เป็นการสนับสนุนท่ีสาคัญ โดยเฉพาะอย่างย่ิง การยอมรับการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการ
เรียนการสอนรูปแบบใหม่ท่ีแตกต่างไปจากเดิม ทาให้ครูผู้สอนกล้าที่จะจัดการเรียนรู้ได้อย่างเต็มท่ี

7

นอกจากน้ียังได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองในการให้ความสนใจในการเรียนของผู้เรียน เป็นเหตุ
สาคัญสูก่ ารเปลี่ยนแปลงการเรยี นรู้ทส่ี ่งผลในการพัฒนาทีด่ ยี ง่ิ ข้ึน

ศึกษานเิ ทศ เป็นแรงสนับสนุนท่สี าคญั ในการช่วยดาเนนิ การตามกระบวนการ SLC ตง้ั แตเ่ ร่ิม
ตลอดจนการวางแผน การติดตามการจัดการเรียนรู้ ทาให้การขับเคลื่อนโครงการในครั้งน้ีสามารถ
ดาเนินไปได้อย่างต่อเน่ืองแม้มีอุปสรรคปัญหาต่าง ๆ เกิดขึ้น ท้ังรูปแบบลงพ้ืนท่ีจริง และออนไลน์ ไม่
มองว่าเป็นอุปสรรค รวมไปถึงการให้กาลังใจระหว่างศึกษานิเทศก์ และคุณครูเพ่ือการขับเคล่ือนท่ี
เขม้ แขง็ ในยามทอ่ี ่อนลา้ และท้อแท้ จนทาให้เปน็ พลังเสริมใหส้ ู้ต่อไปจนสาเร็จได้

8. กำรเผยแพร่ (ระบขุ ้อมูลที่ทำให้เหน็ วำ่ ร่องรอยหลักฐำนกำรเผยแพรผ่ ลกำรดำเนนิ งำนตำม
โครงกำร/นวัตกรรม แนบภำพประกอบ)

8

9

10
https://www.facebook.com/BanPongkhwagSchool/videos/1062210627854072/

11


Click to View FlipBook Version